166
แผนกลยุทธ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (..2552-2555) สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

  • Upload
    nimt

  • View
    353

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 1 ~

แผนกลยุทธ

สถาบันมาตรวทิยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555)

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 2: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 2 ~

สารบัญ

คํานํา 8 บทสรุปผูบริหาร 10 บทที ่1 บทนาํ 16

1.1 หลักการและเหตุผล 16 1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ 18

บทที ่2 การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบนัมาตรวิทยาแหงชาต ิ 20 2.1 ผลการดาํเนนิงานของสถาบนัฯ ตามแผนกลยทุธสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ(พ.ศ.2548-2551) 20 2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวทิยาแหงชาต ิ 23 2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม 25

บทที ่3 แผนกลยทุธจากการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (Strategic Plan from SWOT Analysis) 30 3.1 SWOT Matrix 30 3.2 วิสัยทัศนของสถาบนัมาตรวิทยาแหงชาต ิ 32 3.3 พันธกิจของสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 32 3.4 วัฒนธรรมและคานยิม 32 3.5 เปาประสงคการใหบริการของสถาบนัฯ 32 3.6 แผนกลยทุธสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 33

บทที ่4 แผนงานและโครงการตามแผนกลยทุธ 36 4.1 การวเิคราะหปจจัยแหงความสําเร็จที่มผีลตอการดําเนนิงานของสถาบนัฯ 36

4.2 ประเดน็ยทุธศาสตรที ่1 42 กลยุทธที ่1 42

4.3 ประเด็นยทุธศาสตรที่ 2 51 กลยุทธที ่2 51

4.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 56 กลยุทธที ่3 56

4.5 ประเด็นยทุธศาสตรที่ 4 61 กลยุทธที ่4 61

Page 3: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 3 ~

บทที ่5 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบนัมาตรวิทยากับแผนแมบทการพัฒนา ระบบมาตรวทิยาแหงชาต ิและแผนอื่นๆ ทีเ่กี่ยวของ 66

5.1 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบนัมาตรวิทยากับแผนแมบทฯ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอืน่ๆที่เกี่ยวของ 66

5.2 ประมาณการงบประมาณเบื้องตนตามแผนกลยทุธ ฯ 68 5.3 ประมาณการบุคลากรเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ 73

บทที ่6 แผนการติดตามและประเมนิผล 76 6.1 การประเมนิโดยการประเมนิตนเอง 76 6.2 การประเมนิโดยหนวยงานภายนอก 77

ภาคผนวก ภาคผนวก ก ระบบมาตรวทิยาแหงชาต ิ 78 ภาคผนวก ข ความเปนมาของสถาบนัมาตรวิทยาแหงชาติ 84 ภาคผนวก ค โครงสรางองคกรและอัตรากําลังของสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 90 ภาคผนวก ง แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที ่2 (พ.ศ.2552-2559) 96 ภาคผนวก จ แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559) 102 ภาคผนวก ฉ ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาติ

(พ.ศ.2548-2551) 122 ภาคผนวก ช ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบและจํานวนเครื่องมือวัดของ

ภาคอุตสาหกรรม 146 ภาคผนวก ซ ผลการสํารวจจํานวนการใหบริการสอบเทยีบเครื่องมือวดั และขีด

ความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูม ิ 152 ภาคผนวก ฌ ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวทิยาใหเขมแขง็ 158 ภาคผนวก ญ แผนการดําเนนิการจัดทําแผนกลยทุธฯ 162

Page 4: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 4 ~

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 การวิเคราะหจดุแข็ง (Strength) ของสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 25 ตารางที่ 2 การวิเคราะหจดุออน (Weakness) ของสถาบันมาตรวทิยาแหงชาต ิ 26 ตารางที ่3 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) ของสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 27 ตารางที ่4 การวิเคราะหอุปสรรค (Threat) ของสถาบันมาตรวทิยาแหงชาต ิ 28 ตารางที่ 5 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 1 44 ตารางที่ 6 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกีย่วของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ของกลยทุธที ่1 50 ตารางที่ 7 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 2 52 ตารางที่ 8 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกีย่วของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ของกลยทุธที ่2 55 ตารางที่ 9 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 3 57 ตารางที่ 10 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกีย่วของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ของกลยทุธที ่3 59 ตารางที่ 11 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 4 62 ตารางที่ 12 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกีย่วของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ของกลยทุธที ่4 63 ตารางที่ 13 ประมาณการความตองการงบประมาณในการดําเนินงานสถาบันฯ

ประจาํปงบประมาณ พ.ศ.2552-2555 จาํแนกตามแผนกลยทุธ และแผนงาน 69 ตารางที่ 14 ประมาณการความตองการอัตรากําลังคนที่เพิม่ข้ึนของสถาบนัฯ พ.ศ.2552-2555 73 ตารางที่ 15 แผนการดําเนนิงานติดตามและประเมินตนเอง 77 ตารางที ่16 อัตรากําลังคนของสถาบนัฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒิการศึกษา 94 ตารางที่ 17 แผนความตองการงบประมาณของยทุธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

พ.ศ.2552-2559 118 ตารางที่ 18 ตัวชี้วัดผลการดําเนนิงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 119 ตารางที่ 19 ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบเครือ่งมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

จําแนกตามสาขาการวัด 125 ตารางที่ 20 สถิติการเขารวมการอบรม ณ ตางประเทศ จําแนกตามป 132 ตารางที่ 21 จํานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ. 2549-2550 จําแนกตามประเภท

อุตสาหกรรม 149

Page 5: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 5 ~

ตารางที่ 22 ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับรอง

ระบบบริหารงานคุณภาพทัง้ประเทศ จาํแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 150 ตารางที่ 23 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทยีบเครื่องมือวดัและขีดความสามารถทางการวัด

ของหองปฏิบัติการสอบเทยีบระดับทุติยภูมิ จําแนกตามสาขาการวัด 155

Page 6: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 6 ~

สารบัญแผนภาพ แผนภาพที ่1 การกําหนดกลยุทธจาก SWOT Matrix 30 แผนภาพที ่2 SWOT Matrix ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 31 แผนภาพที่ 3 แผนกลยทุธสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 64 แผนภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางกลยทุธของแผนกลยทุธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

(พ.ศ.2552-2555) กับหนวยงานที่เกีย่วของ (ผูมีสวนไดสวนเสยี) 65 แผนภาพที ่5 การเชื่อมโยงระหวางแผนยทุธศาสตรกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

แผนแมบทฯกบัแผนกลยทุธสถาบนัฯ 66 แผนภาพที ่6 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบนัมาตรวิทยาแหงชาติกับแผนแมบทฯ

แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนยทุธศาสตรชาติ นโยบายภาครฐั และแผนบรหิารราชการอืน่ๆ ทีเ่กี่ยวของ 67

แผนภาพที่ 7 ประเภทของมาตรวิทยาจาํแนกตามระดับความแมนยาํ 81 แผนภาพที่ 8 โครงสรางระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถงึการยอมรับจากนานาชาต ิ 83 แผนภาพที ่9 แสดงโครงสรางการบรหิารสถาบนัมาตรวทิยาแหงชาต ิ 93 แผนภาพที ่10 รอยละของอัตรากําลงัคนของสถาบนัฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒกิารศึกษา 94 แผนภาพที่ 11 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทยีบเครื่องมือวดัของหองปฏบัิติการฯ

พ.ศ.2550 จําแนกตามสาขาการวัด 155 แผนภาพที่ 12 จํานวนหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่ไดรับการรับรอง

ความสามารถ ISO/IEC 17025 ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จําแนกตามภาค 156

Page 7: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 7 ~

Page 8: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 8 ~

คํานํา

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) เปนการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ โดยแผนกลยุทธสถาบันฯ จะเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นโยบายของรัฐบาล และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของ มีสวนชวยผลักดันใหเกิดการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศใหสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืน การดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติจะทําใหระบบมาตรวิทยาแหงชาติสมบูรณ เปนที่ยอมรับของนานาชาติ ภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของมีศักยภาพสามารถแขงขันกับนานาประเทศไดในยุคการคาเสรีที่มีการกีดกันทางการคา โดยอาศัยความไดเปรียบทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนขอกําหนดคุณภาพของสินคา สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศมีความเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน นอกจากนี้การมีระบบมาตรวิทยาแหงชาติที่สมบูรณตามมาตรฐานสากลจะมีบทบาทสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในประเทศ ตลอดจนการอนุรักษส่ิงแวดลอม อันสงผลใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) จะเรงการพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัดแหงชาติไดเพียงพอกับความตองการในประเทศ เรงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็ง เรงการสงเสริมสนับสนุนใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่มีคุณภาพและมีจํานวนที่เพียงพอสําหรับรองรับความตองการของภาคอุตสาหกรรม สามารถคุมครองผูบริโภคในประเทศและการอนุรักษส่ิงแวดลอม ตลอดจนเรงสงเสริมการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาแกกลุมผูใชบริการมาตรวิทยา รวมทั้งการใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางพันธไมตรีอันดีระหวางประเทศเพื่อนบาน อันจะสงผลใหผูประกอบการไทยสามารถขยายตลาดสูตลาดตางประเทศ ซึ่งการพัฒนาในแตละประเด็นดังกลาวไดมีการกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิต กิจกรรม หนวยงานที่รับผิดชอบ การประมาณการงบประมาณ และการติดตามประเมินผลไวอยางชัดเจน เพื่อสามารถนําแผนไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ผลสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธฉบับนี้เกิดจากความรวมมือรวมใจอยางเขมแข็งจากผูบริหาร บุคลากรในสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของในการรวมระดมความคิดเห็น เพื่อใหไดแผนกลยุทธอันสามารถนําไปใชในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหสมบูรณ สามารถเปนโครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรของชาติที่สําคัญในการพัฒนาประเทศใหกาวหนาอยางยั่งยืนตอไป

Page 9: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 9 ~

Page 10: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 10 ~

บทสรุปผูบริหาร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีหนาที่สถาปนา พัฒนา และรักษามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ เพื่อเปนหลักประกันความถูกตองของการวัด การวิเคราะห และทดสอบ เพื่อใหผลิตภัณฑมีคุณภาพไดมาตรฐานตามขอกําหนดของประเทศคูคา สถาบันฯ ไดดําเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมีผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด เพื่อใหการดําเนินการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ มีความตอเนื่องมีทิศทางในการดําเนินงานที่ชัดเจน จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) โดยแผนกลยุทธฯ มีความสอดคลองกับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 การจัดทําระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยงของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ เพื่อใหสถาบันฯ สามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีข้ันตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากรอยางคุมคา สรปุผลการดาํเนนิงานตามแผนกลยทุธสถาบันมาตรวทิยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)

1) สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติและสามารถใหบริการสอบเทียบไดเพิ่มข้ึนเปน 424 รายการวัด

2) หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ตองพัฒนาเพิ่มใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ

3) ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนา โดยเรงดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)

4) ขอบขายการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิยังไมสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดอยางเพียงพอ

5) จํานวนและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในสวนภูมิภาคยังไมเพียงพอตอความตองการของภาคอุตสาหกรรม

Page 11: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 11 ~

6) ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ ป 2550 มีจํานวนประมาณ 7.9 ลานชิ้น และมีจํานวนเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเปนรอยละ 5.13

7) สังคมไทยที่ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของระบบมาตรวิทยามีจํานวนนอย

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) ประกอบดวย 4 กลยุทธ ดังนี้

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 มาตรฐานดานการวัดแหงชาติตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

และเพียงพอกับความตองการในประเทศ กลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล

และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล

โครงการที่ 1.1.1 โครงการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาต ิ

แผนงานที่ 1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ

โครงการที่ 1.2.1 โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 1.2.2 โครงการผลิตวัสดุอางอิงสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

โครงการที่ 1.2.3 โครงการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และส่ิงแวดลอม

โครงการที่ 1.2.4 โครงการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญทางดานชีววิทยา

แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน โครงการที่ 1.3.1 โครงกา รพัฒนาและดํ า ร ง ระบบคุณภาพ

หองปฏิบัติการ

Page 12: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 12 ~

แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา โครงการที่ 1.4.1 โครงการพัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยและ

พัฒนาดานมาตรวิทยา

แผนงานที่ 1.5 พัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา

โครงการที่ 1.5.1 โครงการเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร โครงการที่ 1.5.2 โครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยา

กับตางประเทศ

โครงการที่ 1.5.3 โครงการพัฒนาระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM)

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การบริการดานการวัด การวิเคราะห การทดสอบ และสอบเทียบใหไดมาตรฐานสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

แผนงานที่ 2.1 พัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา โครงการที่ 2.1.1 โครงการบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการให

คําปรึกษา แผนงานที่ 2.2 สงเสริมหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตาม

มาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ

โครงการที่ 2.2.1 โครงการเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค โครงการที่ 2.3.1 โครงการสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห

ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในภูมิภาค โครงการที่ 2.3.2 โครงการความรวมมือในการพัฒนามาตรวิทยากับ

เครือขายพันธมิตร

Page 13: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 13 ~

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 สังคมไทยตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา กลยุทธที่ 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญและเห็น

ประโยชนของมาตรวิทยา

แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา เพื ่อใหผู ใชบริการมาตรวิทยาในกลุ มผูอยู ในระบบงาน

ปจจุบัน กลุมบุคคลผู จะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไปตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน

โครงการที่ 3.1.1 โครงการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาใหแกผูใชบริการมาตรวิทยา

โครงการที่ 3.1.2 โครงการสงเสริมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา

แผนงานที่ 3.2 พัฒนาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม เพื่อใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน

ปจจุบันของภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชน โครงการที่ 3.2.1 โครงการยกระดับความสามารถดานการวัดใน

ภาคอุตสาหกรรม

แผนงานที่ 3.3 สงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล เพื่อใหกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันของการแพทย

ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

โครงการที่ 3.3.1 โครงการสงเสริมการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

โครงการที่ 3.3.2 โครงการสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

แผนงานที่ 3.4 พัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย

โครงการที่ 3.4.1 โครงการปรับปรุงเว็บไซดของสถาบันฯ โครงการที่ 3.4.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร

ใหทันสมัย

Page 14: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 14 ~

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 ระบบมาตรวิทยาแห งชาติที่ เ ขมแข็ งสนับสนุนกิจกรรมตางประเทศของรัฐบาล

กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ แผนงานที่ 4.1 เสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศเพื่อนบานโดย

กิจกรรมดานมาตรวิทยา

โครงการที่ 4.1.1 โครงการความรวมมือดานมาตรวิทยากับประเทศเพื่อนบาน

แผนงานที่ 4.2 สนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสูประเทศเพื่อนบาน

โครงการที่ 4.2.1 โครงการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยายตลาดสูตางประเทศ

ระยะเวลาดําเนินการ

เร่ิมดําเนินการ พ.ศ.2552 ส้ินสุดการดําเนินการ พ.ศ.2555 รวมระยะเวลาดําเนินการ 4 ป

งบประมาณดําเนินการ

1) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552 จํานวน 200.00 ลานบาท 2) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2553 จํานวน 255.40 ลานบาท 3) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2554 จํานวน 770.00 ลานบาท 4) ประมาณการงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2555 จํานวน 1016.00 ลานบาท

Page 15: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 15 ~

Page 16: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 16 ~

บทที่ 1

บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล การจัดทําแผนกลยุทธขององคกรเปนสวนหนึ่งของการจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธที่มีพลวัตและสามารถปรับเปลี่ยนใหทันการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี จะนํามาซึ่งความสําเร็จของการบริหารจัดการในภาวะการณที่มีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยการจัดทําแผนกลยุทธจะมุงเนนการกําหนดทิศทางการดําเนินภารกิจขององคกรในอนาคตที่ชัดเจน มีความสอดคลองกับสถานการณภายนอก จุดแข็ง และจุดออน และทรัพยากรในองคกร มีการจัดลําดับความสําคัญเพื่อสามารถตอบสนองและปรับปรุงการปฏิบัติงานที่รวดเร็ว รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงนโยบายและแผนระดับสูงมายังผลลัพธ ผลผลิตระยะยาว รวมทั้งการนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ.2546 การจัดทําระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงกระบวนการบริหารงานในดานตาง ๆทั้งดานการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยงของหนวยงานกับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ สงผลใหหนวยงานสามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดดําเนินงานตามบทบาทและอํานาจหนาที่ของพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 และไดดําเนินงานภายใตแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) ที่ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2542 แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 และแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) ผลการดําเนินงานที่สําคัญตามแผนแมบทและแผนกลยุทธดังกลาวมีดังนี้ สถาบันฯ ไดถูกจัดตั้งขึ้นโดยเริ่มดําเนินงานเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2541 สามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดและใหบริการสอบเทียบไดจํานวน 424 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุอางอิงรับรองได 4 ชนิด ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตของสํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) ทั้งหมด 4 สาขาการวัด จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา สาขามวล สาขาความดัน และสาขาอุณหภูมิ นอกจากนี้สถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จากองคกรรับรองความสามารถหองปฏิบัติการ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี และจาก International

Page 17: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 17 ~

Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 94 รายการวัด รวมทั้งไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2000 จากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ต้ังแต พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบันสถาบันฯดําเนินการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมใหมีขีดความสามารถในการแขงขันทางการคา โดยการสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมมีการวัดที่ถูกตอง อันสงผลใหผลิตภัณฑมีคุณภาพไดมาตรฐานและประหยัดวัตถุดิบ ตลอดจนเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิต ซึ่งนับไดวาประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ในฐานะเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ดูแลและพัฒนาระบบมาตรวิทยา ซึ่งมีภารกิจในการพัฒนาสถาบันฯ ใหเปนที่ยอมรับจากนานาชาติ สามารถใหบริการมาตรฐานดานการวัดแหงชาติใหเพียงพอกับความตองการในประเทศ ไดแก ความตองการของภาคอุตสาหกรรมและภาคเศรษฐกิจอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ ความตองการดานการวัดในกิจกรรมการคุมครองผูบริโภค ตลอดจนความตองการดานการวัดในกิจกรรมการอนุรักษส่ิงแวดลอม ชวยยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของภาคอุตสาหกรรม และสรางความตระหนักใหกับประชาชนในชาติใหมีความรูความเขาใจถึงความสําคัญและประโยชนของระบมาตรวิทยา สถาบันฯ จึงดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) เพื่อเปนการกําหนดทิศทางและวางกรอบภารกิจของสถาบันฯ ใหสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ และยังใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการภายในสถาบันฯ และการประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยไดจัดทําแผนกลยุทธที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2540) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2547-2556) และแผนพัฒนายุทธศาสตรกระทรวงวิทยศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2551-2554) นอกจากนี้สถาบันฯ ยังนําพระราชกฤษฏีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ ดี พ.ศ.2546 การจัดทําระบบงบประมาณที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร (Strategic Performance-Based Buddgeting: SPBB) และเครื่องมือวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใชจายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) มาใชในการปรับปรุงกระบวนการบริหารงานดานการบริหารงานเชิงกลยุทธ ตลอดจนการวิเคราะหความเชื่อมโยงของสถาบันฯ กับความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ สงผลใหสถาบันฯ สามารถจัดทําแผนกลยุทธที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีระบบ และมีข้ันตอนการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากรอยางคุมคา ในแผนกลยุทธฉบับนี้ ไดกําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย กลยุทธ และมาตรการสําคัญที่จะตองดําเนินการในชวง พ.ศ.2552-2555 รวมทั้งกําหนดผูรับผิดชอบการดําเนินการ ตลอดจนกําหนดการติดตามประเมินผลและนําขอมูลที่ไดรับไปพิจารณาทบทวนและปรับปรุงแผนใหมีความเหมาะสมเปนระยะๆ ในโอกาสตอไป

Page 18: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 18 ~

1.2 วัตถุประสงคการจัดทําแผนกลยุทธ 1.2.1 เพื่อกําหนดทิศทางและแนวทางการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และ

การประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 1.2.2 เพื่อจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ เปาหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิต และผลลัพธ ของสถาบันฯ

ใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม

Page 19: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 19 ~

Page 20: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 20 ~

บทที่ 2 การวิเคราะหสภาวะแวดลอมของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

การจัดตั้งและพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง เริ่มตั้งแตการจัดตั้งหองปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดขึ้นเปนแหงแรกในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2504 โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ตอมาในป พ.ศ.2508 กองทัพอากาศไดดําเนินการสอบเทียบเครื่องมือวัดในกองทัพ โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด กรมการสื่อสารทหารอากาศ และเมื่อ พ.ศ.2509 กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เร่ิมใหการบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดภายใตโครงการมาตรวิทยาและการรับรองหองปฏิบัติการ ในป พ.ศ.2540 ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ รวมทั้งสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดถกูจดัตัง้ขึน้เพื่อดําเนินการสถาปนา พัฒนา และดูแลรักษามาตรฐานการวัดของชาติมาตั้งแต พ.ศ.2541 ถึงปจจุบัน สถาบันฯ ไดดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) โดยมีผลการดําเนินงานและรายละเอียดสถานภาพปจจุบันของสถาบันฯ ดังนี้ 2.1 ผลการดําเนินงานของสถาบันฯ ตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) ประกอบดวย 2 กลยุทธ ไดแก 1) กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 2) กลยุทธเผยแพรและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธฯ ดังรายละเอียดในภาคผนวก จ โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

2.1.1 กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน คือ 1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ และ 2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ ดังนี้

1) แผนงานการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตามมาตรฐานสากล ณ

เทคโนธานี รังสิต คลองหา สามารถดําเนินการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ พรอมทั้งใหบริการสอบเทียบได 424 รายการวัด ไดแก สาขามิติ จํานวน 160 รายการวัด สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ จํานวน 93 รายการวัด สาขาเชิงกล จํานวน 107 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ จํานวน 23 รายการวัด สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน จํานวน 13 รายการวัด สาขาแสง จํานวน 3 รายการวัด สาขาเคมี จํานวน 25 รายการวัด สามารถผลิตวัสดุและสารอางอิงรับรองได 4 ชนิด ไดแก วัสดุอางอิงความแข็งของโลหะ (Reference Block Rockwell Scale HRA และ HRB) วัสดุอางอิงรับรองดานเคมี (pH solution, Potassium Dichromate, Potassium Iodine)

Page 21: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 21 ~

ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบัน (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตขององคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) รวมทั้งหมด 4 สาขาการวัด จํานวน 354 รายการวัด คือ สาขาไฟฟา จํานวน 313 รายการวัด สาขามวล จํานวน 19 รายการวัด สาขาความดัน จํานวน 11 รายการวัด สาขาอุณหภูมิ จํานวน 11 รายการวัด และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 รวม 94 รายการวัด แบงเปนไดรับการรับรองจากองคกรรับรองความสามารถ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี จํานวน 46 รายการวัด และจาก International Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน จํานวน 48 รายการวัด การบริการสอบเทียบและการอบรมของสถาบันฯ ไดรับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และไดรับการรับรองมาตรฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ต้ังแตป พ.ศ.2547 จนถึงปจจุบัน สถาบันฯ ไดเขารวมเปรียบเทียบผลการวัดระดับนานาชาติ (Interlaboratory Comparison) กับองคกรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและนานาชาติอยางตอเนื่องและมีผลการวัดอยูในเกณฑที่กําหนด

2) แผนงานพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ สถาบันฯ รวมกับสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติของตางประเทศ อาทิ โครงการความ

รวมมือระหวาง Japan International Cooperation Agency: JICA และสถาบัน (JICA-NIMT), โครงการความรวมมือระหวาง Physikalisch-Technische Bundesanstalt: PTB,Germany และสถาบัน (PTB-NIMT) เปนตน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของสถาบันฯ โดยมีความรวมมือในการสงนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ไปฝกอบรมในตางประเทศ รวมทั้งมีผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาใหความรูทางเทคนิคแกนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ในชวง พ.ศ.2547-2550 มีการจัดสงนักมาตรวิทยาเขารับการอบรม ณ ตางประเทศจํานวน 103 คน นอกจากนี้ใน พ.ศ.2550 มีการเขารวมประชุมและกิจกรรมทางมาตรวิทยา ณ ตางประเทศ จํานวน 33 คร้ัง (53 คนครั้ง) บุคลากรของสถาบันฯ ไดนําเสนอและตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยในเวทีการประชุมสัมมนาระดับนานาชาติ ซึ่งเปนการพัฒนาขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา อาทิเชน หองปฏิบัติการวิเคราะหไฟฟาเคมีไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง pH measurement โดยใชวิธี/อุปกรณปฐมภูมิที่เรียกวา Harned Cell ผลงานวิจัยไดนําเสนอในการประชุม Biological Environmental Reference Materals (BERMs) คร้ังที่ 11 ณ เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุน รวมทั้งมีการตีพิมพผลงานในวารสารตางประเทศ “Journal of Occupational Health” เร่ือง “Exposure to lead of boatyard workers in Southern Thailand.” September 2007, volume 49[5]: 345-52 เปนตน

Page 22: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 22 ~

2.1.2 กลยุทธเรงเผยแพรและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ กลยุทธนี้ประกอบดวย 2 แผนงาน ไดแก 1) แผนงานการเผยแพรความรูเความเขาใจดานมาตรวิทยา

สูสังคม และ 2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด ดังนี้ 1) แผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคม

สถาบันฯ ไดดําเนินงานในแผนงานการเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาที่สถาบันฯ ไดดําเนินการอยางตอเนื่องคือการประชาสัมพันธเผยแพรขาวสารดานมาตรวิทยาผานสื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ สื่อมัลติมีเดีย และการพัฒนาขอมูลขาวสารบนเว็บไซตของสถาบันฯ นอกจากนี้สถาบันฯ มีการจัดประชุมสัมมนาเพื่อใหความรูความเขาใจแกกลุมผูใชบริการเพือ่ใหเขาใจถงึความสาํคญัของมาตรวทิยาในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และลดตนทุนการผลิตเปนประจําตลอดอยางตอเนื่อง อาทิเชน โครงการยกระดับคุณภาพการวัดของภาคอุตสาหกรรม ดําเนินกิจกรรมการใหคําปรึกษาดานการวัดแกกลุมผูใชบริการ มีการจัดทําเอกสาร Capability List และ Price List ที่แสดงถึงความสามารถดานการวัดและการสอบเทียบในสาขาการวัดตางๆ และอัตราคาบริการ เพื่อใหกลุมผูใชบริการสามารถตัดสินใจใชบริการที่สอดคลองกับความจําเปน รวมทั้งสถาบันฯ ไดดําเนินการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในทุกระดับการศึกษาโดยรวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการบรรจเุนือ้หาวชิาดานมาตรวิทยาในระดับชั้นมัธยมศึกษา รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาในการอบรมครูอาจารยระดับอาชีวศึกษา และรวมมือกับมหาวิทยาลัยจัดทําโครงการพัฒนารายวิชามาตรวิทยาในหลักสูตรการศึกษา ผลการดําเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ.2550 มีมหาวิทยาลัยจํานวน 6 แหงไดบรรจุและเปดสอนวิชามาตรวิทยาในหลักสูตร การดําเนินงานที่คูขนานไปกับการสนับสนุนใหสถานศึกษาเปดสอนวิชามาตรวิทยา คือการจัดอบรมหลักสูตรมาตรวิทยาขั้นพื้นฐาน ข้ันทฤษฏีและภาคปฏิบัติ เพื่อใหกลุมคนในระบบงานที่เกี่ยวของกับการวัด วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรมตางๆ ใหมีการเรียนรูและพัฒนาขีดความสามารถดานมาตรวิทยา

2) แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด ในระยะเริ่มแรกของแผนกลยุทธ (พ.ศ.2548-2551) มีหองปฏิบัติการสอบเทียบเขารวม

ทั้งสิ้น 13 แหง มีหองปฏิบัติการสอบเทียบทั้งภาครัฐและเอกชนรวม 138 แหง สถาบันฯ มีกิจกรรมสงเสริมหองปฏิบัติการใหเขมแข็งอยางตอเนื่อง และไดผลักดันใหจัดตั้งสมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทยขึ้น มีการจัดตั้งเครือขายมาตรวิทยาเคมี โดยมีหนวยงานจากภาคการศึกษาและภาครัฐตางๆ จํานวน 30 หนวยงานเขารวมเปนสมาชิกเครือขาย สถาบันฯ ไดเสริมสรางความเขมแข็งของเครือขายหองปฏิบัติการ โดยดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางหองปฏิบัติการสอบเทียบ และจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญของหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบ จัดอบรมสัมมนาเพื่อใหความรูแกบุคลากรของหองปฏิบัติการอยางตอเนื่อง ดําเนินโครงการใหคําปรึกษาใหกับหองปฏิบัติการเพื่อใหมีขีดความสามารถขยายขอบขายการใหบริการได นอกจากนี้สถาบันฯ ไดมีสวนรวมสนับสนุนระบบรับรอง

Page 23: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 23 ~

ระบบงาน (Accreditation System) ของหองปฏิบัติการ โดยรวมกับสํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ในการประเมินความสามารถของหองปฏิบัติการ

2.2 สถานภาพปจจุบันของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ดวยภารกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติที่มีบทบาทอยางสูงตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเพื่อเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของระบบมาตรวิทยาแหงชาติ จึงไดมีการจัดตั้งสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติขึ้นภายใตการกํากับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และไดมีการกอสรางอาคารและจัดหามาตรฐานดานการวัดแหงชาติ ปจจุบันมีอาคารหองปฏิบัติการที่เปนไปตามมาตรฐานสากล และสามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติโดยไดรับการยอมรับจากนานาชาติ และสามารถใหบริการสอบเทียบได โดยหนวยวัดทางฟสิกสไดรับการสถาปนาแลวสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดแลวเปนสวนมากประมาณรอยละ 83 แตยังตอบสนองความตองการดานการวัดทางเคมีและชีวภาพไดเพียงสวนนอย

จากผลการสํารวจความตองการดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการสอบเทียบ และจากผลการประชุมสัมมนาภายใตชมรมมาตรวิทยา พบวาผูใชบริการยังมีความตองการการสอบเทียบในสาขาการวัดและชวงการวัด ดังนี้

- สาขามิติ ไดแก Flatness Interferometer, Roughness Specimen (AFM/SPM), Frequency Comb, Laser tracker, Theodolite Electronic Distance Measurement และ Contour Instrument

- สาขาไฟฟา เวลาและความถี่ ไดแก AC/DC High Voltage 0–120 kV, Current Transformer 0–1,000 A, High Voltage Source 0–300 kV, Voltage Transformer 0–100 kV, LCR Component Up–13 MHz, Magnetic Standard Block 0.6–0.7 mT, Insulation Tester และ FM/AM Modulation

- สาขาอุณหภูมิ ไดแก COD Reactor 150 ºc, Relative Humidity Sensor 2–100 % RH, เทอรโมมิเตอรในยานอุณหภูมิตํ่า ระหวาง -100 ถึง -1,200° C, และ IPRT/IR Thermometer ที่อุณหภูมิสูงกวา 600° C

- สาขาแสง ไดแก Spectroradiometer, Color Correlated Temperature, และ Opacity Meter - สาขาแรงบิด คือ Transducer 0.035 –0.353 Nm - สาขาความแข็ง คือ Micro Vickers Hardness Test Block 200–800 HV - สาขามวลและความหนาแนน ไดแก Hydrometer, ตุมน้ําหนัก (Weight or Weight set) Class E1

upto 50 kg รวมทั้งตุมน้ําหนักขนาดใหญถึง 1000 kg และการวัดปริมาณอื่นที่เกี่ยวของโดยตรง ไดแก สภาพความเปนแมเหล็กของตุมน้ําหนัก ความหนาแนนและปริมาตรของตุมน้ําหนัก เปนตน

Page 24: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 24 ~

- สาขาอัตราการไหล ไดแก Anemometer 0–120 km/h และ 0–20 m/s, Air Flow Meter 0-100 m3/min, และเครื่องใหสารละลายทางหลอดเลือด 1-10 ml/h

- สาขาความดันและสุญญากาศ คือ Digital Manometer 5 to -5 mbar - สาขาเคมีและชีวภาพ ในกลุมงานดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) มีความตองการ

วัดโปรตีนในอาหารสัตว การวัดปริมาณสารถนอมอาหารตางๆ ในผลิตภัณฑอาหาร อาทิเชน BHA, BHT, Sodium Benzoate, Sorbic Acid เปนตน กลุมงานดานคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection) มีความตองการศักยภาพการวัดดานเคมีคลินิก อาทิเชน Glucose, Cholesterol, Triglycerides, Ethanol, สารตกคางในเครื่องสําอางค การวัดปริมาณแรธาตุที่ระบุไวบนบรรจุภัณฑอาหารและยา การวัดสารสกัดจากสมุนไพร การวัดตามขอกําหนด RoHS ของสหภาพยุโรป และกลุมงานดานอนุรักษสิ่งแวดลอม (Environment Protection) มีความตองการเรงดวนในการวัดคุณภาพของน้ํา เชน คา Biochemical Oxygen Demand (BOD) คา Chemical Oxygen Demand (COD) การวัดปริมาณยาฆาแมลง การวัด Volatile Organic Compounds (VOC) การวัดปริมาณโลหะหนัก (Fe, Cr, Cd, Hg, As) และการวัดปริมาณ Nitrate และ Nitrite และในทุกกลุมงานจะมีความตองการเหมือนกัน ไดแก วัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)

ในภาพรวมหนวยวัดแหงชาติยังไมเพียงพอตามความตองการดานมาตรวิทยาภายในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ จึงควรมีการเรงดําเนินการสถาปนาและพัฒนาความสามารถในการวัดดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ โดยเรงดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)

สรุปสถานภาพของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ - หนวยวัดดานฟสิกสสามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดประมาณรอยละ 83 ซึ่งตอง

พัฒนาเพิ่มข้ึน เพื่อใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ - ความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในประเทศสูง ควรเรงดําเนินการพัฒนาวัสดุอางอิงรับรอง

(Certified Reference Material: CRM) จัดทําโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ใหเพียงพอ และพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงแหงชาติ (National Reference Laboratory)

Page 25: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 25 ~

2.3 การวิเคราะหสภาพแวดลอม หลักกฎหมาย พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (ระบุไวในแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ภาคผนวก ก และ ข)

2.3.1 การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

การวิเคราะหจุดแข็งและจุดออนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ จากการสัมมนาระดมสมองระดมความคิดเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยา (วันที่ 9 กันยายน 2551 ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ) สรุปไดดังนี้

ตารางที่ 1 การวิเคราะหจุดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

ประเด็น จุดแข็ง (Strength) 1. สถาบันฯ มีการพัฒนา 1. เปนสถาบันฯ หลักในการดําเนินงานใหระบบมาตรวิทยาของชาติเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

ระบบมาตรวิทยาอยาง 2. มีการพัฒนาและสถาปนาหนวยวัดของชาติอยางตอเนื่อง ตอเนื่อง 3. ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัดของสถาบันฯ (Calibration and Measurement

Capabilities: CMC) ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาวไดรับการเผยแพรในเว็บไซตขององคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Measures: BIPM)

4. สถาบันฯ ไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2000 ต้ังแต พ.ศ.2547 ถึงปจจุบัน และหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จาก DKD และ IA Japan จึงเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

5. เปนสถาบันฯ ที่มีบทบาทหนาที่ครบวงจรนับแตการสถาปนา พัฒนา บริการ ใหคําปรึกษา ถายทอด เผยแพร สรางความตระหนักดานมาตรวิทยา เนื่องจากมีบุคลากรที่มีความรูความสามารถและสามารถเชิญบุคลากรที่มีความรูความสามารถของหนวยงานภายนอกทั้งในประเทศและตางประเทศมารวมงาน

6. มีความคลองตัวในการดําเนินงาน มีความคลองตัวในการริเร่ิมโครงการใหม และมีความเหมาะสมกับภารกิจ เนื่องจากโครงสรางขององคกรมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเปนหนวยงานในกํากับและไมไดเปนสวนราชการ รวมทั้งมีกองทุนพัฒนาระบบมาตรวิทยา รายไดจากการดําเนินงานสามารถนํามาใชในกิจกรรมขององคกรไดโดยตรง และมีบุคลากรที่มีศักยภาพสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในวิทยาการใหมๆ

2. บุคลากรของสถาบันฯ มีความรูด านมาตรวิทยา และมีการพัฒนาสูงขึ้น

7. มีการสรางองคความรูใหม และสะสมความรูอยางตอเนื่อง ทําใหมีความเขมแข็งทางวิชาการดานมาตรวิทยา เพราะมีกลุมบุคลากรที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณทางดานมาตรวิทยาเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศและตางประเทศ

8. บุคลากรของสถาบันฯ มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการวิจัย พัฒนา การบริการ การถายทอด การเผยแพร และสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาสูง

9. บุคลากรของสถาบันฯ มีประสิทธิภาพและศักยภาพสูงในดานมาตรวิทยา มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะทาง

Page 26: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 26 ~

ตารางที ่1 (ตอ) ประเด็น จุดแข็ง (Strength)

3. มีแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

10. มีแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในการพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

4. มีความเขมแข็งของเครือขายพันธมิตรมาตรวิทยาทั้งในและตางประเทศ

11. มีเครือขายพันธมิตรมาตรวิทยา ทั้งเครือขายดานฟสิกสและเครือขายดานเคมีและชีวภาพ โดยสถาบันฯ รวมมือกับหนวยงานอื่น เชน สํานักงานปรมาณูเพ่ือสันติ สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย และเครือขายมาตรวิทยาเคมี เปนตน

12. มีความเขมแข็งในเครือขายหรือพันธมิตร และการยอมรับในระดับสากล เนื่องจากการเปน

สมาชิกในระดับนานาชาติ และการลงนาม MRA ทําใหสามารถระดมความรวมมือและชวยเหลือจากตางประเทศ

13. บุคลากรของสถาบันฯ มีการทํางานรวมกันเปนเครือขายกับนักมาตรวิทยา นักวิจัย และ

นักวิชาการทั้งในและตางประเทศ

ตารางที่ 2 การวิเคราะหจุดออน (Weakness) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ประเด็น จุดออน (Weakness)

1. ความไมเพียงพอของหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติ

1. การสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดที่ตอบสนองตอภาคเศรษฐกิจ และความตองการอยางมากของภาคอุตสาหกรรมยังไมเพียงพอ ไดแก 1) หนวยวัดและศักยภาพการวัดดานเคมีและชีวภาพ ซึ่งเปนหนวยวัดที่เปนไปตามความ

ตองการของอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสุขภาพ อันเปนอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ โปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program:, PT Scheme) และวัดสุอางอิง

2) หนวยวัดและศักยภาพการวัดทางฟสิกส เชน การพัฒนาการสอบเทียบสาขาอุณหภูมิ (ระหวาง -1,200 ถึง -100 องศาเซลเซียล) เปนตน

2. ขอจํากัดดานงบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณสําหรับการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ยังอยูในระดับตํ่าเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ทําใหไมเพียงพอสําหรับจัดหาเครื่องมือวัด เพ่ือใชในการสถาปนาเปนมาตรฐานอางอิง จึงไมสามารถตอบสนองความตองการดานการวัดในประเทศไดอยางเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานมาตรวิทยาเคมีและเทคโนโลยีชีวภาพ

3. อัตรากําลังที่ไมเหมาะสมมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของสถาบันฯ

3. อัตรากําลังที่ไมเหมาะสมกับภารกิจมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของ มว.

Page 27: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 27 ~

2.3.2 การวิเคราะหโอกาสและอุปสรรคของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

การวิเคราะหโอกาสและอุปสรรคของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ จากการสัมมนาระดมสมองระดมความคิดเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ (วันที่ 9 กันยายน 2551 ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ) สรุปไดดังนี้ ตารางที่ 3 การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

ประเด็น โอกาส (Opportunity) 1. การดําเนนิงานของสถาบันฯ

เปนที่ยอมรับจากนานาชาติ 1. หนวยงานดานมาตรวิทยาในตางประเทศใหการยอมรับวาสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปน

หนวยงานหลักของประเทศในการบริหารจัดการดานมาตรวิทยา 2. โอกาสไดรับการถายทอด

ความรูจากกิจกรรมความรวมมือกับตางประเทศ

2. หนวยงานดานมาตรวิทยาและเครือขายความรวมมือในตางประเทศใหความรวมมือ และสนับสนุนการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศไทย

3. ภาครัฐใหการสนับสนุนสงเสริมการดําเนินงาน

3. มีพระราชบัญญัติ นโยบาย ยุทธศาสตรของรัฐบาล และกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใหการสนับสนุนสงเสริมการดําเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติ

พัฒนาระบบมาตรวิทยา 4. มีโอกาสในการสรางความรวมมือกิจกรรมดานมาตรวิทยากับหองปฏิบัติการสอบเทียบและภาคอุตสาหกรรม สงผลใหเกิดการพัฒนาระบบมาตรวิทยา เผยแพรความรูความเขาใจ และสรางความตระหนักดานมาตรวิทยา เนื่องจากพระราชบัญญัติระบุบทบาทและหนาที่ของสถาบันฯ ไวอยางชัดเจน

4. ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการการวัดดานเคมีและชีวภาพสูง

5. มีความตองการการวัดดานเคมีและชีวภาพในประเทศสูง เชน อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสุขภาพและสิ่งแวดลอม

5. ภาคสังคมมีความตองการ 6. ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการการรับรองคุณภาพของผลิตภัณฑและบริการ การรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ

7. หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิมีความตระหนักถึงความสําคัญของระบบการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ

6. มีความตองการดานการวัดในประเทศที่ชัดเจน

8. มีการศึกษาสํารวจความตองการดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม และศึกษาดัชนีบงชี้สถานภาพขีดความสามารถดานการใหบริการสอบเทียบของหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิ รวมทั้งแนวโนมการเปลี่ยนแปลงความตองการและขีดความสามารถเปนประจําอยางตอเนื่อง

7. กระแสโลกมีความตองการสินคาและบริการที่ไดมาตรฐานเพิ่มขึ้น

9. กระแสโลกตระหนักถึงความสําคัญและมีความตองการระบบรับรองคุณภาพผลิตภัณฑและบริการสูง เพ่ือการมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงมีการตั้งเงื่อนไขทางการคาตางๆ เพ่ิมขึ้น เชน การตั้งเขตการคาเสรี เปนตน สงผลใหมีความจําเปนในการพัฒนาระบบการวัดแหงชาติไปสูระดับสากล

10. การแขงขันและการพัฒนาเศรษฐกิจภายใตเงื่อนไขทางการคาใหมๆ ทําใหภาคอุตสาหกรรมตองอาศัยระบบมาตรวิทยาในการแขงขันมากขึ้น

11. ในการกีดกันผลิตภัณฑดอยคุณภาพจากตางประเทศ มีความจําเปนตองกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑเพ่ือใชในประเทศกอน จึงสงผลใหภาคอุตสาหกรรมตองอาศัยระบบมาตรวิทยาเพื่อใชในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ

Page 28: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 28 ~

ตารางที ่3 (ตอ) ประเด็น โอกาส (Opportunity)

12. ภาคอุตสาหกรรมของไทยและภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ใหการยอมรับความสําคัญของระบบมาตรวิทยามากขึ้น โดยมีการนําระบบมาตรวิทยามาใชในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑและบริการเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสุขภาพ อันเปนอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ มีความตองการการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑและบริการ ซึ่งเปนโอกาสใหองคกรไดพัฒนาหนวยวัดและเพิ่มศักยภาพการวัดดานเคมีและชีวภาพ

13. ผูบริโภคในประเทศและตางประเทศมีความตองการสินคาและบริการที่ไดมาตรฐาน และ

ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตมากขึ้น

14. ผูใชบริการภาคอุตสาหกรรมมีความตองการใชบริการจากหองปฏิบัติการที่มีมาตรฐานมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

ตารางที่ 4 การวิเคราะหอุปสรรค (Threat) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

ประเด็น อุปสรรค (Threat) 1. เกิดสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 1. การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก สงผลใหความตองการผลิตภัณฑอุตสาหกรรมในตลาดโลก

ลดลง แตความตองการที่ลดลง ทําใหการแขงขันทวีความรุนแรงมากขึ้น 2. ภาคสังคมตระหนักถึง

ความสําคัญและประโยชน 2. ความรูความเขาใจดานการใชเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรมยังไมถูกตอง และขาดผูให

คําปรึกษาในการนําผลการสอบเทียบที่ไดไปใชงานอยางถูกตอง ดานมาตรวิทยาคอนขางนอย

3. ภาคอุตสาหกรรมสวนมากทําการสอบเทียบ เนื่องจากเปนขอกําหนดของระบบรับรองคุณภาพผลิตภัณฑและบริการ โดยมิไดเขาใจถึงประโยชนและความสําคัญ

3. ไมมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในระบบการศึกษาทุกระดับอยางเปนทางการ

4. ขาดการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาดานมาตรวิทยา เพ่ือปูพ้ืนฐานความรูความเขาใจหลักการของมาตรวิทยาในสถานศึกษา

4. ผูประกอบการขาดความเชื่อม่ันในผลการสอบเทียบ

5. ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมบางแหงยังขาดความเชื่อม่ันในผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดในประเทศ

เครื่องมือวัดในประเทศ 6. ใบรับรองคุณภาพของไทยยังไมเปนที่ยอมรับของนานาชาติทั้งหมด เนื่องจากหองปฏิบติการสอบเทียบและหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบที่มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของนานาชาติมีจํานวนไมเพียงพอ

5. ขอจํากัดดานคุณภาพและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการฯ

7. ขาดแคลนหองปฏิบัติการสอบเทียบ หองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบทางเคมีและชีวภาพในประเทศบางสาขา และจํานวนหองปฏิบัติการที่มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของนานาชาติมีไมเพียงพอ รวมทั้งการกระจายตัวของหองปฏิบัตการสอบเทียบยังไมทั่วถึงทุกภูมิภาค

6. หองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิขาดแคลนผูเชีย่วชาญดานมาตรวิทยา

8. บุคลากรของหองปฏิบัติการสอบเทียบที่มีความรูและประสบการณในงานมาตรวิทยาโดยตรงมีจํานวนนอย

Page 29: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 29 ~

Page 30: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 30 ~

บทที่ 3

แผนกลยุทธจากการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (Strategic Plan from SWOT Analysis)

เพื่อใหแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) สอดคลองกับสถานภาพ

เศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว เปนแผนที่สามารถนําไปประยุกตสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม จึงนําผลการวิเคราะหจุดออน (Weakness) จุดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติอันเปนปจจัยภายใน และผลการวิเคราะหโอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ของสถาบันฯ อันเปนปจจัยภายนอก นํามาประมวลเขียนในรูปของตาราง SWOT Matrix เพื่อใชกําหนดกลยุทธ ตอไป 3.1 SWOT Matrix

จากผลการวิเคราะหสภาวะแวดลอมภายใน อันไดแก การวิเคราะหจุดออน (Weakness) จุดแข็ง (Strength) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ การวิเคราะหสภาวะแวดลอมภายนอก อันไดแก การวิเคราะหโอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติในบทที่ 2 ผลการวิเคราะหดังกลาวนํามาประมวลเปน SWOT Matrix ดังแสดงในแผนภาพที่ 1 และ 2

ปจจัยภายใน ปจจัยภายนอก

จุดแข็ง (Strength) จุดออน (Weakness)

โอกาส (Opportunities) กลยุทธเชิงรุก (Aggressive) (S+O)

กลยุทธเชิงฟนฟู (Turn around) (W+O)

อุปสรรค (threats) กลยุทธเพิ่มทางเลือก (Diversification) (S+T)

กลยุทธเชิงรับ (Defensive) (W+T)

แผนภาพที ่1 การกาํหนดกลยุทธจาก SWOT Matrix

Page 31: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 31 ~

ปจจัยภายใน

ปจจัยภายนอก

จุดแข็ง (S) 1. สถาบันฯ มีการพัฒนาระบบมาตรวิทยาอยางตอเนื่อง

2. บุคลากรของสถาบันฯ มีความรูดานมาตรวิทยา และมีการพัฒนาสูงขึ้น

3. มีแผนยทุธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

4. มีความเขมแขง็ของเครอืขายพันธมิตรมาตรวิทยาทั้งในและตางประเทศ

จุดออน (W) 1. ความไมเพียงพอของหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติ

2. ขอจํากัดดานงบประมาณ 3. อัตรากําลังที่ไมเหมาะสมมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของสถาบันฯ

โอกาส (O) 1. การดําเนินงานของสถาบันฯ เปนที่ยอมรับ

จากนานาชาติ 2. โอกาสการไดรับการถายทอดความรูจาก

กิจกรรมความรวมมือกับตางประเทศ 3. ภาครัฐใหการสนับสนุนสงเสริมการดาํเนินงาน

พัฒนาระบบมาตรวิทยา 4. ภาคอุตสาหกรรมมีความตองการการวัด

ดานเคมีและชีวภาพสูง 5. ภาคสังคมมีความตองการการรบัรองคุณภาพ

ผลิตภัณฑ 6. มีความตองการดานการวัดในประเทศที่ชัดเจน 7. กระแสโลกมีความตองการสินคาและบริการ

ที่ไดมาตรฐานเพิ่มขึ้น

กลยุทธเชิงรุก (Aggressive) (ใชประโยชนจากโอกาสโดยอาศัยจุดแข็ง) 1. เผยแพรความรู สรางความตระหนัก

และถายทอดความถูกตองดานการวัดที่ไดรับการยอมรับจากระดับสากลไปสูกิจกรรมการวดัภายในประเทศ (S1+S2+ S4 +O2+O3+O5 +O6+O7)

2. พัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (S3+O4)

3. พัฒนาศักยภาพการวิจัยและพัฒนาดานมาตรวิทยา (S2+ S4+O3)

4. พัฒนานักมาตรวิทยา (S4+O2+O3) 5. ใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมอืในการสราง

ความรวมมือระหวางประเทศ (S2+ S4+O1)

กลยุทธเชิงฟนฟู (Turn around) (ลบลางจุดออนโดยอาศัยโอกาสที่มี) 1. เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัด

มาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากลและเพียงพอกบัความตองการของภาคอุตสาหกรรม (W1+ W2+O1+O4+O7)

อุปสรรค (T) 1. เกิดสภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 2. ภาคสังคมตระหนักถึงความสําคัญและ

ประโยชนดานมาตรวิทยาคอนขางนอย 3. ไมมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาใน

ระบบการศึกษาทกุระดับอยางเปนทางการ 4. ผูประกอบการขาดความเชื่อม่ันในผล

การสอบเทียบเครื่องมือวัดในประเทศ 5. ขอจํากัดดานคุณภาพและการกระจายตัว

ของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ สอบเทยีบระดับทุติยภูมิ

6. หองปฏิบัติการทุติยภูมิขาดแคลนผูเชี่ยวชาญดานมาตรวิทยา

กลยุทธเพิ่มทางเลือก (Diversification) (หลีกเลี่ยงขอจํากัดโดยอาศัยจุดแข็ง) 1. ใชเครอืขายมาตรวิทยาในการสนบัสนนุ

กิจกรรมดานการสรางความตระหนักและพัฒนาศักยภาพหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ (S4+T2+T4+T5)

2. การพัฒนาแหลงเรียนรูดานมาตรวิทยา (S1+ S2+T3 +T6)

กลยุทธเชิงรับ (Defensive) (ลดจุดออนและหลีกเลี่ยงขอจํากัด) 1. จัดทําแผนอัตรากาํลังคน เพ่ือ

เพ่ิมขีดความสามารถในการดําเนินงานของสถาบันฯ (W3+T1-T6)

2. จัดทําแผนพัฒนาสถาบันฯ เพ่ือเปนแนวทางการทํางานในระยะยาว (W3+T2-T6)

แผนภาพที ่2 SWOT Matrix ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 32: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 32 ~

จากตาราง SWOT Matrix ขางตน ประกอบกับพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 แผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) และแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) นํามากําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัฒนธรรมคานิยม เปาประสงค และกลยุทธ มีรายละเอียดดังนี้

3.2 วิสัยทัศนของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ เปนองคกรหลักของประเทศในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล ที่มีบทบาทสําคัญตอการเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ การคุมครองผูบริโภคในประเทศ และการอนุรักษส่ิงแวดลอม 3.3 พันธกิจของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

เพื่อบรรลุถึงวสัิยทัศนที่กาํหนดไว สถาบนัฯ ไดกําหนดพนัธกิจดังนี ้3.3.1 พัฒนามาตรฐานการวัดแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล 3.3.2 ถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศ 3.3.3 เผยแพรองคความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคมไทย 3.3.4 เปนองคกรหลักในการดําเนินงานดานมาตรวิทยาระหวางประเทศ

3.4 วัฒนธรรมและคานิยม

มุงมั่นเพื่อการวัดในประเทศเปนที่ยอมรับของสังคมโลก (Commit to Globally Accepted Measurement)

3.5 เปาประสงคการใหบริการของสถาบันฯ

3.5.1 หนวยวัดของชาติไดรับการสถาปนาและพัฒนาใหเพียงพอตามความตองการของผูใชบริการในประเทศ และเปนที่ยอมรับของนานาชาต ิ

3.5.2 บุคลากรดานมาตรวิทยาไดรับการพัฒนา และสามารถปฏิบัติภาระหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3.5.3 เปนองคกรหลักในการประสานความรวมมือดานมาตรวิทยาของชาติทั้งในและตางประเทศ

3.5.4 สงเสริมความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและจํานวนที่เพียงพอตามความตองการของประเทศ

3.5.5 กิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศมีความถูกตองเปนที่ยอมรับของนานาชาต ิ

Page 33: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 33 ~

3.5.6 กลุมเปาหมายผูใชบริการมาตรวิทยา อันไดแก กลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไป มีความรูความเขาใจถึงความสําคัญและประโยชนของระบบมาตรวิทยา เพื่อใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน

3.5.7 กลุมเปาหมายภาคอุตสาหกรรมไดรับการสนับสนุนในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานใหมีศักยภาพการแขงขันในตลาดการคาโลกสูงขึ้น

3.5.8 รัฐบาลสามารถใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ

3.6 แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 3.6.1 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 มาตรฐานดานการวัดแหงชาติตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

กลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับ

สากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

เปาประสงค 1) หนวยวัดของชาติไดรับการสถาปนาและพัฒนาใหเพียงพอตามความ

ตองการของผูใชบริการในประเทศ และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 2) บุคลากรดานมาตรวิทยาได รับการพัฒนา และสามารถปฏิบัติ

ภาระหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3) เปนองคกรหลักในการประสานความรวมมือดานมาตรวิทยาของชาติทั้งในและตางประเทศ

จากเปาประสงคของกลยุทธที่ 1 สามารถสรุปเปนแผนงานไดดังนี ้แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับ

มาตรฐานสากล (W1+ W2+O1+O4+O7), (S3+O4) แผนงานที่ 1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

ของประเทศให เขมแข็ งและได รับการยอมรับจากนานาชาติ (S3+O4)

แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน (W1+ W2+O1+O4+O7)

แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา (S2+ S4+O3) แผนงานที่ 1.5 พัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา (S4+O2+O3), (W3+T1-T6)

Page 34: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 34 ~

3.6.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การบริการดานการวัด การวิเคราะห การทดสอบ และสอบเทียบใหไดมาตรฐานสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใน

ประเทศ

เปาประสงค 1) สงเสริมความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ

ระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและจํานวนที่เพียงพอตามความตองการของประเทศ

2) กิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศมีความถูกตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ จากเปาประสงคของกลยุทธที่ 2 สามารถสรุปเปนแผนงานไดดังนี ้แผนงานที่ 2.1 พัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา

(S1+S2+ S4+O2+O3+O5+O6+O7), (W1+ W2+O1+O4+O7) แผนงานที่ 2.2 สงเสริมหองปฏิบัติการระดับการทุติยภูมิใหมีคุณภาพ

ตามมาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ (S1+S2+S4+O2+O3+O5+O6+O7), (S4+T2+T4+T5)

แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค

(S1+S2+ S4 +O2+O3+O5 +O6+O7), (S4+T2+T4+T5)

3.6.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 สังคมไทยตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

กลยุทธที่ 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

เปาประสงค 1) กลุมเปาหมายผูใชบริการมาตรวิทยา อันไดแก กลุมบุคคลผูอยูใน

ระบบงาน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไป มีความรูความเขาใจถึงความสําคัญและประโยชนของระบบมาตรวิทยา เพื่อใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน

2) กลุมเปาหมายภาคอุตสาหกรรมไดรับการสนับสนุนในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานใหมีศักยภาพการแขงขันในตลาดการคาโลกสูงขึ้น

Page 35: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 35 ~

จากเปาประสงคของกลยุทธที่ 3 สามารถสรุปเปนแผนงานไดดังนี ้แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดาน

มาตรวิทยา (S1+S2+S4+O2+O3+O5+O6+O7), (S1+S2+T3 +T6) เพื่อใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมผูอยูในระบบงาน

ปจจุบัน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไปตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชน แผนงานที่ 3.2 พัฒนาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม

(S1+S2+S4 +O2+O3+O5 +O6+O7) เพื่อให ผู ใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยู ใน

ระบบงานปจจุบันของภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชน แผนงานที่ 3.3 สงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตาม

มาตรฐานสากล (S3+O4) เพื่อใหกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันของการแพทย

ตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา แผนงานที่ 3.4 พัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย

(S1+ S2+T3+T6)

3.6.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 ระบบมาตรวิทยาแห งชาติที่ เ ขมแข็ งสนับสนุนกิจกรรมตางประเทศของรัฐบาล

กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรี

ระหวางประเทศ

เปาประสงค 1) รัฐบาลสามารถใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการสรางความสัมพันธ

อันดีระหวางประเทศ

จากเปาประสงคของกลยุทธที่ 4 สามารถสรุปเปนแผนงานไดดังนี ้แผนงานที่ 4.1 เสริมสรางสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบานโดยใช

กิจกรรมดานมาตรวิทยา (S2+ S4+O1) แผนงานที่ 4.2 สนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชน

สูประเทศเพื่อนบาน (S2+ S4+O1)

Page 36: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 36 ~

บทที่ 4

แผนงานและโครงการตามแผนกลยุทธ แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) ประกอบดวย 4 กลยุทธ ไดแก 1) กลยุทธเรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ 2) กลยุทธเรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ 3) กลยุทธสงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของมาตรวิทยา และ 4) กลยุทธสงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ แผนกลยุทธของสถาบันฯ จะมีผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ แผนงานตางๆ จะตองมีโครงการที่เหมาะสม จากแผนกลยุทธและเปาประสงคที่กลาวไวในบทที่ 3 ไดนํามาพิจารณาเปนโครงการ กิจกรรม และตัวชี้วัด โดยใชเทคนิค Balanced Scorecard มีรายละเอียด ดังตอไปนี ้ 4.1 การวิเคราะหปจจัยแหงความสําเร็จที่มีผลตอการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

(Critical Success Factor Analysis by Balanced Scorecard: CSF by BSC) Balanced Scorecard (BSC) เปนเทคนิคที่นิยมใชในการแปลงกลยุทธใหเปนกิจกรรมการดําเนินงาน

พรอมตัวชี้วัด (Key Performance Indicator: KPI) โดยจะมองสาเหตุปจจัยแหงความสําเร็จของกลยุทธ (Critical Success Factor: CSF) ในหลายๆ มิติ (มุมมอง) ไดแก มิติที่เปนปจจัยภายใน (การพัฒนาและการเรียนรูภายในองคกร, ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน) มิติปจจัยภายนอก (การใหบริการ, ประสิทธิผลตามพันธกิจ) ดังนั้นการวิเคราะหปจจัยหลักที่เปนปจจัยแหงความสําเร็จของการดําเนินงานสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (Critical Success Factor: CSF) ในหลายมิติที่จะตอบสนองสภาพแวดลอมภายในและภายนอก จะชวยผลักดันใหสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสามารถดําเนินงานบรรลุเปาหมายที่กําหนด มีรายละเอียดดังนี้

Page 37: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 37 ~

4.1.1 ปจจัยแหงความสําเร็จของกลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

มิติ ปจจัยแหงความสําเร็จ ( CSF) แนวทางการดําเนินงาน (แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม)

ประสิทธิผลตามพันธกิจ -หนวยวัดแหงชาติที่สถาบันฯ สถาปนาและพัฒนาเปนที่ยอมรับในระดับสากล

-วัสดุอางอิง และการจัดโปรแกรมการทดสอบความสามารถดานอาหาร สุขภาพ และสิ่ งแวดลอมมี คุณภาพตามขอกํ าหนดมาตรฐานสากล และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

-เขารวมกิจกรรมการวัดเปรียบเทียบนานาชาติ -จัดต้ังศูนยพัฒนาวัสดุอางอิงรับรองดานเคมีและชีวภาพ

-สงเสริมใหมีกิจกรรมการวัดทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอมตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

-ดําเนินการพัฒนาและปรับปรุงระบบคุณภาพหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ใหเปนไปตามขอกําหนดสากล

การใหบริการ -มีหนวยวัดแหงชาติครอบคลุมสาขาการวัดและพิสัยไดเพียงพอกับความตองการของประเทศ -มีวัสดุอางอิง และโปรแกรมการทดสอบความชํานาญดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอมที่สามารถสนองความตองการของหนวยงานในประเทศ

-สํารวจขอมูลความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัด -สํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงดานเคมีและชีวภาพของประเทศไทย

-สํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญดานเคมีและชีวภาพของประเทศไทย

-เรงพัฒนาหนวยวัดของชาติตามความตองการของประเทศ

-เรงขยายขอบเขตการพัฒนาวัสดุอางอิง และการจัดการโปรแกรมการทดสอบความชํานาญฯ ตามความตองการของหนวยงานในประเทศ

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน -หองปฏิบัติการของสถาบันฯมีระบบคุณภาพตามขอกําหนดสากล

-รักษาและดํารงระบบคุรภาพของหองปฏิบัติการสถาบันฯ

-พัฒนาระบบคุณภาพของหองปฏิบั ติการสถาบันฯ ใหครอบคลุมสาขาการวัดใหมที่สถาปนา

การ พัฒนาและการ เ รี ยนรูภายในองคกร

-บุคลากรมีศักยภาพดานเทคนิคและการวัดสูงขึ้น

-บุคลากรมีผลงานวิจัยที่ทํารวมกับองคกรดานมาตรวิทยาในประเทศและนานาชาติ

-บุคลากรมีการพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่อง

-สรางแผนความตองการบุคลากรเพื่อรองรับกิจกรรมของสถาบันฯ

-สรางแผนพัฒนาบุคลากร เ พ่ือใหบุคลากรสามารถปฏิ บั ติ ภา ระห น า ที่ ไ ด อ ย า ง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

-สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานและวัสดุอางอิง

-มีระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM)

Page 38: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 38 ~

4.1.2 ปจจัยแหงความสําเร็จของกลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

มิติ ปจจัยแหงความสําเร็จ ( CSF) แนวทางการดําเนินงาน

(แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม) ประสิทธิผลตามพันธกิจ -สถาบันฯ สามารถใหคําปรึกษาดานเทคนิคการวัด

การจัดตั้งหองปฏิบัติการ และระบบรับรองคุณภาพห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ต า ม ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ งหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิ

-หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิมีมาตรฐานสากล สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดตามความตองการในประเทศ

-ผลการวัดของหองปฏิบัติการ ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศได รับการยอมรับความถูกตองจากนานาชาติ

‐สงเสริมการบริการของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบและสอบเทียบในประเทศใหเปนไปตามขอกําหนดมาตรฐานสากล

-พัฒนาและสนับสนุนการใหบริการของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศ

-จัดกิจกรรมวัดเปรียบเทียบผลการวัดภายในประเทศ เพื่อใหผลการวัดไดรับการยอมรับความถูกตองจากตางประเทศ เน่ืองจากไดรับการถายทอดคาวัดผานหองปฏิบัติการปฐมภูมิ (สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ)

-จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบในประเทศ

-สงเสริมการขยายการบริการของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศใหเปนตามขอกําหนดมาตรฐานสากล (ท้ังสาขาการวัดและพื้นท่ีการใหบริการไปยังภูมิภาค)

การใหบริการ -สถาบันฯ สามารถใหบริการสอบเทียบตามความตองการของหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิ -สถาบันฯ สามารถใหคําปรึกษาดานเทคนิคการวัด การจัดตั้งหองปฏิบัติการ และระบบรับรองคุณภาพหองปฏิบัติการตามความตองการของหองปฏิบัติการในประเทศ

-สํารวจความตองการงานบริการดานมาตรวิทยาของหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

-จัดกิจกรรมใหบริการสอบเทียบ -จัดกิจกรรมอบรมเพื่อใหความรูและเทคนิคการวัด -จัดกิจกรรมใหคําปรึกษาดานเทคนิคการวัด การจัดตั้งหองปฏิบัติการ และระบบรับรองคุณภาพ

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน -สถาบันฯ สามารถใหคําปรึกษาดานเทคนิคการวัด การจัดตั้งหองปฏิบัติการ และระบบรับรองคุณภาพหองปฏิบัติการตามความตองของหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิอยางมีประสิทธิภาพ

-สถาบันฯ สามารถสงเสริมใหหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิขยายขอบเขตการบริการท้ังดานสาขาการวัดและพื้นท่ีการใหบริการเพิ่มขึ้น

-ปรับปรุงคุณภาพการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดจากผลสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ

-ปรับปรุงคุณภาพการใหคําปรึกษาดานเทคนิคการวัด -ใหความรวมมือในกิจกรรมดานมาตรวิทยาของสมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย และสมาคมหองปฏิบัติการแหงประเทศไทย

-สนับสนุนกิจกรรมดานการวัดของชมรมมาตรวิทยา -จัดกิจกรรมความรวมมือดานมาตรวิทยาในเครือขายพันธมิตรมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

-สงเสริมการบริการสอบเทียบโดยใชความรวมมือของเครือขายมาตรวิทยา

-รวมมือกับพันธมิตรดานมาตรวิทยา (หนวยงานตางๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน)จัดตั้งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

การพัฒนาและการเรียนรูภายในองคกร

-บุคลากรของสถาบันฯ สามารถขยายขีดความสามารถในการใหคําปรึกษาดานมาตรวิทยาแกผูใชบริการดานมาตรวิทยาในประเทศ

-ฝกอบรมความรูและเทคนิคดานมาตรวิทยาใหแกบุคลากร เพื ่อใหมีศักยภาพในการใหคําปรึกษา และการถายทอดความรูดานมาตริวทยาแกสังคม

Page 39: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 39 ~

4.1.3 ปจจัยแหงความสําเร็จของกลยุทธที่ 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

มิติ ปจจัยแหงความสําเร็จ ( CSF) แนวทางการดําเนินงาน (แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม)

ประสิทธิผลตามพันธกิจ -กลุมผู ใชบริการมาตรวิทยา ไดแก กลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่ วไป มีความรูความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนดานมาตรวิทยา

-เรงเผยแพรประชาสัมพันธความรูดานมาตรวิทยาผานทางสื่อมวลชน และเว็บไซตของสถาบันฯ แกผูใชบริการมาตรวิทยาทั้งสามกลุม

-พัฒนาแหงการเรียนรูด านมาตรวิทยาแกผูใชบริการมาตรวิทยากลุมบุคคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต

-สรางความตระหนักถึ งความสํา คัญ และประโยชนของมาตรวิทยาใหกับกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาทั้งสามกลุม

-สงเสริมใหมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา เพ่ือใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูจะเขาสู ระบบงานในอนาคตตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

-พัฒนาครูใหมีความรูดานมาตรวิทยาตลอดจนสามารถายทอดความรูแกนักเรียนนักศึกษา ซึ่งจะเปนกลุมบุคคลผู จะเขาสู ระบบงานในอนาคต

-จัดอบรม สัมมนาเสริมสรางความเขมแข็งดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม เพ่ือยกระดับความสามารถดานการวัด เพ่ือใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

-สงเสริมใหมีการดูแลรักษาเครื่องมือวัดทางการแพทยใหถูกตองตามมาตรฐานสากล อันจะสงผลใหผูใชบริการมาตรวิทยาในกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

Page 40: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 40 ~

มิติ ปจจัยแหงความสําเร็จ ( CSF) แนวทางการดําเนินงาน

(แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม) การใหบริการ -มีการ เผยแพร ความรู เ พ่ื อสร า งความ

ตระหนักถึงความสําคัญดานมาตรวิทยาทั่วถึงและเพียงพอกับความตองการของกลุมผูใชบริการ

-สถาบันสามารถจัดกิจกรรมดานมาตรวิทยาเพ่ือเผยแพรความรู ไดอยางเพียงพอกับความตองการของกลุมผูใชบริการ

-สถาบันฯ สามารถสงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาทั้ งสามกลุม อันไดแก กลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุ ค ค ล ทั่ ว ไ ป เ กิ ด ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ถึ งความสําคัญและเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

-สํ า ร ว จ ค ว า มต อ ง ก า ร ด า น ก า ร วั ด ข อ งภาคอุตสาหกรรม

-จัดทําเนื้อหาวิชาหลักการความรูมาตรวิทยา เพ่ือสงมอบใหสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรีนําไปใชในการเรียนการสอน

-จัดอบรมพัฒนาความรูดานมาตรวิทยาใหแกครูระดับอาชีวศึกษา เ พ่ือใหเกิดการถายทอดความรูจากครูสูนักศึกษา

-ดําเนินการผลักดันใหมีการบรรจุเนื้อหาดานมาตรวิทยาในการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน -มีการ เผยแพร ความรู เ พ่ื อสร า งความตระหนักถึงความสําคัญดานมาตรวิทยาทั่วถึงและเพียงพอกับความตองการของกลุมผูใชบริการไดตามแผนงานที่กําหนด

-มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ

-จัดอบรมสัมมนาเพื่อเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาทุกภูมิภาค

-ปรับปรุงคุณภาพของการใหบริการฝกอบรมพัฒนาความรูดานมาตรวิทยาจากผลสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ

-จัดทําแผนแมบทสารเทศของสถาบัน -พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใชในการเผยแพรประชาสัมพันธความรูดานมาตรวิทยา

-ประเมินผลการปฏิบัติงานการพัฒนาระบบสารสนเทศ

-มีความรวมมือกับเครือขายพันธมิตรมาตรวิทยาในการเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาใหแกกลุมผูใชบริการ

การ พัฒนาและการ เ รี ยนรูภายในองคกร

-บุคลากรมีการพัฒนาความสามารถในการถายทอดความรูดานมาตรวทิยา

-บุคลากรมีการพัฒนาความสามารถในการดําเนินการจัดอบรมสัมมนา

-บุคลากรมีความสามารถในการติดตอประสานงานกับเครือขายมาตรวิทยา

-มีแผนการพัฒนาวิทยากรรุนใหม -มีแผนการฝกอบรมบุคลากรเพื่อพัฒนาทักษะการจัดอบรมสัมมนา

-มีแผนการฝกอบรมบุคลากรดานการติดตอประสานงาน

Page 41: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 41 ~

4.1.4 ปจจัยแหงความสําเร็จของกลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

มิติ ปจจัยแหงความสําเร็จ ( CSF) แนวทางการดําเนินงาน (โครงการ/กิจกรรม)

ประสิทธิผลตามพันธกิจ -มาตรวิทยาสามารถเปนเครื่องมือในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

-สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในกิจการตางประเทศ

การใหบริการ -สถาบันฯ มีความพรอมใหบริการดานมาตรวิทยาแกประเทศเพื่อนบาน

-สถาบันฯมีความสามารถในการใหความชวยเหลือที่ เปนประโยชนตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแกประเทศเพื่อนบาน

-มีความพรอมในการขยายตลาดดานการบริการมาตรวิทยาและการคาเครื่องมือวัด

-จัดกิจกรรมความรวมมือดานมาตรวิทยาระหวางประเทศ

-เปดการฝกอบรมสัมมนาดานมาตรวิทยาระหวางประเทศ

ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน -มีแผนการสงเสริมผู ประกอบการไทยในการขยายตลาดสูตางประเทศ

-มีความรวมมือดานมาตรวิทยาระหวางหน ว ย ง า นภา ย ใ นป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะตางประเทศ

-ประเมินผลความพึงพอใจของผูประกอบการไทยที่เขารวมโครงการสงเสริมการขยายตลาดสูตางประเทศ

-ประ เมิ นผลความพึ งพอใจของบุ คลากรตางประเทศที่ผานการฝกอบรมดานมาตรวิทยา

การ พัฒนาและการ เ รี ยนรูภายในองคกร

-บุคลากรมีความสามารถในการติดตอประสานงานกับหนวยงานตางประเทศ

-มีแผนการฝกอบรมบุคลากร

Page 42: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 42 ~

กลยุทธที่ 1 ประกอบดวย 5 แผนงานหลัก ไดแก 1) แผนงานสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล 2) พัฒนาโครงสรางดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ 3) แผนงานพัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน 4) แผนงานพัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา และ 5) แผนงานพัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา

4.2.1 เปาประสงคแผนกลยุทธ

1) หนวยวัดของชาติไดรับการสถาปนาและพัฒนาใหเพียงพอตามความตองการของผูใชบริการในประเทศ และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

2) บุคลากรดานมาตรวิทยาไดรับการพัฒนา และสามารถปฏิบัติภาระหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3) เปนองคกรหลักในการประสานความรวมมือดานมาตรวิทยาของชาติทั้งในและตางประเทศ

4.2.2 ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ

1) ผลผลิต (Output) - หนวยวัดของประเทศไทยเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ โดยสถาบันมาตรวิทยา

แหงชาติสถาปนาหนวยวัดแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล ในสาขาการวัดและพิสัยที่ครอบคลุมกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมในประเทศเพิ่มเปนจํานวน 492 รายการวัด

- โครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศไทยมีความเขมแข็ง และศักยภาพดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของชาติไดรับการยอมรับจากนานาชาติ จากการจัดตั้งศูนยพัฒนาวัสดุอางอิงรับรองดานเคมีและชีวภาพ เพื่อพัฒนาความสามารถผลิตวัสดุอางอิงมาตรฐานของประเทศไทย อันจะชวยลดงบประมาณการสั่งซื้อวัสดุอางอิงดังกลาวและเปนการเพิ่มรายไดจากการจําหนายวัสดุอางอิงเหลานี้แกประเทศอื่น

- ศักยภาพดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของชาติไดรับการพัฒนาใหเพียงพอกับความตองการในประเทศและเปนที่ยอมรับของนานาชาติ ทําใหสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสามารถผลิต

4.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 มาตรฐานดานการวัดแหงชาติตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

กลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

Page 43: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 43 ~

สารมาตรฐานและวัสดุอางอิงไดเองเพิ่มข้ึนไมตํ่ากวา 4 ชนิด ทําใหลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศ จากการนําเขาหรือการสงใหหองปฏิบัติการตางประเทศวิเคราะหและทดสอบ

- นานาชาติใหการยอมรับในความสามารถดานการวัดของประเทศไทยและนําไปเผยแพรในเว็บไซตขององคกรชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (BIPM Website) เพิ่มข้ึนเปน 415 รายการวัด

- ดํารงระบบคุณภาพของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ เพื่อความเชื่อมั่นในการดําเนินงานของสถาบันฯ และไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

- ไดรับการยอมรับในระบบคุณภาพของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติจากนานาชาติ จากการที่สถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการของสถาบันฯ ตามมาตรฐานสากล (ISO/IEC 17025) เพื่อใหการวัดเปนไปตามขอกําหนดเดียวกันทั่วโลก เพิ่มข้ึนเปน 106 รายการวัด

2) ผลลัพธ (Outcome) - ลดการใชเงินตราตางประเทศที่หองปฏิบัติกาสอบเทียบระดับทุติยภูมิตองสงอุปกรณ

เครื่องมือไปสอบเทียบตางประเทศ - ลดการใชเงินตราตางประเทศที่หองปฏิบัติการตองสั่งซื้อสารมาตรฐานและวัสดุอางอิง

จากตางประเทศ สามารถหารายไดจากการจําหนายสารมาตรฐานและวัสดุอางอิงที่ผลิตไดในประเทศแกตางประเทศ รายละเอียดตามภาคผนวก ฌ

3) ผลกระทบ (Impact) - ผลิตภัณฑของประเทศไทยสามารถแขงขันไดในตลาดโลก เปนการเพิ่มมูลคาการสงออก

ยังผลใหเศรษฐกิจของชาติดีข้ึนอยางยั่งยืน - มาตรวิทยามีบทบาทสําคัญในการคุมครองผูบริโภค ทําใหสินคาอุปโภคบริโภคและ

การบริการมีมาตรฐานที่ดี - ระบบมาตรวิทยาของชาติที่เขมแข็งเปนรากฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ

การคุ มครองใหสินคาอุปโภคบริโภคเปนไปตามมาตรฐานสากล และการอนุรักษส่ิงแวดลอมตามมาตรฐานสากล สงผลใหคุณภาพชีวิตของประชาชนไทยดีข้ึนอยางยั่งยืน

Page 44: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 44 ~

4.2.3 เปาหมายผลผลิต

ตารางที่ 5 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 1

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที่1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล เชิงปริมาณ 1.1.1โครงการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ 1)กิจกรรมการจัดหาและพฒันาเครื่องมอืมาตรฐาน 2)กิจกรรมสํารวจขอมูลความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัด

-จํานวนหนวยวัดแหงชาติใหมที่ไดรับการสถาปนา

หนวยวัด 12 13 23 20 68 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

แผนงานที่ 1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็ง และไดรับการยอมรับจากนานาชาติ

1.2.1โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

1)กิจกรรมการกอสรางอาคารศูนยวัสดุอางอิงสําหรับการวัดทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

-ความสําเร็จของการกอสรางอาคารศูนยวัสดุอางอิง และการจัดซ้ือจัดหาอุปกรณเครื่องมือ

รอยละ 5 - 30 60 - ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

2)กิจกรรมการพัฒนาความสามารถการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก

-จํานวนครั้งของการฝกอบรม การวิคราะห Speciation ของ โลหะหนัก

ครั้ง - 1 - 1 2 ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

Page 45: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 45 ~

ตารางที่ 5 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

1.2.2โครงการผลิตวัสดุอางอิงสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

1)กิจกรรมการจัดทําฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ

-ความสําเร็จของฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ

รอยละ - 10 100 100*เปนการ

รักษาฐาน

ขอมูล

- ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

2)กิจกรรมผลิตวัสดุอางองิที่เปน Pure Substance Refernce Materials ใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34 [Calibration Solution สําหรับการวัด pH, ความหวาน, Electrolytic Conductivity (Potassium Chloride), โลหะหนัก (Pb, Cd, Cu, Zn), Cation (Na+, K+, Li+, NH4+, Ca2+, Mg2+)]

-จํานวนรายการวัสดุอางอิง (Pure Substance Reference Material) ที่ผลิตไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34

รายการ 1 1 2 2 6 ฝาย มาตรวิทยาเ ค มี แ ล ะชีวภาพ

3)กิจกรรมผลิตวัสดุอางอิงที่เปน Matrix Refernce Materials สําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม ใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34 [สําหรับการวิเคราะหโลหะหนกัในดิน ขาว น้ํา อาหารทะเล (Pb, Cd, Cu, Zn), Preservatives (Benzoic acid, Sorbic acid), สารพิษตกคางกลุมสารกําจัดศัตรูพืชในดิน (Organochlorine), สารพิษตกคางกลุมยาปฏิชีวนะในอาหาร (Chloramphenicol, Nitrofuran metabolites, และ

-จํานวนรายการวัดสุอางอิง (Matrix Refernce Materials) ที่ผลิตไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34

รายการ 1 2 3 4 10 ฝาย มาตรวิทยาเ ค มี แ ล ะชีวภาพ

Page 46: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 46 ~

ตารางที่ 5 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

Malachite Green ในเนื้อกุง), สมบัติทางกายภาพ (Moisture Content, Ash Content, Kinematics Viscosity, Total Suspended Solid), Clinical Chemistry (Pb, Aalcohol, Cholesterol , Thyroid Hormones in Blood), ตัวอยางกาซ (Carbon Dioxide, Oxygen ใน Nitrogen หรือในอากาศ)]

1.2.3โครงการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

1)กิจกรรมการจัดทําฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพของประเทศ

-จํานวนฐานขอมลูโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ

ฐานขอมูล - 1 1** เปนการรักษาฐาน

ขอมูล

1** เปนการรักษาฐาน

ขอมูล

- ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

2)กิจกรรมการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043 [สําหรับการวัด Electrolytic Conductivity, pH, คาบริกซและคาดัชนีหักเหของแสงของน้ําตาลซูโครสดวยเครื่องรีแฟรกโตมิเตอร, โลหะหนัก (Pb, Cd, Cu, Znในดิน ขาว), สารพิษตกคางกลุมสารกําจัดศัตรูพืช (Organochlorine ในดิน), สารพิษตกคางกลุมยาปฏิชีวนะในอาหาร (Chloramphenicol ในเนื้อไก, Nitrofuran Metabolites, Malachite Green ในเนื้อกุง และ Oxolinic acid ในเนื้อกุง

-จํานวนโปรแกรมทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพที่ไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043

โปรแกรม 2 3 4 4 13 ฝาย มาตรวิทยาเ ค มี แ ล ะชีวภาพ

Page 47: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 47 ~

ตารางที่ 5 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

แชแข็ง), สารอินทรียในอาหาร (Melamines ใน Cookies), สมบัติทางกายภาพ (Total Suspended Solid, Moisture Content, Ash Content, Kinematics Viscosity), Persevatives, ตัวอยางกาซ (Oxygen ใน Nitrogen หรือในอากาศ)]

1.2.4โครงการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญทางดานชีววิทยา

1)กิจกรรมการสํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลความตองการวัสดุอางอิงและโปรแกรมทดสอบความชํานาญการวัด สําหรับการวิเคราะหดานชีววิทยา

-ความสําเร็จของฐานขอมูลสําหรับการวิเคราะหดานชีววิทยา

รอยละ - - 100 100* เปนการรักษาฐาน

ขอมูล

- ฝาย มาตรวิทยาเ ค มี แ ล ะชีวภาพ

2)กิจกรรมการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางชีววิทยาใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043 เพื่อสนับสนุนการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

-จํานวนโปรแกรมทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางชีววิทยาไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043

โปรแกรม - 1 1 1 3 ฝาย มาตรวิทยาเ ค มี แ ล ะชีวภาพ

[สําหรับการวิเคาะหทางจุลชีววิทยา (Salmonella spp., E.coli, Coliforms, Staphylococcus Auresu, Aerobic Plate Count), DNA]

แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน

1.3.1โครงการพัฒนาและดํารงระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ

-จํานวนการเขารวมเปรียบเทียบผ ล ก า ร วั ด กั บ น า น า ช า ติ (International Comparison)

รายงาน 10 20 20 20 70 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

Page 48: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 48 ~

ตารางที่ 5 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

1)กิจกรรมการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางประเทศ -International comparison

-จํานวนหนวยวัดแหงชาติที่สามารถรักษามาตรฐานตาม ISO/IEC 17025 ได (รายการวัดของหองปฏิบัติการ)

หนวยวัด 94 97 101 106 - ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-Bilateral comparison 2)กิจกรรมจัดทําระบบคุณภาพหองปฏิบัติการในสาขาการวัดที่พัฒนาขึ้นใหม

-จํานวนหนวยวัดแหงชาติที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพิ่มขึ้น (รายการวัดของหองปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นใหม)

หนวยวัด 3 3 4 5 15 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา

1.4.1 โครงการพัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยและพัฒนาดานมาตรวิทยา

-จํานวนผลงานวิจัยและพัฒนาสามารถดําเนินการไดตามแผน

เร่ือง 13 11 11 10 45 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

แผนงานที1่.5 พัฒนา บุคลากรดานมาตรวิทยา

1.5.1โครงการเพิ่มขีดความสามารถบุคลากร

1)กิจกรรมอบรมดานมาตรวิทยาจากผูเช่ียวชาญ

-จํานวนพนักงานทีไ่ดรับการฝกอบรมดานมาตรวิทยาจากผูเช่ียวชาญ

คน-วัน 670 700 750 800 2,920 ฝาย บริหารงานกลาง

2)กิจกรรมอบรมขั้นพื้นฐาน -จํานวนพนักงานที่ไดรับการฝกอบรมขั้นพื้นฐาน

คน-วัน 850 1,400 1,400 1,400 5,050 ฝายบริหาร งานกลาง

3)กิจกรรมการใหทุนการศึกษาดานมาตรวิทยา

-จํานวนทุนการศึกษาดานมาตรวิทยา ทุน 3 3 3 3 12 ฝายบริหาร งานกลาง

1.5.2โครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยากับตางประเทศ

-จํานวนโครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยาระหวางประเทศที่นําไปสูการปฏิบัติ

โครงการ 4 6 8 8 26 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

1.5.3โครงการพัฒนาระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM)

-ความสําเร็จสะสมของการพัฒนาระบบการจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM)

รอยละ 30 50 60 90 - ฝาย บริหารงานกลาง

Page 49: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 49 ~

ตารางที่ 5 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที่1 เชิงคุณภาพ -หนวยวัดแหงชาติที่ไดรับการสถาปนาและพัฒนาสามารถใหบริการลูกคาไดสมบูรณ

รอยละ

100

100

100

100

-

ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-ความสามารถสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดไดตรงตามกําหนดเวลาไมนอยกวารอยละ

รอยละ 80 80 80 80 -

ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-จํานวนความสามารถดานการวัดที่สถาบันฯ นําเสนอตอองคกรช่ังตวงวัดระหวางประเทศ (BIPM)

ร า ย ก า รวัด

15 20 20 23 78

ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-การดํ า เนิ นกา รก า วหน าตามแผนการวิจัยและพัฒนา

รอยละ 100 100 100 100 - ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-จํานวนบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการทั้งในและตางประเทศ

เร่ือง 12 24 33 33 102 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-การจัดทําแผนยุทธศาสตรดานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

รอยละ - 100 - - - ฝายบริหารงานกลาง

-ความสามารถดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการดานการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

รอยละ - 100 100 100 - ฝายบริหารงานกลาง

-การจัดทําแผนพัฒนาระบบการจัดการองคความรู

รอยละ - 100 - - - ฝายบริหารงานกลาง

-ความสามารถดําเนินงานตามแผนพัฒนาระบบการจัดการองคความรู

รอยละ - 100 100 100 - ฝายบริหารงานกลาง

Page 50: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 50 ~

4.2.4 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ตารางที่ 6 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ของกลยุทธที่ 1

กลยุทธ ผูมีสวนไดสวนเสีย กลไกการประสานความรวมมือกับ ผูมีสวนไดสวนเสีย

กลยุทธที1่ เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

- สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง - องคกรมาตรวิทยาระดับภูมิภาค เชน APMP,

APLAC, APLMF - องคกรมาตรวิทยาระดับนานาชาติ เชน CIPM,

IMEKO - องคการตางประเทศ - หนวยงานรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 - หนวยงานรับรองความสามารถหองปฏิบัติการ

ISO/IEC 17025 - เครือขายพันธมิตรดานมาตรวิทยา/ชมรมมาตรวิทยา - เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

- กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

- สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย - สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย - สถานศึกษาในประเทศ - หนวยงานรับตีพิมพเผยแพรบทความวิชาการและผลงานวิจัย

- กระทรวงพาณิชย - สํานักงานกลางชั่งตวงวัด กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย

- คณะทํางานสํารวจและวิเคราะหผลการสํารวจความตองการดานมาตรวิทยาในประเทศ

- คณะทํางานของสถาบันฯ รวมกับองคกรมาตรวิทยาตางประเทศ สถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติตามมาตรฐานสากลและเพียงพอกับความตองการในประเทศ

- สถาบันฯ รวมกับองคกรมาตรวิทยาตางประเทศเขารวมกิจกรรมความรวมมือดานมาตรวิทยากับนานาชาติ

- ดําเนินการพัฒนาและปรับปรุงระบบคุณภาพของหองปฏิบัติการของสถาบันฯใหเปนไปตามขอกําหนดสากล

- การบริการการสอบเทียบแกหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ ครอบคลุมตามความตองการ

- การใหคําปรึกษาใหแกหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ

- การเขารวมประชุมขององคกรมาตรวิทยาในระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติเพื่อทราบขอกําหนดทิศทางการพัฒนาของมาตรวิทยาสากล

- จัดประชุมดานมาตรวิทยาระหวางประเทศ - การจัดประชุม Interlabaratory Comparison - การใชโอกาสในการประชุมสรางความสัมพันธ

อันดี กับสถาบันมาตรวิทยาในประเทศตางๆ - จัดทําแผนความตองการบุคลากรตามภาระงาน

ที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินการตามแผนแมบท - จัดทําแผนพัฒนาบุคลากร จําแนกตามลักษณะ

งานตามแผนแมบทฯ - ดําเนินการวิจัยและพัฒนาดานมาตรวิทยาตาม

ความตองการในประเทศ - ประสานความรวมมือการวิจัยและพัฒนากับ

องคกรดานมาตรวิทยานานาชาติ - ประสานความรวมมือในการตีพิมพบทความ

วิชาการและผลงานวิจัยกับหนวยงานรับตีพิมพเผยแพรบทความวิชาการและผลงานวิจัย

Page 51: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 51 ~

กลยุทธที่ 2 ประกอบดวย 3 แผนงาน ไดแก 1) แผนงานพัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา 2) แผนงานสงเสริมหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ 3) แผนงานสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค

4.3.1 เปาประสงคแผนกลยุทธ

1) สงเสริมความเขมแข็งของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีจํานวนที่เพียงพอตามความตองการของประเทศ

2) กิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศมีความถูกตองเปนที่ยอมรับของนานาชาต ิ

4.3.2 ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ

1) ผลผลิต (Output) - หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิมีศักยภาพและมาตรฐาน มีความพรอมใน

การใหบริการแกภาคอุตสาหกรรม โดยหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิได รับการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ไมตํ่ากวารอยละ 60 ของหองปฏิบัติการฯ ทั้งประเทศ และมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาคเพิ่มข้ึน

- การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศไทยใหเขมแข็ง สงผลใหหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบทางการแพทยที่ไดมาตรฐานสากลมีจํานวนเพิ่มข้ึน

2) ผลลัพธ (Outcome) - กิจกรรมการวัดในภาคอุตสาหกรรมมีความถูกตองแมนยํามาก สงผลใหผลิตภัณฑมี

คุณภาพมากขึ้น ชวยลดการสูญเสียวัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิต อันเปนผลใหตนทุนการผลิตลดลง ทําใหความสามารถการแขงขันในตลาดโลกสูงขึ้น

- หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบและสอบเทียบของประเทศไทยเสนอขอการรับรองความสามารถตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพิ่มข้ึน สงผลใหนานาชาติยอมรับผลการวัดของประเทศไทย เปนการลดอุปสรรคทางการคาที่เกิดจากปญหาดานเทคนิค (TBT)

4.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การบริการดานการวัด การวิเคราะห การทดสอบ และสอบเทียบใหไดมาตรฐานสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

Page 52: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 52 ~

- จํานวนเครื่องมือที่สงสอบเทียบตางประเทศลดลง เปนการลดคาใชจายในการสงเครื่องมือวัดไปสอบเทียบยังตางประเทศ

3) ผลกระทบ (Impact) - การวัด วิเคราะห และทดสอบที่ดีทําใหการอนุรักษส่ิงแวดลอมไดมาตรฐานสากล

เนื่องจากการควบคุมและตรวจสอบการปลอยมลพิษของภาคอุตสาหกรรมอยูในปริมาณทีไ่มเปนภยัตอส่ิงแวดลอม

4.3.3 เปาหมายผลผลิต

ตารางที่ 7 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 2

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

แผนงานที่ 2.1 พฒันาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา

เชิงปริมาณ

2.1.1โครงการบริการสอบเทยีบเครื่องมือวัด และการใหคําปรึกษา

-จํานวนการใหบริการวิเคราะห ทดสอบ สอบเทียบ และใหคําปรึกษาดานมาตรวิทยา

รายการ 3,250 4,500 4,500 4,600 16,850 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝายและ ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนสถานประกอบการที่ใชบริการดานมาตรวิทยา

แหง 300 340 340 360 1,340 ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

แผนงานที่ 2.2 สงเสริมหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ

2.2.1โครงการเสรมิสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

-จํานวนหนวยวัดที่จัดเปรียบเทียบผลการวัดภายในประเทศ

หนวยวัด 12 30 30 35 107 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

Page 53: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 53 ~

ตารางที่ 7 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

1) กิจกรรมการเปรียบเทียบผลการวัดในประเทศ

-จํานวนหนวยงานที่เขารวมการจัดเปรียบเทียบผลการวัดภายในประเทศ

หนวยงาน 270 500 500 550 1,820 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

2)กิจกรรมการฝกอบรมพัฒนาความรูดานมาตวิทยา

-จํานวนเครือขายมาตรวิทยาที่เขารวมกิจกรรม

เครือขาย 6 11 11 12 40 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-จํานวนกิจกรรมของชมรมมาตรวิทยา

ชมรม/กิจกรรม

10/ 20

10/ 20

10/ 20

10/ 20

40/ 80

ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

-จํานวนผูรับการฝกอบรมหลักสูตรดานมาตรวิทยา

คน-วัน 2,000 2,500 2,500 2,500 9,500 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย และ ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค

2.3.1 โครงการสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการ วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในภูมิภาค

-จํานวนกิจกรรมสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

กิจกรรม 6 6 10 10 32 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝายและ ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนสาขาการวัดใหมที่หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ ขยายการใหบริการ

สาขาการวัด

3 3 3 3 12 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

2.3.2 โครงการความรวมมือในการพัฒนามาตรวิทยากับเครือขายพันธมิตร

-จํานวนกิจกรรมบูรณาการดานมาตรวิทยากับหนวยงานตางๆ

กิจกรรม 7 10 10 10 37 ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย และ ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

Page 54: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 54 ~

ตารางที่ 7 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที่ 2 เชิงคุณภาพ -ความพึงพอใจงานสนับสนุน การใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของผูใชบริการ

รอยละ 80 85 85 85 - ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

-ความพึงพอใจการใหบริการฝกอบรมดานมาตรวิทยาของผูเขารับการฝกอบรม

รอยละ 80 85 85 85 - ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-การดําเนินการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการสอบเทียบจากผลสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ

รอยละ 80 80 85 90 - ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-การดําเนินการปรับปรุงคุณภาพการใหบริการฝกอบรมหลักสูตรมาตรวิทยาจากผลการสํารวจความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรม

รอยละ 80 80 80 80 - ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-หองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิ ขอการรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 เพิ่มขึ้น

หองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิ

2 3 4 5 14 ฝายมาตรวิทยาทุกฝาย และ ฝาย นโยบายและ ยุทธศาสตร

Page 55: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 55 ~

4.3.4 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ตารางที่ 8 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ของกลยุทธที่ 2

กลยุทธ ผูมีสวนไดสวนเสีย กลไกการประสานความรวมมือกับ

ผูมีสวนไดสวนเสีย กลยุทธที่2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

- สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง - องคกรตางประเทศ - สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- หนวยงานรับรองความสามารถหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025

- สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย - สมาคมหองปฏิบัติการแหงประเทศไทย - เครือขายพันธมิตรดานมาตรวิทยา/ชมรมมาตรวิทยา - เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

- กองรังสีและเครื่องมือแพทย กระทรวงสาธารณสุข - สภาเทคนิคการแพทย - กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน - สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

- หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และ สอบเทียบของภาคอุตสาหกรรม

- สถานศึกษาในประเทศ - กระทรวงพาณิชย - สํานักงานกลางชั่งตวงวัด กรมการคาภายใน กระทรางพาณิชย

- ผูประกอบการไทยดานมาตรวิทยา

- ดําเนินการโปรแกรมการวัดเปรียบเทียบความสามารถในประเทศสําหรับสอบเทียบ

- ดําเนินการโปรแกรมทดสอบความชํานาญสําหรับหองปฏิบัติการวิเคราะห และทดสอบ

- ใหการฝกอบรมดานมาตรวิทยาใหแกหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ เพื่อที่หองปฏิบัติการดังกลาวสามารถขยายการบริการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบเครื่องมือวัดใหเพียงพอกับความตองการของประเทศ

- ขยายเครือขายพันธมิตรความรวมมือดานมาตรวิทยา

- สํารวจความตองการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

- รวมมือกับพันธมิตรดานมาตรวิทยา ไดแก สถาบันอุดมศึกษาในภูมิภาค กรมพัฒนาฝมือแรงงาน และสมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย เปนตน จัดต้ังหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

- จัดสัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการทางวิชาการ - จัดใหมีโปรแกรมทดสอบความชํานาญที่

เกี่ยวของกับการวัดทางการแพทย - สงเสริมใหมีการดูแลรักษาเครื่องมือวัดทาง

การแพทยใหถูกตอง

Page 56: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 56 ~

กลยุทธที่ 3 ประกอบดวย 4 แผนงานหลัก คือ 1) แผนงานสรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา 2) แผนงานพัฒนาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม 3) แผนงานสงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตามาตรฐานสากล 4) แผนงานพัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย

4.4.1 เปาประสงคแผนกลยุทธ

1) กลุมเปาหมายผูใชบริการมาตรวิทยา อันไดแก กลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไป มีความรูความเขาใจถึงความสําคัญและประโยชนของระบบมาตรวิทยา เพื่อใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน

2) กลุมเปาหมายภาคอุตสาหกรรมไดรับการสนับสนุนในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานใหมีศักยภาพการแขงขันในตลาดการคาโลกสูงขึ้น

4.4.2 ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ 1) ผลผลิต (Output)

- เกิดการยกระดับคุณภาพการวัดการวิเคราะหในภาคอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑของภาคอุตสาหกรรมมีคุณภาพไดมาตรฐานตามขอกําหนดที่ผูส่ังซื้อตองการ โดยจํานวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรมเปนเครื่องมือวัดที่ใชกระบวนการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑที่ไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองเพิ่มข้ึนไมนอยกวารอยละ 8 ของเครื่องมือวัดในภาคอุตสาหกรรมทั้งประเทศ

- มีการเรียนการสอนเนื้อหารายวิชามาตรวิทยาในสถานศึกษาในทุกระดับการศึกษา ไดแก การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาระดับอาชีวะ และระดับอุดมศึกษา

2) ผลลัพธ (Outcome) - การสงเสริมใหกลุมผูใชบริการระบบมาตรวิทยาเห็นความสําคัญและประโยชนของ

ระบบมาตรวิทยาที่มีตอการผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ สงผลใหภาคอุตสาหกรรมพัฒนาระบบการวัดและการตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ เพื่อใหสามารถผานการรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 ได มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น

- กลุมบุคลากรที่จะเขาสูระบบงานในอนาคต อันไดแก นิสิต นักศึกษา มีความรูดานมาตรวิทยาเพิ่มข้ึน

4.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 สังคมไทยตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

กลยุทธที่ 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

Page 57: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 57 ~

3) ผลกระทบ (Impact) - ประชาชนมีความตระหนักถึงประโยชนและเห็นความสําคัญของมาตรวิทยามากขึ้น - ระบบมาตรวิทยาที่สมบูรณสงผลใหมีความตองการบุคลากรที่มีความรูความสามารถ

ดานมาตรวิทยาในหลายๆ ระดับ ทําใหเกิดการเพิ่มจํานวนความตองการบุคลากรผูใชวิชาชีพดานมาตรวิทยาในสังคมไทยเพิ่มข้ึน อันเปนการสรางงานสรางอาชีพใหกับประชาชนในสังคม

4.4.3 เปาหมายผลผลิต

ตารางที่ 9 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 3

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที ่3 สงเสรมิกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนกัถงึความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนกัและพฒันาการเรียนการสอนดานมาตรวทิยา

เชิงปริมาณ

3.1.1โครงการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาใหแกผูใชบริการมาตรวิทยา

-จํานวนผูเขาเยี่ยมชมเว็บไซดของสถาบัน

ราย 20,000 32,000 32,000 33,000 117,000 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

1)ผาน Website สถาบันฯ 2)ผานสื่อประชาสัมพันธหรือกิจกรรมเผยแพร

-จํานวนรายการเชื่อมโยงขอมูลมาตรวิทยาที่นําเขาสูการใหบริการ STKC ของ วท.

รายการ 30 50 55 60 195 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

3)ผานการจัดประชุม/อบรม/สัมมนา

-จํานวนกิจกรรมผานสื่อประชาสัมพันธ กิจกรรม 10 20 20 25 75 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน

กิจกรรม 10 10 10 10 40 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับ กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต

กิจกรรม 2 2 2 2 8 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับ กลุมบุคคลทั่วไป

กิจกรรม 5 5 5 5 20 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

Page 58: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 58 ~

ตารางที่ 9 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

-จํานวนบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา

คน-วัน 1,000 1,200 1,500 1,500 5,200 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคตเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา

คน-วัน 200 300 300 300 1,100 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-จํานวนบุคคลทั่วไปเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา

คน-วัน 1,000 1,500 1,500 1,500 5,500 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

3.1.2โครงการสงเสริมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา

-จํานวนกิจกรรมสงเสริมใหมี การเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา และจํานวน ครู อาจารยที่ผานการอบรม

กิจกรรม/คน

2/ 100

6/ 200

6/ 200

6/ 200

20/ 700

ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร และ ฝาย มาตรวิทยาทุกฝาย

แผนงานที่ 3.2 พฒันาศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม

3.2.1โครงการยกระดับความสามารถดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม

-จํานวนกิจกรรม จํานวนโรงงานและบุคลากรที่เขารวมกิจกรรมโครงการยกระดับความสามารถดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม

กิจกรรม/โรงงาน/ คน

5/ 10/

250

8/ 40/

900

8/ 40/

900

9/ 45/

950

30/ 135/

3,000

ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

แผนงานที่ 3.3 สงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล

3.3.1โครงการสงเสริม การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

-จํานวนกิจกรรมสงเสริมการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางการแพทย

กิจกรรม 1 1 2 2 6 ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

3.3.2โครงการสงเสริม การวัดชีวเคมีทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

-จํานวนกิจกรรมสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล

กิจกรรม 1 1 2 2 6 ฝาย มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

Page 59: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 59 ~

ตารางที่ 9 (ตอ)

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

แผนงานที่ 3.4 พฒันาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทนัสมัย

ศูนย

3.4.1โครงการปรับปรุงเว็บไซดของสถาบันฯ

-จํานวนครั้งในการนําเขาขอมูลในเว็บไซดของสถาบัน

ครั้ง 100 160 170 170 600 เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.4.2โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหารใหทันสมัย

-จํานวนโปรแกรมและฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้น เพือ่สนับสนุนการดําเนินงานของสถาบัน

โปรแกรม/ฐานขอมูล

2 2 2 2 8 ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยุทธที่ 3 เชิงคุณภาพ -รอยละผูเขารวมกิจกรรมดานมาตรวิทยาที่สามารถนําความรูไปใชประโยชน

รอยละ

50

80

80

80

-

ฝายนโยบายและยุทธศาสตร

-การจัดทําแผนแมบทสารสนเทศ รอยละ - 100 - - - ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

-ความสามารถดําเนินงานตามแผนแมบทสารสนเทศ

รอยละ - 100 100 100 - ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

4.4.4 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ตารางที่ 10 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ของกลยุทธที่ 3

กลยุทธ ผูมีสวนไดสวนเสีย กลไกการประสานความรวมมือกบั

ผูมีสวนไดสวนเสีย กลยุทธที่ 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

1) การพัฒนากลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน - บุคลากรของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาต ิกระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

- ครูอาจารยในสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธกิาร

- วิทยากรจากหนวยงานภายนอก

1) การพัฒนากลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน - จัดทําหลักสตูรการฝกอบรมดานมาตรวิทยาของสถาบันฯ

- จัดประชุมสัมมนาเสริมสรางความเขมแข็งดานการวดัของภาคอุตสาหกรรม

Page 60: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 60 ~

ตารางที่ 10 (ตอ)

กลยุทธ ผูมีสวนไดสวนเสีย กลไกการประสานความรวมมือกบั

ผูมีสวนไดสวนเสีย - สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

- กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

- หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูม ิ

- หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบของภาคอุตสาหกรรม

- ผูประกอบการไทยดานมาตรวทิยา - สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง

2) การพัฒนากลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต - สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สถาบันการศึกษาในประเทศ 3) การพัฒนากลุมบุคคลทั่วไป

- สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย - สมาคมหองปฏิบัติการแหงประเทศไทย - สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - สภาเทคนิคการแพทย - กองรังสีและเครื่องมือแพทย กระทรวงสาธารณสุข

- สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- เครือขายพันธมิตรดานมาตรวิทยา/ชมรมมาตรวิทยา

- เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - กระทรวงพาณิชย - สํานักงานกลางชั่งตวงวัด กรมการคา

ภายใน กระทรวงพาณิชย

2) การพัฒนากลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต - พัฒนาแหลงการเรียนรูดานมาตรวทิยา - พัฒนาครูใหมีความรูดานมาตรวิทยาจนสามารถถายทอดความรูแกนักศึกษา

3) การพัฒนากลุมบุคคลทั่วไป - เผยแพรความรูและความสําคัญของระบบมาตรวิทยาผานสื่อมวลชน

- จัดทําเอกสารประชาสัมพันธ - เผยแพรขอมูลขาวสารผานเว็บไซตของสถาบันฯ

-จัดสัมมนาเผยแพรองคความรู ความเขาใจ สรางความตระหนักที่ถูกตอง เพื่อใหเห็นถึงความสําคัญและประโยชนของมาตรวิทยา

- จัดสัมมนาทางวิชาการและประชุมเชิงปฏิบัติการเพือ่เผยแพรความสาํคัญของมาตรวิทยา

- สํารวจและวิเคราะหขอมูลการสอบเทียบเครื่องมือวัดและทดสอบของโรงงานอุตสาหกรรม

- ใหคําปรึกษาดานการวัดแกอุตสาหกรรม - จัดทําฐานขอมูลโรงงานที่มีการสอบเทียบเครื่องมือวัดและทดสอบที่ถูกตองผานทางเว็บไซตของสถาบันฯ และการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

Page 61: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 61 ~

กลยุทธที่ 4 ประกอบดวย 2 แผนงานหลัก คือ 1) แผนงานเสริมสรางสัมพันธไมตรีกับเพื่อนบานโดยใชกิจกรรมดานมาตรวิทยา 2) แผนงานสนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสูประเทศเพื่อนบาน

4.5.1 เปาประสงคแผนกลยุทธ รัฐบาลสามารถใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ

4.5.2 ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบ 1) ผลผลิต (Output)

- การใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในกิจการตางประเทศ จะทําใหประเทศเพื่อนบานมีความเปนมิตรมากขึ้น สงผลใหผูประกอบการสามารถดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในตางประเทศได

2) ผลลัพธ (Outcome) - มีรายไดเขาประเทศจากการที่ผูประกอบการไทยสามารถขายบริการการสอบเทียบ

จําหนายอุปกรณการวัด ตลอดจนรายไดจากการจําหนายสารมาตรฐานและวัสดุอางอิงที่ผลิตไดในประเทศแกตางประเทศ

3) ผลกระทบ (Impact) - เกิดการลงทุนในธุรกิจสงออกเพิ่มข้ึน เปนการขยายฐานเศรษฐกิจของชาติ

4.5 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 ระบบมาตรวิทยาแหงชาติที่ เขมแข็งสนับสนุนกิจกรรมตางประเทศของรฐับาล

กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

Page 62: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 62 ~

4.5.3 เปาหมายผลผลิต ตารางที่ 11 ตัวชี้วัด เปาหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในกลยุทธที่ 4

แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตัวชี้วดัแผนงานระดับผลผลิต (Key Performance Indicators–

KPIs) (Output) หนวยนับ

เปาหมาย (Target)

2552 2553 2554 2555 รวม ผูรับผิดชอบ

กลยุทธที ่4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐใน การเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ แผนงานที่ 4.1 เสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศเพื่อนบานโดยใชกิจกรรมดานมาตรวิทยา เชิงปริมาณ 4.1.1โครงการความรวมมือดานมาตรวิทยากับประเทศเพื่อนบาน

-จํานวนกิจกรรมการอบรมที่มีบุคลากรตางชาติเขารวมการอบรมและจํานวนบุคคลากรตางชาติที่ผานการอบรม

กิจกรรม/ คน

2/10 3/40 3/40 3/40 11/130 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

แผนงานที่ 4.2 สนับสนุน การขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสูประเทศเพื่อนบาน 4.1.2โครงการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยายตลาดสูตางประเทศ

-จํานวนกิจกรรมสงเสริมและจํานวนผูประกอบการที่เขารวมกิจกรรม

กิจกรรม / หนวยงาน

1/5 1/5 1/5 1/5 4/20 ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

กลยุทธที ่4 เชิงคุณภาพ -ความพึงพอใจของบุคลากรตางชาติที่ผานการฝกอบรม

รอยละ

80

80

80

80

-

ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

-ความพึงพอใจของผูประกอบการไทยที่เขารวมโครงการขยายตลาดสูตางประเทศ

รอยละ 80 80 80 80 - ฝาย นโยบายและยุทธศาสตร

Page 63: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 63 ~

4.5.4 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

ตารางที่ 12 กลไกการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย) ของกลยุทธที่ 4

กลยุทธ ผูมีสวนไดสวนเสีย กลไกการประสานความรวมมือกับผูมีสวน

ไดสวนเสีย กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

- สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง - องคกรดานมาตรวิทยาระดับภูมิภาค - องคกรดานมาตรวิทยานานาชาติ - องคกรตางประเทศ - สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย - สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย

- เครือขายพันธมิตรดานมาตรวิทยา/ชมรมมาตรวิทยา

- เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - ผูประกอบการดานมาตรวิทยาไทย - กระทรวงพาณิชย - สํานักงานกลางชั่งตวงวัด กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย

- คณะกรรมการดําเนินการสรางความรวมมือระหวางประเทศ

- จัดกิจกรรมถายทอดเทคโนโลยีดานมาตรวิทยาระหวางประเทศ

- เปนศูนยการใหบริการสอบเทียบระหวางประเทศ

- จัดฝกอบรมสัมมนาดานมาตรวทิยาระหวางประเทศ

Page 64: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 64 ~

16.จํานวนพนักงานที่ไดรับการฝกอบรมขั้นพื้นฐาน 17.จํานวนทุนการศึกษาดานมาตรวิทยา 18.จํานวนโครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยาระหวางประเทศที่นําไปสู

การปฏิบัติ 19.ความสําเร็จสะสมของการพัฒนาระบบการจัดการองคความร

- 64 -

แผนภาพที่ 3 แผนกลยทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

1.หนวยวัดของชาติไดรับการสถาปนาและพัฒนาใหเพียงพอตามความตองการของผูใชบริการในประเทศ และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

2.บุคลากรดานมาตรวิทยาไดรับการพัฒนาและสามารถปฏิบัติภาระหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3.เปนองคกรหลักในการประสานความรวมมือดานมาตรวิทยาของชาติทั้งในและตางประเทศ

3.1แผนงานสรางความตระหนกัและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา3.2แผนงานศักยภาพการวัดในภาคอุตสาหกรรม 3.3แผนงานสงเสริมสนบัสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตาม

มาตรฐานสากล 3.4แผนงานพฒันาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทนัสมัย

3. กลยุทธสงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

6.กลุมเปาหมายผูใชบริการมาตรวิทยา อันไดแก กลุมบุคคลผูอยูในระบบงาน กลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต และกลุมบุคคลทั่วไป มีความรูความเขาใจถึงความสําคัญ และประโยชนของระบบมาตรวิทยา เพื่อใหสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

7.กลุมเปาหมายภาคอุตสาหกรรมไดรับการสนับสนุนในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานใหมีศักยภาพการแขงขันในตลาดการคาโลกสูงขึ้น

1.จํานวนผูเขาเยี่ยมชมเว็บไซดของสถาบัน 2.จํานวนรายการเชื่อมโยงขอมูลมาตรวิทยาที่นําเขาสูการใหบริการ STKC ของ วท. 3.จํานวนกิจกรรมผานสื่อประชาสัมพันธ 4.จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับกลุมบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบัน 5.จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับกลุมบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาคต 6.จํานวนกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยาสําหรับกลุมบุคคลทั่วไป 7.จํานวนบุคคลผูอยูในระบบงานปจจุบันเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา 8.จํานวนบุคคลผูจะเขาสูระบบงานในอนาตคเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา 9.จํานวนบุคคลทั่วไปเขารวมกิจกรรมเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา 10.จํานวนกิจกรรมสงเสริมใหมีการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา และจํานวนครู

อาจารยที่ผานการอบรม 11.จํานวนกิจกรรม จํานวนโรงงานและบุคลากรที่เขารวมกิจกรรมโครงการยกระดับความสามารถ

ดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม 12.จํานวนกิจกรรมสงเสริมการสอบเทียบเครื่องมือวัดทางการแพทย 13.จํานวนกิจกรรมสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล 14.จํานวนครั้งในการนําเขาขอมูลในเว็บไซดของสถาบัน 15.จํานวนโปรแกรมและฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของสถาบัน

มุงมั่นเพื่อการวัดในประเทศเปนที่ยอมรับของสังคมโลก (Commit to Globally Accepted Measurement) 4.สงเสริมความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและจํานวนเพียงพอตามความตองการของประเทศ

5.กิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศมีความถูกตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

8.รัฐบาลสามารถใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการสรางความสัมพันธอันดีระหวางประเทศ

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555)

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนองคกรหลักของประเทศในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล ที่มีบทบาทสําคญัตอการเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ การคมครองผบริโภคในประเทศ และการอนรักษสิ่งแวดลอม

1. กลยุทธเรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

2. กลยุทธเรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

4. กลยุทธสงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

1.จํานวนหนวยวัดแหงชาติใหมที่ไดรับการสถาปนา 2.ความสําเร็จของการกอสรางอาคารศูนยวัสดุอางอิง และการจัดซื้อจัดหาอุปกรณเครื่องมือ 3.จํานวนครั้งของการฝกอบรมการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก 4.ความสําเร็จของฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ 5.จํานวนรายการวัสดุอางอิง (Pure Substance Reference Material) ที่ผลิตไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34

6.จํานวนรายการวัสดุอางอิง (Matrix Reference Material) ที่ผลิตไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34

7.จํานวนฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ 8.จํานวนโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพที่ไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043

9.ความสําเร็จของฐานขอมูลสําหรับการวิเคราะหดานชีววิทยา 10.จํานวนโปรแกรมทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางชีววิทยาไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ

ISO/IEC 17043 11.จํานวนการเขารวมเปรียบเทียบผลการวัดกับนานาชาติ 12.จํานวนหนวยวัดแหงชาติที่สามารถรักษามาตรฐานตาม ISO/IEC 17025 ได 13.จํานวนหนวยวัดแหงชาติที่ไดรับการรับรองมาตรฐานตาม ISO/IEC 17025 เพิ่มขึ้น 14.จํานวนผลงานวิจัยและพัฒนาสามารถดําเนินการไดตามแผน

1.จํานวนการใหบริการวเิคราะห ทดสอบ สอบเทยีบ และใหคําปรึกษาดานมาตรวิทยา 2.จํานวนสถานประกอบการที่ใชบริการดานมาตรวทิยา 3.จํานวนหนวยวัดที่จัดเปรยีบเทียบผลการวัดภายในประเทศ 4.จํานวนหนวยงานที่เขารวมการจัดเปรยีบเทยีบผลการวัดภายในประเทศ 5.จํานวนเครือขายมาตรวิทยาที่เขารวมกิจกรรม 6.จํานวนกิจกรรมของชมรมมาตรวิทยา 7.จํานวนผูเขารวมฝกอบรมหลกัสูตรดานมาตรวิทยา 8.จํานวนกิจกรรมสงเสรมิใหมีหองปฏิบัติการ วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทยีบในภูมิภาค

9.จํานวนสาขาการวัดใหมที่หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ ขยายการใหบริการ

10.จํานวนกิจกรรมบูรณาการดานมาตรวิทยากับหนวยงานตางๆ

1.จํานวนกิจกรรมการอบรมที่มีบุคลากรตางชาติเขารวมการอบรมและจํานวนบุคคลากรตางชาติที่ผานการอบรม

2.จํานวนกิจกรรมสงเสริมและจํานวนผูประกอบการที่เขารวมกิจกรรม

2.1แผนงานพฒันาการใหบริการสอบเทยีบและการใหคําปรึกษา2.2แผนงานสงเสริมหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตาม

มาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ

2.3สงเสริมใหมีหองปฏบิัติการระดับทตุิยภูมิในภูมิภาค

1.1แผนงานสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล 1.2แผนงานพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ

ใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ 1.3แผนงานพัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน 1.4แผนงานพัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดานมาตรวิทยา 1.5แผนงานพัฒนาบุคลากรดานมาตรวิทยา

4.1แผนงานเสริมสรางสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบานโดยใชกิจกรรมดานมาตรวิทยา

4.2แผนงานสนับสนุนการขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสูประเทศเพื่อนบาน

วิสัยทัศน เปาประสงค

คานิยม กลยุทธ

ตัวช้ีวัด (KPI – เชิงแผนงาน

Page 65: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 65 ~

กลยุทธ

ผูมีสวนไดสวนเสีย

กลยุทธท่ี 1 เรงพัฒนา

สถาปนาหนวยวัดมาตรฐาน

แหงชาติใหเปนท่ียอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับ

ความตองการในประเทศ

กลยุทธท่ี 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใน

ประเทศ

กลยุทธท่ี 3 สงเสริมกลุมผูใชบริการ

มาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็น

ประโยชนของมาตรวิทยา

กลยุทธท่ี 4 สงเสริมให

มาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง องคกรดานมาตรวิทยาระดับภูมิภาค องคกรดานมาตรวิทยานานาชาติ องคกรตางประเทศ หนวยงานรับรองระบบริหารงานคุณภาพ หนวยงานรับรองความสามารถหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025 สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย เครือขายพันธมิตรดานมาตรวิทยา/ชมรมมาตรวิทยา เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาเทคนิคการแพทย กองรังสีและเครื่องมือแพทย กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบของภาคอุตสาหกรรม

สถานศึกษาในประเทศ หนวยงานรับตีพิมพเผยแพรบทความวิชาการและผลงานวิจัย ผูประกอบการไทยดานมาตรวิทยา กระทรวงพาณิชย สํานักงานกลางชั่งตวงวัด กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย แผนภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางกลยุทธของแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) กับ

หนวยงานที่เกี่ยวของ (ผูมีสวนไดสวนเสีย)

Page 66: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 66 ~

บทที่ 5

การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับ แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

5.1 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยากับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา

แหงชาติ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และแผนบริหารราชการอื่นๆที่เกี่ยวของ

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) มีความเชื่อมโยงกับแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) นโยบายของรัฐ แผนยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2555) และแผนบริหารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ดังแสดงไวในแผนภาพที่ 5 และ 6 ยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ยุทธศาสตรแผนแมบท

การพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ แผนกลยุทธ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาต ิ1. การสงเสริมและเรงรัดการพัฒนากํ าลั ง คนด านวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยีใหเปนพลังของประเทศ

1 . การพัฒนาสถาบั นมาตรวิ ทยาแหงชาติและเครื่อขายพันธมิตร

1. เร งพัฒนาสถาปนาหน วยวั ดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

2. การสรางความตระหนักและพัฒนา การเรียนรูด านวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนสังคมฐานความรู

2. การพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศ

2 .เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประแทศ

3. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สรางฐานความรูและเพิ่มผลิตภาพของประเทศ

3 . ก า ร พั ฒ น า ก ลุ ม ผู ใ ช บ ริ ก า ร มาตรวิทยา

3. สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

4. การถายทอดเทคโนโลยีและมีการนําผลงานวิจัย และนวัตกรรมไปใชในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชยทุกระดับ

4 . การส ง เสริ ม ใหมาตรวิทยา เปนเ ค รื่ อ ง มื อ ข อ ง รั ฐ ใ น กิ จ ก า รตางประเทศ

4. สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือขอ ง รั ฐ ใ นกา ร เ ส ริ ม ส ร า งสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

5. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และน วั ต ก ร ร ม ใ ห เ พี ย ง พ อ ร ว มทั้ งพัฒน า ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด า นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย

6. การพัฒนานโยบายวิทยาศาสตร เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม มีป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ทั น ต อ ก า รเปลี่ยนแปลงของโลก

แผนภาพที่ 5 การเชื่อมโยงระหวางแผนยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติกับแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 67: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 67 ~

แผนภาพที่ 6 การเชื่อมโยงระหวางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติกับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยา แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แผนยุทธศาสตรชาติ นโยบายภาครัฐ และแผนบริหารราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

- 67 -

Page 68: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 68 ~

5.2 ประมาณการงบประมาณเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ เปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญของชาติซึ่งตองไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐอยางตอเนื่องและเพียงพอ เนื่องจากลักษณะงานของสถาบันฯ ที่ตองจัดหา รักษา และพัฒนามาตรฐานแหงชาติ รวมถึงตองมีการวิจัยและพัฒนา เพื่อใหสามารถติดตามพัฒนาการของเทคโนโลยีไดทันเวลา ทั้งนี้สัดสวนการสนับสนุนจากภาครัฐอาจมีความแตกตางกันในแตละปข้ึนอยูกับภาวะการเงินการคลังและภาวะเศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้น โดยจะไดรับการสนับสนุนงบประมาณในสัดสวนรอยละ 50-60 ของแผนเสนอของบประมาณประจําป ทําใหการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติตองลาชาออกไป โดยปกติงบประมาณการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติของทุกประเทศจะมีความคลายคลึงกัน กลาวคือ รายไดโดยตรงจากการใหบริการประมาณรอยละ 10 ของงบประมาณรายจายที่ใชในการดําเนินงานทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแลวและมีความกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายไดจากการใหบริการของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติจะนอยกวารอยละ 5 ของงบประมาณที่ใชในการดําเนินการแตละป และงบประมาณรายจายอีกประมาณรอยละ 90 ตองขอสนับสนุนจากรัฐบาล ผลลัพธจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของชาติใหเขมแข็งจะสงมีผลใหเศรษฐกิจดีข้ึน เชน การลดการใชเงินตราตางประเทศในการสงอุปกรณ เครื่องมือไปทําการสอบเทียบในตางประเทศ การยกระดับขีดความสามารถทางการวัดของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งนําไปสูการพัฒนาดานคุณภาพผลิตภัณฑ และการลดตนทุนการผลิต อันเปนการเสริมสรางศักยภาพการแขงขันในตลาดโลกของอุตสาหกรรมไทย ซึ่งผลกระทบดังกลาวนี้มีมูลคาสูงกวางบประมาณในการดําเนินงานของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ โดยสามารถประมาณการขั้นต่ําไดไมนอยกวาสิบเทา (รายละเอียดระบุไวในภาคผนวก ฌ) รวมทั้งผลกระทบที่ไมสามารถคํานวณเปนตัวเงินได เชน การที่สังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน การประมาณความตองการงบประมาณตามแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ซึ่งไดพิจารณาถึงปญหาภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก และขอจํากัดดานการเงินของภาครัฐ มาประกอบในการประมาณการดวย เพื่อใหแผนกลยุทธสถาบัน มาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ. 2552-2555) สามารถนําไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม โดยมีรายละเอียดความตองการงบประมาณปรากฏตามตารางที่ 13

Page 69: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 69 ~

ตารางที ่ 13 ประมาณการความตองการงบประมาณในการดําเนินงานสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2552-2555 จําแนกตามแผนกลยุทธ และแผนงาน

กลยุทธ/แผนงาน โครงการ ประมาณการงบประมาณ (ลานบาท)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555 รวม

กลยุทธที่ 1 เรงพัฒนาสถาปนาหนวยวัดมาตรฐานแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการในประเทศ

แผนงานที่ 1.1 สถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล

1.1.1โครงการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ

1.00 53.60 264.00 236.00 554.60

แผนงานที่1.2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยา

1.2.1โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

15.00 - 216.00 343.00 574.00

เคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็งและไดรับการยอมรับจากนานาชาติ

1.2.2โครงการผลิตวัสดุอางอิงสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และส่ิงแวดลอม

- 0.40 10.60 12.00 23.00

1.2.3โครงการจัดโปรแกรม การทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และส่ิงแวดลอม

- 0.20 4.00 5.00 9.20

1.2.4โครงการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญทางดานชีววิทยา

- 0.40 1.00 2.00 3.40

แผนงานที่ 1.3 พัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน

1.3.1โครงการพัฒนาและดํารงระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ

19.40 24.60 28.00 65.00 137.00

1)กิจกรรมการสอบเทียบมาตรฐานอางอิงของประเทศ

2)กิจกรรมการซอม/ติดตั้งเครื่องมือมาตรฐาน

3)กิจกรรมการจัดหาเครื่องมือมาตรฐานเพื่อสนับสนุนการรักษาขีดความสามารถดานการวัด

Page 70: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 70 ~

ตารางที่ 13 (ตอ)

กลยุทธ/แผนงาน โครงการ ประมาณการงบประมาณ (ลานบาท)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

รวม

4)กิจกรรมการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางประเทศ

-International comparison

-Bilateral comparison 5)กิจกรรมการพัฒนาระบบ

คุณภาพหองปฏิบัติการ

แผนงานที่ 1.4 พัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยดาน มาตรวิทยา

1.4.1โครงการพัฒนาขีดความสามารถงานวิจัยและพัฒนาดานมาตรวิทยา

29.00 5.30 16.00 87.30 137.60

แผนงานที่ 1.5 พฒันาบุคลากรดานมาตรวิทยา

1.5.1โครงการเพิม่ขีดความสามารถบคุลากร

5.00 5.40 5.80 6.60 22.80

1) กิจกรรมอบรมดาน มาตรวิทยาจากผูเชี่ยวชาญ

2) กิจกรรมอบรมขั้นพื้นฐาน 3) กิจกรรมการให

ทุนการศึกษาดานมาตรวิทยา

1.5.2โครงการความรวมมือทางวิชาการดานมาตรวิทยากับตางประเทศ

7.00 16.30 18.00 22.00 63.30

1.5.3โครงการพัฒนาระบบ การจัดการองคความรู (Knowledge Management: KM)

- - 2.00 3.00 5.00

รวมงบประมาณกลยุทธที่ 1 76.40 106.20 565.40 781.90 1529.90

Page 71: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 71 ~

ตารางที่ 13 (ตอ)

กลยุทธ/แผนงาน โครงการ ประมาณการงบประมาณ (ลานบาท)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

รวม

กลยุทธที่ 2 เรงถายทอดความถูกตองดานการวัดสูหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในประเทศ

แผนงานที่ 2.1 พัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา

2.1.1โครงการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการใหคําปรึกษา

1.00 1.20 3.00 3.50 8.70

แผนงานที่ 2.2 สงเสริมหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและขยายการบริการใหครอบคลุมความตองการในประเทศ

2.2.1โครงการเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏบิัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุตยิภูมิ

1.90 2.60 10.00 11.00 25.50

แผนงานที่ 2.3 สงเสริมใหมีหองปฏิบัติการระดับทุติยภูมิในภูมิภาค

2.3.1โครงการสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

0.60 0.60 5.00 5.50 11.70

2.3.2 โครงการความรวมมือในการพฒันามาตรวิทยากับเครือขายพันธมิตร

2.90 2.90 6.50 6.00 18.30

รวมงบประมาณกลยุทธที่ 2 6.40 7.30 24.50 26.00 64.20 กลยุทธที่3 สงเสริมกลุมผูใชบริการมาตรวิทยาใหตระหนักถึงความสําคัญ และเห็นประโยชนของมาตรวิทยา

แผนงานที่ 3.1 สรางความตระหนักและพัฒนาการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา

3.1.1โครงการสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาใหแกผูใชบริการมาตรวิทยา

2.50 5.60 10.50 11.00 29.60

1)ผาน Website สถาบันฯ 2)ผานสื่อประชาสัมพันธหรือ

กิจกรรมเผยแพร

3)ผานการจัดประชุม/อบรม/สัมมนา

3.1.2โครงการเสริมสรางการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาในสถานศึกษา

0.60 0.60 0.60 0.60 2.40

Page 72: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 72 ~

ตารางที่ 13 (ตอ)

กลยุทธ/แผนงาน โครงการ ประมาณการงบประมาณ (ลานบาท)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555 รวม

แผนงานที่ 3.2 พฒันาศักยภาพการวัดในภาคอตุสาหกรรม

3.2.1โครงการยกระดับความสามารถดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม

1.00 1.00 1.50 2.00 5.50

แผนงานที่ 3.3 สงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล

3.3.1โครงการสงเสริมการสอบเทยีบเครื่องมือวัดทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

0.10 0.10 9.00 3.00 12.20

3.3.2โครงการสงเสริมการวัดชีวเคมีทางการแพทยตามมาตรฐานสากล

0.10 0.10 1.00 2.00 3.20

แผนงานที่ 3.4 พฒันาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและ

3.4.1โครงการปรับปรุงเว็บไซดของสถาบันฯ

0.50 0.70 2.00 2.50 5.70

ทันสมัย 3.4.2โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหารใหทันสมัย

1.00 1.00 2.00 2.50 6.50

รวมงบประมาณกลยุทธที่ 3 5.80 9.10 26.60 23.60 65.10 กลยุทธที่ 4 สงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ

แผนงานที่ 4.1 เสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศเพื่อนบานโดยกิจกรรมดาน มาตรวิทยา

4.1.1โครงการความรวมมือดานมาตรวิทยากับประเทศเพื่อนบาน

0.20 0.50 1.50 1.50 3.70

แผนงานที่ 4.2 สนับสนุน การขยายตลาดดานมาตรวิทยาของภาคเอกชนสูประเทศ เพื่อนบาน

4.1.2โครงการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยายตลาดสูตางประเทศ

0.20 0.50 1.00 1.00 2.70

รวมงบประมาณกลยุทธที่ 4 0.40 1.00 2.50 2.50 6.40 รวมงบประมาณ 4 กลยุทธ 89.00 123.60 619.00 834.00 1665.60 งบประจําขั้นต่ําและบริหารทั่วไป* 111.00 131.80 151.00 182.00 568.00 รวมงบประมาณทั้งส้ิน 200.00 255.40 770.00 1016.00 2233.60

Page 73: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 73 ~

5.3 ประมาณการบุคลากรเบื้องตนตามแผนกลยุทธ ฯ สถาบันฯ ไดจัดทําประมาณการความตองการอัตรากําลังคนของสถาบันฯ พ.ศ.2552-2555 (รายละเอียดตารางที่ 14) อัตรากําลังคนตามแผนดังกลาวจะสงเสริมสนับสนุนใหการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติบรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว นอกจากนี้การสถาปนาพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีบุคลากรที่มี ศักยภาพสูง และจะตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรอยางตอเนื่อง ตารางที่ 14 ประมาณการความตองการอัตรากําลังคนที่เพิ่มขึ้นของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2552-2555

ฝาย อัตรา ณ สิ้นป 2551

ความตองการอัตรากําลังคนที่เพิ่มขึ้น (คน) ป2552 ป2553 ป2554 ป2555 รวม

ฝายมาตรวิทยาเชิงกล 27 - - - - 27 - นักเรียนทุนที่จะกลับมา (ยกเวนหองปฏิบัติการความดันฯ) - 1 - - 3 4 - นักเรียนทุนที่จะกลับมา (ของหองปฏิบัติการความดันฯ) - - - 1 1 2 - ขอเพิ่มใหม (ยกเวนหองปฏิบัติการความดันฯ) - 1 - - - 1 - ขอเพิ่มใหม (ของหองปฏิบัติการความดันฯ) - 1 - - - 1

รวมฝายมาตรวิทยาเชิงกล 27 3 - 1 4 35 ฝายมาตรวิทยาไฟฟา 24 - - - - 24

- นักเรียนทุนที่จะกลับมา - 2 - - 4 6 - ขอเพิ่มใหม - - - - - -

รวมฝายมาตรวิทยาไฟฟา 24 2 - - 4 30 ฝายมาตรวิทยามิติ 16 - - - - 16

- นักเรียนทุนที่จะกลับมา - - - - 1 1 - ขอเพิ่มใหม - - 3 1 1 5

รวมฝายมาตรวิทยามิติ 16 - 3 1 2 22 ฝายมาตรวิทยาอุณหภูม ิ 10 - - - - 10

- นักเรียนทุนที่จะกลับมา - 2 - 1 1 4 - ขอเพิ่มใหม - - - - - -

รวมฝายมาตรวิทยาอุณหภูม ิ 10 2 - 1 1 14 ฝายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน 7 - - - - 7

- นักเรียนทุนที่จะกลับมา - - 2 - - 2 - ขอเพิ่มใหม - - - - - -

รวมฝายมาตรวิทยาเสียงฯ 7 - 2 - - 9 ฝายมาตรวิทยาแสง 5 - - - - 5

- นักเรียนทุนที่จะกลับมา - - - - - - - ขอเพิ่มใหม - - 2 - - 2

รวมฝายมาตรวิทยาแสง 5 - 2 - - 7

Page 74: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 74 ~

ตารางที่ 14 (ตอ)

ฝาย อัตรา ณ สิ้นป 2551

ความตองการอัตรากําลังคนที่เพิ่มขึ้น (คน) ป2552 ป2553 ป2554 ป2555 รวม

ฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 13 - - - - 13 - นักเรียนทุนที่จะกลับมา - - - 2 1 3 - ขอเพิ่มใหม - 1 4 4 8 17

รวมฝายมาตรวิทยาเคมีฯ 13 1 4 6 9 33

รวมสายวิชาการที่เพิ่ม

1 – นักเรียนทุนที่จะกลับมา - 5 2 4 11 22 2 – ขอเพิ่มใหม - 3 9 5 9 26 1+2 - 8 11 9 20 48

รวมสายวิชาการ 102 8 11 9 20 150 รวมสายสนับสนุน 59 3 3 3 2 70 พนักงานระดับบริหาร 3 - - - - 3 รวมทั้งหมด 164 11 14 12 22 223

Page 75: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 75 ~

Page 76: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 76 ~

บทที่ 6

แผนการติดตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผลตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2552-2555 ไดกําหนดแนวทางการติดตามและประเมินผลไว 2 ระดับ คือ 1) การประเมินตนเอง และ 2) การประเมินโดยหนวยงานภายนอก มีข้ันตอนการดําเนินการ ดังนี้ 6.1 การประเมินโดยการประเมินตนเอง

ประกอบดวยการประเมนิ 2 ประเภท 6.1.1 ประเมินดานประสิทธิภาพ เปนการประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) ในการ

ดําเนินการ เพื่อใหเกิดผลผลิตตามแผน ไดแก 1) ประเมินจากความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามแผน 2) ประเมินจากทรัพยากรที่ใชในการดําเนินงาน

6.1.2 ประเมินดานประสิทธิผล เปนการประเมินผลผลิต (Output Evaluation) เพื่อดูวาไดผลผลิตตามวัตถุประสงคหรือไม ไดแก

1) ประเมินจากตัวชี้วัด 2) ประเมินผลดวยเครื่องมือวัดวิเคราะหระดับความสําเร็จของการดําเนินงานจากการใช

จายงบประมาณประจําป (PART : Performance Assessment Rating Tools)

ทั้งนี้ภายหลังการรวบรวมผลการดําเนินงานของทุกฝาย/สวนนําสงผลผลิตตามแผนกลยุทธฯ ภายใตกรอบของตัวชี้วัดผลสําเร็จของการดําเนินงาน ในแตละรอบระยะเวลาที่กําหนดแลว จะมีการประเมินผลตนเองและจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงานโดยเปรียบเทียบกับเปาหมายที่กําหนดเสนอตอผูบริหาร เพื่อใหไดรับทราบขอมูลยอนกลับจากฝาย/สวน ตลอดจนปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น และขอเสนอแนะ ขอคิดเห็นจากหนวยประเมิน และใชเปนขอมูลประกอบการบริหารจัดการของผูบริหาร เพื่อสามารถตอบสนองกับสถานการณที่อาจเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้หากผูบริหารมีนโยบายหรือการสั่งการใดๆ ออกมาเพื่อจัดการแกไขปญหาและอุปสรรคดังกลาว หรือเปนเพียงการรับทราบก็จะตองสงผานขอมูลยอนกลับใหแกผูปฏิบัติงานหรือผูรับผิดชอบที่เกี่ยวของรับทราบและปฏิบัติในสวนที่เกี่ยวของ รวมทั้งจะมีการติดตามความคืบหนาของการดําเนินงานของหนวยงานสงผลผลิต เพื่อรายงานผูบริหารตอไป ในการดําเนินการติดตามและประเมินตนเอง กําหนดแผนการดําเนินการไวในตารางที่ 15

Page 77: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 77 ~

ตารางที่ 15 แผนการดําเนินงานติดตามและประเมินตนเอง เรื่อง ปงบประมาณ

ต.ค พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ มี.ค เม.ย. พ.ค มิ.ค ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค พ.ย ธ.ค.

1. รายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ มว.

2. รายงานผลการปฏิบัติงานและการใชจายประจําป

3. รายงานการวิเคราะหระดับความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามแผน

6.2 การประเมินโดยหนวยงานภายนอก เปนการประเมินความคุมคาระดับผลผลิต ไดแก การประเมินผลการดําเนินงานกองทุนเพื่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยา โดยหนวยงานภาครัฐ/เอกชน/สถาบันการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและไดรับการยอมรับในสังคมใหประเมินความกาวหนาและความสําเร็จ ทั้งนี้ภายหลังการประเมินความกาวหนาและความสําเร็จจากหนวยงานภายนอกแลว นํารายงานผลการประเมินเสนอใหผูบริหาร และคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติรับทราบเพื่อใหขอคิดเห็นหรือเสนอแนะแนวทางการแกไข และใหผูรับผิดชอบที่เกี่ยวของรับทราบและปรับแก และดําเนินการตามขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูประเมินภายนอกและคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติตอไป โดยการดําเนินการติดตามและประเมินผลสามารถแบงไดเปน 3 ระยะ รายละเอียดดังนี้ ระยะที่ 1 (พ.ศ.2552) จัดทําระบบฐานขอมูลผลผลิต เพื่อเตรียมการประเมินผลความคุมคาของผลสําเร็จ โดยจะดําเนินการจัดตั้งคณะทํางานติดตามและประเมินผลความคุมคาของผลสําเร็จ จัดทํากระบวนการจัดการที่จะชวยวัดผลการดําเนนิงาน/หรือปรับปรุงการดําเนินงานของสถาบันฯ ใหมีประสิทธิภาพ ไดแก การออกแบบขอมูลพื้นฐานเพื่อการวัด การจัดเก็บ รวมถึงจัดทําระบบรายงานผลการดําเนินงานของสถาบันฯ เปนรายผลิต และสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามความจําเปน ระยะที่ 2 (พ.ศ.2553) พัฒนาระบบฐานขอมูลผลผลิตเพื่อการติดตามและประเมินผลความคุมคาของผลสําเร็จ โดยคณะทํางานดําเนินการตามแผนในระยะที่ 1 ดําเนินการทดลองและใชระบบ และดําเนินการประเมินความคุมคาของผลสําเร็จตามเปาหมายของแผนกลยุทธ ระยะที่ 3 (พ.ศ.2554-2555) ผูประเมินภายนอกดําเนินการประเมินความคุมคา

Page 78: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 78 ~

ภาคผนวก ก. ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 79: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 79 ~

Page 80: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 80 ~

ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ (National Metrology System)

1. ความหมายของระบบมาตรวิทยา ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ คือ โครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ ที่ทํา

หนาที่สรางหลักประกันความถูกตองของผลการวัด (Measurement Result) ของเครื่องมือวัดตางๆ ภายในประเทศ โดยผานระบบสอบกลับไดทางการวัด (Measurement Traceability) สูมาตรฐานแหงชาติ และมาตรฐานนานาชาติไดในที่สุด

2. ประเภทของมาตรวิทยา (Categories of Metrology)

มาตรวิทยาแบงออกเปน 3 ประเภท ที่แตกตางกันตามระดับความซับซอนและความถูกตอง 2.1 มาตรวิทยาเชิงวิทยาศาสตร (Scientific Metrology)

เกี่ยวของกับองคกรและการพัฒนามาตรฐานการวัด รวมทั้งการดูแลรักษาระดับสูงสุด แบงเปน 9 สาขาเทคนิค คือ มวล (Mass) ไฟฟา (Electricity) ความยาว (Length) เวลาและความถี่ (Time and Frequency) อุณหภูมิ (Thermometry) การแผรังสีไอออนที่แตกตัวและกัมมันตภาพรังสี (Ionisiog Radiation and Radioactivity) แสงและการแผรังสี (Photometry and Radiometry) เสียง (Acoustics) ปริมาณของสาร (Amount of Substance) (แบงโดยสํานักงานชั่งตวงวัดระหวางประเทศ Bureau International des Poids et Mesures: BIPM)

ประเทศไทยไดดําเนินการดานมาตรวิทยาเชิงวิทยาศาสตรเ ร่ิมต้ังแต พ.ศ.2504 โดยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ไดจัดตั้งศูนยทดสอบและมาตรวิทยา ตอมาในป พ.ศ.2508 โดยกองชั่งปรับเทียบมาตรฐานเครื่องวัด กรมสื่อสารทหารอากาศ กองทัพอากาศ และในป พ.ศ.2509 กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ดําเนินงานภายใตโครงการมาตรวิทยาและการรับรองหองปฏิบัติการ ตอมาไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 โดยสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดรับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติดังกลาว เร่ิมดําเนินการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2541 มีวัตถุประสงคตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ คือ พัฒนาระบบมาตรวิทยา จัดหาและเก็บรักษามาตรฐานแหงชาติ วัสดุอางอิงมาตรฐานของประเทศทุกสาขา เพื่อใหสอดคลองกับระบบมาตรวิทยาสากล รวมถึงการถายทอดความถูกตองของการวัดไปสูมาตรฐานแหงชาติ และสงเสริมการประกอบอาชีพดานมาตรวิทยาและความสามารถของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ

Page 81: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 81 ~

2.2 มาตรวิทยาเชิงอุตสาหกรรม (Industrial Metrology) เกี่ยวของกับการทําใหมั่นใจในการทํางานของเครื่องมือที่ใชวัดในภาคอุตสาหกรรมทั้งใน

กระบวนการผลิตและการทดสอบของกิจกรรมทางอุตสาหกรรม ซึ่งรวมถึงความตองการในเรื่องของการสอบกลับไดทางการวัด ซึ่งเปนสวนสําคัญสําหรับการวัด และการยอมรับความสามารถดานมาตรวิทยาในแตละระดับของสายโซของการสอบกลับได จะตองไดรับการสถาปนาขึ้นโดยมีขอตกลงยอมรับรวมกัน (Mutual recognition agreements or arrangements: MRA) เชน ขอตกลงรวมกันของคณะกรรมการมาตรวิทยานานาชาติ (Committee Internationale des Poids et Mesures: CIPM), และขอตกลงรวมกันขององคกรรับรองความสามารถหองปฏิบัติการนานาชาติ (International Laboratory Accreditation Cooperation: ILAC) รวมถึงการรับรองระบบคุณภาพ (Accreditation) และการทบทวน (Peer Review)

2.3 มาตรวิทยาเชิงกฎหมาย (Legal Metrology)

เกี่ยวของกับการวัดที่มีผลตอความโปรงใสทางธุรกิจ สุขภาพ และความปลอดภัย มีจุดเริ่มตนมาจากความตองการความยุติธรรมในเรื่องการคา โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องน้ําหนักและการวัด ดังนั้นความถูกตองของการวัดจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการควบคุม โดยเรื่องสําคัญที่ตองคํานึงถึงคืออุปกรณการวัด ซึ่งวัตถุประสงคหลักของมาตรวิทยาเชิงกฎหมายก็เพื่อใหประชาชนมีความมั่นใจวาจะไดรับผลการวัดที่ถูกตองเมื่อดําเนินการที่เกี่ยวกับการวัดในกิจกรรมตางๆ เชน การคา ส่ิงแวดลอม สุขภาพ และความปลอดภัย เปนตน

ประเทศไทยไดดําเนินการมาตรวิทยาเชิงกฎหมาย โดยการประกาศใชพระราชบัญญัติชั่งตวงวัด โดยสํานักงานกลางชั่งตวงวัด กระทรวงพาณิชย ในป พ.ศ.2466 และมีการกําหนดใหใชระบบเมตริกเปนหนวยวัดที่เปนทางการของไทยสําหรับการซื้อ-ขาย

แผนภาพที่ 7 ประเภทของมาตรวิทยาจําแนกตามระดับความแมนยํา

Page 82: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 82 ~

3. องคประกอบระบบมาตรวทิยาแหงชาติตามกลุมภาระหนาที ่3.1 องคประกอบดานนโยบาย

เปนองคประกอบของระบบมาตรวิทยา ที่มีภาระหนาที่ในการกําหนดนโยบายในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ไดแก นโยบายของรัฐดานมาตรวิทยา พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรฐาน พ.ศ.2540 ระบบกฎหมาย และคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ

3.2 องคประกอบองคกรหลัก

เปนองคประกอบที่ทําหนาที่ผลักดันและพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศ สถาปนาหนวยวัดของชาติตามขอกําหนดของคณะกรรมการมาตรวิทยาสากล ตองดําเนินการใหนานาชาติยอมรับหนวยวัดของชาติที่สถาปนาขึ้นโดยการเขารวมการวัดเปรียบเทียบนานาชาติ และพัฒนาระบบคุณภาพของหองปฏิบัติการตามเงื่อนไขของคณะกรรมการมาตรวิทยาสากล และตองดําเนินการถายทอดความถูกตองทางการวัดสูกิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศผานหองปฏิบัติการสอบเทียบและวัสดุอางอิงมาตรฐาน

3.3 องคประกอบกลไกการถายทอด

เปนองคประกอบที่ทําหนาที่ถายทอดความถูกตองของผลการวัดจากมาตรฐานแหงชาติที่สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไปสูมาตรฐานอางอิงของภาคอุตสาหกรรม และไปสูกิจกรรมการวัดตางๆ ของภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของ ดวยการสอบเทียบเครื่องมือวัด และการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญตางๆ ในการวิเคราะหทางเคมีและชีวภาพ กลไกนี้จะตองมีปริมาณที่มากเพียงพอในการใหบริการแกภาคอุตสาหกรรม และมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สามารถถายทอดคาการวัดไดอยางถูกตองแมนยํา ประกอบดวย หองปฏิบัติการสอบเทียบเครื่องมือวัดระดับทุติยภูมิ หองปฏิบัติการวิเคราะห และทดสอบ ระบบรับรองระบบงาน และเครือขายหองปฏิบัติการตางๆ ไดแก สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย ชมรมมาตรวิทยาสาขาตางๆ เปนตน

3.4 องคประกอบกลุมผูใชบริการ

เปนองคประกอบที่ทําหนาที่ใชบริการในระบบมาตรวิทยา โดยรับการถายทอดความถูกตองของการวัดผานหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ เพื่อใหผลิตภัณฑและการบริการเปนไปตามมาตรฐานสากลหรือขอกําหนดของผลิตภัณฑตามความตองการของประเทศคูคา ประกอบดวย ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรม และผูดําเนินกิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศ เปนตน

การสรางและพัฒนาความตระหนักและความตื่นตัวขององคประกอบนี้จะมีสวนชวยในการพัฒนามาตรฐานเกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิต (Production Process Method: PPM) ของภาคอุตสาหกรรมโดยรวม ชวยเพิ่มศักยภาพการแขงขันของภาคอุตสาหกรรม ลดการสูญเสียวัตถุดิบในการผลิต ประหยัดเชื้อเพลิง

Page 83: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 83 ~

และพลังงานในการผลิต และเมื่อผลิตภัณฑมีคุณภาพและตนทุนการผลิตต่ําจะทําใหสามารถแขงขันในเวทีการคาโลกได เนื่องจากผลิตภัณฑที่มีคุณภาพจะสามารถผานมาตรการกีดกันทางการคาดานเทคนิคของประเทศคูคาได รวมทั้งยังเปนการคุมครองผูบริโภคในประเทศดวยมาตรการกีดกันทางการคาดานเทคนิค สินคาและการบริการที่ไมมีคุณภาพตามมาตรฐาน และสินคาที่ผลิตโดยกระบวนการผลิตที่ไมอนุรักษส่ิงแวดลอม

4. ความสาํคัญของระบบมาตรวิทยาแหงชาติ มาตรวิทยามีความสําคัญตองานวิจัย และการวิจัยทางวิทยาศาสตรจัดวาเปนพื้นฐานของการพัฒนาทางดานมาตรวิทยาดวยเชนกัน วิทยาศาสตรมีสวนผลักดันใหเกิดวิวัฒนาการใหม ๆอยูตลอดเวลา และการคนพบส่ิงใหมๆ การมีเครื่องมือที่เกี่ยวของกับมาตรวิทยาที่ดีข้ึน จะทําใหนักวิจัยสามารถคนพบสิ่งใหมอยางตอเนื่อง ไมเพียงแตจะมีการพัฒนาในสาขามาตรวิทยาเทานั้น แตยังสามารถทํางานควบคูไปกับอุตสาหกรรมตางๆ อีกดวย สรุปก็คือความสําคัญของระบบมาตรวิทยาก็เพื่อสรางหลักประกันวา กิจกรรมดานการวัด ซึ่งมีมูลคามหาศาล จะมีผลการวัด (Measurement Result) ที่ถูกตอง ทั้งนี้โดยผานระบบการสอบกลับได (Traceability) จากเครื่องมือวัดในระดับทํางานในภาคอุตสาหกรรมตางๆ ไปสูมาตรฐานอางอิงซึ่งอยูในหองปฏิบัติการสอบเทียบ และไปสูมาตรฐานแหงชาติที่รักษาโดยสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ การที่จะใหผลการวัด การวิเคราะห และการทดสอบตางๆ สามารถสอบกลับได หรืออางอิงกลับไดสูหนวยวัดสากล เพื่อใหเปนที่ยอมรับของสังคมโลกนั้น เครื่องมือวัดจะตองไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองจากหองปฏิบัติการสอบเทียบที่มีมาตรฐาน กลาวคือหองปฏิบัติการสอบเทียบตองใชอุปกรณเครื่องมือวัดและวัสดุอางอิงที่ไดรับการสอบเทียบจากสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ และสถาบันฯ ตองดําเนินการใหนานาชาติยอมรับในหนวยวัดแหงชาติ ที่จะใหบริการสอบเทียบแกหองปฏิบัติการสอบเทียบตางๆ ตอไป ถาเปนการวิเคราะหทางเคมีและชีวภาพ วัดสุอางอิงที่ใชตองเปนที่ยอมรับของนานาชาติ ถาเงื่อนไขตางๆ ดังกลาวนี้สมบูรณผลการวัดนั้นเรียกไดวาสามารถสอบกลับได หรืออางอิงกลับไดสูหนวยวัดสากลและเปนที่ยอมรับของนานาชาติ รายละเอียดดังแผนภาพที่ 8

แผนภาพที่ 8 โครงสรางระบบมาตรวิทยาของชาติเชื่อมโยงถึงการยอมรับจากนานาชาต ิ

Page 84: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 84 ~

ภาคผนวก ข. ความเปนมาของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 85: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 85 ~

Page 86: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 86 ~

ความเปนมาของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (มว.) ไดรับการสถาปนาขึ้นตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ .ศ .2540 ให เปนหนวยงานของรัฐที่ มี ระบบบริหารงานเปนอิสระอยู ภายใตการกํ ากับของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งการบริหารงานภายในสถาบันฯ อยูภายใตการบริหารและกํากับดูแลของคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนประธานกรรมการ ผูแทนภาครัฐ 8 ทาน เอกชน 2 ทาน ผูทรงคุณวุฒิ 5 ทานเปนกรรรมการ และผูอํานวยการสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนกรรมการและเลขานุการ เริ่มเปดดําเนินการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2541 ณ ที่ทําการชั่วคราว ในอาคารมาตรวิทยาและศูนยสารนิเทศวิทยาศาสตร กรมวิทยาศาสตรบริการ และคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติการกอสรางอาคารและจัดหาชุดมาตรฐานแหงชาติ ในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2541 ปจจุบันมีสํานักงานถาวร ต้ังอยู ณ เทคโนธานี รังสิต คลองหา โดยไดมีการวางศิลาฤกษ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2545 และแลวเสร็จเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2548 (ภายใตโครงการเงินกูดอกเบี้ยต่ําจากธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศแหงประเทศญี่ปุน Japan Bank for International Cooperation: JBIC) การจัดตั้งสถาบันฯ มีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศใหเขมแข็ง โดยมีสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนหนวยงานหลักในการดําเนินงาน สถาบันฯ มีบทบาทและอํานาจหนาที่ดังนี้ 1. บทบาทของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ สถาบันฯ มีบทบาทสําคัญในการทําใหกิจกรรมการวัดตางๆ ในประเทศเปนที่ยอมรับของนานาชาติผานกระบวนการสอบกลับไดทางการวัด (Measurement Traceability) สูมาตรฐานการวัดสากล อันจะเปนหลักประกันในการแขงขันทางการคาระหวางประเทศ ซึ่งจะมีผลในการสรางการยอมรับของนานาชาติตอผลิตภัณฑ กลาวคือมาตรวิทยาจะมีบทบาทในการลดการกีดกันทางการคาดวยมาตรการดานเทคนิค (Technical Barrier to Trade: TBT) นอกจากนี้แลวมาตรวิทยายังมีบทบาทในการคุมครองผูบริโภค ตลอดจนการอนุรักษส่ิงแวดลอม 2. อํานาจหนาที่ของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติในฐานะเปนหนวยงานหลักของประเทศใน

ระบบมาตรวิทยา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีหนาที่และภารกิจเกี่ยวกับงานวิชาการและงานธุรการใหแก

คณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ รวมทั้งประสานงานดานการกํากับแผน การจัดการ และใหความชวยเหลือแกหนวยงานและบุคคลตางๆ เกี่ยวกับการพัฒนาระบบมาตรวิทยา จัดหาและเก็บรักษามาตรฐานแหงชาติ วัสดุอางอิงมาตรฐานของประเทศทุกสาขา เพื่อใหสอดคลองกับระบบมาตรวิทยาสากล รวมถึงการถายทอด

Page 87: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 87 ~

ความถูกตองของการวัดไปสูมาตรฐานแหงชาติ และสงเสริมการประกอบวิชาชีพดานมาตรวิทยาและความสามารถของหองปฏิบัติการสอบเทียบ ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 กําหนดใหสถาบันฯ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

2.1 บริหารกองทุนตามกฎหมาย และระเบียบที่รัฐมนตรีกําหนด 2.2 ศึกษา สํารวจ และวิเคราะหทางวิชาการตางๆ เพื่อใชเปนพื้นฐานในการวางเปาหมาย นโยบาย

และจัดทําแผนงานโครงการ และมาตรการตางๆ ในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศ แลวเสนอตอคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณา

2.3 ออกใบรับรองตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่สถาบันกําหนดสําหรับเครื่องมือ อุปกรณ หรือวัสดุอางอิงที่ใชในการวัดปริมาณที่ไดทําการสอบเทียบแลววามีความถูกตองตามมาตรฐานแหงชาติ

2.4 ศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัด และสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาดานมาตรวิทยาของภาครัฐ ผูประกอบการภาคเอกชนและสถานศึกษา สงเสริมความรวมมือในกิจกรรมดานมาตรวิทยาระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนและสถานศึกษา ตลอดจนกับนานาประเทศ

2.5 สนับสนุนหองปฏิบัติการสอบเทียบของผูประกอบการภาคเอกชนใหมีสวนรวมในกิจกรรมมาตรวิทยาและระบบการถายทอดความถูกตอง การใหบริการขอมูลและการใหคําปรึกษาทางเทคโนโลยีการวัดและการใหบริการอื่นๆ ในสวนที่เกี่ยวกับมาตรวิทยา

2.6 สนับสนุนการเพิ่มสมรรถนะในการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัดระบบการถายทอดความถูกตองของเครื่องมือและอุปกรณการวัด ความสอบกลับได ตลอดจนการจัดโครงการลงทุนและโครงการที่เกี่ยวของกับการรับเทคโนโลยีดานมาตรวิทยาจากตางประเทศ เพื่อใหระบบมาตรวิทยาของประเทศมีประสิทธิภาพเชื่อถือไดและเปนที่ยอมรับในระบบมาตรวิทยาสากล

2.7 ดําเนินงานและสงเสริมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาของประเทศ รวมทั้งการพัฒนากําลังคนทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน

2.8 กระทําการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของสถาบันฯ และตามที่คณะกรรมการฯ มอบหมาย

2.9 จัดใหไดครอบครองกรรมสิทธิ์ เชา ใหเชา ใหเชาซื้อ ใหยืม แลกเปลี่ยน โอน รับโอน และขาย หรือจําหนายดวยวิธีใดๆ ซึ่งอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพย รวมทั้งหลักทรัพยตางๆ ตลอดจนรับทรัพยสินที่มีผูมอบหมายหรืออุทิศให

2.10 รับคาตอบแทนการใชประโยชนจากการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัด และคาบริการในการใหบริการ รวมทั้งทําความตกลงและกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับคาตอบแทน และคาบริการนั้น ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการฯ

2.11 ทําความตกลงและรวมมือกับองคกรหรือหนวยงานในประเทศและตางประเทศ ในกิจการที่เกี่ยวกับการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัด และความสอบกลับได

Page 88: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 88 ~

2.12 จัดใหมีทุนและใหทุนเพื่อสนับสนุนการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัด ความสอบกลับได และการประดิษฐหรือพัฒนาเครื่องมือหรืออุปกรณการวัด หรือความรูเทคโนโลยีที่ใชเปนหลักฐานในกิจการดานมาตรวิทยา

2.13 เขารวมกิจการหรือรวมลงทุนกับบุคคลอื่นหรือถือหุนในบริษัทจํากัด เพื่อประโยชนแกการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศ

2.14 กูยืมเงิน ใหกูยืมเงิน โดยมีหลักประกันดวยบุคคลหรือทรัพยสิน ทั้งนี้เพื่อการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีการวัด และการบริการสอบเทียบความถูกตองของเครื่องมือและอุปกรณการวัด

2.15 กระทําการอื่นใดอันจําเปนในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ

Page 89: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 89 ~

Page 90: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 90 ~

ภาคผนวก ค. โครงสรางองคกรและอัตรากําลังของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 91: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 91 ~

Page 92: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 92 ~

โครงสรางองคกรและอัตรากําลังของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

1. โครงสรางองคกรของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดมีการจัดแบงเปน 9 ฝาย 1 ศูนย ดังนี้ 1) ฝายมาตรวิทยาเชิงกล 2) ฝายมาตรวิทยาไฟฟา 3 ฝายมาตรวิทยาอุณหภูมิ 4) ฝายมาตรวิทยามิติ 5) ฝายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน 6) ฝายมาตรวิทยาแสง 7) ฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 8) ฝายนโยบายและยุทธศาสตร 9) ฝายบริหารงานกลาง 10) ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ

และไดแสดงโครงสรางการบริหารสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ดังแผนภาพที่ 9

Page 93: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 93 ~

หมายเหตุ ภายใตฝายเปนหองปฏิบัติการ / สวนงาน และงานของหองปฏิบัติการและสวนงาน

แผนภาพที่ 9 แสดงโครงสรางการบริหารสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

-ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศ

คณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ

ผูอํานวยการสถาบันมาตรวิทยา

คณะกรรมการตรวจสอบ

ผูตรวจสอบภายใน

ฝายบริหารงานกลาง -สวนบัญชีการเงิน -สวนทรัพยากร บุคคล -สวนธุรการและ ยานพาหนะ -สวนอาคารและ สถานที่ -สวนการพัสดุ -งานนิติการ

ฝายนโยบายและยุทธศาสตร -สวนนโยบายและ ยุทธศาสตร -สวนงบประมาณ และกองทุน -สวนวิเทศสัมพันธ -สวนประชาสัมพันธ -สวนสารบรรณ -สวนบริหารงานลูกคาสัมพันธ

-สวนฝกอบรม -งานเลขานุการ

ฝายมาตรวิทยาเชิงกล -มวล -ความหนาแนน -แรง -แรงบิด -ความแข็ง -ความดัน -สุญญากาศ -การไหล

ฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ -วิเคราะหอินทรีย เคมี -วิเคราะหอนินทรีย เคมี -วิเคราะหเคมีไฟฟา -วิเคราะหชีวภาพ -วิเคราะหกาซ

ฝายมาตรวิทยาแสง -แสง -สี -การกระจาย คลื่นแสง -ใยแกวนําแสง

ฝายมาตรวิทยามิติ -ความยาว -ความยาวคลื่น -มุม -เสนผานศูนย กลาง -ซีเอ็มเอ็มและเกียร

-พื้นผิว -รูปราง -ระยะขีดสเกล

ฝายมาตรวิทยา ไฟฟา ‐ไฟฟากระแสตรง ‐ไฟฟากระแสสลับ ‐ความตานทาน

‐คาความจุไฟฟา และคาความ เหนี่ยวนํา ‐กําลังไฟฟา ‐ไฟฟาแรงสูง ‐แมเหล็กไฟฟา ‐เวลาและความถี่ ‐คลื่นความถี่สูง และไมโครเวป

ฝายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน -เสียง -การสั่นสะเทือน -คลื่นเหนือเสียง

ฝายมาตรวิทยาอุณหภูมิ -จุดกําเนิดอุณหภูมิ มาตรฐาน -เทอรโมมิเตอร ความตานทาน แพลตทินัมมาตรฐาน และเทอรโมคอบเปล -เทอรโมมิเตอรชนิด แทงแกว -ความชื้น

ผูเชี่ยวชาญ(PL11-12)

รองผูอํานวยการ ( 1 ) รองผูอํานวยการ ( 2 )

-93-

Page 94: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 94 ~

2. อัตรากําลังของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

ใน พ.ศ.2551 สถาบันฯ มีกรอบอัตรากําลังคนรวมทั้งสิ้น 164 อัตรา รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 16 และแผนภาพที่ 10

ตารางที ่16 อัตรากําลังคนของสถาบนัฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษา จํานวน รอยละ

ปริญญาเอก 12 7.32 ปริญญาโท 70 42.68 ปริญญาตรี 61 37.20 ตํ่ากวาปริญญาตรี 21 12.80

รวม 164 100.00

แผนภาพที ่10 รอยละของอัตรากําลังคนของสถาบนัฯ พ.ศ.2551 จําแนกตามวุฒิการศึกษา

Page 95: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 95 ~

Page 96: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 96 ~

ภาคผนวก ง. แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559)

Page 97: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 97 ~

Page 98: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 98 ~

บทสรุปผูบรหิาร แผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวทิยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559)

ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ (National Metrology System) ประกอบดวย สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

หองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ และผูใชบริการดานมาตรวิทยาในประเทศ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนหองปฏิบัติการระดับปฐมภูมิ ทําหนาที่พัฒนา จัดหา ดูแลรักษา มาตรฐานดานการวัดแหงชาติอันไดแก หนวยวัดและวัสดุอางอิงดานการวัดของชาติ หองปฎิบัติการฯ ระดับทุติยภูมิ ทําหนาที่ถายทอดความถูกตองจากมาตรฐานดานการวัดแหงชาติสูผูใชบริการดานมาตรวิทยา อันไดแก ภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ เปนตน ระบบมาตรวิทยาแหงชาติจะเปนหลักประกันความถูกตองของการวัด การวิเคราะห และการทดสอบ เพื่อใหผลิตภัณฑมีคุณภาพไดมาตรฐานตรงตามขอกําหนดของประเทศคูคา รวมทั้งเปนหลักประกันในการคุมครองผูบริโภค และการอนุรักษส่ิงแวดลอม เพื่อใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดดําเนินงานพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติตามแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542-2551) โดยมีผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด จากการสํารวจและวิเคราะหสภาวะแวดลอมพบวาหนวยวัดแหงชาติดานฟสิกสสามารถพัฒนาไดประมาณรอยละ 85 ตามความตองการของประเทศแลว สวนมาตรวิทยาดานเคมีและชีวภาพตองการการพัฒนาอีกมาก เพื่อตอบสนองความตองการของผูใชบริการในประเทศ สําหรับหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิจํานวนประมาณรอยละ 60 ไดรับการรับรองมาตรฐานตามสากลแลว แตสัดสวนการกระจายไปสูภูมิภาคยังนอย กลาวคือรอยละ 85 ของหองปฏิบัติการฯ ระดับทุติยภูมิ ต้ังอยูในภาคกลาง ในสวนผูใชบริการระบบมาตรวิทยาอันไดแก ภาคอุตสาหกรรมตางๆ ยังมองขามความสําคัญและไมเห็นประโยชนของระบบมาตรวิทยา มีผลใหความสามารถการแขงขันในเวทีการคาโลกของผลิตภัณฑจากภาคอุตสาหกรรมไทยไมสูงเทาที่ควร เนื่องจากผลิตภัณฑมีคุณภาพไมตรงตามความตองการของประเทศคูคา อีกทั้งตนทุนการผลิตสูงเกินกวาที่ควรจะเปน อันมีสาเหตุมาจากการวัดที่เกี่ยวของกับการใชพลังงานและการควบคุมคุณภาพในกระบวนการการผลิตไมถูกตอง เพื่อใหการดําเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติมีความตอเนื่อง มีทิศทางในการดําเนินงานที่ชัดเจน สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติจึงดําเนินการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ข้ึน โดยแผนแมบทฯ จะมีความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล แผนยุทธศาสตรชาติ พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (พ.ศ. 2547-2556) แผนยุทธศาสตรกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2551-2554) แผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ. 2552-2555) และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยประสาน

Page 99: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 99 ~

ความรวมมือในการดําเนินงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของรวมเปนเครือขายพันธมิตร เพื่อใหระบบมาตรวิทยาแหงชาติ สามารถเปนโครงสรางพื้นฐานที่เปนหลักประกันใหกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของสังคมไทยไดอยางยั่งยืน จากผลการวิเคราะหสภาวะแวดลอมประกอบกับแนวนโยบายของรัฐและแผนยุทธศาสตรชาติตางๆ นํามาพัฒนาแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) ซึ่งประกอบดวยแผนยุทธศาสตร 4 แผน โดยมีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

ยุทธศาสตรที่หนึ่ ง การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติและเครือขายพันธมิตร ประกอบดวย กลยุทธการสถาปนาและพัฒนาหนวยวัดแหงชาติใหเปนที่ยอมรับในระดับสากล และเพียงพอกับความตองการของประเทศ กลยุทธการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็ง กลยุทธการพัฒนาและดํารงระบบคุณภาพของสถาบัน กลยุทธการพัฒนาการใหบริการสอบเทียบและการใหคําปรึกษา กลยุทธการพัฒนาขีดความสามารถดานงานวิจัยและพัฒนา กลยุทธการพัฒนาบุคลากรของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กลยุทธการบูรณาการดานมาตรวิทยากับตางประเทศ รวมทั้งกลยุทธการพัฒนาระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย

ยุทธศาสตรที่สอง การพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในประเทศ ประกอบดวยกลยุทธการเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ พรอมทั้งกลยุทธการสงเสริมใหมีหองปฏิบัติการ วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบในภูมิภาค

ยุทธศาสตรที่สาม การพัฒนากลุมผูใชบริการมาตรวิทยา ประกอบดวยกลยุทธการสรางความตระหนักและพัฒนาการศึกษาดานมาตรวิทยา กลยุทธการยกระดับความสามารถดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม และกลยุทธการสงเสริมสนับสนุนการวัดทางการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตรที่ ส่ี การสงเสริมใหมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในกิจการตางประเทศประกอบดวยกลยุทธการใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศเพื่อนบาน และกลยุทธการสงเสริมผูประกอบการไทยในการขยายตลาดสูตางประเทศ

ผลที่คาดวาจะไดรับเมื่อจบแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2559) ประกอบดวยผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบดังนี้

ผลผลิต จะทําใหประเทศไทยมีหนวยวัดและวัสดุอางอิงมาตรฐานของชาติ เพียงพอรองรับความตองการของผูใชบริการในประเทศและประเทศเพื่อนบาน มีหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ ที่มีมาตรฐานสากล กระจายอยูทั่วทุกภาคของประเทศ อันจะสงผลใหมีการสอบเทียบเครื่องมือวัดเพิ่มข้ึน ผลการวัด การวิเคราะห และทดสอบของผูประกอบการในภาคตางๆ ของประเทศมีความถูกตองตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตรการสรางความตระหนักจะทําใหผูใชบริการมาตรวิทยาเกิดความรูความเขาใจในเรื่องระบบมาตรวิทยา มีการฝกอบรมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยา เพื่อพัฒนาบุคลากรที่อยูในระบบงานปจจุบัน และเตรียมบุคลากรปอนเขาสูระบบงานในอนาคต ซึ่งจะเปนผลทําใหประเทศไทย

Page 100: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 100 ~

สามารถยกระดับความสามารถดานการวัดในภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนการวัดในวงการแพทยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล ยุทธศาสตรการใชมาตรวิทยาเปนเครื่องมือของรัฐในกิจการตางประเทศ จะทําใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน ตลอดจนผูประกอบการไทยสามารถไปดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในตางประเทศไดสะดวกขึ้น

ผลลัพธ ผลการวัดการวิเคราะหและการทดสอบของประเทศไทยไดรับการยอมรับจากนานาชาติ เนื่องจากหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบของไทยไดรับการรับรองความสามารถตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน ภาคอุตสาหกรรมมีการพัฒนาระบบการวัด การควบคุมคุณภาพ และไดรับการรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้ึน ทั้งนี้การวัดที่ถูกตองทําใหผลิตภัณฑมีคุณภาพ ลดการสูญเสียวัตถุดิบและพลังงานในกระบวนการผลิต อันเปนการลดตนทุนการผลิต อีกทั้งประเทศไทยสามารถลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศจากการสงเครื่องมือวัดไปสอบเทียบที่ตางประเทศและการสั่งซื้อวัสดุอางอิงมาตรฐานจากตางประเทศ รวมทั้งยังสามารถหารายไดจากการจําหนายวัสดุอางอิงมาตรฐานที่ผลิตไดในประเทศใหแกประเทศเพื่อนบาน ยุทธศาสตรการสรางความตระหนักจะพัฒนาใหผูใชบริการมาตรวิทยาเห็นความสําคัญและประโยชนของระบบมาตรวิทยา

ผลกระทบ ประกอบดวยผลกระทบตอภาคเศรษฐกิจ กลาวคือ การดําเนินงานตามแผนทําใหภาคอุตสาหกรรมสามารถเพิ่มศักยภาพการแขงขันในเวทีการคาระหวางประเทศ โดยการขจัดการกีดกันทางการคาดวยมาตรการดานเทคนิค (Techical Barrier to Trade: TBT) ที่อาศัยความไดเปรียบทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาเปนขอกําหนดคุณภาพของสินคา อันมีผลทําใหเศรษฐกิจของประเทศเจริญกาวหนาอยางยั่งยืน เกิดการลงทุนในธุรกิจสงออกเพิ่มข้ึน เปนการขยายฐานเศรษฐกิจของชาติ ผลกระทบตอสังคม ประชาชนจะไดรับความรูความเขาใจ เกิดความตระหนักถึงประโยชนและเห็นความสําคัญของมาตรวิทยาในวิถีการงานและชีวิตประจําวันมากขึ้น ระบบมาตรวิทยาของชาติที่เขมแข็งจะมีบทบาทสําคัญในการคุมครองผูบริโภค ทําใหสินคาอุปโภคบริโภคและการบริการมีมาตรฐานที่ดี นอกจากนี้การมีระบบมาตรวิทยาของชาติที่สมบูรณทําใหเกิดความตองการบุคลากรผูมีความรูความสามารถทางวิชาชีพดานมาตรวิทยาระดับตางๆ เพิ่มข้ึน อันเปนการสรางงานสรางอาชีพใหกับประชาชนในสังคม และผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เกิดการสนับสนุนและเห็นความสําคัญของการวัด การวิเคราะห และทดสอบ ในกิจกรรมการคุมครองผูบริโภคของประชาชน และการอนุรักษส่ิงแวดลอม สังคมเห็นความสําคัญของการควบคุมและตรวจสอบการปลอยมลพิษของภาคอุตสาหกรรมสูส่ิงแวดลอม โดยจะตองอยูในปริมาณที่ไมเปนภัยตอส่ิงแวดลอม อันสงผลใหสังคมไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนอยางยั่งยืน

Page 101: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 101 ~

Page 102: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 102 ~

ภาคผนวก จ. แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559)

Page 103: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 103 ~

Page 104: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 104 ~

แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (พ.ศ.2552-2559)

ความเปนมา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมี พ.ศ.2548-2551

โดยไดพัฒนาและรักษามาตรฐานการวัดทางเคมีและชีวภาพในสาขาที่จําเปนสําหรับประเทศ ไดแก อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม เปนผูแทนประเทศในการเขารวมประชุมมาตรวิทยาระดับนานาชาติ ประสาน สงเสริม สนับสนุน และรวมดําเนินงานกับสถาบันเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ พัฒนามาตรฐานการวัด และถายทอดคาการวัดสูหองปฏิบัติการทดสอบทางเคมีในประเทศ ติดตามขอมูล สารสนเทศ ตลอดจนความเคลื่อนไหวตางๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ จากองคกรดานมาตรวิทยาสากล และประเทศที่พัฒนาแลว เพื่อเปนศูนยกลางการสื่อสารกับสถาบันเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ และหองปฏิบัติการทดสอบทางเคมีอ่ืนๆ ใหไดทราบอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อใหการวัดทางเคมีและชีวภาพของชาติ สามารถตอบสนองความตองการในประเทศไดทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทําใหผลิตภัณฑของไทยสามารถแขงขันไดในเวทีการคาโลก โดยเฉพาะประเภทอุตสาหกรรมหลักของประเทศที่ตองใชมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ เชน อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมปโตรเคมี ที่มีมูลคาการสงออกรวมกันใน พ.ศ.2550 ประมาณรอยละ 9 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP)

ผลการดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ พ.ศ.2548-2551 การดําเนินกลยุทธตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในระยะเวลาที่ผานมา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุพันธกิจหลัก 3 ประการ คือ

1. การสรางเครือขายหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

ปจจุบันคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ มีผูแทนจากหนวยงานทั้งสิ้น 33 หนวยงาน คณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ไดแตงตั้งคณะทํางานจํานวน 3 ชุด

และคณะอนุกรรมการจํานวน 1 ชุด ดังนี้ 1.1 คณะทํางานโครงการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program Working Group)

ดานการวัดทางเคมีและชีววิเคราะห 1.2 คณะทํางานโครงการพัฒนาวัสดุอางอิง/วัสดุอางอิงรับรองทางเคมี (Reference Material

/Certified Reference Material Working Group) 1.3 คณะทํางานพิจารณากําหนดขนาดความไมแนนอนของการวัดทางเคมี (Target

Measurement Uncertainty Working Group) 1.4 คณะอนุกรรมการพิจารณาการมอบหมายใหหองปฏิบัติการทําหนาที่การวัดแทน

หองปฏิบัติการเคมี สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 105: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 105 ~

2. การพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของหนวยงานที่มีศักยภาพใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ การพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของหนวยงานที่มีศักยภาพใหเปนที่ยอมรับของ

นานาชาตินั้น สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดมอบหมายใหกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ทําหนาที่แทนสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ในการพัฒนามาตรฐานการวัดที่เกี่ยวกับสุขภาพ และอาหาร

3. การผลิตวัสดุอางอิงและการทดสอบความชํานาญ การพัฒนาวัสดุอางอิงและการทดสอบความชํานาญไดดําเนินการมาแลวในระดับหนึ่ง คือ การพัฒนา

วัสดุอางอิงของกลุมหองปฏิบัติการเคมีดานสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนตนแบบใหกับหองปฏิบัติการในสาขาอื่นๆ และการสถาปนามาตรฐานการวัดความเปนกรด-เบส โดยหองปฏิบัติการเคมีไฟฟา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ สามารถสถาปนามาตรฐานการวัดความเปนกรด-เบส โดยวิธีปฐมภูมิ (Harned Cell) วิธีทุติยภูมิ (High Accurate pH Measurement) และใหบริการสอบเทียบเครื่อง pH meter โดยไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จาก IA Japan และไดรวมกับภาคอุตสาหกรรมเคมีในการผลิตสารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร สําหรับภาคอุตสาหกรรมนําไปใชในการวัดคากรด-เบส นอกจากนี้ไดจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (PT program) เปนการสงเสริมศักยภาพของหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ วิสัยทัศนระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพแหงชาติ

ระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศไทยเปนที่ยอมรับในระดับสากล สนับสนุนยุทธศาสตรการวิจัยของประเทศ การพัฒนาประเทศทางดานการผลิต การคา สุขอนามัย และการอนุรักษเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน

เปาประสงคการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพแหงชาติ

1. เรงและมุงพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศทางดานสาธารณสุข ส่ิงแวดลอม และการสงออก

2. เรงขับเคลื่อนใหเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพดําเนินกิจกรรมการวัดทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม ซึ่งมีความสําคัญ และจําเปนเรงดวนสอดคลองกับนโยบายของรัฐในการพัฒนาประเทศ

3. มุงพัฒนาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพใหระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของหนวยงานที่มีศักยภาพไดรับการยอมรับจากนานาชาติ

4. ขยายขอบเขตการพัฒนาวัสดุอางอิง และการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สนองความตองการของหองปฏิบัติการทดสอบในประเทศ และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

Page 106: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 106 ~

แผนยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหไดรับการยอมรบัจากนานาชาต ิ

แผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

แผนงานที่ 1.1 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (Chemical Metrology Infrastructure) ของประเทศ

โครงการที่ 1.1.1 การกอสรางอาคารศูนยพัฒนาวัสดุอางอิงสําหรับการวัดทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม - การกอสรางอาคารหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การจัดหาอุปกรณเครื่องมือสําหรับการผลิตวัสดุอางอิง - การจัดหาอุปกรณเครื่องมือสําหรับพัฒนาวิธีการวัดที่ เปน Higher

Metrological Order

โครงการที่ 1.1.2 การพัฒนานักมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นของนักมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การแลกเปลี่ยนนักวิจัยดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 1.1.3 การพัฒนาความสามารถการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก - การฝกอบรม/สัมมนาวิธีการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก - พัฒนาวิธีการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนักที่เปน Higher Metrological

Order - เขารวม Inter-laboratory Comparison ของการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก

โครงการที่ 1.1.4 การขอการรับรองระบบคุณภาพของหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - หองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพขอการรับรองระบบคุณภาพ

ISO/IEC 17025 หรือ ISO/IEC Guide 34

Page 107: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 107 ~

แผนงานที่ 1.2 พัฒนาความรวมมือดานมาตรวิทยากับองคกรระดับนานาชาติ

โครงการที่ 1.2.1 การวัดเปรียบเทียบความสามารถนานาชาติ (International Comparisons) - เขารวมการวัดเปรียบเทียบความสามารถระดับภูมิภาค Technical

Committee for Amount of Substance-Metrology in Chemistry of Asia-Pacific Metrology Programme (APMP/TCQM)

- เขารวมการวัดเปรียบเทียบความสามารถระดับนานาชาติ Consultative Committee for Amount of Substance-Metrology in Chemistry of Bureau International des Poids et Mesures (BIPM/CCQM)

- เขารวมประชุมอภิปรายผลการวัดในกิจกรรมที่เขารวมเปรียบเทียบผลการวัด

โครงการที่ 1.2.2 การกําหนดนโยบายโครงสรางพื้นฐานดานคุณภาพ (Metrology, Standard, Testing and Quality Assurance: MSTQ) กับหนวยงานระดับภูมิภาค - การประสานดานการกําหนดนโยบาย MSTQ กับหนวยงานระดับภูมิภาค เชน APEC, ASEAN, APLMF, APLAC, OIML

แผนงานที่ 1.3 สงเสริมการวิจัยดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 1.3.1 การสงเสริมการวิจัยดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพตีพิมพในวารสารและนําเสนอในที่ประชุม - สงเสริมใหมีจํานวนผลงานวิจัยดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ที่ตีพิมพในวารสารที่มี คุณภาพระดับประเทศและนําเสนอในการประชุมระดับประเทศและนานาชาติเพิ่มข้ึน เชน การวัดเปรียบเทียบ การพัฒนาและการทดสอบวิธีวิเคราะห การผลิตวัสดุอางอิงรับรอง การผลิตวัสดุทดสอบความชํานาญการวัด และผลการทดสอบความชํานาญ เปนตน

หนวยงานรวมดําเนินการ • สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข • องคกรดานมาตรวิทยานานาชาติ

Page 108: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 108 ~

แผนงานที่ 2.1 เรงพัฒนาหองปฏิบัติการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหมีระบบคุณภาพและไดรับการรับรองความสามารถเพิ่มข้ึน

โครงการที่ 2.2.1 การพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การฝกอบรมดานระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การฝกอบรมการสอบเทียบทางเคมีและชีวภาพ - การฝกอบรมการพัฒนาระบบคุณภาพ

แผนงานที่ 2.2 สงเสริมการใชวัสดุอางอิงที่ผลิตในประเทศ เพื่อลดคาใชจายในการนําเขาวัสดุอางอิง

โครงการที่ 2.2.2 สงเสริมใหมีการใชวัสดุอางอิงที่ผลิตภายในประเทศ - เรงการประชาสัมพันธ รายการวัสดุอางอิงที่ผลิตในประเทศ

แผนงานที่ 2.3 ขยายขอบเขตความสามารถในการใหบริการการวัดดานเคมีและจุลชีววิทยา

โครงการที่ 2.3.1 พัฒนาและสงเสริมหองปฏิบัติการเครือขายฯ ใหเปนหองปฏิบัติการอางอิงของประเทศ - การฝกอบรมพัฒนาวิธีการวัดที่เปน Higher Metrological Order - การฝกอบรมการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ - การฝกอบรมการผลิตวัสดุอางอิง

โครงการที่ 2.3.2 พัฒนาศักยภาพหองปฏิบัติการอางอิงของอาเชียน (ASEAN Reference Laboratory) ในประเทศไทย ใหมีการนําระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพเขามาใชในการปฏิบัติงาน - การฝกอบรมพัฒนาวิธีการวัดที่เปน Higher Metrological Order - การฝกอบรมการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ - การฝกอบรมวิธีการประเมินคา Measurement Uncertainty ในการวัดทางเคมี - การฝกอบรม Method Validation ของการวัดทางเคมี

แผนยุทธศาสตรที่ 2 เรงดําเนินงานพัฒนาศักยภาพดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพที่สนองความตองการของประเทศ และขอกําหนดการคาสากล

Page 109: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 109 ~

หนวยงานรวมดําเนินการ • สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง • สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • ศูนย วิ จั ยและฝกอบรม ส่ิงแวดลอม กรมส ง เสริม คุณภาพสิ่ งแวดลอม กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล • สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม • กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข • สมาคมมาตรวิทยาแหงประเทศไทย • สมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย

Page 110: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 110 ~

แผนงานที่ 3.1 การผลิตวัสดุอางอิงสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และส่ิงแวดลอม

โครงการที่ 3.1.1 จัดทําฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ - การสํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ

- มีระบบฐานขอมูลการผลิตวัสดุอางอิงของหองปฏิบัติการเครือขายฯ ใน Website

โครงการที่ 3.1.2 ผลิตวัสดุอางอิงที่เปน Pure Substance Reference Materials ใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34 - การผลิต Pure Substance Reference Materials ของสารกําจัดศัตรูพืช เชน Organochlorine

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) สําหรับการวัด pH

- การผลิต Pure Substance Reference Materials สําหรับการวัดปริมาณ Alcohol เชน Ethanol

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) สําหรับการวัด Electrolytic Conductivity (Potassium Chloride)

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) สําหรับการวัดความหวาน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials ของวัตถุเสพติด เชน Amphetamines เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) ของโลหะหนัก เชน Lead (Pb), Cadmium (Cd), Copper (Cu), Zinc (Zn) เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) ของการวิเคราะห Cation เชน Sodium (Na+) Potassium (K+), Lithium (Li+), Ammonium (NH4+), Calcium (Ca2+), Magnesium (Mg2+) เปนตน

แผนยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาศักยภาพการผลิตวัสดุอางอิงในประเทศ และการจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ

Page 111: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 111 ~

- การผลิต Pure Substance Reference Materials (Calibration Solution) ของการวิเคราะห VOCs เชน BTEX เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials ของการวิเคราะห Preservatives เชน Benzoic acid และ Sorbic Acid เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials ของการวิเคราะหสารพิษตกคาง เชน Chloramphenicol เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials ของการวิเคราะหสารอินทรีย เชน Theophyline, Digoxin และ Beta-Estradiol เปนตน

- การผลิต Pure Substance Reference Materials ของการวิเคราะหตัวอยางกาซ เชน Carbon Dioxide และ Oxygen เปนตน

โครงการที่ 3.1.3 ผลิตวัสดุอางอิงที่เปน Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และส่ิงแวดลอม ใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34 - การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหโลหะหนัก เชน การวิเคราะห Lead (Pb), Cadmium (Cd), Copper (Cu), Zinc (Zn) ในดิน, ขาว, น้ํา และอาหารทะเล เปนตน

- การผลิต Matrix Substance Reference Materials สําหรับการวิเคราะห Preservatives เชน Benzoic Acid และ Sorbic Acid เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหโลหะหนักเพื่อตอบสนองตอขอกําหนด RoHS เชน การวิเคราะห Lead (Pb), Cadmium (Cd), Chromium (Cr) และ Mercury (Hg) ในพลาสติก เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะห Flame Retarding Agents เพื่อตอบสนองตอขอกําหนด RoHS เชน Flame Retardants ในพลาสติก เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหเพื่อตอบสนองตอขอกําหนดการจัดทําฉลากโภชนาการ

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหสารพิษตกคางกลุมสารกําจัดศัตรูพืช เชน Organochlorine ในผัก, Organochlorine ในดิน และ Pyrethroids ในน้ําผลไมหรือน้ําผึ้ง เปนตน

Page 112: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 112 ~

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหสารพิษตกคางกลุมยาปฏิชีวนะ ในอาหาร เชน Chloramphenicol, Nitrofuran Metabolites, และ Malachite Green ในเนื้อกุง เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหสารอินทรียในอาหาร เชน Melamines ใน Cookies เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหสมบัติทางกายภาพ เชน Moisture Content, Ash Content, Kinematics Viscosity และ Total Suspended Solid เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะห DNA เชน GMO ในแปงขาวโพด เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะห Protien เชน Peptide Angiotensin I ในซีรัม เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหตัวอยางกาซ เชน Carbon Dioxide, Oxygen ใน Nitrogen หรือในอากาศ เปนตน

- การผลิต Matrix Reference Materials สําหรับการวิเคราะหทาง Clinical Chemistry เชน Pb in Blood, Aalcohol in Blood, Cholesterol in Blood และ Thyroid Hormones in Blood เปนตน

แผนงานที่ 3.2 จัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางดานอาหาร

สุขภาพ และสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง

โครงการที่ 3.2.1 จัดทําฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพของประเทศ - การสํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพของประเทศ

- มีระบบฐานขอมูลโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพของประเทศใน Website

โครงการที่ 3.2.2 การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดดานเคมีและชีวภาพใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043 - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ สําหรับการวัด Electrolytic

Conductivity

Page 113: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 113 ~

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวัด pH - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญระหวางหองปฏิบัติการในการวดัคาบริกซและคาดัชนีหักเหของแสงของน้ําตาลซูโครสดวยเครื่องรีแฟรกโตมิเตอร

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหโลหะหนัก เชน การวิเคราะห Lead (Pb), Cadmium (Cd), Copper (Cu), Zinc (Zn) ในดิน, ขาว, น้ํา และอาหารทะเล เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหโลหะหนักเพื่อตอบสนองตอขอกําหนด RoHS เชน การวิเคราะห Lead (Pb), Cadmium (Cd), Chromium (Cr) และ Mercury (Hg) ในพลาสติก เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะห Flame Retarding Agents เพื่อตอบสนองตอขอกําหนด RoHS เชน PBDEs ในพลาสติก เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหเพื่อตอบสนองตอขอกําหนดการจัดทําฉลากโภชนาการ

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหสารพิษตกคางกลุมสารกําจัดศัตรูพืช เชน Organochlorine ในผัก, Organochlorine ในดิน และ Pyrethroids ในน้ําผลไมหรือน้ําผึ้ง เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหสารพิษตกคางกลุมยาปฏิชีวนะในอาหาร เชน Chloramphenicol ในเนื้อไก, Nitrofuran Metabolites, Malachite Green ในเนื้อกุง และ Oxolinic Acid ในเนื้อกุงแชแข็ง เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิ เคราะหสารอินทรียในอาหาร เชน Melamines ใน Cookies เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหสมบัติทางกายภาพ เชน Total Suspended Solid, Moisture Content, Ash Content และ Kinematics Viscosity เปนตน

- การจั ด โปรแกรมทดสอบความชํ านาญสํ าหรั บการวิ เ คราะห Preservatives

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะห DNA เชน GMO ในแปงขาวโพด เปนตน

Page 114: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 114 ~

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะห Protien เชน Peptide Angiotensin I ในซีร่ัม เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหตัวอยางกาซ เชน Carbon Dioxide, Oxygen ใน Nitrogen หรือในอากาศ เปนตน

- การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทาง Clinical Chemistry เชน Pb in Blood, Alcohol in Blood, Cholesterol in Blood และ Thyroid hormone in Blood เปนตน

แผนงานที่ 3.3 ขยายขอบเขตการผลิตวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ

ทางดานชีววิทยาและจุลชีววิทยา เพื่อสบับสนุนการพัฒนาประเทศทางดานอาหาร สาธารณสุข และสิ่งแวดลอม

โครงการที่ 3.3.1 สํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลความตองการวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัด สําหรับการวิเคราะหดานชีววิทยาและจุลชีววิทยา - การสํารวจขอมูลและจัดทําฐานขอมูลความตองการวัสดุอางอิงและโปรแกรมการทดสอบความชํานาญการวัดสําหรับการวิเคราะหดานชีววิทยาและจุลชีววิทยา

โครงการที่ 3.3.2 ผลิตวัสดุอางอิงสําหรับการวิเคราะหทางชีววิทยาและจุลชีววิทยา ใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO Guide 34 เพื่อสนับสนุนการวิเคราะหทางดาน อาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม - การผลิต Matrice Reference Materials สําหรับการวิเคราะหทางจุลชีววิทยา เชน Salmonella spp., E.coli, Coliforms, Staphylococcus Aureus และ Aerobic Plate Count เปนตน

- การผลิตวัสดุอางอิงและการวัดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะห DNA - การผลิตวัสดุอางอิงและการวัดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะห Enzyme - การผลิตวัสดุอางอิงและการวัดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะห Biomarkers - การผลิตวัสดุอางอิงและการวัดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะห Protiens

Page 115: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 115 ~

โครงการที่ 3.3.3 การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการวิเคราะหทางจุลชีววิทยาใหไดมาตรฐานตามระบบคุณภาพ ISO/IEC 17043 เพื่อสนับสนุนการวิเคราะหทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ เชน Salmonella spp., E.coli,

Coliforms, Staphylococcus Aureus และ Aerobic Plate Count เปนตน - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการการวิเคราะห DNA - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการการวิเคราะห Enzyme - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการการวิเคราะห Biomarkers - การจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญสําหรับการการวิเคราะห Protiens

หนวยงานรวมดําเนินการ • สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง • สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม • สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ • ศูนยวิจัยและฝกอบรมสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม • กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ • กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ • กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • กรมวิทยาศาสตรบริการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล • สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม • กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข • สภาเทคนิคการแพทย • คณะเทคนิคการแพทย มหาวิทยาลัยมหิดล • หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบระดับทุติยภูมิ • บริษัทหองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จํากัด • บริษัทหองปฏิบัติการกลางตรวจสอบผลิตภัณฑเกษตรและอาหาร จํากัด • เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

Page 116: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 116 ~

แผนงานที่ 4.1 สงเสริมการเรียนการสอนดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 4.1.1 การสงเสริมใหมีการเรียนการสอนมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในระดับอุดมศึกษา - จัดทําหลักสูตรมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพสําหรับการเรียนการสอนมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในระดับอุดมศึกษา

- สนับสนุนวิทยากรสําหรับการเรียนการสอนมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในระดับอุดมศึกษา

- สนับสนุนงานวิจัยรวมระหวางสถาบันการศึกษากับหนวยงานที่เกี่ยวของกับมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

แผนงานที่ 4.2 สงเสริมการฝกอบรมดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 4.2.1 สงเสริมการฝกอบรมดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การอบรมหลักสูตร Estimation of Measurement Uncertainty in Chemical

Analysis - การอบรมหลักสูตร Method Validation for Chemical Analysis - การอบรมหลักสูตร การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางเคมีและชีวภาพ - เรงการประชาสัมพันธหลักสูตรการฝกอบรมดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

แผนงานที่ 4.3 เผยแพรสรางความตระหนักความเขาใจถึงความสําคัญของมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหผูใชบริการมาตรวิทยา

โครงการที่ 4.3.1 มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพสูชุมชน - การจัดอบรมมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหกับนักเรียนมัธยมศึกษาในสวนภูมิภาค

โครงการที่ 4.3.2 มาตรวิทยาเคมีและชีวภาพกับอุตสาหกรรมอาหาร - การจั ดการประชุม สัมมนามาตรวิทยา เคมี และชี วภาพให กั บผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร

- การจัดการประชุมสัมมนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพสําหรับผูบริหารอุตสาหกรรมอาหาร

แผนยุทธศาสตรที่ 4 การสรางความตระหนักดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพแกบุคลากรผูใชบริการมาตรวิทยา

Page 117: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 117 ~

หนวยงานรวมดําเนินการ • สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง • เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ • สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย • สถานศึกษาระดับมัธยม และระดับอุดมศึกษา

แผนงานที่ 5.1 การบริหารจัดการเครือขายในมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการที่ 5.1.1 การจัดประชุมคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ คณะอนุกรรมการ และคณะทํางานที่เกี่ยวของ - การเสริมสรางความรวมมือภายในเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การจัดการประชุม เครือขายฯ รวมถึงการเสนอผลงานภายในเครือขายฯ - การลงนามในบันทึกตกลงความรวมมือ - การเขารวมประชุมทางมาตรวิทยาเคมี ณ ตางประเทศ

แผนงานที่ 5.2 สงเสริมใหเกิดการบรูณาการระหวางสมาชิกเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

ในการรวมกันดําเนินงาน โดยกิจกรรมที่รวมดําเนินการตองไมซ้ําซอนกัน

โครงการที่ 5.2.1 การประเมินผลงานของเครือขายฯ - การเสริมสรางความรวมมือระหวางเครือขายฯ

แผนงานที่ 5.3 สงเสริมใหสมาชิกหองปฏิบัติการเครือขายมีศักยภาพการวัดสูงขึ้น และสามารถ

เปนตัวแทนประเทศไทยในสาขาที่มีความชํานาญ

โครงการที่ 5.3.1 การมอบหมายหองปฏิบัติการทําหนาที่วัดทางเคมีแทนหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ - การกําหนดเกณฑการมอบหมายหองปฏิบัติการทําหนาที่วัดทางเคมี - การจัดการประชุมมอบหมายหองปฏิบัติการทําหนาที่วัดทางเคมี - การมอบหมายหองปฏิบัติการทําหนาที่วัดทางเคมี - การติดตามสนับสนุนหองปฏิบัติการที่ไดรับมอบหมาย

แผนยุทธศาสตรที่ 5 ใชระบบการบริหารกิจการที่ดีในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศ

Page 118: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 118 ~

หนวยงานรวมดําเนินการ • สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • สํานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง • เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

แผนความตองการงบประมาณของยุทธศาสตรดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียดแผนความตองการงบประมาณดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ตามแผนแมบทพัฒนา

ระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) แสดงรายละเอียดไวในตารางที่ 17

ตารางที่ 17 แผนความตองการงบประมาณของยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ พ.ศ.2552-2559

หนวยงาน ประมาณการงบประมาณ (ลานบาท)

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

ป 2559 รวม

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 24.0 137.0 229.0 99.0 120.0 30.0 26.0 23.0 689.0 ศูนยวิจัยและฝกอบรมสิ่งแวดลอม 0.6 0.9 2.2 2.2 2.2 1.8 1.5 1.2 12.6 กรมปศุสัตว - 0.3 1.2 1.2 1.3 0.2 0.2 0.2 4.5 สถาบันวิจัยโภชนาการ - 1.0 1.0 1.0 0.5 - - - 3.5 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

- 2.1 2.1 2.1 - - - - 6.3

กรมวิทยาศาสตรบริการ - 0.4 0.4 1.1 1.4 0.9 0.4 0.4 5.0 สถาบันอาหาร - 2.0 2.0 - - - - - 4.0 กรมวิทยาศาสตรการแพทย - 5.0 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 41.0 หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) - 3.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 27.0

รวม 792.9

Page 119: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 119 ~

ตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน รายละเอียดตัวชี้วัดผลการดําเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพตามแผนแมบท

พัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2552-2559) ภายใตแผนยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติและเครือขายพันธมิตร กลยุทธที่ 2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของประเทศใหเขมแข็. รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 18 ตารางที่ 18 ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

โครงการ ตัวช้ีวัด ป

2552 ป

2553 ป

2554 ป

2555 ป

2556 ป

2557 ป

2558 ป

2559 รวม

โครงการกอสรางอาคารศูนยพัฒนาวัสดุอางอิงสําหรับการวัดทางดานอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอม

รอยละความสําเร็จของ การกอสรางอาคาร และ การจัดซ้ือจัดหาอุปกรณเครื่องมือ (รอยละ)

5 - 30 60 95 98 99 100 -

โครงการพัฒนานักมาตรวิทยา เคมีและชีวภาพ

จํานวนนักมาตรวิทยาที่ไดรับ การพัฒนาดวยการเขารับ การฝกอบรมหรือศึกษาตอใน ระดับที่สูงขึน้ (คน)

1 1 1 1 1 1 1 1 8

โครงการพัฒนาความสามารถการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก

จํานวนครั้งของการฝกอบรมการวิเคราะห Speciation ของโลหะหนัก (ครั้ง)

- 1 - 1 1 - 1 4

โครงการวัดเปรียบเทียบความสามารถนานาชาติ (International Comparisions)

จํานวนครั้งของการเขารวมกิจกรรมการวัดเปรียบเทียบความสามารถระดับนานาชาติ (ครั้ง)

3 3 3 3 3 3 3 3 24

โครงการกําหนดนโยบายโครงสรางพื้นฐานดานคุณภาพ (MSTQ) กับหนวยงานระดับภูมิภาค

จํานวนครั้งของการเขารวมประชุมกําหนดนโยบายโครงสรางพื้นฐานดาน คุณภาพ (MSTQ) กับหนวยงานระดับภูมภิาค (ครั้ง)

- - 1 1 1 1 1 1 6

โครงการพัฒนาหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

จํานวนครั้งของการจัดฝกอบรมทางดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหกบัหองปฏิบัติการทดสอบ (ครัง้)

1 1 1 1 1 1 1 1 8

โครงการสงเสริมใหมีการใชวัสดุอางอิงที่ผลิตภายในประเทศ

รอยละที่เพิม่ขึ้นของการจําหนายวัสดุอางองิ (รอยละ)

- 10 20 20 20 20 20 20 -

Page 120: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 120 ~

ตารางที ่18 (ตอ)

โครงการ ตัวช้ีวัด ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

ป 2559

รวม

โครงการพัฒนาและสงเสริมหองปฏิบัติการเครือขายฯ ใหเปนหองปฏิบัติการอางอิงของประเทศ

จํานวนหองปฏิบัติการที่ไดรับการยอมรับใหเปน National Reference Laboratory เพิ่มขึ้น (หองปฏิบัติการ)

- - 1 1 1 1 1 1 6

โครงการพัฒนาศักยภาพหองปฏิบัติการอางอิงของอาเชียน (ASEAN reference laboratory) ในประเทศไทย ใหมีการนําระบบมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพเขามาใชในการปฏิบัติงาน

จํานวนครั้งของการจัดฝกอบรมทางดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ (ครั้ง)

- 1 1 1 1 1 1 1 7

โครงการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพในระดับอุดมศึกษา

จํานวนมหาวิทยาลัยที่จัดการสอนมาตรวิทยา (มหาวิทยาลัย)

- 1 1 1 1 1 1 1 7

โครงการสงเสริมใหมีการเรียน การสอนมาตรวิทยาเคมีและ ชีวภาพในระดับอุดมศึกษา

จํานวนมหาวิทยาลัยที่จัด การสอนมาตรวิทยา (มหาวิทยาลัย)

- 1 1 1 1 1 1 1 7

โครงการสงเสริมการฝกอบรม ดานมาตรวิทยาเคมีและ ชีวภาพ

จํานวนครั้งของการจัด ฝกอบรมทางดานมาตรวิทยา เคมีและชีวภาพ (ครั้ง)

- - 1 1 1 1 1 1 6

โครงการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพสูชุมชน

จํานวนครั้งของการจัดฝกอบรมทางดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหกับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา (ครั้ง)

- - 1 1 1 1 1 1 6

โครงการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพกับอุตสาหกรรมอาหาร

จํานวนครั้งของการจัดฝกอบรมทางดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพใหกับหองปฏิบัติการอุตสาหกรรมอาหาร (ครั้ง)

- 1 1 1 1 1 1 1 7

โครงการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ คณะอนุกรรมการและ คณะทํางานที่เกี่ยวของ

จํานวนครั้งของการประชุมเครือขายฯ คณะอนุกรรมการและคณะทํางานที่เกี่ยวของ (ครั้ง)

6 6 6 6 6 6 6 6 48

โครงการประเมินผลงานของเครือขายฯ

จํานวนครั้งของการประเมิน (ครั้ง)

1 1 1 1 1 1 1 1 8

Page 121: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 121 ~

ตารางที ่18 (ตอ)

โครงการ ตัวช้ีวัด ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

ป 2559

รวม

โครงการมอบหมายหองปฏิบัติการทําหนาที่วัดทางเคมีแทนหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

จํานวนรายการวัดที่หองปฏิบัติการไดรับ Designate เพิ่มขึ้น (รายการวัด)

1 1 2 1 1 1 1 1 9

1. กิจกรรมการผลิต วัสดุอางอิง ทั้ง Pure substance และ Matrix reference material ใชเวลาในกระบวนการผลิตประมาณ 3-4 ป (เมื่อไดรับจัดสรรงบประมาณและมีการดําเนินงาน จะเกิดผลงานตามตัวช้ีวัด ในปที่สามหรือปที่สี่)

Page 122: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 122 ~

ภาคผนวก ฉ. ผลการดําเนนิงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)

Page 123: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 123 ~

Page 124: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 124 ~

ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551)

แผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2548-2551) ประกอบดวย 2 กลยุทธ ไดแก 1) กลยุทธเรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ 2) กลยุทธเรงเผยแพรความรูและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกิจกรรมการวัดในประเทศ สถาบันฯ ไดดําเนินงานตามแผนกลยุทธขางตน และมีผลการดําเนินงาน ในชวงป 2548-2551 ดังนี้

ประกอบดวย 2 แผนงาน คือ แผนงานที่ 1.1 การพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ และแผนงานที่ 1.2 การพัฒนานกัวิจัยผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาต ิ

เปาประสงคของกลยุทธ: ระบบมาตรวทิยาของชาติเปนทีย่อมรับในระดับสากล

แผนงานที่ 1.1 การพัฒนาหนวยวัดแหงชาติ แผนงานที่ 1.1 ประกอบดวย 5 โครงการ ไดแก 1) โครงการสํารวจขอมูลดาน

มาตรวิทยา 2) โครงการจัดหาและพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานระดับปฐมภูมิ 3) โครงการพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ 4) โครงการสรางการยอมรับระดับนานาชาติ 5) โครงการรักษามาตรฐานใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล มีรายละเอียดดังนี้

โครงการที่ 1.1.1 โครงการสํารวจขอมูลดานมาตรวิทยา ผลการดําเนินงาน: สถาบันฯ ไดดําเนินการสํารวจความตองการของผูใชบริการ

จากผลการประชุมสัมมนาเสริมสรางความเขมแข็งของหองปฏิบัติการสอบเทียบ การประชุมชมรมวิชาการมาตรวิทยาสาขาตางๆ และสรุปจากแบบสอบถามการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการสอบเทียบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชบริการแกภาคอุตสาหกรรมและภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของ โดยมีการดําเนินการสํารวจความตองการดานการวัดของภาคอุตสาหกรรม จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม รวมทั้งมีการจัดทําฐานขอมูลหองปฏิบัติการสอบเทียบ ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความตองการของภาคอุตสาหกรรมทางดานมาตรวิทยา ไดแก ความตองการดานการวัด ความตองการดานการฝกอบรม มีรายละเอียดของผลการดําเนินงานดังนี้

(1) ผลการสํารวจเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม จากผลการสํารวจความตองการดานการสอบเทียบเครื่องมือวัดและสาขา

เครื่องมือวัดที่มีการใชงานในภาคอุตสาหกรรมดังกลาว ทําใหทราบถึงจํานวนประมาณการเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ.2550 มีจํานวนประมาณ 7.9 ลานชิ้น และมีจํานวนเครื่องมือวัดที่รับการสอบเทียบอยางถูกตองประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเปนรอยละ 5 (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ภาคผนวก ช)

กลยทุธที ่1 เรงรัดพัฒนาสถาปนาหนวยวัดของชาติใหเปนที่ยอมรับของนานาชาต ิ

Page 125: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 125 ~

(2) ความตองการสอบเทียบ จากผลการสํารวจดังกลาว ทําใหทราบถึงความตองการสอบเทียบของ

ภาคอุตสาหกรรม ดังรายละเอียดในตารางที่ 19

ตารางที่ 19 ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม จําแนกตามสาขาการวัด สาขาการวัด เครื่องมือวัด ชวงการวัด

มิติ - Flatness Interferometer - Roughness Specimen (AFM/SPM) - Frequency Comb - Laser tracker - Theodolite electronic Distance Measurement - Countour Instrument

แรงบิด - Transducer 0.035–0.353 Nm ความแข็ง - Micro Vickers Hardness Test Block 200–800 HV

ความดันและสูญญากาศ - Digital Manometer - 5 to 5 mbar อัตราการไหล - Anemometer

- Air Flow Meter - เครื่องใหสารละลายทางหลอดเลือด

0–120 km/h, 0–20 m/s 0-100 m3/min 1-10 ml/h

มวลและความหนาแนน - Weight or Weight set Class E1 - ตุมน้ําหนักขนาดใหญ - Hydrometer - สภาพความเปนแมเหล็กของตุมน้ําหนัก - ความหนาแนนและปริมาตรของตุมน้ําหนัก

Up to 50 kg Up to 1000 kg

ไฟฟา เวลา และความถี่ - AC/DC High Voltage - Current transformer - High Voltage Source - Voltage transformer - LCR Component - Magnetic standard block - Insulation Tester - FM/AM Modulation

0–120 kV 0–1,000 A 0–300 kV 0–100 kV Up–13 MHz 0.6–0.7 mT 50–200 A

อุณหภูมิ - COD Reactor - Relative Humidity Sensor - เทอรโมมิเตอรในยานอุณหภูมิตํ่า - IPRT และ IR Thermometer

150 ºc 2–100% RH ระหวาง -1,200 ถึง -100 ° C ที่อุณหภูมิสูงกวา 600° C

แสง - Spectroradiometer - Color Correlated Temperature - Opacity Meter

Page 126: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 126 ~

(3) ความตองการโปรแกรมการวัดเปรียบเทียบ จากผลการสํารวจ ณ มกราคม พ.ศ.2550 ในประเทศไทยมีหองปฏิบัติการ

สอบเทียบอยูทั้งหมด จํานวน 126 แหง หองปฏิบัติการฯ 80 แหง ไดผานการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คิดเปนรอยละ 63 เมื่อเปรียบเทียบขอมูล ณ ธันวาคม พ.ศ.2547 มีหองปฏิบัติการสอบเทียบที่ไดรับการรับรอง 50 แหง จากทั้งหมด 104 แหง คิดเปนรอยละ 51 แสดงใหเห็นถึงความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัดที่ เพิ่มมากขึ้น เมื่อสํารวจรายละเอียดของสาขาการวัดที่หองปฏิบัติการฯ 126 แหงดังกลาวนี้พบวามีการใหบริการถึง 641 สาขาการวัด แตมีเพียง 170 สาขาการวัด เทานั้น ที่ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คิดเปนรอยละ 26 เทานั้น ซึ่งหมายความวาหองปฏิบัติการฯ สวนใหญยังไมไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ครบทุกสาขาการวัดที่หองปฏิบัติการเปดใหบริการ หองปฏิบัติการฯ ดังกลาวนี้ ตองการเขารวมโปรแกรมการวัดเปรียบเทียบเพื่อนําผลไปประกอบการขยายขอบเขตการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025

(4) ความตองการฝกอบรม หองปฏิบัติการจํานวนมากมีความตองการคําปรึกษา และการฝกอบรม

ดานการสอบเทียบและการพัฒนาระบบคุณภาพ เพื่อที่จะขยายขีดความสามารถการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด

(5) ผลการสํารวจความตองการดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ มว. ไดดําเนินการสํารวจความตองการดานการวัดเคมีและชีวภาพ โดย

การวิเคราะหแบบสอบถามจากการจัดประชุมสัมมนาวิชาการ แบบสอบถามจากหองปฏิบัติการเคมี จากการสัมภาษณบุคลากรของหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบของอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องสําอางค และอุตสาหกรรมสารเคมี ตลอดจนผลของการประชุมเชิงปฏิบัติการ สรุปความตองการไดดังนี้

(5.1) สามารถแบงกลุมงานที่มีความตองการการวัดดานเคมีสูงได 3 กลุม ไดแก กลุมงานดานความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) กลุมงานดานคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection) และกลุมงานดานอนุรักษส่ิงแวดลอม (Environment Protection) ไดแก คุณภาพของน้ํา (Water Quality) คุณภาพดิน (Soil Quality) คุณภาพอากาศ (Air Quality) เปนตน

(5.2) ในทุกกลุมงานขางตน จะมีความตองการเหมือนกัน ไดแก ความตองการวัสดุอางอิงรับรอง (Certified Reference Material: CRM) ความตองการโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) และความตองการหองปฏิบัติการวิเคราะหและทดสอบอางอิงมาตรฐานของชาติ (National Reference Laboratory)

Page 127: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 127 ~

(5.3) ความตองการเรงดวนของแตละกลุมงานมีดังนี้ - กลุมความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) มีความตองการวัด

โปรตีนในอาหารสัตว การวัดปริมาณสารถนอมอาหารตางๆ ในผลิตภัณฑอาหาร อาทิเชน BHA, BHT, Sodium Benzoate และ Sorbic Acid เปนตน

- กลุมคุมครองผูบริโภค (Consumer Protection) มีความตองการศักยภาพการวัดดานเคมีคลินิก อาทิเชน Glucose, Cholesterol, Triglycerides, Ethanol, สารตกคางในเครื่องสําอางค การวัดปริมาณแรธาตุที่ระบุไวบนบรรจุภัณฑอาหารและยา การวัดสารสกัดจากสมุนไพร การวัดตามขอกําหนด RoHS ของสหภาพยุโรป

- กลุมอนุรักษส่ิงแวดลอม (Environment Protection) มีความตองการเรงดวนในการวัดคุณภาพของน้ํา เชน คา Biochemical Oxygen Demand (BOD) คา Chemical Oxygen Demand (COD) การวัดยาฆาแมลง การวัด Volatile Organic Compounds (VOC) การวัดโลหะหนัก (Fe, Cr, Cd, Hg, As) และการวัดหาปริมาณ Nitrate และ Nitrite

สถาบันฯ ไดดําเนินการสํารวจหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ เพื่อจัดทําดัชนีบงชี้สถานภาพขีดความสามารถดานการวัด (ความแมนยําดานการวัด) และแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของขีดความสามารถ พบวาประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิทั่วประเทศ ประจําป 2550 มีจํานวนประมาณ 2.6 แสนชิ้น มีรายละเอียดภาคผนวก ซ

สถาบันฯ ไดมอบหมายใหสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแหงประเทศไทย ดําเนินการวิจัยผลกระทบทางเศรษฐกิจของการพัฒนาระบบมาตรวิทยา จุดประสงคของการวิจัยนี้ คือ การสรางองคความรูที่จําเปนตอการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาในระดับชาติโดยรัฐบาล การตัดสินใจลงทุนในการพัฒนาหองปฏิบัติการสอบเทียบในระดับทุติยภูมิโดยภาคเอกชน และการสรางความตระหนักตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาที่ไดมาตรฐานในระดับโรงงาน ดังนี้

- ชี้ใหผูประกอบการในอุตสาหกรรมตางๆ ที่ยังไมทราบถึงประโยชนที่ชัดเจนจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาในโรงงานมีขอมูลในการตัดสินใจปรับปรุงระบบมาตรวิทยาในกิจการของตน

- ระบุสาขาอุตสาหกรรมที่มีความตองการเรงดวน และมีผลตอบแทนสูงในการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยาโดยรัฐและเอกชนที่ประกอบกิจการดานมาตรวิทยา

- ระบุหนวยวัดที่มีความตองการเรงดวนและมีผลกระทบตอภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะชวยในการจัดทําแผนพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติตอไป

ผลกระทบทางเศรษฐกิจในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาที่ เกี่ยวของกับการศึกษานี้มีผลกระทบที่เปนตนทุน (Cost) ในการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยาและประโยชนที่ไดรับ (Benefit) จากการลงทุนดังกลาว ซึ่งผลกระทบเหลานี้แบงออกเปนผลกระทบตอเอกชน (Private Cost/ Benefit) และผลกระทบตอสาธารณะ (Public Cost/Benefit)

Page 128: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 128 ~

โครงการที่ 1.1.2 โครงการจัดหาและพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานระดับปฐมภูมิ ผลการดําเนินงาน: ความจํากัดดานอุปกรณและเครื่องมือ ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแตระดับ

สถาบันฯ จนถึงระดับหองปฏิบัติการสอบเทียบที่มีจํานวนไมเพียงพอ ไมครอบคลุมหนวยวัด (Measurement Unit) และพิสัยวัด (Measurement Range) เนื่องจากสถาบันฯ เปนหนวยงานใหมที่มีอายุการดําเนินงานเพียง 10 ป เมื่อเปรียบเทียบกับสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติของประเทศที่พัฒนาแลวซึ่งมีอายุมากกวา 100 ป เชน สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน และสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี เปนตน ดังนั้นจึงยังไมสามารถตอบสนองความตองการดานมาตรวิทยาภายในประเทศไดอยางเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ อยางไรก็ตามสถาบันฯ ไดดําเนินการสํารวจความตองการของภาคอุตสาหกรรม เพื่อจัดหามาตรฐานแหงชาติในหนวยวัดหรือพิสัยที่ครอบคลุมสอดคลองกับความตองการของภาคอุสาหกรรมและภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวของ

ปจจุบันสถาบันฯ สามารถสถาปนาหนวยวัดและความสามารถทางการวัดโดยสามารถใหบริการสอบเทียบได 424 รายการวัด แบงตามสาขาไดดังนี้ สาขามิติ 160 รายการ สาขาไฟฟาและความถี่ 93 รายการ สาขาเชิงกล 107 รายการ สาขาอุณหภูมิ 23 รายการ สาขาเสียงและการสั่นสะเทือน 13 รายการ สาขาแสง 3 รายการ สาขาเคมี 25 รายการ ตลอดจนสามารถผลิตวัสดุและสารอางอิงได 4 ชนิด ไดแก วัสดุอางอิงความแข็งของโลหะ (Reference Block Rockwell Scale HRC) วัสดุอางอิงรับรองดานเคมี (pH solution, Potassium Dichromate, Potassium Iodine)

ความสามารถทางการสอบเทียบและการวัด (Calibration and Measurement Capabilities: CMC) ของสถาบันฯ ไดรับการยอมรับในระดับสากล โดยความสามารถดานการวัดดังกลาว ไดรับการเผยแพรในเว็บไซตขององคการชั่งตวงวัดระหวางประเทศ (Bureau International des Poids et Mesures: BIPM) (http://kcdb.bipm.org/Appendix C) รวมทั้งหมด 4 สาขาการวัด คือ

- สาขาไฟฟา ครอบคลุม DC Voltage, DC Resistance, DC Current, AC Voltage, AC Current และ Inductance จํานวน 313 รายการ

- สาขามวล ในขอบเขต Weight, class E2-Comparison in Air, 1 มิลลิกรัม-10 กิโลกรัม จํานวน 19 รายการ

- สาขาความดัน ครอบคลุม Gauge Pressure และ Absolute Pressure ทั้ง Gas Medium และ Oil Medium จํานวน 11 รายการ

- สาขาอุณหภูมิ ครอบคลุม Standard Platinum Resistance Thermometers: SPRT สอบเทียบแบบ Fixed Point, Hg, Ga, Sn, Zn จํานวน 4 รายการ

และมีหนวยวัดที่อยูระหวางการพัฒนาอีก 32 รายการวัด โดยเปนหนวยวัดทางฟสิกส 21 รายการ และทางเคมีและชีวภาพอีก 11 รายการ กลาวโดยสรุปในปจจุบันสถาบันฯ ไดสถาปนาหนวยวัดดานฟสิกสตอบสนองความตองการของผูใชในประเทศไดมากกวารอยละ 80 นอกจากนี้สถาบันฯ ตองเรงพัฒนาหนวยวัดและศักยภาพการวัดดานเคมีและชีวภาพ ซึ่งเปนหนวยวัดที่เปนไปตามความตองการของอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสุขภาพ อันเปนอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ

Page 129: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 129 ~

โครงการที่ 1.1.3 โครงการพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ผลการดําเนินงาน:การดําเนินกลยุทธตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยา

เคมีและชีวภาพที่ผานมา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุพันธกิจหลัก 3 ประการ คือ (1) การสรางเครือขายหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ปจจุบันคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ มีผูแทนจากหนวยงานทั้งสิ้น 33 หนวยงาน คณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ไดแตงตั้งคณะทํางานจํานวน 3 ชุด และคณะอนุกรรมการจํานวน 1 ชุด ดังนี้

- คณะทํางานโครงการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program Working Group) ดานการวัดทางเคมีและชีววิเคราะห

- คณะทํางานโครงการพัฒนาวัสดุอางอิง/วัสดุอางอิงรับรองทางเคมี (Reference Material /Certified Reference Material Working Group)

- คณะทํางานพิจารณากําหนดขนาดความไมแนนอนของการวัดทางเคมี (Target Measurement Uncertainty Working Group)

- คณะอนุกรรมการพิจารณาการมอบหมายใหหองปฏิบัติการทําหนาที่การวัดแทนหองปฏิบัติการเคมี สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

(2) การพัฒนามาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของหนวยงานที่มีศักยภาพใหเปนที่ยอมรับของนานาชาติ

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ไดมอบหมายใหกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ทําหนาที่แทนสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ในการพัฒนามาตรฐานการวัดที่เกี่ยวกับสุขภาพ และอาหาร

(3) การผลิตวัสดุอางอิงและการทดสอบความชํานาญ การพัฒนาวัสดุอางอิงและการทดสอบความชํานาญไดดําเนินการมาแลวในระดบั

หนึ่ง คือ การพัฒนาวัสดุอางอิงของกลุมหองปฏิบัติการเคมีดานสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนตนแบบใหกับหองปฏิบัติการในสาขาอื่นๆ และการสถาปนามาตรฐานการวัดความเปนกรด-เบส โดยหองปฏิบัติการเคมีไฟฟา สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ สามารถสถาปนามาตรฐานการวัดความเปนกรด-เบส โดยวิธีปฐมภูมิ (Harned Cell) วิธีทุติยภูมิ (High Accurate pH Measurement) และใหบริการสอบเทียบเครื่อง pH meter โดยไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 จาก IA Japan และไดรวมกับภาคอุตสาหกรรมเคมีในการผลิตสารละลายมาตรฐานบัฟเฟอร สําหรับภาคอุตสาหกรรมนําไปใชในการวัดคากรด-เบส นอกจากนี้ไดจัดโปรแกรมการทดสอบความชํานาญ (PT program) เปนการสงเสริมศักยภาพของหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ

Page 130: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 130 ~

โครงการที่ 1.1.4 โครงการสรางการยอมรับระดับนานาชาติ ผลการดําเนินงาน:สถาบันฯ ไดเขารวมเปรียบเทียบผลการวัด Interlaboratory

Comparison กับองคกรมาตรวิทยาระดับภูมิภาคและองคกรมาตรวิทยาระดับนานาชาติในสาขาการวัดตางๆ อยางตอเนื่องและมีผลการวัดอยูในเกณฑที่กําหนด

สถาบันฯ ซึ่งเปนหนวยงานหลักในระบบมาตรวิทยาแหงชาติ จึงใหความสําคัญตอการพัฒนาและรักษาคุณภาพของงาน ในสวนของการจัดทําระบบคุณภาพความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 สถาบันฯ ไดรับการรับรองจากองคกรรับรองความสามารถ Deutscher Kalibrierdienst: DKD สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี จํานวน 46 รายการวัด และจาก International Accreditation Japan: IA Japan ประเทศญี่ปุน โดยสถาบันฯ ไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการเรียบรอย จํานวน 48 รายการวัด รวม 94 รายการวัด

สถาบันฯ ไดรับการประเมินตามระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และไดรับการรับรองมาตรฐานจากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Mangement System Certification Institute (Thailand): MASCI) ต้ังแตป 2547 จนถึงปจจุบัน

สถาบันฯ มีสวนชวยสนับสนุนระบบรับรองระบบงาน ใหมีมาตรฐานและระดับคุณภาพเปนที่ยอมรับของหนวยงานระดับสากล เนื่องจากระบบรับรองระบบงาน (Accreditation System) ทุกระบบมีความสัมพันธกับมาตรวิทยา การรับรองระบบงานมีขอกําหนดที่เกี่ยวของกับมาตรวิทยา กลาวคือ หนวยงานที่จะไดการรับรองตองสอบเทียบ และบํารุงรักษาเครื่องมือวัดและเครื่องมือทดสอบในกระบวนการผลิตและควบคุมคุณภาพ เพื่อใหผลการวัดสามารถอางอิงกลับไดสูหนวยวัดสากล จึงกลาวไดวาการพัฒนาระบบมาตรวิทยาเปนพื้นฐานในการพัฒนาระบบการรับรองระบบงานตางๆ ปจจุบันหนวยงานใหการรับรองระบบงานอยางเปนทางการของประเทศไทย คือ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (Management System Certification Institute (Thailand): MASCI) ใหการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 สํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน (NAC) และกรมวิทยาศาสตรบริการ ใหการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025

สถาบันฯ ไดมีสวนรวมสนับสนุนการรับรองระบบงาน ใหมีมาตรฐานและระดับคุณภาพเปนที่ยอมรับของหนวยงานระดับสากล โดยการสงนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ เขารวมกับสํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการรับรองระบบงาน (NAC) เขารวมทําหนาที่เปนผูตรวจประเมิน/ผูเชี่ยวชาญทางวิชาการ (Technical Expert) ในการเขารวมประเมินความสามารถของหองปฏิบัติการสอบเทียบในหนวยวัดตางๆ ทั้งนี้นักมาตรวิทยาดังกลาว ไดเขารวมประชุมสัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนปญหาและประสบการณในการตรวจประเมินการรับรองระบบงานอยางตอเนื่อง

Page 131: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 131 ~

โครงการที่ 1.1.5 โครงการการรักษามาตรฐานใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล ผลการดําเนินงาน: สถาบันฯ ไดดําเนินการจัดหาแหลงเงินภายใตโครงการเงินกู

ดอกเบี้ยต่ําจากธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (Janpan Bank for International Cooperation: JBIC) ทําใหปจจุบัน สถาบันฯ มีอาคารถาวรที่มีหองปฏิบัติการที่มีมาตรฐานสากล หองปฏิบัติการตางๆ สามารถควบคุมและรักษามาตรฐาน ในการจัดเก็บและรักษามาตรฐานแหงชาติได และสามารถใหบริการถายทอดคาวัดสูมาตรฐานอางอิงของหองปฏิบัติการสอบเทียบและภาคอุตสาหกรรม

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ มีภาระหนาที่ในการจัดหา รักษา และมาตรฐานแหงชาติ ซึ่งเงื่อนไขการจัดเก็บมาตรฐานแหงชาติ จะตองสอดคลองกับหลักปฏิบัติระหวางประเทศ ทั้งดานการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น การทําการสอบเทียบตามระยะเวลา เปนตน เพื่อจะไดเปนที่ยอมรับของนานาชาติ สถาบันฯ สามารถปรับปรุงระบบปรับอากาศของอาคารเพื่อใหสามารถควบคุมสภาวะแวดลอมของหองปฏิบัติการใหสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนด พรอมทั้งมีการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศอยางตอเนื่อง เพื่อใหสามารถรักษาระดับมาตรฐานได

แผนงานที่ 1.2 แผนงานการพัฒนานักมาตรวิทยาผูรับผิดชอบหนวยวัดแหงชาติ

แผนงานที่ 1.2 มีรายละเอียดของผลการดําเนินงานดังนี้ ผลการดําเนินงาน : สถาบันฯ ไดจัดทําแผนกําลังคน ตามความตองการ

กําลังคนในระดับตางๆ และภาระงานที่จะเกิดขึ้น และจัดทําแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย จําแนกตามลักษณะงานของบุคลากร รวมทั้งจัดทําแผนงบประมาณเพื่อรองรับแผนกําลังคน และแผนพัฒนาทรัพยากร

สถาบันฯ รวมกับสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติของตางประเทศ อาทิ โครงการความรวมมือระหวาง Japan International Cooperation Agency: JICA และสถาบัน JICA-NIMT และโครงการความรวมมือระหวาง Physikalisch-Technische Bundesanstalt: PTB,Germany และสถาบัน PTB-NIMT เปนตน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรของสถาบันฯ โดยมีความรวมมือในการสงนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ไปฝกอบรมในตางประเทศ รวมทั้งมีผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาใหความรูทางเทคนิคแกนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ในชวงป พ.ศ.2547-2550 มีการจัดสงนักมาตรวิทยาเขารับการอบรม ณ ตางประเทศจํานวน 103 คน รายละเอียดดังในตารางที่ 20

นอกจากนี้ใน พ.ศ.2550 มีการเขารวมประชุมและกิจกรรมทางมาตรวิทยา ณ ตางประเทศ จํานวน 33 คร้ัง (53 คนครั้ง)

Page 132: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 132 ~

ตารางที่ 20 สถิติการเขารวมการอบรม ณ ตางประเทศ จําแนกตามป

กิจกรรม จํานวน (คน) เขารับการอบรม ณ ตางประเทศ ป 2547 26 เขารับการอบรม ณ ตางประเทศ ป 2548 40 เขารับการอบรม ณ ตางประเทศ ป 2549 15 เขารับการอบรม ณ ตางประเทศ ป 2550 22

รวม 103

มีการพัฒนาขีดความสามารถดานวิจัยและพัฒนาของนักมาตรวิทยา เปนภารกิจหลักอีกประการหนึ่งตามพระราชบัญญัติการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 ที่สถาบันฯ จะตองปฏิบัติเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาวิธีการวัดและมาตรฐานการวัดที่ใชในการถายทอดความถูกตองมีความสอดคลองกับความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต สถาบันฯ ไดศึกษาวิจัย พัฒนาวิธีการวัด มาตรฐานการวัดเพื่อใชภายในสถาบันฯ และสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ซึ่งเปนการประหยัดเงินตราตางประเทศ และลดการพึ่งพาผูเชี่ยวชาญตางประเทศ รวมทั้งมีการเผยแพรผลงานขีดความสามารถในการวิจัยและพัฒนาของสถาบันฯ ทั้งในและตางประเทศ สถาบันฯ มีบทความทางวิชาการของนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ นําเสนอในการประชุมวิชาการ และตีพิมพเผยแพรภายในประเทศและในตางประเทศอยางตอเนื่อง เชน หองปฏิบัติการวิเคราะหไฟฟาเคมีไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง pH Measurement โดยใชวิธี/อุปกรณปฐมภูมิที่เรียกวา Harned Cell ผลงานวิจัยไดนําเสนอในการประชุม Biological Environmental Reference Materials (BERMs) คร้ังที่ 11 ณ เมือง Tsukuba ประเทศญี่ปุน ระหวางวันที่ 29 ตุลาคมถึง 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2550 รวมทั้งมีการตีพิมพผลงานในวารสารตางประเทศ “Journal of Occupational Health” เร่ือง “Exposure to lead of boatyard workers in Southern Thailand.” September 2007, volume 49[5]: 345-52.

สถาบันฯ มีความรวมมือดานงานวิจัยและพัฒนากับสถาบันการศึกษาภายในประเทศ ลาสุดใน พ.ศ.2551 สถาบันฯ ไดรับการสนับสนุนแผนการดําเนินงานความรวมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในการผลิตนักวิจัยและพัฒนาระดับปริญญาโทดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 6 ราย เพื่อทําการวิจัยที่เกี่ยวของกับดานมาตรวิทยา 6 เร่ือง ภายใตโครงการความรวมมือในการผลิตนักวิจัยและพัฒนาระดับปริญญาโท ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งมีวัตถุประสงคในการสนับสนุนการผลิตบัณฑิตวิจัยและพัฒนาระดับปริญญาโทดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ ที่มุงเนนการวิจัยและพัฒนาในเรื่องที่สอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมและบริการของประเทศ โดยการดําเนินการดังกลาว อาศัยความรูและความเชี่ยวชาญที่หลากหลายของนักวิจัยและพัฒนาของหนวยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับคณาจารยของสถาบันอุดมศึกษาภายในประเทศ รวมทั้งผูเชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรม

Page 133: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 133 ~

สถาบันฯ มีโครงการรับความชวยเหลือทางเทคนิคดานการวิจัยและพัฒนากับสถาบันมาตรวิทยาในตางประเทศ เชน ในป พ.ศ.2550 ฝายมาตรวิทยาไฟฟารวมกับกลุมฟสิกสทฤษฎี Working Group PSt 4: Theory of Metrological Relevance in Many-Body-Systems, แหง Physikalisch-Technische Bundesanstalt (PTB) สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันในการวิจัยระดับพื้นฐาน (fundamental research) เร่ือง “สมบัติเชิงเทอรโมไดนามิกสของระบบ Fractional Quantum Hall” นอกจากนี้ หองปฏิบัติการมุม ฝายมาตรวิทยามิติ ไดรับทุนวิจัยจาก New Energy and Industrial Technology Development Organization (NEDO) ประเทศญี่ป ุ น เพื่อดําเนินโครงการความรวมมือวิจัยและพัฒนา Self- Calibrate Rotary Table เพื่อภาคอุตสาหกรรม รวมกับ National Metrology Institute of Japan (NMIJ) และ Research Centre for Calibration, Instrumentation and Metrology, Indonesian Institute of Science (KIM-LIPI) มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี การวัดมุมใหกับภาคอุสาหกรรมใหมีความเที่ยงตรงและแมนยําสูงขึ้นในระดับฟลิปดา ระยะเวลา 4 ป ต้ังแต 1 มกราคม พ.ศ.2551 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2554

สถาบันฯ เปนเจาภาพในการประชุมระหวางประเทศ เชน เปนเจาภาพจัดการประชุมประจําป 16 th Asia Pacific Metrology Programme (APMP) General Assembly ระหวางวันที่ 6-8 พฤศจิกายน พ.ศ.2543 ลาสุดสถาบันฯ เปนเจาภาพในการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ Consultaive Committee for Amount of Substance and Metrology in Chemistry (CCQM) 2008 Symposium and WGs Meeting ระหวางวันที่ 18-21 พฤศจิกายน พ.ศ.2551

สถาบันฯ เปนเจาภาพจัด Interlaboratory Comparison เชน ใน พ.ศ.2547 ไดเปนเจาภาพจัดใหมีโปรแกรมการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางประเทศ (Inter-comparison) ในหัวขอ APMP LIGT/PRT Comparison ในยานอุณหภูมิ -40°C ถึง 250°C ประกอบดวยเทอรโมมิเตอรที่ใชเปน Artifacts จํานวน 8 ชิ้น มีประเทศในกลุมสมาชิกเขารวมจํานวน 10 ประเทศ ประกอบดวย Australia (NMIA), Hong Kong (SCL), Indonesia (KIM-LPI), Malaysia (SIRIM), Nepal (NBSM), New Zealand (MSL), Phillippines (ITDI), Singapore (SPRING), Thailand (NIMT) และ Vietnam (VMI) โดยเริ่มดําเนินโครงการเดือนมีนาคมถึงตุลาคม พ.ศ.2547 และโครงการ NIMT-Weight Interlaboratory Comparison No.MM03, ตุมน้ําหนัก Class F1 ขนาด 100 mg, 2 g, 500 g และ 1 kg มีหองปฏิบัติการเขารวม จํานวน 17 หองปฏิบัติการ เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.2550 และฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพไดดําเนินการรวมกับกรมวิทยาศาสตรบริการ จัดใหมีโครงการเปรียบเทียบผลการวัด Proximate in Animal Feeding Stuff มีหองปฏิบัติการเขารวม จํานวน 73 แหง โดยไดดําเนินการระหวางเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน พ.ศ.2550 เปนตน กิจกรรมขางตนเปนกระบวนการสรางความยอมรับในขีดความสามารถทางเทคนิคของสถาบันฯ ในระดับสากล กิจกรรมอีกอยางหนึ่ง ก็คือการเขารวมในกิจกรรมการวัดเปรียบเทียบคา Inter Comparison Measurement ซึ่งจัดขึ้นโดยองคกรภูมิภาคดานมาตรวิทยา คือ Asia Pacific Metrology Programme (APMP) และเขารวมในกิจกรรมการวัดเปรียบเทียบคากับสถาบันมาตรวิทยาของประเทศตาง ๆซึ่งหองปฏิบัติการของสถาบันฯ เขารวมกิจกรรมดังกลาว ในสาขาการวัดตาง ๆอยางตอเนื่องทุกป

Page 134: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 134 ~

1.

ประกอบดวย 2 แผนงาน คือ แผนงานที่ 2.1 เผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคม และแผนงานที่ 2.2 เรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด

เปาประสงคของกลยุทธ: กิจกรรมการวัดในประเทศสอบกลับไดสูหนวยวัดของชาติและประชาชนมีความรูดานมาตรวิทยา

แผนงานที่ 2.1 การเผยแพรความรูความเขาใจดานมาตรวิทยาสูสังคม

แผนงานที่ 2.1 ประกอบดวย 2 โครงการ ไดแก 1) โครงการเผยแพรเสริมสรางกระบวนการเรียนรูดานมาตรวิทยาใหกับสังคม และ 2) โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูทางดานมาตรวิทยา โดยมีรายละเอียดการดําเนินงานดังนี้

โครงการที่ 2.1.1 โครงการเผยแพร เสริมสรางกระบวนการเรียนรูดานมาตรวิทยาใหกับสังคม ผลการดําเนินงาน:มาตรวิทยา (Metrology) คือ การวัดที่ถูกตองแมนยํา ผลการวัด

เปนที่ยอมรับของนานาชาติ เปนกิจกรรมที่มีความสําคัญเปนอยางสูงตอระบบเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการพาณิชยของประเทศ เนื่องจากมาตรวิทยาเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของประชาชน และการประกอบธุรกิจโดยทั่วไปแทบทุกดาน ตลอดจนการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนั้นความตระหนักถึงความสําคัญของระบบมาตรวิทยาจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง เพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรวิทยา สถาบันมาตรวิทยา และระบบมาตรวิทยาแหงชาติ รวมทั้งบทบาทตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย สถาบันฯ ไดดําเนินการประชาสัมพันธขาวสารและกิจกรรม รวมทั้งงานดานมาตรวิทยาไปสูหองปฏิบัติการสอบเทียบ ภาคอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป อยางตอเนื่อง ในสื่อรูปแบบตางๆ ดังนี้

(1) การเผยแพรขาวสารดานมาตรวิทยาผานสื่อมวลชนแขนงตางๆ ในรูปของขาว บทความ เพื่อสรางความตระหนักในบทบาทความสําคัญของระบบมาตรวิทยา รวมทั้งเผยแพรขาวสารของสถาบันฯ และการพัฒนาระบบมาตรวิทยาในระดับประเทศและระดับสากล ตลอดจนการแถลงขาวสารทางวิทยุและโทรทัศน

(2) การจัดทําสื่อส่ิงพิมพเพื่อเผยแพรผลงานดานความกาวหนาในการพัฒนาระบบมาตรวิทยา ไดแก รายงานประจําป จดหมายขาว “Metrology Info” หนังสือ “มาตรวิทยา-ฉบับยอ ตีพิมพคร้ังที่ 2 (Metrology–in short 2nd edition)” แผนพับแนะนําสถาบันฯ เปนตน

กลยทุธที ่2 เรงเผยแพรและถายทอดความถูกตองดานการวัดสูกจิกรรมการวดัใน

Page 135: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 135 ~

(3) การจัดทําสื่อมัลติมีเดีย เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธในหัวขอตางๆ อันจะนําไปสูความเขาในในระบบมาตรวิทยา และความสําคัญของมาตรวิทยาในชีวิตประจําวัน ดังตอไปนี้

- ซีดีแนะนําสถาบันฯ จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรใหผูที่ตองการจะศึกษาดานมาตรวิทยา และบุคคลทั่วไปเขาใจถึงบทบาท โครงสราง ตลอดจนหลักการมาตรวิทยาพื้นฐาน โดยดําเนินการจัดพิมพชุดภาษาไทย และชุดภาษาอังกฤษ

- ซีดีการตูน Animation 3D จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรความรู ความเขาใจสูเยาวชนใหตระหนักถึงความสําคัญของระบบการวัด หรือระบบมาตรวิทยา และหนวยวัดสากล (SI Unit)

(4) สถาบันฯ ไดเขารวมจัดนิทรรศการในการใหความรู และตอบขอซักถามเกี่ยวกับระบบมาตรวิทยา เพื่อสรางความตระหนักถึงความสําคัญของระบบมาตรวิทยาที่มีตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย

(5) การพัฒนาเว็บไซตของสถาบันฯ (www.nimt.or.th) เพื่อเผยแพรขอมูลขาวสารดานมาตรวิทยา ซึ่งมีเนื้อหาประกอบดวย การพัฒนาความรูดานมาตรวิทยาดวยวิกิพีเดีย (Wikipedia) การจัดทําศูนยขอมูลแหลงความรู โดยใชส่ือตางๆ เชน การทํา e-Book/e-Newsletter การทําฐานความรู (Knowledge Center) การทํา e-Learning รวมทั้งสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งมีทั้งภาพและเสียงที่สามารถเลือกไดตามความเร็วของอินเตอรเน็ตที่รองรับทั้ง Low Speed Internet ถึง High Speed Internet การจัดทําฐานขอมูลโรงงานอุตสาหกรรมกับเครื่องมือวัดที่มีการสอบเทียบ เปนตน เพื่อรองรับกลุมผูใชใหสามารถเขาถึงขอมูลไดมากที่สุด รวมทั้งขอมูลดานการใหบริการมาตรฐานการวัด เชน มาตรฐานทางเวลาที่สามารถนําเวลามาตรฐานของสถาบันฯ ไปใชไดทันที คามาตรฐานแรงโนมถวงของโลก (คา g) และปจจุบันยังไดเผยแพรการสถาปนาหนวยวัดแหงชาติ จํานวน 14 หนวยวัด ซึ่งไดประกาศใชอยางเปนทางการแลว เพื่อใหสามารถนํามาตรฐานตางๆ ไปใชในการอางอิงที่ถูกตอง เปนตน

สถาบันฯ ไดเขารวมชี้แจงและใหขอมูลแกผูกําหนดนโยบายในระดับตางๆ เชน คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายฯ สภาผูแทนราษฎร สํานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง เปนตน เพื่อใหมีความเขาใจที่ชัดเจน ถึงความจําเปนในการจัดสรรทรัพยากร เพื่อพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติใหมีความกาวหนามั่นคง

สถาบันฯ รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยตางๆ จัดทําโครงการพัฒนารายวิชามาตรวิทยาในหลักสูตรการศึกษา เพื่อสนับสนุนใหมีการเรียนการสอนเนื้อหาวิชามาตรวิทยาในทุกระดับการศึกษา และสงเสริมใหครูอาจารยของทุกระดับการศึกษามีความสามารถทําการสอนวิชามาตรวิทยาไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สถาบันฯ รวมมือกับสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัยตางๆ จัดทําโครงการพัฒนารายวิชามาตรวิทยาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต เพื่อสงเสริมใหมีการเรียนการสอนวิชามาตรวิทยาเพิ่มในหลักสูตรการศึกษา และสงเสริมครู อาจารย ใหมีความรูความเขาใจในวิชามาตรวิทยาสามารถทํา

Page 136: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 136 ~

การสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ สถาบันฯ ยังไดจัดใหมีโครงการอบรมแกครู อาจารยเพื่อสอนวิชามาตรวิทยาทั้งในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา (Train the Trainers) เพื่อจัดอบรมครูระดับอาชีวศึกษาเพื่อสอนวิชามาตรวิทยาทั้งในระดับอาชีวศึกษาทุกภาคทั่วประเทศ รวมทั้งอบรมอาจารยในระดับปริญญาตรี

สถาบันฯ มีการพัฒนาหลักสูตรดานมาตรวิทยาที่เหมาะสมกับประเทศ เพื่อเปดสอนในสถาบันการศึกษา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยไดบรรจุเนื้อหามาตรวิทยาในหลักสูตรแลว 6 แหง คือ มหาวิทยาลัยพระจอมเกลาพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา และมหาวิทยาลัยสุรนารี

สถาบันฯ มีความรวมมือทางดานมาตรวิทยากับสถาบันการศึกษาในตางประเทศ ดังนี้ 1) การทําวิจัยรวม เชน ฝายมาตราวิทยาไฟฟามีความรวมมือกับกลุมฟสิกสทฤษฎี Working Group PSt 4: Theory of Metrological Relevance in Many-Body-Systems แหง Physikalisch-Technische Bundesanstalt (PTB) สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีในการวิจัยพื้นฐาน (Fundamental Research) เร่ืองสมบัติเชิงเทอรโมไดนามิกสของระบบ fractional quantum hall และเจาหนาที่ของหองปฏิบัติการเชิงกล คือ นางสาวทัศนีย ไพรร่ืนรมย ไดรับทุนศึกษาระดับปริญญาเอก ณ Technische Universital Clausthal เมือง Braunschweig ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมันนี ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2549 และไดทํางานวิจัยที่หองปฏิบัติการความดันของสถาบันมาตรวิทยาแหงประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมันนี 2) การสนับสนุนทุนฝกอบรม ซึ่งชวยใหบุคลากรของสถาบันฯ ไดรับทุนฝกอบรมและทํางานรวมกับนักมาตรวิทยาระดับโลกที่มีประสบการณมาก ในชวงป 2541-2550 มีการจัดสรรทุนอบรมดานมาตรวิทยาโดยตางประเทศและโดยสถาบันฯ รวม 204 ทุน นอกจากนี้สถาบันฯ ไดรับความสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในการจัดสรรทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและเอก สําหรับบุคลากรของสถาบันฯ และบุคคลภายนอก เพื่อไปศึกษาตอในตางประเทศดานมาตรวิทยา 3) การเขารวมกิจกรรมดานมาตรวิทยา เจาหนาที่ของหองปฏิบัติการความดันและสูญญากาศไดเขารวม The Workshop on Technology and Method in Physics Measurement for Developing Countries จัดโดย Tianyu Wuke and Chinese Academy of Sciences (CAS) ณ กรุงปกกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน ระหวางวันที่ 21 ตุลาคมถึง 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2547

การปฏิบัติงานดานมาตรวิทยา ผูปฏิบัติงานตองใชประสบการณดานการวัดและการสอบเทียบ เพื่อยกระดับทักษะและขีดความสามารถของชางเทคนิค นักวิทยาศาสตร และวิศวกร ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของ สถาบันฯ มีการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมดานการวัดและการสอบเทียบที่ครอบคลุม สามารถตอบสนองตอความตองการของลูกคา ไดแก กลุมคนในระบบงานที่เกี่ยวของกับการวัด วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ ทั้งภาครัฐและเอกชน ภาคอุตสาหกรรมตางๆ

Page 137: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 137 ~

สถาบันฯ จัดโครงการอบรมหลักสูตรมาตรวิทยาเปนประจําทุกป โดยแบงเปนดานมาตรวิทยาขั้นพื้นฐาน และมาตรวิทยาเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อใหมีการเรียนรูเทคโนโลยีหรือทักษะใหมๆ ที่มีสวนชวยในการพัฒนาขีดความสามารถของผูปฏิบัติงาน ทั้งนี้ในแตละปสถาบันฯ มีการพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรม ที่ครอบคลุม สามารถตอบสนองตอความตองการในการปรับปรุงและยกระดับขีดความสามารถของผูใชบริการ นอกจากนี้ผลจากความรวมมือกับตางประเทศ ทําใหสถาบันฯ มีการจัดอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยมีผูเชี่ยวชาญดานมาตรวิทยาในสาขาการวัดตางๆ จากตางประเทศ เปนวิทยากรใหเปนประจํา

สถาบันฯ มีการพัฒนาวิทยากรรุนใหม เพื่อรองรับความตองการดานฝกอบรมที่เพิ่มข้ึนอยางรวดเร็ว โดยสงนักมาตรวิทยารุนใหมๆ เขารับการฝกอบรมดานเทคนิคการวัดและการสอบเทียบทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งมีการเชิญผูเชี่ยวชาญตางประเทศในสาขาการวัดตางๆ มาใหการฝกอบรมแกนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ เชน สถาบันฯ ไดเชิญ Mr. Hiroshi Shitomi ผูเชียวชาญญี่ปุนมาใหคําแนะนําทางวิชาการดาน Photometry ระหวางวันที่ 11-24 พฤศจิกายน พ.ศ.2550 เปนตน

ปจจุบัน สถาบันฯ มีฐานขอมูลลูกคาผูใชบริการการวิเคราะห ทดสอบ สอบเทียบ และบริการฝกอบรมดานมาตรวิทยา มีการประชาสัมพันธการใหบริการของสถาบันฯ แกภาคอุตสาหกรรม สถาบันฯ มีการจัดทําเอกสาร Capability List และ Price List ที่แสดงถึงความสามารถดานการวัดและการสอบเทียบในสาขาการวัดตางๆ และคาใชจายในการใหบริการของสถาบันฯ เพื่อใหกลุมอุตสาหกรรมสามารถใชบริการที่สอดคลองกับความตองการของอุตสาหกรรมนั้นๆ

สถาบันฯ มีการจัดสัมมนา เพื่อใหความรูความเขาใจแกภาคอุตสาหกรรมถึงความสําคัญของมาตรวิทยาในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และลดตนทุนการผลิตเปนประจําทุกป ใน พ.ศ. 2550 สถาบันฯ รวมกับการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย จัด “ โครงการยกระดับคุณภาพการวัดของภาคอุตสาหกรรม” ซึ่งมีกิจกรรม ประกอบดวย การจัดสัมมนาทางวิชาการเพื่อเผยแพรความสําคัญของมาตรวิทยา การสํารวจขอมูลการสอบเทียบเครื่องมือวัดและทดสอบของโรงงานอุตสาหกรรม การใหคําปรึกษาดานการสอบเทียบ และการจัดทําฐานขอมูลโรงงานที่มีการสอบเทียบเครื่องมือวัดและทดสอบที่ถูกตองทางเว็บไซตของสถาบันฯ และการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ทั้งนี้ไดดําเนินการจัดสัมมนาวิชาการเพื่อเผยแพรความรูดานมาตรวิทยา และโครงการยกระดับคุณภาพการวัดของภาคอุตสาหกรรม จํานวน 12 ครั้ง จากการสัมมนามีผูสนใจสมัครเขารวมโครงการฯ จํานวน 77 หนวยงาน สมัครขอรับคําปรึกษาดานการสอบเทียบ จํานวน 73 คน และไดมีการเผยแพรขอมูลของหนวยงานที่มีการสอบเทียบเครื่องมือวัดและทดสอบอยางถูกตองทางเว็บไซตแลว จํานวน 4 หนวยงาน

สถาบันฯ จัดทําโครงการโรงงานตนแบบสําหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม เพื่อแสดงใหเห็นวามาตรวิทยาสามารถชวยในดานการพัฒนาศักยภาพการผลิต (productivity) สถาบันฯ มีผลการดําเนินงาน กลาวคือ จัดทําโครงการลดการใชพลังงานในเตาเผาเซรามิกโดยใชเครื่องมือวัดที่ไดมาตรฐานสากล มีโรงงานผลิตภัณฑเซรามิก จังหวัดลําปาง จํานวน 8 โรงงาน และจากจังหวัดขอนแกน จํานวน 1 โรงงาน เขารวมโครงการ

Page 138: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 138 ~

โครงการที่ 2.1.2 โครงการพัฒนาแหลงเรียนรูทางดานมาตรวิทยา ผลการดําเนินงาน: ปจจุบันสถาบันฯ มีการพัฒนาเว็บไซตของสถาบันฯ คือ

www.nimt.or.th โดยมีการจัดทํารายการที่มีการปรับปรุง (Update) เพื่อใหผูใชงานหาขอมูลขาวสารใหมๆ ไดทันที จัดทําฐานขอมูลโรงงานอุตสาหกรรมกับเครื่องมือวัดที่มีการสอบเทียบ พัฒนาความรูดานมาตรวิทยาดวยวิกิพีเดีย (Wikipedia) พัฒนาระบบอินทราเน็ตภายในองคกร ระบบประชาสัมพันธขอมูลขาวสารภายในดวยสื่อประสม (Multimedia) ทั้งภาพและเสียง ระบบการฝกอบรมการใชคอมพิวเตอรและระบบงานสารสนเทศดวยตนเอง ระบบการสืบคน การประชาสัมพันธ หนังสือ วารสาร และวัสดุสารนิเทศ ของหองสมุด และประวัติการใชบริการ รวมถึงการแนะนําบริการใหมๆ มีระบบฐานขอมูล ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ และการสืบคนแบบ Full Text Search ที่มีขอมูลทันสมัยอยูเสมอ และจัดหาระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูงอยางปลอดภัย เพื่อใชในงานวิจัยและพัฒนาระบบมาตรวิทยา เปนตน

ปจจุบัน สถาบันฯ พัฒนาใหมีฐานขอมูลผูใหบริการดานการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบภายในประเทศเรียบรอยแลว และมีการพัฒนาใหมีหองสมุดที่มีขาวสารขอมูลดานมาตรวิทยาเรียบรอยแลวเชนกัน

แผนงานที่ 2.2 แผนงานเรงถายทอดความถูกตองสูกิจกรรมการวัด แผนงานที่ 2.2 ประกอบดวย 4 โครงการ ไดแก 1) โครงการใหบริการสอบเทียบ

เครื่องมือวัด 2) โครงการเสริมสรางความเขมแข็งของปฏิบัติการสอบเทียบ 3) โครงการเสริมสรางความรวมมือ 4) โครงการศึกษาความเปนไปไดในการยกรางกฏหมายที่มีสภาพบังคับใชดานมาตรวิทยา มีรายละเอียดการดําเนินการดังนี้

โครงการที่ 2.2.1 โครงการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด ผลการดําเนินงาน : สถาบันฯ มีหนาที่ในการจัดหา รักษา และพัฒนามาตรฐาน

แหงชาติ โดยมีเปาหมายเพื่อถายทอดคาจากมาตรฐานแหงชาติสูมาตรฐานอางอิงของหองปฏิบัติการสอบเทียบภาครัฐและเอกชน รวมทั้งหองปฏิบัติการสอบเทียบที่มีอยูในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ โดยสถาบันฯ จะใหบริการในระดับทุติยภูมิ (Secondary Standard) แกหองปฏิบัติการเหลานั้น ปจจุบัน สถาบันฯ สามารถใหบริการ วิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบไดทั้งหมด 67 สาขาการวัด 424 รายการวัด โดยเนนการใหบริการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบมาตรฐานที่มีความถูกตองสูง สงผลใหระบบคุณภาพของภาคอุตสาหกรรมเปนที่ยอมรับของนานาชาติ ทําใหผลิตภัณฑสามารถสงออกและแขงขันไดในเวทีการคาโลก

สถาบันฯ ใหบริการปรึกษาแกหองปฏิบัติการสอบเทียบและภาคอุตสาหกรรม ดานมาตรวิทยา เทคนิคการวัด และการจัดตั้งหองปฏิบัติการ โดยการพัฒนาขีดความสามารถนักมาตรวิทยาจากความรวมมือในการสงนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ไปฝกอบรมในตางประเทศ รวมทั้งมีผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาใหความรูทางเทคนิคแกนักมาตรวิทยาของสถาบันฯดังกลาว ทําใหนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ

Page 139: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 139 ~

มีขีดความสามารถในการใหคําปรึกษาดานเทคนิคมาตรวิทยาแกภาคอุตสาหกรรม โดยสามารถใหคําปรึกษาในเรื่องการวัดที่มีความถูกตองสูง หรือเทคโนโลยีการวัดใหมๆ การวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ การจัดตั้งหองปฏิบัติการสอบเทียบแกภาคเอกชน หรือหนวยงานรัฐที่สนใจ รวมทั้งการใหคําปรึกษากับหนวยงานที่ตองการขอการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025

โครงการที่ 2.2.2 โครงการเสริมสรางความเขมแข็งของหองปฏิบัติการสอบเทียบ ผลการดําเนินงาน: สงเสริมใหมีการจัดตั้งหองปฏิบัติการสอบเทียบของ

ภาคเอกชน ในเขตอุตสาหกรรมสําคัญทั่วประเทศ สถาบันฯ มีอํานาจหนาที่ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ .ศ.2540 ประการหนึ่ง คือ สนับสนุนหองปฏิบัติการสอบเทียบของผูประกอบการภาคเอกชน ใหมีสวนรวมในกิจกรรมมาตรวิทยาและระบบการถายทอดความถูกตอง เพื่อทําการถายทอดคาวัดมาตรฐานแหงชาติ ไปสูเครื่องมือวัดระดับใชงานในภาคการผลิต โรงงานอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจ อ่ืนๆ ที่ เกี่ยวของ ปจจุ บันสถาบันฯ ได สํารวจความตองการสอบเทียบของภาคอุตสาหกรรม (ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก ช) และในสวนของหองปฏิบัติการที่ดําเนินงานอยูในปจจุบัน สถาบันฯ ก็มีกิจกรรมชวยสนับสนุนทางทฤษฎีและทางเทคนิค เพื่อสนับสนุนใหมีความพรอมในการขอการรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้สถาบันฯ จัดทําโครงการพัฒนาหองปฏิบัติการสอบเทียบรวมกับสถาบันอุดมศึกษาขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดประจําสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 5 แหง กระจายอยูในภูมิภาคตางๆ ประกอบดวย 1) มหาวิทยาลัยบูรพา ในสาขาอุณหภูมิ 2) มหาวิทยาลัยขอนแกน ในสาขาอุณหภูมิและสาขาความดัน 3) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในสาขามิติ 4) มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ในสาขามวล สาขาอุณหภูมิ และสาขาความดัน 5) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในสาขามิติ และสาขาอุณหภูมิ สามารถใหบริการงานดานมาตรวิทยา แกภาคการผลิตและบริการ ไดอยางถูกตองแมนยํา เปนที่เชื่อถือและยอมรับไดภายในประเทศ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติและสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ไดลงนามรวมกันในบันทึกขอตกลงความรวมมือ โครงการจัดตั้งศูนยสอบเทียบ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2550 โดยมีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมใหมีการจัดตั้งศูนยสอบเทียบประจําสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค (สพภ.) จํานวน 7 แหง ประกอบดวย สพภ.1 สมุทรปราการ, สพภ.3 ชลบุรี, สพภ.4 ราชบุรี, สพภ.5 นครราชสีมา, สพภ.6 ขอนแกน, สพภ.8 นครสวรรค และสพภ.12 สงขลา เพื่อใหศูนยสอบเทียบประจําสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานภาค ทั้ง 7 แหง สามารถใหบริการงานดานมาตรวิทยาในสาขามิติ แกภาคอุตสาหกรรมไดอยางถูกตองแมนยํา เปนที่เชื่อถือและยอมรับไดภายในประเทศ

สถาบันฯ มีการจัดการประชุมและสัมมนาเพื่อใหขอมูลความตองการสอบเทียบของภาคอุตสาหกรรมแกหองปฏิบัติการของภาคเอกชนและภาครัฐ รวมทั้งมีนโยบายใหการสนับสนุนทั้งทางทฤษฎี ทางเทคนิคการวัด และการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบแกหองปฏิบัติการตางๆ ที่ตองการขยายขีดความสามารถทางเทคนิคใหไดตามมาตรฐานสากล

Page 140: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 140 ~

สถาบันฯ สงเสริมใหมีเครือขายหองปฏิบัติการสอบเทียบที่รวมมือกันทางดานขอมูลและเทคนิคเนื่องจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาของประเทศ จะตองมีความรวมมือระหวางหนวยงานที่อยูในระบบ มีการพัฒนาการจัดการทางดานการวัด เทคนิคการวัด ผานผูปฏิบัติงานของหองปฏิบัติการ ดังนั้นสถาบันฯ จึงไดริเร่ิมโครงการที่มีกรอบแนวคิดมุงเนนการถายทอดความรู ประสบการณ เทคนิค และเทคโนโลยีดานการวัด (Measurement Technology Transfer) จากนักมาตรวิทยาของสถาบันฯ ไปยังพนักงานของหองปฏิบัติการสอบเทียบที่เขารวมโครงการในลักษณะการอบรมเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ (On the Job Training) และการเปรียบเทียบผลการวัด (Comparison) ทั้งนี้ผลลัพธของโครงการที่เกิดจากความเชื่อมั่นในผลการวัด จะเปนประโยชนตอผูใหบริการและผูรับบริการ ในชวงแรกของการดําเนินการมีหองปฏิบัติการที่เปนครือขายกระจายอยูในทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งจะทําใหลูกคาที่เปนผูใชประโยชน เขาถึงบริการดานการสอบเทียบไดอยางสะดวก รวดเร็ว และสามารถลดตนทุนดานการบริหารจัดการไดอีกดวย โดยในระหวาง พ.ศ. 2544–2548 มีหองปฏิบัติการสอบเทียบที่เขารวมโครงการทั้งสิ้น 13 แหง ไดรับการรับรองเปนเครือขายแลว จํานวน 13 แหง ดังนี้

- ศู น ย ส อ บ เ ที ย บ เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ค ณ ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ก ษ ต ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

- ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี - บริษัท แคลิเบรชั่น แลบอราทอรี จํากัด - ศูนยมาตรวิทยา บริษัท ปูนซิเมนตไทยอุตสาหกรรม จํากัด - บริษัท มารสค แมชชีน ประเทศไทย จํากัด - บริษัท สามมิตรมอเตอร จํากัด - บริษัท ร็อคเกอรเทค (ไทยแลนด) จํากัด - NEC Corporation System (Thailand) Co., Ltd. - บริษัท ศรีรุงเรืองแมชชีน แอนดทูลล จํากัด - หองปฏิบัติการสอบเทียบ สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน) - ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัด การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย บางกรวย - ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัด การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เหมืองแมเมาะ จ. ลําปาง

- ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม การดําเนินงานตอมา สถาบันฯ ไดผลักดันใหหองปฏิบัติการสอบเทียบ

ภายในประเทศรวมมือกัน จัดตั้งเปนสมาคมหองปฏิบัติการสอบเทียบแหงประเทศไทย ซึ่งเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของหองปฏิบัติการสอบเทียบในการดําเนินการเพื่อการรักษาคุณภาพของหองปฏิบัติการสอบเทียบ ใหมีความถูกตองเที่ยงตรง และเปนไปตามมาตรฐานสากล รวมทั้งสงเสริมจรรยาบรรณในการบริการสอบเทียบ

Page 141: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 141 ~

ของหองปฏิบัติการ เพื่อใหเปนประโยชนตอการผลิต การควบคุมคุณภาพในภาคอุตสาหกรรม และการสงออกโดยรวมของประเทศ มีวัตถุประสงค 1) ทําหนาที่เปนตัวกลางในการติดตอประสานงานดานมาตรวิทยากับหนวยงานตางๆ ในภาครัฐ และ/หรือเอกชนทั้งภายในและตางประเทศ 2) ทําหนาที่เปนศูนยกลางในการรักษาไว ซึ่งคุณภาพของหองปฏิบัติการสอบเทียบที่ดี (Good Laboratory Practice–GLP) 3) ประชาสัมพันธไปยังหนวยงานตางๆ ซึ ่ง เปนการใหขอมูลแกผู ตองการใชบริการ และรักษาประโยชนอันพึงไดของผูใชบริการ 4) สงเสริมหองปฏิบัติการสอบเทียบใหประกอบการอยางมีจรรยาบรรณ 5) ประกอบกิจกรรมอ่ืนใดอันเปนประโยชนแกสมาชิก ผูใชบริการ และสาธารณประโยชน

เครือขายหองปฏิบัติการมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ ฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพของสถาบันฯ ไดดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรชาติดานมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพที่กําหนดใหมีการทํางานในลักษณะเปนเครือขาย ระหวางหองปฏิบั ติการเคมีของหนวยงานของรัฐ ทั้ งจากสถาบันการศึกษาและที่สังกัดกระทรวงในรอบป 2550 โดยสามารถรวบรวมผูแทนจากหองปฏิบัติการเคมีไดจํานวน 32 แหง แบงเปนจากสถาบันการศึกษา 2 แหง และจากกระทรวง 30 แหง สถาบันฯ ไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ โดยมีผูอํานวยการสถาบันฯ ทําหนาที่ประธานคณะกรรมการ หัวหนาฝายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพทําหนาที่กรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการฯ ไดมีการจัดประชุมรวม 5 คร้ัง สามารถกําหนดเกณฑ (Designation criteria) ที่จะใชพิจารณามอบหมายใหหองปฏิบัติการทําหนาที่ในการเขาเปรียบเทียบแสดงความสามารถในการวัด พรอมทั้งแตงตั้งคณะทํางานโครงการทดสอบความชํานาญดานการวัดทางเคมี เพื่อรวบรวมความตองการและจัดใหมีโครงการทดสอบความชํานาญที่เปนไปตามมาตรฐานสากล

นอกจากนี้เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบภายในประเทศ สถาบันฯ ยังไดดําเนินการสนับสนุนการแตงตั้งคณะกรรมการทางเทคนิค (ชมรมมาตรวิทยา) ในแตละสาขาการวัด เชน Dimensional Club, Torque Club และ Mass Club เปนตน เพื่อสนับสนุนใหเกิดความรวมมือดานการวัดและการสอบเทียบระหวางหองปฏิบัติการของภาครัฐและเอกชน อาทิ การสํารวจขอมูลความตองการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเปรียบเทียบผลการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบ และการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT) ของหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ ระหวางหองปฏิบัติการของภาครัฐและเอกชน ตลอดจนเพื่อใหเปนเวทีแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการดานเทคนิคการวัด

สถาบันฯ ไดจัดกิจกรรมภายใตชมรมมาตรวิทยา เพื่อรับทราบขอมูลเบื้องตนทางเทคนิคดานการวัด ปญหาความตองการ ตลอดจนขอเสนอแนะในการพัฒนาระบบมาตรวิทยาสาขาการวัดตางๆ และแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการดานมาตรวิทยาในรูปแบบของชมรม เชน จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารเครือขายมาตรวิทยาสาขาตาง ๆ การจัดการเปรียบเทียบการวัดภายในประเทศในสาขาการวัดตางๆ การจัดฝกอบรมดานเทคนิคการวัดภายในชมรม เปนตน

Page 142: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 142 ~

สถาบันฯ ไดดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัดระหวางหองปฏิบัติการสอบเทียบและการทดสอบความชํานาญ (Proficiency Testing Program: PT Program) ของหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบเปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อพัฒนาศักยภาพดานการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบและหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบภายในประเทศใหมีประสิทธิภาพ เปนที่ยอมรับ เชื่อถือและสอดคลองตามมาตรฐานสากล การเปรียบเทียบผลการวัดดังกลาว สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนผูดําเนินการเปรียบเทียบผลการวัด จัดเตรียมตัวกลางสําหรับทําการวัด (Artifact) พรอมทั้งจัดสงใหหองปฏิบัติการสอบเทียบแตละแหง เพื่อดําเนินการวัดตามชวงเวลาที่กําหนดไว เมื่อทําการวัดเปรียบเทียบผลการวัดครบทุกหองปฏิบัติการแลว สถาบันฯ จะดําเนินการรวบรวมและรายงานผลไปยังหองปฏิบัติการที่เขารวมโครงการ

สถาบันฯ ไดมีการจัดทํารูปแบบมาตรฐานในการเขียน Traceability จําแนกตามหนวยวัดตาง ๆ หรือ Traceability Chart ซึ่งแสดงใหเห็นวาหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิสามารถสอบกลับไดถึงมาตรฐานแหงชาติตามหนวยวัดตางๆ ทั้งนี้เมื่อมีการจําแนกขอบเขตงานระหวางสถาบันฯ และหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิ ผูใชบริการก็สามารถเขาใจความแตกตางและเลือกใชบริการได

โครงการที่ 2.2.3 โครงการเสริมสรางความรวมมือ ผลการดําเนินงาน: สถาบันฯ ไดรวมมือกับหนวยงานอื่น เพื่อสรางเปนเครือขาย

มาตรฐานแหงชาติ เชน สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ เครือขายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ เปนตน ทั้งนี้หากเครื่องมือวัดภายในประเทศสามารถสอบกลับสูมาตรฐานแหงชาติไดทั้งหมด หรือเปนสวนใหญก็จะสามารถสรางความเชื่อถือตอคาวัด อันเปนพื้นฐานสําคัญที่นําไปสูการยอมรับผลการทดสอบ (testing) และผลการตรวจสอบ (inspection) ของผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

ความรวมมือ คําแนะนํา ตลอดจนความชวยเหลือจากองคกรมาตรวิทยาตางประเทศเปนปจจัยสําคัญที่สงเสริมใหสามารถพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติใหมีประสิทธิภาพ และเจริญกาวหนาทัดเทียมระบบมาตรวิทยาในประเทศอื่นๆ สถาบันฯ เปนตัวแทนของประเทศ เขารวมประชุมนานาชาติ เพื่อรับทราบและออกเสียงลงมติยอมรับกฎกติกาขอตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวกับมาตรวิทยา กับองคกรมาตรวิทยาระหวางประเทศ ไดแก Bureau International des Poids et Mesures (BIPM), Asia Pacific Metrology Programme (APMP), และ International Measurement Confederation (IMEKO) เปนตน ซึ่งเปนโอกาสใหสถาบันฯ เปนที่รูจัก และเปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เอื้อประโยชนในการเจรจาความชวยเหลือที่เปนประโยชนตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ

สถาบันฯ ยังมีโครงการรวมมือกับสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติในประเทศอุตสาหกรรมชั้นนํา เชน โครงการ Strengthening of National Institute of Metrology Thailand (NIMT) Phase II between NIMT and Japan International Cooperation Agency (JICA), โครงการ The

Page 143: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 143 ~

Promotion of the Thai Calibration Service and Physikalisch-Technische Bundesanstalt (PTB), และ โครงการ The Project for the Collaboration between National Institute of Metrology Thailand (NIMT) and Vietnam Metrology Institute (VMI) เปนตน

โครงการที่ 2.2.4 โครงการศึกษาความเปนไปไดในการยกรางกฎหมายที่มีสภาพบังคับใชดานมาตรวิทยา ผลการดําเนินงาน: ประเทศไทยมีระบบการวัดแหงชาติที่สอดคลองกับนานา

ประเทศ 2 ระบบ คือ (1) ระบบการวัดแหงชาติเชิงพาณิชยหรือเชิงกฎหมาย (Legal Metrology) เปน

ระบบการวัดแหงชาติที่มีวัตถุประสงคเพื่อรักษาความถูกตองและเปนธรรมในการชั่งตวงวัดในเชิงพาณิชยหรือในเชิงกฎหมายตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติ ชั่ง ตวง วัด พ.ศ.2542 (เดิม พ.ศ.2466) โดยมีสํานักงานกลางชั่งตวงวัด กระทรวงพาณิชย เปนหนวยงานหลักรับผิดชอบในการดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายฉบับดังกลาว (อํานาจหนาที่หลักของสํานักงานกลางชั่งตวงวัด คือ การกําหนดความถูกตองของการชั่งตวงวัดในเชิงพาณิชย เพื่อความเปนธรรมในการซื้อขาย แลกเปลี่ยน รวมถึงการควบคุมใหมีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ชั่ง ตวง วัด อยางเครงครัดดวย ขอบเขตความรับผิดชอบของสํานักชั่งตวงวัด มิไดจํากัดอยูในสวนกลางเทานั้น ยังครอบคลุมไปทั่วประเทศ โดยผานสํานักงานพาณิชยจังหวัดของแตละจังหวัด

(2) ระบบการวัดแหงชาติทางวิทยาศาสตรและอุตสาหกรรม (Scientific Metrology or Industrial Metrology) เปนระบบการวัดแหงชาติที่มุงเนนในการสถาปนาและรักษามาตรฐานการวัดแหงชาติ ที่มีความถูกตองสูงสุดตามระบบการวัดสากลหรือระบบหนวยวัด SI (International System of Units) ซึ่งเปนพื้นฐานการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สําหรับการผลิตและการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑในเชิงอุตสาหกรรม การดําเนินการเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของระบบการวัดแหงชาติทางวิทยาศาสตร และอุตสาหกรรมนี้อยูภายใตความรับผิดชอบของสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตามพระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ.2540 (รายละเอียดในแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 ภาคผนวก ก) ซึ่งนอกจากกําหนดใหสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติเปนหนวยงานที่รักษามาตรฐานการวัดแหงชาติแลว ยังกําหนดใหสถาบันฯ สนับสนุนการถายทอดความถูกตองของมาตรฐานการวัดในระบบหนวยวัด SI สูผูใชงานภาคอุตสาหกรรม โดยผานหองปฏิบัติการสอบเทียบ เครื่องมือวัดของทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งการใหความรู การฝกอบรมและสนับสนุนการวิจับและพัฒนาดานมาตรวิทยาดวย

นอกจากนี้ ปจจุบันมีการยกรางกฎหมายที่รองรับ สนับสนุน กิจกรรมดานมาตรวิทยา และกิจกรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับมาตรวิทยา ไดแก พระราชบัญญัติพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ พ.ศ. 2540 และมีการประกาศกําหนดมาตรฐานแหงชาติ ในประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เร่ืองกําหนด

Page 144: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 144 ~

มาตรฐานแหงชาติ เกี่ยวกับการวัดปริมาณ เครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอางอิงที่ใชในการวัดปริมาณ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2549 (รายละเอียดในแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 ภาคผนวก ข)

Page 145: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 145 ~

Page 146: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 146 ~

ภาคผนวก ช. ผลการสํารวจความตองการสอบเทียบและจํานวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

Page 147: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 147 ~

Page 148: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 148 ~

ผลการสํารวจความตองการและจํานวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

สถาบันฯ ดําเนินการสํารวจความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม พบวา

ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมมีความตองการในหลายประเด็น ดังนี้ 1. ความตองการความรูและเทคนิคดานมาตรวิทยา ไดแก

- การสอบเทียบเครื่องมือวัดตางๆ ไดแก เครื่องชั่ง, pH Meter, เทอรโมมิเตอร, ตลับเมตร, ฟุตเหล็ก, เครื่องมือวัดทางเซรามิก และเครื่องแกว, เครื่องวัดความหนา, vernier, เครื่องมือวัดดานความดัน, มิติ, ไฟฟา และดานการไหล

- ความรูทางดานวิชาการเกี่ยวกับการสอบเทียบ ไดแก ความสําคัญของการสอบเทียบเครื่องมือวัด, การใชงานเครื่องมือวัดประเภทตางๆ อยางถูกตอง, ความไมแนนอนของการวัด, การแกปญหาทางเทคนิคดานการวัด, การอานใบรับรองผลการสอบเทียบ, การปรับต้ังเครื่องมือวัด, วิธีการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดชนิดตางๆ และวิธีการลดตนทุนในการสอบเทียบ

- การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Work Shop) เกี่ยวกับการสอบเทียบในสาขาการวัดตางๆ เชน มิติ, แรง, อุณหภูมิและความชื้น, แสง, อินฟราเรด (IR)

2. ตองการใหมีการขยายขอบขายขีดความสามารถสาขาการสอบเทียบของหองปฏบัิติการสอบเทยีบ และหองปฏิบัติการวิเคราะหเคมีและชีวภาพ

3. ตองการใหมีการเพิ่มจํานวนหองปฏิบัติการสอบเทียบและหองปฏิบัติการวิเคราะหเคมีและชีวภาพ โดยใหมีการกระจายใหทั่วทุกภูมิภาค

4. ตองการใหมีการควบคุมและกํากับดูแลหองปฏิบัติการสอบเทียบและหองปฏิบัติการวิเคราะหเคมีและชีวภาพในดานคุณภาพใหมีมาตรฐาน การใหบริการสอบเทียบที่รวดเร็ว การกําหนดอัตราบริการสอบเทียบมาตรฐาน และควรมีบริการสอบเทียบเคลื่อนที่

5. ตองการความชวยเหลือจากภาครัฐ ในดานนโยบาย และการสรางเครือขายความรวมมือระหวางภาครัฐกับภาคอุตสาหกรรม

จากผลการสํารวจขางตนสามารถประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ พ.ศ.2550 มีจํานวนประมาณ 7.9 ลานชิ้น จํานวนเครื่องมือวัดของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีจํานวนมากที่สุด ประมาณ 3.3 ลานชิ้น และอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนรถยนต มีจํานวนมากเปนอันดับสอง ประมาณ 1.7 ลานชิ้น ดังนําเสนอในตารางที่ 21

Page 149: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 149 ~

ตารางที่ 21 จํานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรมของประเทศ พ.ศ. 2549-2550 จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ประเภทอุตสาหกรรม

จํานวนเครื่องมือวัดเฉล่ียตอโรงงาน

จํานวนโรงงานทัว่ประเทศ

ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัด (ชิ้น)

ป 2549 ป 2550 ป 2549 ป 2550

ส่ิงทอและเครือ่งนุงหม 17 4,933 4,908 83,861 83,436 รองเทาและเครื่องหนงั 10 880 859 8,800 8,590 ยานยนตและชิ้นสวนรถยนต 129 13,642 13,621 1,759,818 1,757,109 ไฟฟาและอิเลก็ทรอนกิส 121 3,450 3,539 417,450 428,219 เหล็กและเหลก็กลา 47 11,424 11,573 536,928 543,931 เซรามิกและเครื่องแกว 61 1,429 1,424 87,169 86,864 อัญมณีและเครื่องประดับ 24 769 781 18,456 18,744 อาหารและเครื่องดื่ม 71 49,020 48,907 3,480,420 3,472,397 ไมและเครื่องเรือน 37 8,025 8,259 296,925 305,583 ยางพาราและผลิตภัณฑ 46 2,170 2,161 99,820 99,406 ปโตรเลียมและกาซ 147 604 638 88,788 93,786 พลาสติก 57 5,032 5,152 286,824 293,664 ยาและเคมีภัณฑ 39 1,557 1,552 60,723 60,528 อ่ืนๆ 31 22,412 23,430 694,772 726,330

รวม 125,347 126,804 7,920,754 7,978,587 ที่มา: 1. สถติิสะสมจาํนวนจาํนวนโรงงานที่ไดรับอนญุาตใหประกอบกิจการ ตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535

ณ ส้ินป พ.ศ. 2550, กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2. การสํารวจจํานวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ.2549-2550 สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 150: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 150 ~

ตารางที่ 22 ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับรองระบบบริหารงานคุณภาพทั้งประเทศ จําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม

ประเภทอุตสาหกรรม

จํานวนเครื่องมือวัดเฉล่ียตอโรงงาน

จํานวนโรงงานที่ไดรับ ISO

ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัด (ชิ้น)

ป 2549 ป 2550 ป 2549 ป 2550

ส่ิงทอและเครื่องนุงหม 17 257 263 4,369 4,471 รองเทาและเครื่องหนัง 10 46 49 460 490 ยานยนตและชิ้นสวนรถยนต 129 599 652 77,271 84,108 ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 121 672 758 81,312 91,718 เหล็กและเหล็กกลา 47 522 603 24,534 28,341 เซรามิกและเครื่องแกว 61 79 80 4,819 4,880 อัญมณีและเครื่องประดับ 24 52 56 1,248 1,344 อาหารและเครื่องดื่ม 71 341 369 24,211 26,199 ไมและเครื่องเรือน 37 92 98 3,404 3,626 ยางพาราและผลิตภัณฑ 46 174 194 8,004 8,924 ปโตรเลียมและกาซ 147 125 141 18,375 20,727 พลาสติก 57 345 375 19,665 21,375 ยาและเคมีภัณฑ 39 508 561 19,812 21,879 อื่นๆ 31 2,653 2,939 82,243 91,109

รวม 6,465 7,138 369,727 409,191 ที่มา: 1. สถิติสะสมจํานวนโรงงานที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการ ตาม พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ณ ส้ินป พ.ศ. 2550,

กรมโรงงานอุตสาหกรรม 2. สถิติจํานวนโรงงานที่ไดรับ ISO, มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม 3. การสํารวจจํานวนเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ.2549-2550, สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

สรุปสถานภาพเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม 1. ประมาณการจํานวนเครื่องมือวัดของโรงงานภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ พ.ศ.2550 มีจํานวน

ประมาณ 7.9 ลานชิ้น และมีจํานวนเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบอยางถูกตองประมาณ 4 แสนชิ้น คิดเปนรอยละ 5

2. กลุมผูใชบริการมาตรวิทยา ไดแก ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมและประชาชนที่ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นประโยชนของระบบมาตรวิทยามีเปนสวนนอย

Page 151: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 151 ~

Page 152: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 152 ~

ภาคผนวก ซ. ผลการสํารวจจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด

และขีดความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

Page 153: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 153 ~

Page 154: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 154 ~

ผลการสํารวจจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และขีดความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

จากผลการสํารวจ ณ ตุลาคม พ.ศ.2551 ในประเทศมีหองปฏิบัติการสอบเทียบอยูทั้งหมด จํานวน 138 แหง

ในจํานวนนี้มีหองปฏิบัติการสอบเทียบ จํานวน 80 แหง ไดผานการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 คิดเปนรอยละ 58 สําหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบที่ยังไมไดรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 นั้น จําเปนจะตองเขารวมโปรแกรมการวัดเปรียบเทียบ เพื่อนําผลไปประกอบการขอรับการรับรองความสามารถหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ตอไป

มีหองปฏิบัติการจํานวนมากที่มีความตองการเขารับการฝกอบรมดานการสอบเทียบและการพัฒนาระบบคุณภาพ เพื่อที่จะขยายขีดความสามารถการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด และพัฒนาบุคลากรของหองปฏิบัติการใหมีความสามารถในการใหคําปรึกษาดานมาตรวิทยาแกภาคอุตสาหกรรมที่มาขอใชบริการสอบเทียบ

สถาบันฯ ไดดําเนินการสํารวจการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ พบวาจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิทั่วประเทศ ใน พ.ศ.2550 มีจํานวนประมาณ 2.6 แสนชิ้น เมื่อรวมจํานวนเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบภายในโรงงานอุตสาหกรรม (In-House Calibration) ซึ่งมีประมาณ 1 แสนชิ้น ดังนั้นเครื่องมือวัดทั่วประเทศที่ไดรับการสอบเทียบมีประมาณ 4 แสนชิ้น เมื่อประมาณการเครื่องมือวัดที่ไดรับการสอบเทียบ โดยการประมาณการเครื่องมือวัดของโรงงานที่ไดรับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพแลวพบวามีจํานวนใกลเคียงกัน คือประมาณ 4 แสนชิ้น รายละเอียดดังแสดงในแผนภาพที่ 11 และ ตารางที่ 23

นอกจากนี้ยังพบวาจํานวนและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิในสวนภูมิภาคยังมีไมเพียงพอตอความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม รายละเอียดดังแสดงในแผนภาพที่ 12

Page 155: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 155 ~

แผนภาพที่ 11 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบ พ.ศ.2550

จําแนกตามสาขาการวัด

ตารางที่ 23 ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถทางการวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ จําแนกตามสาขาการวัด

สาขาการวัด จํานวนการใหบริการสอบเทียบ

จากการสํารวจ

ประมาณการจํานวนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการสอบ

เทียบระดับทุติยภูมิ (ชิ้น) ป 2549 ป 2550 ป 2549 ป 2550

มิติ 7,053 9,673 27,809 38,139 มวลและความหนาแนน 12,593 18,609 49,652 73,373 แรง 528 626 2,082 2,468 แรงบิด 873 890 3,442 3,509 อัตราการไหล 601 598 2,370 2,358 ไฟฟา เวลา และความถี่ 9,220 10,442 36,353 41,171 ความดันและสูญญากาศ 5,182 6,104 20,432 24,067 อุณหภูมิ 12,871 15,669 50,749 61,781 แสง 670 865 2,642 3,411 เสียงและการสั่นสะเทือน 610 553 2,405 2,180 เคมีและชีวภาพ 3,130 2,388 12,341 9,416

รวม 53,331 66,417 210,277 261,873

ที่มา: การสํารวจการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการสอบเทียบจํานวน 35 หองปฏิบัติการ พ.ศ.2549-2550 สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

Page 156: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 156 ~

แผนภาพที่ 12 จํานวนหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบที่ไดรับการรับรองความสามารถ ISO/IEC 17025 ทั้งประเทศ พ.ศ.2550 จําแนกตามภาค

สรปุสถานภาพหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบและสอบเทยีบระดับทุติยภมู ิ

1. ขอบขายการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิยังไมสามารถตอบสนองความตองการดานมาตรวิทยาในประเทศไดอยางเพียงพอ

2. จํานวนและการกระจายตัวของหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบระดับทุติยภูมิในสวนภูมิภาคยังมีไมเพียงพอตอความตองการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

หองปฏิบัติการสอบเทียบ 3 แหง หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ 9 แหง

หองปฏิบัติการสอบเทียบ 72 แหง หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ 140 แหง

หองปฏิบัติการสอบเทียบ 2 แหง หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ 4 แหง

หองปฏิบัติการสอบเทียบ 3 แหง หองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ 6 แหง รวมหองปฏิบัติการสอบเทียบ 80 แหง

รวมหองปฏิบัติการวิเคราะหทดสอบ 159 แหง

Page 157: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 157 ~

Page 158: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 158 ~

ภาคผนวก ฌ. ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาใหเขมแข็ง

Page 159: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 159 ~

Page 160: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 160 ~

ผลกระทบจากการพัฒนาระบบมาตรวิทยาใหเขมแข็ง

1. การลดการใชเงินตราตางประเทศในการสงเครื่องมือวัดไปทําการสอบเทียบในตางประเทศ สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสอบเทียบเครื่องมือวัดใหแกหองปฏิบติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ

ประมาณปละ 3,400 ชิ้น คาบริการสอบเทียบที่เรียกเก็บจากหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิเฉลี่ย 4,000 บาทตอชิ้น (คาบริการสอบเทียบที่สถาบันฯ ไดรับประมาณ 13 ลานบาทตอป คาบริการต่ําสุด 1,800 บาทตอชิ้น สูงสุด 60,000 บาทตอชิ้น) ทั้งนี้หากประเทศไทย ไมมีสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิจะตองสงเครื่องมือดังกลาวไปสอบเทียบในตางประเทศทั้งหมด คาใชจายในการสงเครื่องมือไปสอบเทียบตางประเทศประมาณ 3 แสนบาทตอชิ้น คิดเปนเงินที่ตองสูญเสียในการสงเครื่องมือวัดไปทําการสอบเทียบตางประเทศเปนเงิน 1 พันลานบาท ทางหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิจะผลักภาระใหกับภาคอุตสาหกรรมที่สงเครื่องมือวัดมาทําการสอบเทียบ คาบริการสอบเทียบเครื่องมือที่ภาคอุตสาหกรรมจะตองจายใหกับหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิจะมีอัตราคาบริการสูงขึ้นกวาเดิมมาก เพราะตองรับภาระคาสอบเทียบที่หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิตองสงเครื่องมือไปสอบเทียบกับตางประเทศเพิ่มข้ึน การที่มีสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติทําใหหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิไมตองสงเครื่องมือไปสอบเทียบยังตางประเทศเพิ่มข้ึน ซึ่งเปนการลดตนทุนการผลิตของภาคอุตสาหกรรมในประเทศ

2. การลดการใชเงินตราตางประเทศในการสั่งซ้ือวัสดุอางอิงมาตรฐานจากตางประเทศ

ประเทศไทยสูญเสียเงินตราตางประเทศในการสั่งซื้อวัสดุอางอิงมาตรฐานจากตางประเทศประมาณปละ 1.5 พันลานบาท การที่สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติและเครือขายหองปฏิบัติการสามารถผลิตวัสดุอางอิงมาตรฐานสําหรับการวิเคราะหและทดสอบทางอาหาร สุขภาพ และสิ่งแวดลอมข้ึนในประเทศไทย จะเปนการลดงบประมาณที่แตละหองปฏิบัติการและภาคอุตสาหกรรมจะตองสั่งซื้อวัสดุอางอิงมาตรฐานจากตางประเทศมาใชในการวิเคราะหและทดสอบไดถึง 1.5 พันลานบาทตอป นอกจากนี้การที่สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติสามารถผลิตวัสดุอางอิงมาตรฐานไดในประเทศ ทําใหประเทศไทยสามารถจําหนายวัสดุอางอิงมาตรฐานเปนสินคาสงออกได อันเปนการเพิ่มรายไดใหกับประเทศอีกทางหนึ่ง สถาบันฯ ไดรับงบประมาณในการดําเนินงานเฉลี่ยปละ 200 ลานบาท ผลกระทบจากการลดการใชเงินตราตางประเทศในการสงเครื่องมือไปทําการสอบเทียบในตางประเทศ และผลกระทบจากการลดการสั่งซื้อวัสดุอางอิงมาตรฐานจากตางประเทศ รวมกันมีมูลคาประมาณ 2.5 พันลานบาท ซึ่งผลกระทบดังกลาวนี้มีมูลคาสูงกวางบประมาณในการดําเนินงานของสถาบันฯ ถึง 12.5 เทา ที่มา: 1. สถิติสะสมจํานวนการใหบริการของสถาบันมาตรวิทยา พ.ศ. 2551 รายงานประจําป 2551 สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ 2. สถิติการนําเขาวัสดุอางอิงมาตรฐาน ณ ส้ินป พ.ศ. 2551 กรมศุลกากร

Page 161: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 161 ~

Page 162: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 162 ~

ภาคผนวก ญ. แผนการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธฯ

Page 163: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 163 ~

Page 164: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 164 ~

แผนการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยา (พ.ศ.2552-2555) ในการจัดทําแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) มีกระบวนการดังนี้

1. การประชุมระดมความคิดเห็นของพนักงานอาวุโสของสถาบันเพื่อกําหนดแนวทางในการจัดทําแผนกลยุทธฯ

2. ศึกษาวิเคราะหแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พ.ศ.2552-2554) 3. ศึกษาวิเคราะหแผนแมบทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2552-2559) 4. ศึกษาและสํารวจ

- ความตองการดานการสอบเทียบเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม - การใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดและขีดความสามารถของหองปฏิบัติการสอบเทียบระดับทุติยภูมิ - ความพึงพอใจงานสนับสนุนการใหบริการสอบเทียบเครื่องมือวัดของสถาบันฯ - ความพึงพอใจการใหบริการฝกอบรมของสถาบันฯ - ผลการประเมินโครงการยกระดับคุณภาพเครื่องมือวัดของภาคอุตสาหกรรม

5) จัดสัมมนาและสํารวจความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียตอการพัฒนาระบบมาตรวิทยา 6) การประชุมสัมมนาภายใตชมรมมาตรวิทยา 7) การประชุมสัมมนาเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของหองปฏิบัติการสอบเทียบ 8) การประชุมชมรมวิชาการมาตรวิทยาสาขาตางๆ 9) จัดสัมมนาระดมสมองระดมความคิดเพื่อการพัฒนาระบบมาตรวิทยา เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2551

ซึ่งมีผูเขารวมการสัมมนาระดมสมองประกอบดวย ผูแทนหองปฏิบัติการวิเคราะห ทดสอบ และสอบเทียบ ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรม ผูแทนภาคการศึกษา พนักงานสถาบันฯ และผูที่มีสวนเกี่ยวของกับระบบมาตรวิทยาทั้งหนวยงานภาครัฐและหนวยงานภาคเอกชน จํานวน 201คน

10) พิจารณาทบทวนการวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) โดยพนักงานอาวุโสของสถาบัน 11) จัดทํารางแผนกลยุทธสถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (พ.ศ.2552-2555) 12) จัดสัมมนาระดมความคิดเพื่อวิพากษรางแผนแมบทฯ เพื่อรับฟงขอคิดและขอเสนอแนะใน

การปรับปรุงรางแผนแมบทฯ ใหมีความสมบูรณสอดคลองกับแผนแมบทการพัฒนาระบบมาตรวิทยาแหงชาติ และแผนปฏิบัติราชการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2552

13) นําเสนอรางแผนกลยุทธฯตอที่ประชุมคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ คร้ังที่ 4/2552 ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 และครั้งที่ 5/2552 ในวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ.2552 เพื่อพิจารณาและใหขอคิดในการปรับแกไข

14) นําเสนอรางแผนกลยุทธฯตอที่ประชุมคณะอนุกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ คร้ังที่ 3/2552 เพื่อพิจารณาและใหขอคิดในการปรับแกไข ในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2552

Page 165: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 165 ~

15) ปรับปรุงรางแผนกลยุทธตามขอคิดเห็น 16) เสนอคณะคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ ครั้งที่ 1/2553 เพื่อขอความเห็นชอบอนุมัติ

แผนกลยุทธฯ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ.2553 (หมายเหตุ ไดรับการอนุมัติแผนกลยุทธฯ จากคณะกรรมการมาตรวิทยาแหงชาติ ในวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ.2553)

17) เผยแพรแผนกลยุทธตอสาธารณะและสวนงานที่รับผิดชอบ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติและการเรียนรูรวมกัน

Page 166: แผนกลยุทธ์สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (พ.ศ.2552-2555)

~ 166 ~

National Institute of Metrology (Thailand) Ministry of Science and Technology

3/ 4 – 5 Moo 3, Klong Luang,Pathumthani 12120, Thailand Tel. +66 2577 5100 Fax. +66 2577 2859

www.nimt.or.th

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 / 4 -5 หมูท่ี 3 ตําบลคลองหา อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2577 5100 โทรสาร 0 2577 2859 www.nimt.or.th