50
งบประมาณการจ่ายลงทุน Capital Budgeting

07 capital budgetting

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 07 capital budgetting

งบประมาณการจ่ายลงทุนCapital Budgeting

Page 2: 07 capital budgetting

กระแสเงินสด

-เริ่มโครงการลงทุน-ระหว่างด าเนินโครงการ-สิ้นสุดโครงการ

Page 3: 07 capital budgetting

ค ำนวณกระแสเงินสดจ่ำยลงทุน ณ ตน้ปีที่ 1

ตน้ทนุเครื่องจกัร 1,000,000 บาท

ตน้ทนุการตดิตัง้ 10,000 บาท

ตน้ทนุการทดสอบระบบ 20,000 บาท

กระแสเงนิสดจ่ายซื้อเครื่องจกัร 1,030,000 บาท

Page 4: 07 capital budgetting

ค่าภาษีที่ประหยัดได้จากการขายเครื่องจักรเก่า :

ราคาทุนเครื่องจักรเก่า 640,000 บาท

หักค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องจักรเก่า 400,000 บาท

มูลค่าตามบัญชีสุทธิ 240,000 บาท

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า 140,000 บาท

ผลขาดทุนจากการจ าหน่ายเครื่องจักรเก่า 100,000 บาท

คูณอัตราภาษีเงินได้ 20%

ภาษีที่ประหยัดได้จากผลขาดทุนเมื่อจ าหน่ายสินทรัพย์เก่า

20,000 บาท

Page 5: 07 capital budgetting

กระแสเงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักรเก่า

140,000 บาท

บวก ค่าภาษีที่ประหยัดได้จากการขายเครื่องจักรเก่าและมีผลขาดทุน

20,000 บาท

รวมกระแสเงินสดรับสุทธิจากการเครื่องจักรเก่า

160,000 บาท

Page 6: 07 capital budgetting

กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ ณ ต้นปีที่ 1

เงินสดจ่ายซื้อเครื่องจักร 1,030,000 บาท

หัก กระแสเงินสดรับสุทธิจากการเครื่องจักรเก่า

160,000 บาท

บวก เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการลงทุนในสินค้าคงเหลือและลูกหนี้การค้า

400,000 บาท

กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ 1,270,000 บาท

Page 7: 07 capital budgetting

กระแสเงินสดรับจากการด าเนินงาน

Page 8: 07 capital budgetting

ค่าภาษีเงินได้เมื่อขายเครื่องจักรใหม่ ณ ปีที่ 4ต้นทุนของเครื่องจักรใหม่ 1,030,000ค่าเสื่อมราคาสะสม 880,000มูลค่าตามบัญชีของเครื่องจักร 150,000เงินสดรับสุทธิจากการขายเครือ่งจกัร 160,000ก าไรขาดทุนจากการขายเครื่องจักร 10,000คูณ อัตราภาษีเงินได้ 20% 20%ค่าภาษีเงินได้ 2,000

Page 9: 07 capital budgetting

เงินสดรับจากเครื่องจักรใหม่ ณ ปีที่ 4

เงินสดรับสุทธิจากการขายเครื่องจักร 160,000หัก ค่าภาษีเงินได้ 2,000เงินที่ได้รับสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ 158,000

Page 10: 07 capital budgetting

กระแสเงินสดรบัสุทธหิลงักำรขำยเคร่ืองจกัรใหม่

ณ วนัสิ้นสุดโครงกำรลงทุน สิ้นปีที่ 4

Page 11: 07 capital budgetting

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนที่มีต่อกระแสเงินสด

Page 12: 07 capital budgetting

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

การลงทุนเมื่อเริ่มแรก

ต้นทุนอุปกรณ์ (1,000,000)

ต้นทุนการติดตั้ง (10,000)

ต้นทุนการทดสอบและการปรับปรุง (20,000)

เงินทุนหมุนเวียนที่ต้องการ (400,000)

ผลกระทบที่มีต่อเงินสดรับเมื่อจ าหน่ายเครื่องจักรเก่า 160,000

ผลกระทบสุทธิที่มีต่อกระแสเงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก (1,270,000)

Page 13: 07 capital budgetting

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

การด าเนินงาน

รายได ้ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000

ค่าใชจ่้ายในการด าเนินงาน

ค่าใชจ่้ายทีเ่ป็นเงนิสด 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000

ค่าใชจ่้ายทีไ่ม่เป็นเงนิสด 220,000 220,000 220,000 220,000

รวมค่าใชจ่้ายในการด าเนินงาน 1,820,000 1,720,000 1,720,000 1,720,000

ก าไรจากการด าเนินงานก่อนหกัภาษี 180,000 280,000 280,000 280,000

Page 14: 07 capital budgetting

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงินสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

ค่าภาษเีงนิได ้ 36,000 56,000 56,000 56,000

ก าไรจากการด าเนนิงาน 144,000 224,000 224,000 224,000

ค่าใชจ่้ายทีไ่มเ่ป็นเงนิสด 220,000 220,000 220,000 220,000

กระแสเงนิสดรบัสุทธิ

จากการด าเนนิงาน

364,000 444,000 444,000 444,000

Page 15: 07 capital budgetting

ผลกระทบโดยภาพรวมของโครงการลงทุนทีม่ต่ีอกระแสเงนิสด

รายการ ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4

เมือ่สิ้นสุดโครงการลงทนุ (สุทธหิลงัภาษ)ี

เงนิทนุหมนุเวยีนทีไ่ดร้บัคืน 400,000

การจ าหน่ายสนิทรพัยเ์มือ่สิ้นสุดอายุ

โครงการ

158,000

ค่าใชจ่้ายในการปรบัโยกยา้ยพนกังาน (240,000)

กระแสเงนิสดรบัสุทธเิมือ่สิ้นสุดอายุ

โครงการ

318,000

ผลกระทบสุทธทิีม่ต่ีอกระแสเงนิสด (1,270,000) 364,000 444,000 444,000 762,000

Page 16: 07 capital budgetting

เทคนิคการประเมนิค่าโครงการลงทุน

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)อตัราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบญัชี(Book Rate of Return)การลดค่ากระแสเงินสด (Discounted

Cash Flow)

Page 17: 07 capital budgetting

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)กรณทีี่ 1 กระแสเงนิสดรับสุทธิหลงัภาษีในแต่

ละปีเท่ากนั

Page 18: 07 capital budgetting

ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)

กรณีท่ี 2 กระแสเงินสดรับสุทธิหลงัภาษีในแต่ละปีเท่ากนั

ระยะเวลาคืนทุน = จ านวนปีท่ีสามารถค านวณทบมูลค่ากระแสเงินสดรับไดท้ั้งจ านวน+เศษส่วนเวลาท่ีไม่สามารถนบัไดเ้ตม็ปี

เศษส่วนเวลาท่ีไม่สามารถนบัไดเ้ตม็ปี

Page 19: 07 capital budgetting

โครงการ ก

ระยะเวลาคืนทุนเม่ือกระแสเงินสดรับสุทธิหลงัภาษีแต่ละปีไม่เท่ากนั

ปีที่ กระแสสดรับสุทธิหลังหักภาษี

มูลค่าสะสมของกระแสเงินสดรับสุทธิ

หลังหักภาษี

1 364,000 364,000

2 444,000 808,000

3 444,000 1,252,000

4 762,000 2,014,000

Page 20: 07 capital budgetting

โครงการ กเศษส่วนเวลาที่ไม่สามารถนับได้เต็มปี

Page 21: 07 capital budgetting

โครงการ กระยะเวลาคืนทุน

Page 22: 07 capital budgetting

โครงการ ข

ปีที่ รายได้ คชจ.ด าเนินงาน

กระแสเงินสดรับก่อนหักภาษี

ค่าเสื่อมราคา

ก าไรก่อนภาษี

ภาษีเงินได้ 20%

ก าไรหลังหักภาษี

กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

มูลค่าสะสมกระแสเงินสดสุทธิหลัง

หักภาษี

1 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 433,500

2 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 867,000

3 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500 1,300,500

4 1,800,000 1,320,000 480,000 247,500 232,500 46,500 186,000 433,500

4 400,000 430,000 (30,000) (120,000) (150,000) 30,000 (120,000) 0

Page 23: 07 capital budgetting

โครงการ ข

Page 24: 07 capital budgetting

โครงการ ข

เศษส่วนเวลาที่ไม่สามารถนับได้เต็มปี

Page 25: 07 capital budgetting

โครงการ ข

ระยะเวลาคืนทุน

Page 26: 07 capital budgetting

โครงการ ข

ระยะเวลาคืนทุน

Page 27: 07 capital budgetting

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี (Book Rate of Return)

Page 28: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 4

ก าไรสุทธิ

= รายได้ – ค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินสด – ค่าใช้จ่ายที่ไม่เป็นเงินสด –ค่าภาษีเงินได้

=

= 186,000 บาท

Page 29: 07 capital budgetting

เงินลงทุนเฉลี่ย โครงการ ขปีที่ เงินลงทุน

ต้นปีค่าเสื่อมราคา เงินลงทุน

ปลายปีเงินลงทุน

เฉลี่ยส าหรับปี

1 1,110,000 247,500 862,500 986,250

2 862,500 247,500 615,000 738,750

3 615,000 247,500 367,500 491,250

4 367,500 247,500 120,000 243,750

รวม 2,460,000

Page 30: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 4

เงินลงทุนตามมูลค่าทางบัญชีถัวเฉลี่ย - ข

Page 31: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ข

Page 32: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 4

เงินลงทุนเฉลี่ย - ข

Page 33: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 4

ก าไรสุทธิถัวเฉลี่ย - ก

Page 34: 07 capital budgetting

ตวัอย่างที่ 4

เงินลงทุนเฉลี่ยโครงการ ก

Page 35: 07 capital budgetting

ตวัอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ก

Page 36: 07 capital budgetting

ตวัอย่างที่ 4

อัตราผลตอบแทนตามมูลค่าทางบัญชี - ก

Page 37: 07 capital budgetting

การลดค่ากระแสเงินสด (Discounted Cash Flow)

1. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

2. อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rete of Return : IRR)

Page 38: 07 capital budgetting

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

= มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ – เงินสดจ่ายลงทุนเม่ือเริ่มโครงการ

Page 39: 07 capital budgetting

ตวัอย่างที ่5

โครงการกระแสเงินสดรับสุทธิเป็นรูปแบบเดียวกัน : โครงการ ข

มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ = เงินสดรับสุทธิรายปีที่เท่ากัน x PVA Factor

ที่ i 10% n = 4= 433,500 x 3.1699= 1,374,151.65 บาท

Page 40: 07 capital budgetting

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ โครงการ ข = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ –

เงินสดจ่ายลงทุน

= 1,374,151.65 บาท – 1,110,000 บาท

= 264,151.65 บาท

Page 41: 07 capital budgetting

โครงการที่มีกระแสเงินสดรับสุทธิไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน : โครงการ ก

ปีที่ กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

PV Factor ที่ i=10%

จ านวนเงิน (บาท)

1 364,000 0.9091 330,912.40

2 444,000 0.8264 366,921.60

3 444,000 0.7513 33,577.20

4 762,000 0.6830 520,446.00

รวมมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ 1,551,857.20

หัก เงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก 1,270,000.00

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ โครงการ ก 281,857.20

Page 42: 07 capital budgetting

อตัราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return : IRR)

เงินจ่ายลงทุนทั้งหมด= มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิท่ีค านวณโดยใช้อัตราคิดลด= กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีท่ีเท่ากัน x อัตราคิดลดรายปีที่งวดเวลาตามอายุโครงการลงทุน= กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีท่ีเท่ากัน x PVA Factor (ที่อัตราคิดลดค่าเงินตามอายุโครงการลงทุน)

Page 43: 07 capital budgetting

อัตราผลตอบแทนภายใน(Internal Rate of Return : IRR)

Page 44: 07 capital budgetting

กระแสเงินสดรับไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน

การค านวณหาอัตราผลตอบแทนภายในจะใช้วิธีการสุ่มทดลองเพื่อให้ได้ค่าของมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิเป็นจ านวนเดียวกันกับเงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก

Page 45: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

กระแสเงินสดรับเปน็รูปแบบเดียวกัน

PVA Factor

Page 46: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

อัตราดอกเบี้ย ค่า PVA Factor

อตัราดอกเบี้ยต า่กวา่ 20% 20% 2.5887 2.5887

อตัราดอกเบี้ยที่

ตอ้งการ ? 2.5606

อตัราดอกเบี้ยสูงกวา่ 25% 2.3616

ส่วนต่าง 5% ? 0.2271 0.0281

Page 47: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ข

อัตราผลตอบแทนภายใน

Page 48: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ กกระแสเงินสดรับไม่เป็นรูปแบบเดียวกัน

ปีที่ กระแสเงินสดรับสุทธิหลังหักภาษี

PV Factor ที่ i= 20%

มูลค่าปัจจุบันที่ i = 20%

PV Factor ที่ i= 18%

มูลค่าปัจจุบันที่ i = 18%

1 364,000 0.8333 303,321.20 0.8475 308,490.00

2 444,000 0.6944 308,313.60 0.7182 318,880.80

3 444,000 0.5787 256,942.80 0.6086 270,218.40

4 762,000 0.4823 367,512.60 0.5158 393,039.60

รวม 1,236,000.20 1,290,628.80

Page 49: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ก

อัตราดอกเบี้ย

มูลค่าปัจจุบัน

อัตราดอกเบี้ยต่ ากว่า 18% 18% 1,290,628.80 1,290,628.80

อัตราดอกเบี้ยท่ีต้องการ ? 1,270,000.00

อัตราดอกเบี้ยสูงกว่า 20% 1,236,090.20

ส่วนต่าง 2% ? 54,538.60 20,628.80

Page 50: 07 capital budgetting

ตัวอย่างที่ 7 โครงการ ก

อัตราผลตอบแทนภายใน