07 capital budgetting

Preview:

Citation preview

งบประมาณการจ่ายลงทุนCapital Budgeting

กระแสเงินสด

-เริ่มโครงการลงทุน-ระหว่างด าเนินโครงการ-สิ้นสุดโครงการ

ค ำนวณกระแสเงินสดจ่ำยลงทุน ณ ตน้ปีที่ 1

ตน้ทนุเครื่องจกัร 1,000,000 บาท

ตน้ทนุการตดิตัง้ 10,000 บาท

ตน้ทนุการทดสอบระบบ 20,000 บาท

กระแสเงนิสดจ่ายซื้อเครื่องจกัร 1,030,000 บาท

ค่าภาษีที่ประหยัดได้จากการขายเครื่องจักรเก่า :

ราคาทุนเครื่องจักรเก่า 640,000 บาท

หักค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องจักรเก่า 400,000 บาท

มูลค่าตามบัญชีสุทธิ 240,000 บาท

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า 140,000 บาท

ผลขาดทุนจากการจ าหน่ายเครื่องจักรเก่า 100,000 บาท

คูณอัตราภาษีเงินได้ 20%

ภาษีที่ประหยัดได้จากผลขาดทุนเมื่อจ าหน่ายสินทรัพย์เก่า

20,000 บาท

กระแสเงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า

140,000 บาท

บวก ค่าภาษีที่ประหยัดได้จากการขายเครื่องจักรเก่าและมีผลขาดทุน

20,000 บาท

รวมกระแสเงินสดรับสุทธิจากการเครื่องจักรเก่า

160,000 บาท

กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ ณ ต้นปีที่ 1

เงินสดจ่ายซื้อเครื่องจักร 1,030,000 บาท

หัก กระแสเงินสดรับสุทธิจากการเครื่องจักรเก่า

160,000 บาท

บวก เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการลงทุนในสินค้าคงเหลือและลูกหนี้การค้า

400,000 บาท

กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ 1,270,000 บาท

กระแสเงินสดรับจากการด าเนินงาน

ค่าภาษีเงินได้เมื่อขายเครื่องจักรใหม่ ณ ปีที่ 4ต้นทุนของเครื่องจักรใหม่ 1,030,000ค่าเสื่อมราคาสะสม 880,000มูลค่าตามบัญชีของเครื่องจักร 150,000เงินสดรับสุทธิจากการขายเครือ่งจกัร 160,000ก าไรขาดทุนจากการขายเครื่องจักร 10,000คูณ อัตราภาษีเงินได้ 20% 20%ค่าภาษีเงินได้ 2,000

เงินสดรับจากเครื่องจักรใหม่ ณ ปีที่ 4

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักร 160,000หัก ค่าภาษีเงินได้ 2,000เงินที่ได้รับสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ 158,000

กระแสเงินสดรบัสุทธหิลงักำรขำยเคร่ืองจกัรใหม่

ณ วนัสิ้นสุดโครงกำรลงทุน สิ้นปีที่ 4

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนที่มีต่อกระแสเงินสด

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

การลงทุนเมื่อเริ่มแรก

ต้นทุนอุปกรณ์ (1,000,000)

ต้นทุนการติดตั้ง (10,000)

ต้นทุนการทดสอบและการปรับปรุง (20,000)

เงินทุนหมุนเวียนที่ต้องการ (400,000)

ผลกระทบที่มีต่อเงินสดรับเมื่อจ าหน่ายเครื่องจักรเก่า 160,000

ผลกระทบสุทธิที่มีต่อกระแสเงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก (1,270,000)

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

การด าเนินงาน

รายได ้ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000

ค่าใชจ่้ายในการด าเนินงาน

ค่าใชจ่้ายทีเ่ป็นเงนิสด 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000

ค่าใชจ่้ายทีไ่ม่เป็นเงนิสด 220,000 220,000 220,000 220,000

รวมค่าใชจ่้ายในการด าเนินงาน 1,820,000 1,720,000 1,720,000 1,720,000

ก าไรจากการด าเนินงานก่อนหกัภาษี 180,000 280,000 280,000 280,000

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงินสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

ค่าภาษเีงนิได ้ 36,000 56,000 56,000 56,000

ก าไรจากการด าเนนิงาน 144,000 224,000 224,000 224,000

ค่าใชจ่้ายทีไ่มเ่ป็นเงนิสด 220,000 220,000 220,000 220,000

กระแสเงนิสดรบัสุทธิ

จากการด าเนนิงาน

364,000 444,000 444,000 444,000

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

เมือ่สิ้นสุดโครงการลงทนุ (สุทธหิลงัภาษ)ี

เงนิทนุหมนุเวยีนทีไ่ดร้บัคืน 400,000

การจ าหน่ายสนิทรพัยเ์มือ่สิ้นสุดอายุ

โครงการ

158,000

ค่าใชจ่้ายในการปรบัโยกยา้ยพนกังาน (240,000)

กระแสเงนิสดรบัสุทธเิมือ่สิ้นสุดอายุ

โครงการ

318,000

ผลกระทบสุทธทิีม่ต่ีอกระแสเงนิสด (1,270,000) 364,000 444,000 444,000 762,000

เทคนิคการประเมนิค่าโครงการลงทุน

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)อตัราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบญัชี(Book Rate of Return)การลดค่ากระแสเงินสด (Discounted

Cash Flow)

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)กรณทีี่ 1 กระแสเงนิสดรับสุทธิหลงัภาษีในแต่

ละปีเท่ากนั

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)

กรณีท่ี 2 กระแสเงินสดรับสุทธิหลงัภาษีในแต่ละปีเท่ากนั

ระยะเวลาคืนทุน = จ านวนปีท่ีสามารถค านวณทบมูลค่ากระแสเงินสดรับไดท้ั้งจ านวน+เศษส่วนเวลาท่ีไม่สามารถนบัไดเ้ตม็ปี

เศษส่วนเวลาท่ีไม่สามารถนบัไดเ้ตม็ปี

โครงการ ก

ระยะเวลาคืนทุนเม่ือกระแสเงินสดรับสุทธิหลงัภาษีแต่ละปีไม่เท่ากนั

ปีที่ กระแสสดรับสุทธิหลังหักภาษี

มูลค่าสะสมของกระแสเงินสดรับสุทธิ

หลังหักภาษี

1 364,000 364,000

2 444,000 808,000

3 444,000 1,252,000

4 762,000 2,014,000

โครงการ กเศษส่วนเวลาที่ไม่สามารถนับได้เต็มปี

โครงการ กระยะเวลาคืนทุน

โครงการ ข

ปีที่ รายได้ คชจ.ด าเนินงาน

กระแสเงินสดรับก่อนหักภาษี

ค่าเสื่อมราคา

ก าไรก่อนภาษี

ภาษีเงินได้ 20%

ก าไรหลังหักภาษี

กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

มูลค่าสะสมกระแสเงินสดสุทธิหลัง

หักภาษี

1 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 433,500

2 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 867,000

3 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 1,300,500

4 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500

4 400,000 430,000 (30,000) (120,000) (150,000) 30,000 (120,000) 0

โครงการ ข

โครงการ ข

เศษส่วนเวลาที่ไม่สามารถนับได้เต็มปี

โครงการ ข

ระยะเวลาคืนทุน

โครงการ ข

ระยะเวลาคืนทุน

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี (Book Rate of Return)

ตัวอย่างที่ 4

ก าไรสุทธิ

= รายได้ – ค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด – ค่าใช้จ่ายที่ไม่เป็นเงินสด –ค่าภาษีเงินได้

=

= 186,000 บาท

เงินลงทุนเฉลี่ย โครงการ ขปีที่ เงินลงทุน

ต้นปีค่าเสื่อมราคา เงินลงทุน

ปลายปีเงินลงทุน

เฉลี่ยส าหรับปี

1 1,110,000 247,500 862,500 986,250

2 862,500 247,500 615,000 738,750

3 615,000 247,500 367,500 491,250

4 367,500 247,500 120,000 243,750

รวม 2,460,000

ตัวอย่างที่ 4

เงินลงทุนตามมูลค่าทางบัญชีถัวเฉลี่ย - ข

ตัวอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ข

ตัวอย่างที่ 4

เงินลงทุนเฉลี่ย - ข

ตัวอย่างที่ 4

ก าไรสุทธิถัวเฉลี่ย - ก

ตวัอย่างที่ 4

เงินลงทุนเฉลี่ยโครงการ ก

ตวัอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ก

ตวัอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ก

การลดค่ากระแสเงินสด (Discounted Cash Flow)

1. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

2. อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rete of Return : IRR)

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

= มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ – เงินสดจ่ายลงทุนเม่ือเริ่มโครงการ

ตวัอย่างที ่5

โครงการกระแสเงินสดรับสุทธิเป็นรูปแบบเดียวกัน : โครงการ ข

มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ = เงินสดรับสุทธิรายปีที่เท่ากัน x PVA Factor

ที่ i 10% n = 4= 433,500 x 3.1699= 1,374,151.65 บาท

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ โครงการ ข = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ –

เงินสดจ่ายลงทุน

= 1,374,151.65 บาท – 1,110,000 บาท

= 264,151.65 บาท

โครงการที่มีกระแสเงินสดรับสุทธิไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน : โครงการ ก

ปีที่ กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

PV Factor ที่ i=10%

จ านวนเงิน (บาท)

1 364,000 0.9091 330,912.40

2 444,000 0.8264 366,921.60

3 444,000 0.7513 33,577.20

4 762,000 0.6830 520,446.00

รวมมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ 1,551,857.20

หัก เงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก 1,270,000.00

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ โครงการ ก 281,857.20

อตัราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return : IRR)

เงินจ่ายลงทุนทั้งหมด= มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิท่ีค านวณโดยใช้อัตราคิดลด= กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีท่ีเท่ากัน x อัตราคิดลดรายปีที่งวดเวลาตามอายุโครงการลงทุน= กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีท่ีเท่ากัน x PVA Factor (ที่อัตราคิดลดค่าเงินตามอายุโครงการลงทุน)

อัตราผลตอบแทนภายใน(Internal Rate of Return : IRR)

กระแสเงินสดรับไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน

การค านวณหาอัตราผลตอบแทนภายในจะใช้วิธีการสุ่มทดลองเพื่อให้ได้ค่าของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิเป็นจ านวนเดียวกันกับเงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

กระแสเงินสดรับเปน็รูปแบบเดียวกัน

PVA Factor

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

อัตราดอกเบี้ย ค่า PVA Factor

อตัราดอกเบี้ยต า่กวา่ 20% 20% 2.5887 2.5887

อตัราดอกเบี้ยที่

ตอ้งการ ? 2.5606

อตัราดอกเบี้ยสูงกวา่ 25% 2.3616

ส่วนต่าง 5% ? 0.2271 0.0281

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

อัตราผลตอบแทนภายใน

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ กกระแสเงินสดรับไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน

ปีที่ กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

PV Factor ที่ i= 20%

มูลค่าปัจจุบันที่ i = 20%

PV Factor ที่ i= 18%

มูลค่าปัจจุบันที่ i = 18%

1 364,000 0.8333 303,321.20 0.8475 308,490.00

2 444,000 0.6944 308,313.60 0.7182 318,880.80

3 444,000 0.5787 256,942.80 0.6086 270,218.40

4 762,000 0.4823 367,512.60 0.5158 393,039.60

รวม 1,236,000.20 1,290,628.80

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ก

อัตราดอกเบี้ย

มูลค่าปัจจุบัน

อัตราดอกเบี้ยต่ ากว่า 18% 18% 1,290,628.80 1,290,628.80

อัตราดอกเบี้ยท่ีต้องการ ? 1,270,000.00

อัตราดอกเบี้ยสูงกว่า 20% 1,236,090.20

ส่วนต่าง 2% ? 54,538.60 20,628.80

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ก

อัตราผลตอบแทนภายใน