2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก

Preview:

Citation preview

อทิธิพลอารยธรรมตะวันออก

ที่มีต่อภมูภิาคต่างๆของโลก

อทิธิพลต่ออารยธรรมจนี

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมจีน

อารยธรรมจีนแผข่ยายออกไปอยา่งกว้างขวางทัง้ในเอเชีย

และยโุรป เป็นผลมาจากการตดิตอ่ทางการทตู การค้า การศกึษา

ตลอดจนการเผยแผศ่าสนา อยา่งไรก็ตามลกัษณะการถ่ายทอด

แตกตา่งกนัออกไป ดนิแดนท่ีเคยตกอยูภ่ายใต้การปกครองของจีน

เป็นเวลานาน เช่น เกาหลี และเวียดนาม จะได้รับอารยธรรมจีน

อยา่งสมบรูณ์ ทัง้ในด้านวฒันธรรม การเมือง ขนบธรรมเนียม

ประเพณี การสร้างสรรค์ และการแสดงออกทางศลิปะ ทัง้นีเ้พราะ

ราชสํานกัจีนจะเป็นผู้ กําหนดนโยบายและบงัคบัให้ประเทศทัง้สอง

รับวฒันธรรมจีนโดยตรง

ระบบบรรณาการ (Tribute) หรือ เจิงกงุ (คนไทยมกัอา่นวา่

จิม้ก้อง) เป็นประเพณีสมัพนัธไมตรีของจีนกบัประเทศอ่ืนๆ ในสมยั

โบราณ ทัง้นีเ้พราะจีนมีความเช่ือตามอิทธิพลทางความคดิของลทัธิขงจือ้

ท่ีวา่ จีนเป็นอาณาจกัรกลาง (จงกัว๊ หรือ Middle Kingdom) เป็น

ศนูย์กลางของอํานาจและอารยธรรมโลกเน่ืองจากมีความเจริญมาช้านาน

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมจีน

ในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต้ อารยธรรมจีนได้รับการยอมรับใน

ขอบเขตจํากดัมาก ท่ีเห็นอยา่งชดัเจนคือ การยอมรับระบบบรรณาการ

ของจีน

ดงันัน้จีนจงึมกัมองดนิแดนอ่ืนท่ี

อยูโ่ดยรอบวา่ด้อยกวา่ และจะต้องยอมรับ

สวามิภกัดิก์บัจีนโดยการสง่เคร่ือง

บรรณาการแก่จกัรพรรดจีินตามกําหนด

สว่นจีนซึง่เป็นประเทศท่ีใหญ่กวา่และ

เจริญกวา่จะให้ความช่วยเหลือคุ้มครอง

ประเทศเลก็ๆ เหลา่นี ้อีกทัง้ยงัให้

ผลประโยชน์อ่ืนๆทัง้ทางการเมืองโดย

ยอมรับฐานะกษัตริย์และทางเศรษฐกิจ

โดยอนญุาตให้ค้าขายได้อยา่งเสรี

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมจีน

จิม้ก้อง

หมายความวา่มอบบรรณาการให้เพ่ือผกูไมตรี จิม้ก้อง เป็นคําจาก

ภาษาจีน ในการทําการค้ากบัจีนในสมยัโบราณพอ่ค้ามกัจะนําของกํานลัไปให้

เพ่ือขอความสะดวกในการทํามาค้าขาย แตจี่นมกัถือวา่ผู้ ท่ีมาจิม้ก้อง เป็นผู้ ท่ีมา

สามิภกัดิข์อเป็นเมืองขึน้ เม่ือมีของกํานลัมาให้นอกจากจีนจะให้ความสะดวกใน

การค้าแล้วพระเจ้ากรุงจีนยงัตอบแทนด้วยของกํานลัอยา่งมากมายด้วย พอ่ค้า

ไทยจงึนิยมไปจิม้ก้อง

ในเอเชียใต้ ประเทศท่ีแลกเปล่ียนวฒันธรรมกบัจีนอยา่งใกล้ชิด

คือ อินเดีย พระพทุธศาสนามหายานของอินเดียแพร่หลายเข้ามาในจีน

จนกระทัง่เป็นศาสนาสําคญัท่ีชาวจีนนบัถือ นอกจากนีศ้ลิปะอินเดียยงัมี

อิทธิพลตอ่การสร้างสรรค์ศลิปะบางอยา่งของจีน เช่น ประตมิากรรมท่ีเป็น

พระพทุธรูป

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมจีน

สว่นภมูิภาคเอเชียกลางและตะวนัออกกลางนัน้ เน่ืองจากบริเวณท่ี

ถนนสายการค้า คือเส้นทางสายไหมผา่นนัน้ ทําหน้าท่ีเป็นส่ือกลางนํา

อารยธรรมตะวนัตกและจีนมาพบกนั อารยธรรมจีนท่ีเผยแพร่ไป เช่น

การแพทย์ การเลีย้งไหม กระดาษ การพิมพ์ และดนิปืน เป็นต้น ซึง่ชาว

อาหรับจะนําไปเผยแพร่แก่ชาวยโุรปอีกตอ่หนึง่

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมจีน

อทิธิพลต่ออารยธรรมอนิเดยี

อารยธรรมอินเดีย แพร่ขยายออกไปสูภ่มูิภาคตา่งๆทัว่ทวีป

เอเชีย โดยผา่นทางการค้า ศาสนา การเมือง การทหาร และได้

ผสมผสานเข้ากบัอารยธรรมของแตล่ะประเทศจนกลายเป็นสว่นหนึง่

ของอารยธรรมสงัคมนัน้ๆ ในเอเชียตะวนัออก พระพทุธศาสนามหายานของอินเดียมี

อิทธิพลอยา่งลกึซึง้ตอ่ชาวจีนทัง้ในฐานะศาสนาสําคญั และในฐานะท่ี

มีอิทธิพลตอ่การสร้างสรรค์ศลิปะของจีน

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอนิเดยี

ภมูิภาคเอเชียกลาง อารยธรรมอินเดียท่ีถ่ายทอดให้เร่ิมตัง้แต่

คริสต์ศตวรรษท่ี 7 เม่ือพวกมสุลมิอาหรับ ซึง่มีอํานาจในตะวนัออกกลางนํา

วิทยาการหลายอยา่งของอินเดียไปใช้ ได้แก่ การแพทย์ คณิตศาสตร์ ดารา

ศาสตร์ เป็นต้น ขณะเดียวกนัอินเดียก็รับอารยธรรมบางอยา่งทัง้ของเปอร์

เชียและกรีก โดยเฉพาะด้านศลิปกรรม ประตมิากรรม เช่น พระพทุธรูป

ศลิปะคนัธาระซึง่เป็นอิทธิพลจากกรีก สว่นอิทธิพลของ เปอร์เชีย ปรากฏใน

รูปแบบของการปกครอง สถาปัตยกรรม เช่น พระราชวงั การเจาะภเูขาเป็น

ถํา้เพ่ือสร้างศาสนสถาน

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอนิเดยี

ภมูิภาคท่ีปรากฏอิทธิพลของอารยธรรมอินเดียมากท่ีสดุคือ เอเชีย

ตะวนัออกเฉียงใต้ โดยพอ่ค้า พราหมณ์ และภิกษุสงฆ์ชาวอินเดียเดนิทาง

ไปและนําอารยธรรมไปเผยแพร่ อารยธรรมท่ีปรากฏอยูมี่แทบทกุด้าน

โดยเฉพาะในด้านศาสนา ความเช่ือ การปกครอง ศาสนาพราหมณ์ ฮินด ู

และพทุธศาสนา ได้หลอ่หลอมจนกลายเป็นรากฐานสําคญัท่ีสดุของ

ประเทศตา่งๆในภมูิภาคนี ้

การแพร่ขยายและการถ่ายทอดอารยธรรมอนิเดยี

ขอบคุณค่ะ

รายช่ือสมาชิก

ธนาญา ศีลธิปัญญา ม.6.7 เลขท่ี 3

ปณิดา กณัหะ ม.6.7 เลขท่ี 5

ศรัณย์รัตน์ ประวตัศิลิป์ ม.6.7 เลขท่ี 9

อรกานต์ สนิเสรีกลุ ม.6.7 เลขท่ี 30