Pakleang Resize

Preview:

Citation preview

โรงเรียนพิชยัรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น โรงเรียนพิชยัรัตนาคาร ตำาบลบางริ้น อำาเภอเมือง จังหวัดระนองอำาเภอเมือง จังหวัดระนอง

สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนองสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง

โดยโดย

1.1. นายพุฒิวัชร์นายพุฒิวัชร์สังวรกาญจน์สังวรกาญจน์

2.2. นน..สส..จิรนนัท์จิรนนัท์จิระตระการวงศ์จิระตระการวงศ์

3.3. นน..สส..พิชญส์ินีพิชญส์ินี เควดเควด

4.4. นน..สส..ภัสสรภัสสร ธรรมธาดาตระกูลธรรมธาดาตระกูล

5.5. นน..สส..วัณณิตาวัณณิตาวิภาดาพิสุทธิ์วิภาดาพิสุทธิ์

6.6. นน..สส..นชินันท์นชินันท์กาญจนสุภัคกาญจนสุภัค

7.7. นน..สส..กานต์ธิดากานต์ธิดาตันประเสริฐตันประเสริฐ

รายงานผลการศึกษา รายงานผลการศึกษา ผกัเหลียงผกัเหลียง

หัวข้อต่างๆ บทนำา วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ชื่อต่างๆ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ระบบนิเวศวิทยา การขยายพนัธุ์ ประโยชน์ ภูมิปญัญาท้องถิ่น การบูรณาการกบัวิชาต่าง ความประทับใจของพืชที่ศึกษา จบการทำางาน

บทนำา

ผักเหลียง เป็นพืชพื้นเมืองของจังหวัดระนอง นิยมปลูกในสวนร่วมกับพืชชนิดอื่นๆ ลักษณะเปน็ไม้พุม่ เนือ้ไมค้่อนข้างอ่อนผิวเปลือกเมื่ออ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่มีสีนำ้าตาล ดอกและผลมีลักษณะเป็นช่อ ใบมีรูปร่างคล้ายหอก จากการที่นักเรียนโรงเรียนพชิัยรัตนาคารได้ทำาการศึกษาพืชชนิดนี้ในบริเวณโรงเรียนพชิัยรัตนาคาร และนำามาศึกษาในห้องปฏิบัติการ ทำาให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับผักเหลียงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปน็การนำาเอาทรัพยากรในท้องถิ่นมาศึกษา ทำาให้นักเรียนไดต้ระหนักถึงความสำาคัญและรู้สึกหวนแหนทรัพยากรดังกล่าวให้คงอยู่คู่กับจังหวัดระนอง ตราบนานเท่านาน

กลับสู่หน้าหลัก

วัตถุประสงค์

การศึกษาพรรณพืชในท้องถิ่นตามโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมาร ีเรื่อง ผักเหลยีง ได้จัดทำาขึ้นเพื่อเปิดโอกาสใหน้ักเรียนซึ่งเป็นเยาวชนในท้องถิ่นจังหวัดระนองได้ร่วมกันศึกษาข้อมูลพรรณพืชในท้องถิ่นที่มีคุณค่า และอยู่คู่กับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวระนอง โดยมีวัตถุประสงค์หลักดังนี้

ใหน้ักเรียนได้ศึกษาข้อมูลพรรณไม้ในทอ้งถิ่นของตัวเอง ใหน้ักเรียนได้เกิดความตระหนักและเห็นคุณค่าของพรรณไม้

ทอ้งถิ่น ใหน้ักเรียนรู้จักใช้กระบวนการกลุ่มฝกึให้รู้จักความเสียสละ

ความเอื้ออาทรต่อผู้อืน่ ใหน้ักเรียนได้พัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ใหน้ักเรียนได้พัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใหน้ักเรียนได้ฝึกการใช้ภาษาโดยการรวบรวม

เรียบเรียงผลการศึกษาของตนเอง ใหน้ักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคดิ

กลา้แสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม

กลับสู่หน้าหลัก

วิธกีารศึกษา

ทางคณะผู้จัดทำาการศกึษาต้นผกัเหลียงได้นดักันมาเพื่อเดนิทางมายังโรงเรียน ซึ่งมีตน้ผกัเหลยีงปลูกอยู่ภายในโรงเรียน คณะผู้จัดทำาการศึกษาได้นำาอปุกรณ์ดงักลา่วข้างตน้ไปด้วย เพื่อสำารวจ,ศกึษาลักษณะภายนอกของต้นผักเหลียง โดยคณะได้แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาส่วนประกอบของต้นผกัเหลียงดงันี้

กลุม่ที่1 ศกึษาเรื่องราก กลุม่ที่2 ศกึษาเรื่องลำาต้น กลุม่ที่3 ศกึษาเรื่องใบ กลุม่ที่4 ศกึษาเรื่องดอกและผล กลุม่ที่5 ศกึษาด้านนิเวศวิทยา กลุม่ที่6 ศกึษาด้านประโยชน์

การศึกษาลักษณะโครงสร้างภายในไดศ้ึกษาโดยใช้วิธีการตามเนื้อหาวิชาชีววิทยาใน ม.5 ที่ได้เรียนมา

กลับสู่หน้าหลัก

ชื่อต่างๆ ชื่อพื้นเมือง: เหลยีง (ชุมพร ระนอง ประจวบครีีขันธ-์

ใต)้ เหมียง(พังงา ภูเก็ต กระบี่-ใต)้ เขลยีง เรียนแก(่นครศรีธรรมราช) เหรียง(สุราษฎร์ธาน)ี ผกักะเหรี่ยง(ชุมพร) ผกัเมี่ยง(พังงา)

ชื่อวิทยาศาสตร์: Gnetum gnemon Linn.var.tenerum Markgr.

ชื่อวงศ:์ GNETACEAE ชื่อสามัญ: Bago tree

กลับสู่หน้าหลัก

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ราก ลำาต้น ใบ ดอก ผล

กลับสู่หน้าหลัก

ราก

รากแก้วของเหลียงมีขนาดใหญ ่หยั่งลึกลงไปในดินประมาณ 45-50 เซนติเมตร จึงทำาให้สามารถทนแล้งไดด้ี รากแขนงของตน้เหลียงจะมีเพียงไม่กี่ราก แตล่ะรากจะมีความแข็งแรงและยาว ชอนไชลึกลงไปใต้ผิวดิน ลึกประมาณ 2-5 เซนติเมตร รากเหล่านีส้ามารถเจริญเปน็ตน้ใหม่ได้ง่าย รากแขนงที่เจริญเต็มที่จะมีความยาวมาก และมีรากฝอยมากมาย รูปรากของผักเหลียงโครงสร้างภายในของรากเลือกลักษณะอื่นๆ

รากของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

โครงสร้างภายในของราก

โครงสร้างภายในลำาตน้ ซึ่งตดัตามขวาง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

ใบ

ใบ มรีูปร่างคล้ายหอก แตกจากปลายยอดของต้นและกิ่งออกมาเป็นคู่ๆ เรียงตัวในแนวตรงข้ามกัน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเปน็รูปลิ่ม กว้าง 4-10 เซนตเิมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร มันวาว ยอดอ่อนมีสีนำ้าตาล ใบอ่อนมีสีเขียวอ่อน ใบแก่มีสีเขียวแก่ หลังใบมีสีเข้มกว่าท้องใบ เสน้ใบเรียงตัวแบบร่างแหขนนก ขอบใบเรียบ สขีองใบจะสดใสเมื่ออยู่ในร่มเงา ถ้าอยู่ในที่โล่งรับแสงแดดใบจะมีสีซีดจาง หรืออาจขาวหมดทั้งใบ นำามาศึกษาในห้องปฏิบัติการมีดังนี้

เลือกลักษณะอื่นๆรูปใบของผักเหลียงโครงสร้างภายในของใบ

ใบของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

โครงสร้างภายในของใบ

Cross-section ใบ

Long – section ใบ

เซลล์คมุและปากใบ

กลับสู่หน้าที่แล้ว

ลำาต้น

ผกัเหลียงเป็นไม้พุ่ม มีความสูงประมาณ 3-4 เมตร ลำาต้นเป็นทรงกระบอกและตั้งตรงได้เอง เนือ้ไม้ค่อนข้างอ่อน ลำาต้นแสดงใหเ้หน็เป็นข้อๆ ระยะหา่งระหว่างข้อประมาณ 5-8 เซนติเมตร ผวิเปลือกเมื่ออ่อนจะเรียบและเป็นสีเขียว เมื่อแก่จะเป็นสำานำ้าตาลและขรุขระ

เลือกลักษณะอื่นๆดูรูปลำาต้นของผักเหลียงดูรูปโครงสร้างภายในของลำาต้น

ลำาต้นของผักเหลียง

กลับสู่หน้าที่แล้ว

โครงสร้างภายในของลำาต้น

ลำาต้นบริเวณโคนจะมผีิวขรุขระลักษณะโครงสร้างภายในลำาต้น (ตดัตามขวาง)

ลักษณะโครงสร้างภายในของลำาตน้ (ตัดตามยาว)

กลับสู่หน้าที่แล้ว

ดอก

ต้นผักเหลียงจะติดดอกเมื่ออายุประมาณ 5 – 6 ปี ดอกมีลักษณะเป็นช่อ ซึ่งออกมาเป็นช่อตามข้อกิง่ แต่ละช่อยาว 5 – 7 เซนติเมตร ดอกเริ่มออกในเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม มีสขีาว ขนาดเล็ก คล้ายดอกพริกไทย คือ รปูร่างเหมือนถ้วยตะไลเล็กๆ เรียงซ้อนกัน มีปุ่มหุ้มโคน

รูปดอกของผักเหลียง

ดอกของผักเหลียง

เลือกลักษณะอื่นๆ

ผล

ผลมีลักษณะเป็นชอ่ มีประมาณ 10-20 ผล เรียงตัวกันหนาแน่น ผลมีลักษณะกลมรี คล้ายรูปไข่ ผลกวา้ง 1-1.5 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่จัดมีสีเหลือง ผลจะแก่จัดในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ภายในผลมีเมล็ดสขีาว หนาและแข็งเฉพาะสว่นหัว และมีเปลือกหุ้มเมล็ดค่อนขา้งบาง เมล็ดกวา้งประมาณ 0.7-1 ซม. ยาว 1-1.5 ซม.

ดูรูปผลของผักเหลียง

ผลของผักเหลียง

เลือกลักษณะอื่นๆ

การขยายพันธุข์องผักเหลียง

การไหลราก คือ การแตกต้นใหม่จากรากแขนง บนผิวดินโดยเกษตรกรนิยมใชว้ธิีนี้เนื่องจากให้ผลผลิตรวดเร็ว

การตอนกิ่ง คือ การตัดกิ่งมาควัน่กิ่งชิดกับข้อและตอนกิ่งเช่นเดียวกับพืชทั่วไป โดยใชก้ิ่งที่ไม่อ่อนไม่แก่เกินไป

การเพาะเมล็ด มีระยะฟักตัวนานประมาณ 1-2 ป ีจึงไม่เปน็ที่นิยม แต่ต้นที่ได้จะทนทานกวา่วธิีอื่น เนื่องจากมีรากแก้ว

การปักชำา สามารถทำาได้แต่มีเปอร์เซ็นต์การตายสูง จึงไม่เปน็ที่นิยม

กลับสู่หน้าหลัก

ระบบนิเวศวิทยา

ต้นผักเหลียงชอบขึ้นใต้ร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ต่างๆ

ซึ่งการที่ผักเหลียงมีต้นอ่อนขึ้นอยู่บริเวณรากทำาให้ทรงพุม่ของผักเหลียงหนาแน่น

จึงสามารถช่วยปอ้งกันการชะล้างหน้าดนิได้เปน็อย่างดี

เมื่อปลูกร่วมกับต้นไมใ้หญ่ต่างๆจะช่วยปอ้งกันการโค่นล้มของต้นไม้ใหญ่นัน้ไปในตัวสิ่งมีชีวิตที่พบมีทั้งผู้ที่กินซากพชืซากสัตว์

ซึ่งชว่ยให้ดนิเกิดความร่วนซุย และผู้ที่ย่อยสลายชว่ยให้มีธาตุอาหารที่พืชสามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้เกิดขึ้นอยู่ตลอดเ

วลา ทำาให้ตน้เหลียงสามารถเจริญเติบโตไดด้ีตาม

ธรรมชาติ

กลับสู่หน้าหลัก

ประโยชน์

นำาไปประกอบอาหาร เช่น ผัดผักเหลียง แกงเลียงผักเหลียง

ลวกทานกับขนมจีนเรียกวา่ ผักเหนาะ มีกากและใยอาหารสูง มีเบต้าแครอทีนสงู

ช่วยบำารุงสายตาและป้องกันโรคต้อกระจกตา

กลับสู่หน้าหลัก

ภูมิปัญญาท้องถิ่นผกัเหลียง สามารถประกอบอาหารได้หลายชนิด

และเป็นอาหารที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดพังงา จังหวัดระนอง สามารถนำาไปผัดนำ้ามันเพื่อบริโภค หรือนำาไปแกงกะทิ หรือแกงเลียง สำาหรับร้านขายขนมจีนนิยมนำาไปลวก ราดกะทิใช้เป็นผักรับประทานกับขนมจีนหรือขา้วแกง นอกจากนี้ยังสามารถนำาไปแกงส้ม แกงพริกกับหมู ปลา ไก่ ใชร้องหอ่หมก แกงจืดหมูสับ และใช้ลวกจิ้มนำ้าพริก เมล็ดที่แก่จัดนำามาคั่วไปหรอืต้มสุกใช้รับประทานเช่นเดียวกับถั่วต่างๆ

ผกัเหลียงเป็นผกัพื้นเมืองที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่ตอ้งการของผู้บริโภค ซึง่ปัจจุบันตลาดมีความตอ้งการเป็นจำานวนมาก

กลับสู่หน้าหลักรูปอาหารต่างๆ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผักเผลียงผัดไข่ใส่วุ้นเสน้

แกงเลียงผักเหลียง

การบูรณาการกบัวิชาต่างๆ วทิยาศาสตร์:

สกัดสีและนำาไปทำากระดาษอินดิเคเตอร์ คณิตศาสตร:์

หาความสูงและระยะหา่งของต้นไม้โดยใช้ตรีโกณมิติ

ภาษาไทย: แต่งกลอน เขียนบรรยายและเรียงความ ภาษาองักฤษ:

นำาข้อมูลของต้นไม้มาแปลและนำาเสนอเป็นภาษาอังกฤษ

สังคมศกึษา: นำาเสนอภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับพืชท้องถิน่

ศลิปะ: แต่งเพลงพฤกษศาสตร์ คอมพิวเตอร์: นำาเสนอผลการศกึษาโดยโปรแกรม

power point การงาน: ทำาเครื่องประดับ ของตกแตง่บ้าน

และทำาอาหารจากพืชท้องถิน่

กลับสู่หน้าหลัก

ความประทับใจของพืชที่ศึกษา

ผักเหลียง เปน็พืชท้องถิ่นที่พวกเราพบเห็นมานาน แตไ่ม่เคยทราบถึงความสำาคัญของผักเหลียง จากการศึกษาพรรณไม้ชนิดนี้ตามพระราชดำาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทำาให้พวกเราไดค้วามรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งพวกเราไม่เคยทราบมาก่อนเลยว่า ผักเหลียงที่รับประทานกันอยู่เป็นประจำานี ้จะชว่ยบำารุงสายตาและยังชว่ยป้องกันโรคต้อกระจกไดอ้ีกด้วย

กลับสู่หน้าหลัก

ขอบคุณครับ