12
สาระสําคัญ e-Book เปนหนังสือหรือเอกสารที่ถูกจัดทําขึ้นในรูปของอิเล็กทรอนิกสและสามารถอานไดดวย อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถศึกษาเรียนรูไดทุกทีทุกเวลา ตามความตองการการเรียนรู ซึ่งเปนการ ตอบสนองตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ผูศึกษาควรเรียนรูขั้นตอนการติดตั้ง โปรแกรม FlipAlbum Vista Pro ที่งายตอการใชงาน และมีขั้นตอนการติดตั้งที่ไมซับซอน จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียน เขาใจถึงความสําคัญและความหมายของ e-Book 2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของ e-Book 3. นักเรียนบอกคุณสมบัติของโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro ได 4. นักเรียนทําการติดตั้งโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro ตามขั้นตอนได

ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

สาระสําคัญ

e-Book เปนหนังสือหรือเอกสารท่ีถูกจัดทําข้ึนในรูปของอิเล็กทรอนิกสและสามารถอานไดดวย

อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ท่ีสามารถศึกษาเรียนรูไดทุกท่ี ทุกเวลา ตามความตองการการเรียนรู ซ่ึงเปนการ

ตอบสนองตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ผูศึกษาควรเรียนรูข้ันตอนการติดตั้ง โปรแกรม FlipAlbum

Vista Pro ท่ีงายตอการใชงาน และมีข้ันตอนการติดตั้งท่ีไมซับซอน

จุดประสงคการเรียนรู

1. นักเรียน เขาใจถึงความสําคัญและความหมายของ e-Book

2. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของ e-Book

3. นักเรียนบอกคุณสมบัติของโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro ได

4. นักเรียนทําการติดตั้งโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro ตามข้ันตอนได

Page 2: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

ใบความรูแบบฝกปฏิบัติที่ 1

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book)

1. ความสําคัญของ e-Book

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ได

กําหนดรูปแบบการจัดการเรียนรูไว 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย โดยใหประชาชนมีโอกาสเรียนรูตลอดชีวิตสามารถเลือกเรียนไดตามความสนใจ ความถนัด

และความเหมาะสมตามสภาพของตนเอง เพ่ือใหบุคคลสามารถพัฒนาศักยภาพตนเองไดอยางเต็ม

ความสามารถและมีความพรอมในการดํารงอยูในสังคมไทยซ่ึงเปนสังคมฐานความรู ท่ีการเรียนรู ความรู

และนวัตกรรมเปนสิ่งสําคัญในการพัฒนา จึงจําเปนอยางยิ่ง ท่ีจะตองเสริมสรางฐานความรูท่ีเขมแข็งใหกับ

ประเทศเพ่ือความสามารถในการปรับตัว รูเทาทันการเปลี่ยนแปลง โดยสงเสริมและสรางสภาพการณให

คนไทยทุกคนมีสิทธิ และความเสมอภาคในการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

ในปจจุบันระบบสารสนเทศมีความสําคัญและความจําเปนอยางยิ่งในการดําเนินงานของ

หนวยงานตางๆ ไมวาจะเปน หนวยงานรัฐบาลหรือเอกชน โดยอาศัยขอมูลขาวสารท่ีมีอยู กระบวนท่ีทําให

เกิดสารสนเทศนี้เรียกวา การประมวลผลสารสนเทศ (Information Technology) และเรียกวิธีการ

ประมวลผลสารสนเทศดวยเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส นี้วา เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ มาจากคํา 2 คํา นั่นคือ เทคโนโลยี หมายถึง การนําเอาความรูทางดาน

วิทยาศาสตรมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน และสารสนเทศ หมายถึง ขอมูลท่ีผานการประมวลผลแลว

การประมวลผลท่ีวานี้ เชน การวิเคราะห การจัดลําดับ การเรียงขอมูล เปนตน ซ่ึงระบบสารสนเทศท่ีมี

ประสิทธิภาพจะชวยใหการดําเนินงานขององคกรท้ังดานการจัดการและอ่ืนๆ ใหมีประสิทธิภาพ สามารถ

ใหบริการแกกลุมเปาหมายไดอยางตอเนื่องและทันตอความตองการและสภาพปจจุบันของสังคมและ

กลุมเปาหมาย และจากความกาวหนาอยางไมหยุดยั้งของเทคโนโลยีสารสนเทศทาใหเราจําเปนตองเรียนรู

และกาวใหทันกับความเปลี่ยนแปลงตางๆ ท่ีเกิดข้ึน และสามารถนําเทคโนโลยีนั้นมาประยุกตใชใน

ชีวิตประจําวัน โดยเฉพาะทางการศึกษามีความจําเปนท่ีจะตองนําเทคโนโลยีมาใชใหมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผล ดังปรากฏในกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ (IT 2010) ท่ีไดกําหนดใหการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศในสวนของการศึกษา (e-education) เปนหนึ่งในหาองคประกอบหลักท่ีจะสนับสนุน

การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดใหความสําคัญเก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาไว

อยางชัดเจนในหมวด 9 วา

“เทคโนโลยีจะยิ่งเพ่ิมบทบาทสําคัญยิ่งข้ึนตอการศึกษาสูอนาคต จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีนักการศึกษา

จะตองทําการศึกษาในเรื่องนี้ เพ่ือใหสามารถนําเทคโนโลยีมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการศึกษาและ

สังคม การนาสื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษามาใชก็นับวาเปนสิ่งสําคัญยิ่ง ท่ีจะชวยใหผูเรียนไดเกิดความรู

Page 3: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

และทักษะในกระบวนการเรียนการสอนไดอยางเปนรูปธรรมยิ่งข้ึน เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาเปน

เครื่องมือชวยใหเขาถึงขอมูลขาวสารไดมากและ รวดเร็ว ชวยยนระยะทางใหใกลข้ึนจนสามารถเขาถึง

ขอมูลขาวสารไดทุกหนทุกแหง ชวยเชื่อม ประสานและสื่อสารระหวางกันไดงาย เกิดรูปแบบการเรียนรู

รวมกัน และเรียนรูไดตลอดเวลาในดานการศึกษา มีการสรางสื่อตางๆ เก็บรวบรวมไวในรูปดิจิตอล

กอใหเกิดการทดแทนสื่อแบบอิเล็กทรอนิกส เชน การสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส การสรางหองสมุด

ดิจิตอล นอกจากนี้ยังชวยสรางโมเดล การเรียนการสอนแบบใหมไดมากมาย จะเห็นไดวาเทคโนโลยี

ทางดานการศึกษาชวยเปลี่ยนแปลงรูปแบบการศึกษาเปนอยางมาก โดยเฉพาะการจัดการความรู เพ่ือนํา

องคความรูมาใชประโยชน และสามารถสรางรูปแบบการประยุกตใชงานไดกวางขวาง”

หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เปนรูปแบบการใหการศึกษาแกประชาชนตามแนวทางการ

ปฏิรูปการศึกษารูปแบบหนึ่งท่ีจะทาใหประชาชนสามารถเขาถึงการศึกษาไดตามความตองการและสภาพ

ของตนเอง e-Book มีคุณลักษณะสําคัญท่ีสามารถเชื่อมโยงไปยังสวนตางๆ ของหนังสือ เว็บไซตตางๆ

ตลอดจนมีปฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนี้ยังสามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว

แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพเอกสารท่ีตองการออกทางเครื่องพิมพได อีกประการหนึ่งท่ีสําคัญก็คือ

สามารถปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยไดตลอดเวลา ซ่ึงคุณสมบัติเหลานี้จะไมมีในหนังสือธรรมดาท่ัวไป จึงอาจ

นับไดวา e-Book เปนอีกหนึ่งนวัตกรรม ท่ีจะสงเสริมใหประชาชนไดเรียนรูไดอยางกวางขวาง ตามความ

ตองการและสภาพของตนเอง ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทย

2. กวาจะมาเปน e-Book

หนังสือท่ีมีอยูโดยท่ัวไป จะมีลักษณะเปนเอกสารท่ีจัดพิมพดวยกระดาษ แตดวยความ

เปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงดานเล็กทรอนิกส ท่ีมีการพัฒนาตอเนื่องอยางไมหยุดยั้ง

ทําใหมีการคิดคนวิธีการใหมโดยใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาชวย จึงไดนําหนังสือดังกลาวเหลานั้นมา

ทําคัดลอก ( scan) โดยท่ีหนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแตจะไดขอมูลอิเล็กทรอนิกสท่ีเปนแฟมภาพข้ึนมาใหม

วิธีการตอจากนั้นก็คือจะนําแฟมภาพตัวหนังสือมาผานกระบวนการแปลงภาพเปนตัวหนังสือ (text) ดวย

การทํา OCR (Optical Character Recognition) คือการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพ่ือแปลงภาพ

ตัวหนังสือใหเปนตัวหนังสือท่ีสามารถแกไขเพ่ิมเติมได

การถายทอดขอมูลในระยะตอมา จะถายทอดผานทางแปนพิมพ และประมวลผลออกมาเปน

ตัวหนังสือและขอความดวยคอมพิวเตอร ดังนั้นหนากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเปนแฟมขอมูล ( files)

แทน ท้ังยังมีความสะดวกตอการเผยแพรและจัดพิมพเปนเอกสาร (documents printing)

รูปแบบของหนังอิเล็กทรอนิกสยุคแรกๆ มีลักษณะเปนเอกสารประเภท . doc, .txt, .rtf, และ

.pdf ไฟล ตอมาเม่ือมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ขอมูลตางๆ ก็จะถูก

ออกแบบและตกแตงในรูปของเว็บไซต โดยในแตละหนาของเว็บไซตเราเรียกวา "web page" โดยสามารถ

Page 4: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

เปดดูเอกสารเหลานั้นไดดวยเว็บเบราวเซอร (web browser) ซ่ึงเปนโปรแกรมประยุกตท่ีสามารถแสดงผล

ขอความ ภาพ และการปฏิสัมพันธผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต

เม่ืออินเทอรเน็ตไดรับความนิยมมากข้ึน บริษัทไมโครซอฟต ( Microsoft) ไดผลิตเอกสาร

อิเล็กทรอนิกสข้ึนมาเพ่ือคอยแนะนําในรูปแบบ HTML Help ข้ึนมา มีรูปแบบของไฟลเปน . CHM โดยมี

ตัวอานคือ Microsoft Reader (.LIT)

หลังจากนั้นตอมามีบริษัทผูผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอรจํานวนมาก ไดพัฒนาโปรแกรมจนกระท่ัง

สามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกสออกมาเปนลักษณะเหมือนกับหนังสือท่ัวไปได เชน สามารถแทรก

ขอความ แทรกภาพ จัดหนาหนังสือไดตามความตองการของผูผลิต และท่ีพิเศษกวานั้นคือ หนังสือ

อิเล็กทรอนิกสเหลานี้ สามารถสรางจุดเชื่อมโยงเอกสาร ( Hypertext) ไปยังเว็บไซตท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ ท้ัง

ภายในและภายนอกได อีกท้ังยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวตางๆ ลงไปในหนังสือได โดย

คุณสมบัติเหลานี้ไมสามารถทําไดในหนังสือท่ัวไป

3. ความหมายของ e-Book

ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือ e-Book มีผูใหความหมายไวหลากหลาย ดังนี้

สํานักเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (website

http://203.146.15.11) ใหความหมายวา “e-Book หมายถึง หนังสืออิเล็กทรอนิกสท่ีผูอานสามารถอาน

ผานทางอินเตอรเน็ตหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสพกพาอ่ืนๆ ได ซ่ึงมีความหมายรวมถึงเนื้อหาท่ีถูกดัดแปลง

อยูในรูปท่ีสามารถแสดงผลออกมาไดโดยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส แตก็ใหมีลักษณะการนําเสนอท่ี

สอดคลองและคลายคลึงกับการอานหนังสือท่ัวๆ ไปในชีวิตประจําวัน แตมีลักษณะพิเศษคือ สะดวกและ

รวดเร็วในการคนหาและผูอานสามารถ อานพรอมๆ กัน ไดโดยไมตองรอใหอีกฝายหนึ่งสงคืนหองสมุด

เชนเดียวกับหนังสือในหองสมุดท่ัวๆ ไป”

Tech Encyclopedia (1999 : 1) ไดใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสในฐานะท่ีเปน

ฮารดแวร วาเปนอุปกรณฉบับกระเปาท่ีสามารถแสดงขอมูลท่ีอยูในรูปอิเล็กทรอนิกสได สามารถจัดทํา

สําเนาได ทําบุคมารคและทําหมายเหตุประกอบได ซ่ึงสอดคลองกับ Electronic Book- Webopedia

Definition (1999 : 1) วา เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสฉบับกระเปา พกพาสะดวกดวยน้ําหนักเพียงเล็กนอย

เก็บขอมูลไดถึง 4,000 หนากระดาษ การเปดพลิกหนา พอกเกตบุคใหความรูสึกใกลเคียงกับการเปด

หนังสือจริง สามารถทําแถบสวาง (Highlight) ทําหมายเหตุประกอบ คนหาคํา และสรางบุคมารคได

e-Book (http://th.wikipedia.org) คือหนังสือท่ีเก็บอยูในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส หรือเก็บไว

อยูในแบบของไฟล โปรแกรม สวนมากท่ีเขาใจกันคือ หนังสือท่ีเก็บในอุปกรณอิเล็กทรอนิกสโดยไมตองใช

กระดาษ และมีการสรางจากคอมพิวเตอร และสามารถอานไดจากอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอยาง

คอมพิวเตอรโนตบุค PDA(Personal Digital Assistant) Palm และ PocketPC หรือแมกระท่ังอานได

จากโทรศัพทมือถือ

Page 5: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

“อีบุค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เปนคําภาษาตางประเทศ ยอมาจากคําวา

electronic book หมายถึง หนังสือท่ีสรางข้ึนดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมีลักษณะเปนเอกสาร

อิเล็กทรอนิกส โดยปกติมักจะเปนแฟมขอมูลท่ีสามารถอานเอกสารผานทางหนาจอคอมพิวเตอรท้ังใน

ระบบออฟไลนและออนไลน

คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเชื่อมโยงจุดไปยังสวนตางๆ ของหนังสือ เว็บไซต

ตางๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถแทรกภาพ

เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพเอกสารท่ีตองการออกทางเครื่องพิมพได อีก

ประการหนึ่งท่ีสําคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยไดตลอดเวลา ซ่ึง

คุณสมบัติเหลานี้จะไมมีในหนังสือธรรมดาท่ัวไป

อาจกลาวไดวา e-Book หมายถึง หนังสือหรือเอกสารท่ีจัดทําข้ึนดวยระบบคอมพิวเตอรสามารถ

อานไดดวยอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร โทรศัพทมือถือ และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอ่ืนๆ

สามารถอานไดท้ังในระบบออนไลนและออฟไลน

4. โปรแกรมท่ีนิยมใชในการสราง e-Book

โปรแกรมท่ีนิยมใชสราง e-Book มีอยูหลายโปรแกรม แตท่ีนิยมใชกันมากในปจจุบันไดแก

- โปรแกรมชุด Flip Album

- โปรแกรม DeskTop Author

- โปรแกรม Flash Album Deluxe

ชุดโปรแกรมท้ัง 3 จะตองติดตั้งโปรแกรมสําหรับอาน e-Book ดวย มิฉะนั้นแลวจะเปดเอกสาร

ไมได ประกอบดวย

- โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอานคือ FlipViewer

- โปรแกรมชุด DeskTop Author ตัวอานคือ DNL Reader

- โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอานคือ Flash Player

สําหรับบางทานท่ีมีความชํานาญในการใชโปรแกรม Flash Mx ก็สามารถสราง e-Book ได

เชนกัน แตตองมีความรูในเรื่องการเขียน Action Script และ XML เพ่ือสราง e-Book ใหแสดงผลตามท่ี

ตองการได

โปรแกรม FlipAlbum Vista Pro มีคุณสมบัติพิเศษท่ีเหมาะสมในการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีจะ

พัฒนาสื่อเพ่ือเผยแพรความรูไดอยางกวางขวางคือ

1. มีข้ันตอนการสรางงาย ไมยุงยากและซับซอน และใชเวลาในการผลิตนอย

2. สามารถสรางงานและจัดเก็บในรูปแบบของซีดีรอม หรือเผยแพรผานอินเทอรเน็ตได

3. สามารถแทรกภาพเคลื่อนไหวประเภท Gif Animation ได

Page 6: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

5. ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) กับหนังสือท่ัวไป

ความแตกตางของหนังสือท้ังสองประเภทจะอยูท่ีรูปแบบของการสราง การผลิตและการใชงาน

เชน

1) หนังสือท่ัวไปใชกระดาษ หนังสืออิเล็กทรอนิกสไมใชกระดาษ

2) หนังสือท่ัวไปมีขอความและภาพประกอบธรรมดา หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถสรางใหมี

ภาพเคลื่อนไหวได

3) หนังสือท่ัวไปไมมีเสียงประกอบ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถใสเสียงประกอบได

4) หนังสือท่ัวไปแกไขปรับปรุงไดยาก หนังสื่ออิเล็กทรอนิกสสามารถแกไขและปรับปรุงขอมูล

(update) ไดงาย

5) หนังสือท่ัวไปสมบูรณในตัวเอง หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถสรางจุดเชื่อมโยง (links)

ออกไปเชื่อมตอกับขอมูลภายนอกได

6) หนังสือท่ัวไปตนทุนการผลิตสูง หนังสืออิเล็กทรอนิกสตนทุนในการผลิตหนังสือต่ํา ประหยัด

7) หนังสือท่ัวไปมีขีดจํากัดในการจัดพิมพ หนังสืออิเล็กทรอนิกสไมมีขีดจํากัดในการจัดพิมพ

สามารถทําสําเนาไดงายไมจํากัด

8) หนังสือท่ัวไปเปดอานจากเลม หนังสืออิเล็กทรอนิกสตองอานดวยโปรแกรม ผานทางหนา

จอคอมพิวเตอร

9) หนังสือท่ัวไปอานไดอยางเดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกสนอกจากอานไดแลวยังสามารถสั่งพิมพ

(print)ได

10) หนังสือท่ัวไปอานได1 คนตอหนึ่งเลม หนังสืออิเล็กทรอนิกส 1 เลม สามารถอานพรอมกันได

จํานวนมาก (ออนไลนผานอินเทอรเน็ต)

11) หนังสือท่ัวไปพกพาลําบาก (ตองใชพ้ืนท่ี) หนังสืออิเล็กทรอนิกสพกพาสะดวกไดครั้งละ

จํานวนมากในรูปแบบของไฟลคอมพิวเตอร ใน Handy drive หรือ CD

12) หนังสืออิเล็กทรอนิกสเปนนวัตกรรมท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

6. โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book Construction)

ลักษณะโครงสรางของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะมีความคลายคลึงกับหนังสือท่ัวไปท่ีพิมพดวย

กระดาษ หากจะมีความแตกตางท่ีเห็นไดชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอานหนังสือ

สรุปโครงสรางท่ัวไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย

- หนาปก (Front Cover)

- คํานํา (Introduction)

- สารบัญ (Contents)

Page 7: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

- สาระของหนังสือแตละหนา (Pages Contents)

- อางอิง (Reference)

- ดัชนี (Index)

- ปกหลัง (Back Cover)

หนาปก หมายถึง ปกดานหนาของหนังสือซ่ึงจะอยูสวนแรก เปนตัวบงบอกวาหนังสือเลมนี้ชื่อ

อะไร ใครเปนผูแตง

คํานํา หมายถึง คําบอกกลาวของผูเขียนเพ่ือสรางความรู ความเขาใจเก่ียวกับขอมูล และเรื่องราว

ตางๆ ของหนังสือเลมนั้น

สารบัญ หมายถึง ตัวบงบอกหัวเรื่องสําคัญท่ีอยูภายในเลมวาประกอบดวยอะไรบาง อยูท่ีหนาใด

ของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสูหนาตางๆ ภายในเลมได

สาระของหนังสือแตละหนา หมายถึง สวนประกอบสําคัญในแตละหนา ท่ีปรากฏภายในเลม

ประกอบดวย

- หนาหนังสือ (Page Number)

- ขอความ (Texts)

- ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff

- เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi

- ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi

- จุดเชื่อมโยง (Links)

อางอิง หมายถึง แหลงขอมูลท่ีใชนํามาอางอิง อาจเปนเอกสาร ตํารา หรือ เว็บไซตก็ได

ดัชนี หมายถึง การระบุคําสําคัญหรือคําหลักตางๆ ท่ีอยูภายในเลม โดยเรียงลําดับตัวอักษรให

สะดวกตอการคนหา พรอมระบุเลขหนาและจุดเชื่อมโยง

ปกหลัง หมายถึง ปกดานหลังของหนังสือซ่ึงจะอยูสวนทายเลม

(บทความนี้เขียนโดย ดร.ไพฑูรย ศรีฟา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา ม.เกษตรศาสตร อางอิงจากหนังสือ

"กลยุทธการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบมืออาชีพ") รายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับ e-Book ศึกษาไดจาก

เว็บไซต www.drpaitoon.com

7. ความตองการของระบบ

กอนท่ีจะติดตั้งโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro เราตองทราบกอนวาเครื่องคอมพิวเตอรสามารถ

ติดตั้งโปรแกรมไดหรือไม โดยเครื่องคอมพิวเตอร จะตองมีระบบพ้ืนฐานดังนี้

เครื่องคอมพิวเตอร

และ CPU

เปนเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลท่ัวไป CPU ข้ันต่ํา : Pentium4

ความเร็ว 1.8 MHz ข้ึนไป แตควรใชท่ีมีความเร็วมากกวา 2.0 MHz ข้ึนไป ซ่ึง

จะเห็นวาคอมพิวเตอรท่ีมีในทองตลาดในปจจุบันจะมี Spec สูงกวาท่ีกําหนดนี้

Page 8: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

จึงจะสามารถใชงานกับโปรแกรมนี้ได

RAM

ควรมีความจุอยางนอย 512 MB ข้ึนไป แตแนะนําใหใช 1024MB หรือ

มากกวา ในกรณีท่ีตองการใชงานประเภท Multimedia หรือจําเปนตองใชงาน

หลายโปรแกรมพรอมกัน

ความจุของ

Hard Disk ควรมีพ้ืนท่ีเหลือใชงานอยางนอย 100 MB

Drive เครื่องคอมพิวเตอรท่ีใชงาน ควรมี CD Writer เพ่ือใชในการบันทึกสื่อ

ท่ีสรางเสร็จแลว ลงแผน CD-ROM

การปรับหนาจอ

คอมพิวเตอร

ปรับหนาจอคอมพิวเตอรเปนขนาด 800 x 600 pixels และการ

แสดงผล 32 bit แตแนะนําวาควรปรับหนาจอเปน 1027 x 768 pixels

ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP แนะนําใหใชระบบปฏิบัติการ Windows XP

Pro service pack3 หรือ Microsoft Windows Vista

อุปกรณอ่ืนๆ ท่ีจําเปน เมาส การดเสียง ลําโพง และไมโครโฟน

8. วิธีการติดตั้งโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro

1) ใสแผน CD-ROM โปรแกรม FlipAlbum Vista Pro เขาไปในชอง CD_ROM drive

ของเครื่องคอมพิวเตอรจะดําเนินการเปดระบบการติดตั้งอัตโนมัติ โดยเริ่มจากการตรวจสอบ

ระบบปฏิบัติการตางๆ ในเครื่อง ตอจากนั้นจะเริ่มเปด InstallShield Wizard ดังภาพ

ในกรณีท่ี Installation wizard ไมทํางาน ใหเปดเขาไปท่ีแผน CD แลว ดับเบิ้ลคลิกท่ี

ไฟล setup.exe

Page 9: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

ระบบจะเปดหนาตาง InstallShield Wizard ใหคลิกปุม Next

2) ปรากฏหนาตาง License Agreement ใหอานขอตกลงเก่ียวกับลิขสิทธิ์ใหเขาใจ หาก

ยอมรับใหคลิกท่ีปุม I accept the terms in the license agreement และคลิกท่ีปุม Next เพ่ือ

ไปยังข้ันตอนตอไป

3) ปรากฏหนาตาง Customer Information

- ใสชื่อผูใช (User Name :)

- ใสชื่อองคกร (Organization :)

- เลือกวิธีการติดตั้ง ใหเลือกแบบ Anyone uses this computer (all users)

แลวคลิกปุม Next

Page 10: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

4) โปรแกรมจะกําหนดใหติดตั้งท่ี C:\Program Files\E-Book Systems\FlipAlbum

Vista Pro\ หากตองการเปลี่ยนใหคลิกท่ี Change… แลวทําการเลือก Drive ตามตองการ แลวคลิก

ปุม Next

5) หนาจอจะแสดงเพ่ือใหเตรียมความพรอมท่ีจะลงโปรแกรม ใหคลิกปุม Install

6) หนาจอจะแสดงกระบวนการติดตั้งโปรแกรม รอจนกวาโปรแกรมจะทําการติดตั้งเสร็จ

สมบูรณ โดยสังเกตจากแถบสีเขียวจะเต็มชองดานขวามือ

Page 11: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

7) เม่ือถึงหนาตางนี้แสดงวาไดติดตั้งโปรแกรมเสร็จแลว ใหคลิกปุม finish

9. การเปดโปรแกรม FlipAlbum Vista Pro

9.1 การเขาสูโปรแกรม มี 2 วิธี ดังนี้

9.1.1 ดับเบิ้ลคลิกท่ีไอคอนโปรแกรม ท่ีอยูบนหนาจอคอมพิวเตอร

9.1.2 เลือกท่ีเมนู Start Programs E-Book Systems FlipAlbum Vista

Pro FlipAlbum Pro ดังภาพ

9.1.3 เม่ือเรียกใชงานครั้งแรกโปรแกรมจะใหกรอกรายละเอียดดังนี้

Page 12: ใบความรู้ ที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book)

ใสชื่อผูใช (Name:)

ชื่อองคกร (Organization : )

รหัสโปรแกรม (Activation Key : )

เม่ือกรอกขอมูลครบถวนเรียบรอยทุกชองแลว ใหคลิกปุม OK

9.1.4 โปรแกรมจะทําการลงทะเบียนสินคา และแจงรหัสการลงทะเบียน จากนั้นให

คลิกปุม Close ถือวาเปนการติดตั้งโปรแกรมท่ีเสร็จสมบูรณทุกประการ

9.1.5 หนาตาของโปรแกรมท่ีพรอมใชงาน