40
06/09/58 1 1 บทที 4 ท่อสาย 2 - ท่อสาย ( Raceways ) เป็นอุปกรณ์ลักษณะเป็น ท่อกลม หรือ ช่องสีเหลียม ผิวในเรียบ - ใช้ในการ เดินสายไฟฟ้ าโดยเฉพาะ - ทําจาก โลหะ หรือ อโลหะ ก็ได้ 4.1 บทนํา 4.1 บทนํา

บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

  • Upload
    vandieu

  • View
    237

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

1

1

บทที� 4 ท่อสาย

2

- ท่อสาย ( Raceways ) เป็นอปุกรณ์ลกัษณะเป็น

ท่อกลม หรือ ช่องสี�เหลี�ยม ผิวในเรียบ

- ใช้ในการ เดินสายไฟฟ้าโดยเฉพาะ

- ทาํจาก โลหะ หรือ อโลหะ กไ็ด้

4.1 บทนํา4.1 บทนํา

Page 2: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

2

3

ประโยชน์ของการใช้ท่อสาย

1) ป้องกนัสายไฟฟ้าจาก ความเสียหายทางกายภาพ

2) ป้องกนัอนัตรายกบัคนที�อาจจะไป แตะถกูสายไฟฟ้า

3) สะดวกต่อการร้อยสาย และ เปลี�ยนสายไฟฟ้าสายใหม่

4) ท่อสายที�เป็นโลหะ จะต้องมีการต่อลงดิน

5) สามารถ ป้องกนัไฟไหม้ได้ เนื�องจากการเกิด

การลดัวงจรภายในท่อ ประกายไฟ หรือความร้อน

จะถกูจาํกดัอยู่ภายในท่อ

4

- ท่อโลหะหนา ( Rigid Metal Conduit )

- ท่อโลหะหนาปานกลาง ( Intermediate Metal Conduit )

- ท่อโลหะบาง ( Electrical Metallic Tubing )

- ท่อโลหะอ่อน( Flexible Metal Conduit )

- ท่ออโลหะแขง็ ( Rigid Nonmetallic Conduit )

- รางเดินสาย( Wireways )

- รางเดินสายประกอบ ( Auxiliary Gutters )

4.2 ชนิดของท่อร้อยสาย4.2 ชนิดของท่อร้อยสาย

Page 3: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

3

5

- เป็นท่อที�มีความ แขง็แรงที�สดุ

- สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมต่างๆได้ดี

- ถ้าทาํจากเหลก็กล้าเรียกว่า

ท่อ RSC ( Rigid Steel Conduit )

- ผ่านการชุบด้วย สงักะสี ( Galvanized ) ป้องกนัสนิม

4.3 ท่อโลหะหนา ( Rigid Metal Conduit, RMC )4.3 ท่อโลหะหนา ( Rigid Metal Conduit, RMC )

6

รปูที� 4.1 ท่อ RSC

สถานที�ใช้งาน - ใช้งานได้ทุกสถานที� และ สภาวะอากาศสามารถใช้ได้ทั �ง ภายใน และภายนอกอาคารและสามารถฝังใต้ดินได้

ขนาดมาตรฐาน - มีขนาดเส้นผ่านศนูยก์ลาง15 mm (1/2”) -150 mm (6”)

- ความยาวท่อนละ 3 m

Page 4: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

4

7

การติดตั �ง - ในสถานที�เปียก ( Wet Location ) ส่วนประกอบที�ใช้ยึดท่อ เช่น Bolt, Strap และ Screw เป็นต้นต้องเป็นชนิดที�ทนต่อการผกุร่อน

- ในที�ที� มีการผกุร่อน ( Cinder Fill ) ท่อต้องเป็นชนิดที�ทนต่อการผกุร่อนได้ หรือหุ้มด้วยคอนกรีตหนาอย่างน้อย 2 นิ�ว

รปูที� 4.2 การติดตั �งท่อในที�มีการกดักร่อน

8

- การต่อท่อเข้ากบัเครื�องประกอบ ต้องใช้บชุชิ�ง ( Bushing )เพื�อป้องกนัฉนวนของสายไฟฟ้าเสียหาย

รปูที� 4.3 บชุชิ�ง

Page 5: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

5

9

- มมุดดัโค้งของท่อระหว่างจดุดึงสาย รวมกนัต้อง

ไมเ่กิน 360 องศา

รปูที� 4.4 มมุดดัโค้งท่อระหว่างจดุดึงสาย

10

- การเดินท่อต้องมีการจบัยึดให้แขง็แรง ระยะห่าง 3.0 mห่างจาก กล่องไฟฟ้าไมเ่กิน 0.9 m

รปูที� 4.5 การติดตั �งท่อ RMC

Page 6: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

6

11

การต่อสาย และ การต่อแยก- ต้องทาํภายในกล่องไฟฟ้า ( Boxes )

- ปริมาณของ สาย, ฉนวน, หวัต่อสาย ต้องไมเ่กิน 75 %

ของกล่องไฟฟ้า

รปูที� 4.6 การต่อสาย

12

การต่อท่อ- ทาํเกลียวที�ปลายท่อ

- ขนัด้วยข้อต่อ ( Coupling )

รปูที� 4.7 การต่อท่อ RMC

Page 7: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

7

13

( Intermediate Metal Conduit, IMC )- มีความหนาแน่นน้อยกว่าท่อ RMC

- ใช้แทนท่อ RMC ได้

สถานที�ใช้งาน - ทุกสถานที�เช่นเดียวกบัท่อ RMCขนาดมาตรฐาน - ขนาดเส้นผา่นศนูยก์ลาง

15 mm (1/2”) - 100 mm (4”)

- ความยาวท่อนละ 3 m

การติดตั �ง - เช่นเดียวกบัท่อ RMC

การต่อสาย และ การต่อแยก - เช่นเดียวกบัท่อ RMC

การต่อท่อ - เช่นเดียวกบัท่อ RMC

4.4 ท่อโลหะหนาปานกลาง 4.4 ท่อโลหะหนาปานกลาง

14

- ท่อที�มีผนังบางกว่าท่อ RMC และ IMC

- มีความแขง็แรงน้อยกว่า

- ราคาถกูกว่า

4.5 ท่อโลหะบาง

( Electrical MetallicTubing,EMT )

4.5 ท่อโลหะบาง

( Electrical MetallicTubing,EMT )

Page 8: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

8

15

สถานที�ใช้งาน - ใช้ได้เฉพาะภายในอาคารเท่านั �น ในที�เปิดโลง(Exposed) และ ที�ซ่อน (Conceal) ไม่ควรใช้ท่อ EMT ในที�ที�มีการกระทบทางกล ไม่ใช้ฝังใต้ดิน

ไม่ใช้ในระบบแรงสูง

ขนาดมาตรฐาน - ขนาดเส้นผา่นศนูยก์ลาง

15 mm (1/2”) - 50 mm (2”)

- ความยาวท่อนละ 3 m

การติดตั �ง - เช่นเดียวกบัท่อ RMC ไม่อนุญาตให้ใช้ท่อ EMT

เป็นตวันําสาํหรบัต่อลงดิน

16

การต่อสาย และการต่อแยก เช่นเดียวกบัท่อ RMC

การต่อท่อ ท่อ EMT ห้ามทาํเกลียว การต่อท่อจะ

ใช้ข้อติอชนิดไม่มีเกลียว เช่น แบบใช้สกรไูข ดงัรปู

รปูที� 4.8 การต่อท่อ EMT

Page 9: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

9

17

- ทาํจากเหลก็ชุบสงักะสี

- มีความอ่อนตวัสงู

- สามารถโค้งงอได้

รปูที� 4.9 ท่อโลหะอ่อน

4.6 ท่อโลหะอ่อน ( Flexible Metal Conduit, FMC )4.6 ท่อโลหะอ่อน ( Flexible Metal Conduit, FMC )

18

สถานที�ใช้งาน ใช้งานกบัอปุกรณ์ที�มีการสั �นสะเทือนขณะใช้งานเช่น มอเตอร ์เครื�องจกัรต่างๆ งานที� ต้องการการโค้งงอด้วยมมุหกัสูงๆไม่อนุญาตให้ใช้ในบางกรณี เช่น

- ในปล่องลิฟต์ หรือปล่องขนของ- ในห้องแบตเตอรี�

- ในสถานที�อนัตราย- ในสถานที�เปียก - ฝังในดิน หรือ ฝังในคอนกรีต

Page 10: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

10

19

รปูที� 4.10 การใช้งานท่อ FMC

20

ขนาดมาตรฐาน

- ขนาดเส้นผ่านศนูยก์ลาง

15 mm (1/2”) - 80 mm (3”)

- ความยาวท่อนละ 3 m

Page 11: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

11

21

การติดตั �ง

- มีการจบัยึดที�มนัคงแขง็แรง ไม่เกิน 1.50 mจากกล่องไฟฟ้า ไม่เกิน 0.30 m

- มมุดดัโค้งระหว่างจดุดึงสาย รวมกนัไม่เกิน 3600

- ท่อโลหะที�มีความยาวไม่เกิน 1.80 mสามารถเป็นตวันําต่อลงดินได้

22

รปูที� 4.11 การติดตั �งท่อ FMC

Page 12: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

12

23

- ท่อ และอปุกรณ์ทาํมาจาก

อโลหะ,ไฟเบอร,์ ใยหิน, ซีเมนต,์ PVC อย่างแขง็

อีพอคซี�เสริมใยแก้ว โพลีเอทธิลีนความหนาแน่นสงู

- มีความทนต่อการกดักร่อน และกระทบกระแทกได้ดี

- ทนทานต่อความชื�น และการกดักร่อนของสารเคมี

4.7 ท่ออโลหะแขง็ ( Rigid Nonmetallic Conduit, )4.7 ท่ออโลหะแขง็ ( Rigid Nonmetallic Conduit, )

24

สถานที�ใช้งาน - ในที�เปิดโล่ง (Exposed) ที�ป้องกนัการเสียหายทางกายภาพ

- ในที�ซ่อน (Conceal) เช่น เดินซ่อนในผนัง พื�น และเพดาน

- สามารถฝังใต้ดิน เพราะมีความทนต่อความชื�นและการผกุร่อน เพื�อความแขง็แรงจะหุ้มด้วยคอนกรีต เรียกว่า

Duct Bank

รปูที� 4.12 Duct Bank

Page 13: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

13

25

- การเดินสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายเป็นแบบ

ที�มีการใช้มากที�สดุ

- จาํนวนสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายจะต้องมี

จาํนวนไม่มากเกินไป

4.8 จาํนวนสายไฟฟ้าสูงสุดในท่อร้อยสาย 4.8 จาํนวนสายไฟฟ้าสูงสุดในท่อร้อยสาย

26

- ด้วย เหตผุล 2 ประการ คือ

1) เมื�อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านสายไฟฟ้าใน

ท่อร้อยสายทาํให้ เกิดความร้อน จึงต้อง

มีที�ว่างเพื�อการระบายความร้อน

2) พื�นที�หน้าตดัรวมของสายไฟฟ้าต้องเลก็กว่า

พื�นที�หน้าตดัภายในของท่อร้อยสาย เพื�อให้

การดึงสายไฟฟ้าทาํได้สะดวก

และไม่ทาํลายฉนวนของสายไฟฟ้า

Page 14: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

14

27

ตารางที� 4.1 พื�นที�หน้าตดัรวมของสายไฟฟ้าทุกเส้นคิด เป็นร้อยละเทียบกบัพื�นที�หน้าตดัของท่อ

ตารางที� 4.2 ขนาดพื�นที�หน้าตัดของท่อร้อยสาย

ขนาดmm. ( นิ� ว )

พ.ท.หน้าตดั100 %

( mm2 )

สาย 1 เส้น53 %

( mm2 )

สาย 2 เส้น31 %

( mm2 )

สาย 3 เส้นขึ�นไป40 %

( mm2 )

15 ( 1/2 )20 ( 3/4 )25 ( 1 )

32 ( 1 1/4 )40 ( 1 1/2 )

50 ( 2 )65 ( 2 1/2 )

80 ( 3 )90 ( 3 1/2 )100 ( 4 )125 ( 5 )150 ( 6 )

177314491804

125719633318502763627854

1227217671

94166260426666

1041175926643372416365049366

5597

152249390609

102915581972243538045478

71126196322503785

132720112545314249097069

* หมายเหต-ุ ขนาดเส้นผ่านศนูยก์ลางของท่อเป็น mm หมายถึง ขนาดเส้นผ่านกลางภายใน

28

Page 15: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

15

29

หมายเหตุ

- พื�นที�หน้าตดัท่อร้อยสาย คิดจากสตูร

A = ( / 4 ) d2

โดย A = พื�นที�หน้าตดั (mm2)d = เส้นผ่านศนูยก์ลาง (mm)

ขนาดสาย สาย IEC 01 สาย NYY 1/C สาย NYY 3/C สาย NYY 4 / C สาย XLPE 1/C

ขนาดสาย( mm2)

เส้นผ่านศูนยก์ลาง

( mm )

พื�นที�หน้าตดั(mm2)

เส้นผ่านศูนยก์ลาง

(mm)

พื�นที�หน้าตดั( mm2)

เส้นผ่านศูนยก์ลาง

(mm)

พื�นที�หน้าตดั( mm2)

เส้นผ่านศูนยก์ลาง

( mm )

พื�นที�หน้าตดั( mm2)

เส้นผ่านศูนยก์ลาง

( mm )

พื�นที�หน้าตดั(mm2)

1

1.52.54

6101625

35507095

120150185

240300400500

-

3.34.04.6

5.26.77.89.7

10.912.814.617.1

18.820.923.3

26.629.633.2

-

-

8.612.616.6

21.235.247.773.8

93.3129167230

278343426

556688866

-

8.8

9.29.8

10.5

11.012.013.014.5

16.017.019.021.5

23.026.028.0

31.535.038.543.0

60.8

66.575.486.6

95.0113133165

201227284363

416531616

779962

11641452

-

---

----

-36.040.546.0

50.556.061.5

69.076.0

--

-

---

----

-101812881662

200324632971

37394537

--

-

---

----

-39.544.551.5

56.062.068.0

76.585.0

--

-

---

----

-122515552083

246330193632

45965675

--

-

6.57.07.5

8.08.59.5

11.5

12.514.015.517.5

19.521.523.8

26.529.032.536.5

-

33.138.444.1

50.256.770.8104

123154189241

299363434

5526618301046

ตารางที� 4.3 ขนาดเส้นผ่านศนูยก์ลาง และพื�นที�หน้าตดัของสายไฟฟ้า

30

Page 16: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

16

31

ตวัอย่างที� 4.1 ต้องการร้อยสาย

IEC 01 จาํนวน 5 เส้น

ซึ�งมีรายละเอียดดงันี�

3 x 240 mm2

1 x 120 mm2

G-25 mm2

จะต้องใช้ท่อขนาดเท่าใด

32

วิธีทาํ

จากตารางที� 4.3 ขนาดสาย T-4

สาย 240 mm2 มีพื�นที�หน้าตดั = 3 x 556

= 1668 mm2

สาย 120 mm2 มีพื�นที�หน้าตดั = 278 “

สาย 25 mm2 มีพื�นที�หน้าตดั = 73.8 “

พื�นที�หน้าตดัรวม = 2019.8 “

Page 17: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

17

33

พื�นที�หน้าตดัรวม = 2019.8 mm2

จากตารางที� 4.2 ขนาดพื�นที�หน้าตดัของท่อร้อยสาย

ท่อขนาด 80 mm (3”)

40 % ของพื�นที�หน้าตดั = 2011 mm2

ท่อขนาด 90 mm (3 1/2”)

40 % ของพื�นที�หน้าตดั = 2545 “

เลือก ใช้ท่อขนาด 90 mm (3 1/2”)

34

ตวัอย่างที� 4.2 สาย NYY

ขนาด 70 mm2 จาํนวน 3 เส้น

จะต้องใช้ท่อร้อยสาย ขนาดเท่าใด

Page 18: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

18

35

วิธีทาํจากตารางที� 4.3 ขนาดสาย T-6

สาย 70 mm2 มีพื�นที�หน้าตดั = 284 mm2

พื�นที�หน้าตดัรวม = 3 x 284 “

= 852 “

จากตารางที� 4.2 ขนาดพื�นที�หน้าตดัของท่อร้อยสาย

ท่อขนาด 50 mm (2”) 40 % ของพื�นที�หน้าตดั = 785 mm2

ท่อขนาด 65 mm (2 1/2”) 40 % ของพื�นที�หน้าตดั = 1327 “

เลือก ใช้ท่อขนาด 65 mm (2 1/2”)

36

ตวัอย่างที� 4.3 ต้องการร้อยสายไฟฟ้า XLPE

ขนาด 95 mm2 ถ้าเดินใน

ท่อขนาด 65 mm ( 2 1/2 “ )

จะได้มากที�สดุกี�เส้น

Page 19: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

19

37

วิธีทาํจากตารางที� 4.3 ขนาดสาย XLPE

สาย 95 mm2 มีพื�นที�หน้าตดั = 241 mm2

จากตารางที� 4.2 ขนาดพื�นที�หน้าตดัของท่อร้อยสาย

ได้ว่า 40 % ของพื�นที�หน้าตดัของท่อร้อยสาย

ท่อขนาด 65 mm (2 1/2”)

40 % ของพื�นที�หน้าตดั = 1327 mm2

จะได้จาํนวนสายไฟฟ้า = 1327 / 241 = 5.55

จาํนวนสายมากที�สุดคือ 5 เส้น

ท่อขนาด 65 mm ( 2 1/2”)

ตารางที� 4.4 จาํนวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกนั มอก. 11 – 2553 รหสัชนิด 60227 IEC 01 ที�ให้ใช้ในท่อโลหะตาม มอก. 770 - 2533

ขนาดสายไฟ( mm2 ) จาํนวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้า ( IEC 01 ) ในท่อร้อยสาย

1.5 8 14 22 37 - - - - - - - -2.5 5 10 15 25 39 - - - - - - -4 4 7 11 19 30 - - - - - - -6 3 5 9 15 23 37 - - - - - -10 2 3 5 9 14 22 37 - - - - -16 1 2 4 6 10 16 27 42 - - - -25 - 1 2 4 6 10 17 27 34 - - -35 - 1 2 3 5 8 14 21 27 33 - -50 - - 1 2 3 6 10 15 19 24 38 -70 - - 1 1 3 4 7 12 15 18 29 4295 - - - 1 1 3 5 8 11 13 21 30

120 - - - 1 1 2 4 7 9 11 17 25150 - - - - 1 1 3 5 7 9 14 20185 - - - - 1 1 2 4 5 7 11 16240 - - - - 1 1 1 3 4 5 8 12300 - - - - - 1 1 2 3 4 7 10400 - - - - - 1 1 1 2 3 5 8

เส้นผ่านศูนย์กลางของท่อร้อยสาย

mm (นิ�ว)

151/2

203/4

251

321 1/4

401 1/2

502

652 1/2

803

903 1/2

1004

125

5

150

6

38

Page 20: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

20

ตารางที� 4.5 จาํนวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้าขนาดเดียวกนั มอก. 11 – 2553 รหสัชนิด 60227 NYY 1/C ที�ให้ใช้ในท่อโลหะตาม มอก. 770 – 2533

ขนาดสายไฟ( mm2 )

จาํนวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้า ( NYY ) ในท่อร้อยสาย

1 1 1 3 5 8 12 21 33 - - - -1.5 1 1 2 4 7 11 19 30 - - - -2.5 1 1 2 4 7 10 17 26 33 - - -4 1 1 1 3 6 9 15 23 29 36 - -6 - 1 1 3 5 8 13 21 26 33 - -

10 - 1 1 2 4 6 11 17 22 27 - -16 - 1 1 1 3 5 10 15 19 23 36 -25 - 1 1 1 3 4 8 12 15 19 29 -35 - - 1 1 1 3 6 10 12 15 24 3550 - - 1 1 1 3 5 8 11 13 21 3170 - - - 1 1 2 4 7 8 11 17 2495 - - - 1 1 1 3 5 7 8 13 19120 - - - 1 1 1 3 4 6 7 11 17150 - - - - 1 1 1 3 4 5 9 13185 - - - - 1 1 1 3 4 5 7 11240 - - - - - 1 1 2 3 4 6 9300 - - - - - 1 1 1 2 3 5 7400 - - - - - - 1 1 1 2 4 6500 - - - - - - 1 1 1 1 3 4

เส้นผ่านศูนย์กลางของท่อร้อยสาย mm

( นิ �ว )151/2

203/4

251

321 1/4

401 1/2

502

652 1/2

803

903 1/2

1004

1255

1506

39

ตารางที� 4.6 จาํนวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้า XLPE ในท่อร้อยสาย

40

ขนาดสายไฟ( mm2 )

จํานวนสายสูงสุดของสายไฟฟ้า ( XLPE ) ในท่อร้อยสาย

1.5 2 3 5 9 15 23 - - - - - -2.5 1 3 5 8 13 20 34 - - - - -4 1 2 4 7 11 17 30 - - - - -6 1 2 3 6 10 15 26 40 - - - -10 1 2 3 5 8 13 23 35 - - - -16 1 1 2 4 7 11 18 28 35 - - -25 - 1 1 3 4 7 12 19 24 30 - -35 - 1 1 2 4 6 10 16 20 25 39 -50 - - 1 2 3 5 8 13 16 20 31 -70 - - 1 1 2 4 7 10 13 16 25 3795 - - - 1 2 3 5 8 10 13 20 29

120 - - - 1 1 2 4 6 8 10 16 23150 - - - - 1 2 3 5 7 8 13 19185 - - - - 1 1 3 4 5 7 11 16240 - - - - - 1 2 3 4 5 8 12300 - - - - - 1 2 3 3 4 7 10400 - - - - - - 1 2 3 3 5 8500 - - - - - - 1 1 2 3 4 6

เส้นผ่านศูนย์กลาง

ของท่อร้อยสาย mm (นิ�ว)

151/2

203/4

251

321 1/4

401 1/2

502

652 1/2

803

903 1/2

1004

125

5

150

6

Page 21: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

21

41

- เป็นรางที�ใช้ เดินสายไฟฟ้า

- ทาํจากเหลก็แผ่นพบัเป็นสี�เหลี�ยม

- มีฝาเปิดปิด เป็นแบบบานพบั หรือแบบถอดออกได้

ที�นิยมใช้มีดงันี�

1) วิธีพ้นสีฝุ่ น ( Epoxy/Polyester )

2) เคลือบด้วยฟอสเฟตหรือสงักะสี ( Galvanized Steel )

3) วิธีเคลือบ อลซิู�ง ( Aluzinc )

4.9 รางเดินสาย ( Wireways )4.9 รางเดินสาย ( Wireways )

42

รปูที� 4.13 รางเดินสาย

Page 22: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

22

43

การเดินสายไฟฟ้าใน รางเดินสาย Wireways

การใช้งาน1 อนุญาตให้ใช้ใน ที�เปิดโล่ง ซึ�งเข้าถงึได้2 ห้ามใช้ในฝ้าเพดาน3 รางเดินสายขนาดใหญ่ที�สุดที�ให้ใช้ 150 x 300 mm4 สายแกนเดี�ยวของวงจรเดียวกันรวมทั �งสายดิน

ต้องวางเป็นกลุ่มเดียวกัน แล้ว มัดรวมเข้าด้วยกัน5 พื �นที�หน้าตัดรวมของสายไฟฟ้า

ต้องไม่เกิน 20 % ของพื �นที�หน้าตัด รางเดินสาย 6 ถ้าตัวนํากระแส ไม่เกิน 30 เส้น พิกัดกระแสคิด

ตัวนํากระแส 3 เส้นในท่อ ไม่ต้องใช้ ตัวคูณปรับค่า

44

- ลกัษณะเช่นเดียวกบั รางเดินสาย ( Wireways )

- เป็นที�ต่อสายรวมก่อนที�จะเข้า

แผงมิเตอร์

แผงจ่ายไฟย่อย

แผงสวิตช์

- ช่วยให้การต่อสาย และการบาํรงุรกัษาทาํได้สะดวก

4.10 รางประกอบการเดินสาย ( Auxiliary Gutters )4.10 รางประกอบการเดินสาย ( Auxiliary Gutters )

Page 23: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

23

45

รปูที� 4.14 รางเดินสายประกอบ

ตวัอย่างที� 4.7

รางเดินสายขนาด 100 x 100 mm

สามารถบรรจุ สายไฟฟ้า IEC 01

ขนาด 25 mm2 ได้กี�เส้น

46

Page 24: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

24

วิธีทาํสายไฟฟ้า IEC 01 ขนาด 25 mm2

จากตาราง มีพื�นที�หน้าตดัขวาง = 73.8 mm2

รางเดินสายขนาด 100 x 100 mm

มีพื�นที�หน้าตดัขวาง = 100 x 100 = 10,000 mm2

จาํนวนสายไฟฟ้า = 0.2 x 10000 / 73.8

= 27.1

สามารถบรรจไุด้ 27 เส้น

47

ตารางที� 4.7 จาํนวนสูงสุดของสายไฟฟ้าตาราง IEC 01 ในรางเดินสาย ( Wireways )ขนาด จาํนวนสูงสุดของสาย IEC 01 ในรางเดินสาย

( mm2 ) 50 x 75 50 x 100 75 x 100 100 x 100 100 x 150 100 x 200 100 x 250 100 x 300 150 x 300

1.0 - - - - - - - - -

1.5 - - - - - - - - -

2.5 59 - - - - - - - -

4 45 - - - - - - - -

6 35 47 - - - - - - -

10 21 28 - - - - - - -

16 15 20 31 41 - - - - -

25 10 13 20 27 - - - - -

35 8 10 16 21 32 - - - -

50 - 7 11 15 23 31 38 - -

70 - - - - 17 23 29 35 -

95 - - - - 13 17 21 26 39

120 - - - - - - 17 21 32

150 - - - - - - 14 17 26

185 - - - - - - - - 21

240 - - - - - - - - 16

300 - - - - - - - - 13

400 - - - - - - - - -

500 - - - - - - - - -

48

Page 25: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

25

ตารางที� 4.8 จาํนวนสูงสุดของสายไฟฟ้าตาราง NYY ในรางเดินสาย ( Wireways )

ขนาด จาํนวนสูงสุดของสาย NYY ในรางเดินสาย

( mm2 ) 50 x 75 50 x 100 75 x 100 100 x 100 100 x 150 100 x 200 100 x 250 100 x 300 150 x 300

1.0 12 16 24 32 - - - - -

1.5 11 15 22 30 - - - - -

2.5 9 13 19 26 - - - - -

4 - 11 17 23 - - - - -

6 - - 15 21 31 - - - -

10 - - 13 17 26 35 - - -

16 - - - 15 22 30 37 - -

25 - - - - 18 24 30 36 -

35 - - - - - 19 24 29 44

50 - - - - - 17 22 26 39

70 - - - - - - 17 21 31

95 - - - - - - - 16 24

120 - - - - - - - - 21

150 - - - - - - - - 16

185 - - - - - - - - 14

240 - - - - - - - - -

300 - - - - - - - - -

400 - - - - - - - - -

500 - - - - - - - - -

49

ตารางที� 4.9 จาํนวนสูงสุดของสายไฟฟ้าตาราง XLPE ในรางเดินสาย ( Wireways )ขนาด จาํนวนสูงสุดของสาย XLPE ในรางเดินสาย

( mm2 ) 50 x 75 50 x 100 75 x100 100 x 100 100 x 150 100 x 200 100 x 250 100 x 300 150 x 300

1.0 - - - - - - - - -

1.5 22 30 - - - - - - -

2.5 19 26 - - - - - - -

4 17 22 34 - - - - - -

6 - 19 29 - - - - - -

10 - 17 26 35 - - - - -

16 - - 21 28 42 - - - -

25 - - 14 19 28 - - - -

35 - - - 16 24 32 - - -

50 - - - - 19 25 32 - -

70 - - - - - 21 26 31 -

95 - - - - - 16 20 24 37

120 - - - - - - 16 20 30

150 - - - - - - - 16 24

185 - - - - - - - - 20

240 - - - - - - - - 16

300 - - - - - - - - 13

400 - - - - - - - - -

500 - - - - - - - - -

50

Page 26: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

26

51

- เป็นโครงสร้างสาํหรบัรองรบัสายเคเบิล

- ไมถ่อืว่าเป็นท่อสาย ( Raceways )

- นิยมใช้กนัมากในโรงงานอุตสาหกรรม

- สามารถติดตั �งง่าย ราคาถกู

4.11 รางเคเบิล ( Cable Trays )4.11 รางเคเบิล ( Cable Trays )

52

1) รางเคเบิลแบบบนัได ( Ladder Type )

- เป็นโครงสร้างตามแนวยาว 2 ชุด- ยึดติดกนัด้วยขั �นบนัได (Rung)

H (ความสูง) = 100, 120 mmW (ความกว้าง) = 200, 300, 400, 500, 600,

700,800, 900 และ 1,000 mm L (ความยาว) = 3,000 mm

T (ความหนา) = 2.0 mm

Page 27: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

27

53

2) รางเคเบิลแบบระบายอากาศ ( Perforated Type )

- เป็นชิ�นส่วนเดียวตลอด- มีรรูะบายอากาศด้านล่าง

H (ความสูง) = 100 mmW (ความกว้าง = 200, 300, 400, 500, 600,

700, และ 800 mm L (ความยาว) = 2,400 mmT (ความหนา) = 1.6 และ 2.0 mm

54

3) รางเคเบิลแบบด้านล่างทึบ ( Solid-Bottom Type )

- เป็นชิ�นส่วนเดียวตลอด- ด้านล่างเป็นแผน่โลหะทึบ

Page 28: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

28

55

การเดินสายในรางเคเบิล ( Cable Tray )

สายไฟฟ้าและอปุกรณ์ต่อไปนี� อนุญาตให้ติดตั �งในรางเคเบิลได้

- สายเคเบิล MI, MC,และ AC

- สายเคเบิล แกนเดียวชนิดมีเปลืออกนอก ขนาด

ไม่เลก็กว่า 25 mm2

- สายเคเบิลหลายแกน ในระบบแรงสงู

และระบบแรงตํ�าทุกขนาด

- ท่อสายชนิดต่างๆ

56

ตวัอย่างที� 4.8 ต้องการเดินสายไฟฟ้า NYY 12 ( 1/C , 95 mm2 )

ในรางเคเบิล จะต้องใช้รางเคเบิลขนาด เท่าไร

วิธีทาํ

สาย NYY ขนาด 95 mm2 มีขนาดเส้นผา่นศนูยก์ลาง = 21.5 mm

เส้นผา่นศนูยก์ลางรวม = 12 x 21.5 = 258 mm

เผื�ออีก 25% = 258 x 1.25 mm

= 322.5 mm

ต้องใช้ รางเคเบิลขนาดกว้าง 400 mm

Page 29: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

29

57

ตวัอย่างที� 4.9 ต้องการเดินสายไฟฟ้า NYY 10 ( 3/C , 150 mm2 )

ในรางเคเบิล จะต้องใช้รางเคเบิลขนาดเท่าไร

วิธีทาํ สาย NYY ขนาด 150 mm2 มีขนาดเส้นผา่นศนูยก์ลาง

= 56 mm

เส้นผา่นศนูยก์ลางรวม = 10 x 56 = 560 mm

เผื�ออีก 25% = 560 x 1.25 mm = 700 mm

ต้องใช้ รางเคเบิลขนาดกว้าง 700 mm

58

ตวัอย่างที� 4.10 โรงงานอตุสาหกรรมแห่งหนึ�ง

อยู่ในเขตการไฟฟ้าส่วนภมิูภาค

ใช้หม้อแปลงขนาด 1000 kVA , 22 kV//230-400 V

ถ้าใช้สาย CV ( 90OC ) เป็นสายประธาน

ให้หาขนาดสายไฟฟ้าและขนาดรางเคเบิล

Page 30: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

30

59

วิธีทาํ

In = = 1443 A

ขนาดสายประธานเผื�อ 25 % โดยถือว่าหม้อแปลง

ทาํงานแบบต่อเนื�อง

Ic = 1.25 x 1443 = 1804 A

ถ้าใช้สาย 5 เส้น ต่อเฟส

= 1804 / 5 = 361 A

60

ถ้าใช้สาย 5 เส้น ต่อเฟส

= 1804 / 5 = 361 A

จากตารางที� 3.6 ได้สายขนาด

สาย CV 185 mm2 เส้นผ่านศนูยก์ลาง 23.8 mm

สาย CV 95 mm2 เส้นผ่านศนูยก์ลาง 17.5 “

ความกว้างรวม 5 ( 3 x 23.8 + 1 x 17.5 ) = 445 mm

เผื�อ 25 %

ความกว้างของรางเคเบิล = 1.25 x 445 mm

= 556 “

เลือกขนาด = 600 mm

Page 31: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

31

61

- หมายถึงอปุกรณ์ที�ใช้ประกอบในการเดินสาย

ใช้ร่วมกบัท่อสายต่างๆ

วตัถปุระสงค์ - เพื�อทางงานกลมากกว่าทางไฟฟ้า

- เพื�อช่วยในการจบัยึดท่อสายให้มีความมั �นคงแขง็แรง

- เพื�อเปลี�ยนทิศทางในการเดินสาย

- เพื�อความสะดวกในการดึงสาย

- เพื�อการตดัต่อสาย

4.12 เครื�องประกอบ ( Fittings )4.12 เครื�องประกอบ ( Fittings )

62

เครื�องประกอบ ( Fittings )

1) กล่องไฟฟ้า ( Boxes )

2) กล่องดึงสาย ( Pull Boxes )

3) เครื�องประกอบท่อร้อยสาย

Page 32: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

32

63

กล่องไฟฟ้า ( Boxes )

- มีหน้าที�ต่างๆ กนั

- กล่องสาํหรบัจดุต่อไฟฟ้าของสวิตช์

- กล่องสาํหรบัต่อสาย

- กล่องต่อแยก

64

รปูที� 4.15 กล่องไฟฟ้า และแผ่นปิดชนิดต่างๆ

Page 33: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

33

65

กล่องไฟฟ้าทาํจาก

- โลหะพวกเหลก็

- โลหะพวก Porcelain, Bakelite และ PVC

66

ข้อกาํหนดสาํหรบักล่องไฟฟ้า

- กล่องไฟฟ้าจะต้องสามารถเข้าถึงได้ และมีพื�นที�ปฏิบติังานเพียงพอ

- ตาํแหน่งที�สายไฟฟ้าผา่นกล่อง จะต้องมีบชุชิ�งหรือ เครื�องประกอบ

ขอบบน เพื�อป้องกนัฉนวนสายไฟเสียหาย

- กล่องไฟ้ฟ้าในระบบแรงสูง ต้องมีป้ายเตือน

“ อนัตรายไฟฟ้าแรงสูง ” ติดไว้ถาวร

- กล่องไฟฟ้าจะต้องไม่มีรู หรือช่องที�โตพอให้วตัถเุส้นผา่นศนูยก์ลาง

7.5 mm สอดเข้าได้

Page 34: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

34

67

กล่องดึงสาย ( Pull Boxes )

1 ) แบบดึงตรง ( Straight Pull )

- ความยาวไม่น้อยกว่า 8 เท่า

ของเส้นผ่านศนูยก์ลางของท่อที�ใหญ่ที�สดุ

68

รปูที� 4.16 กล่องดึงสายชนิดดึงตรง

Page 35: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

35

69

2 ) แบบดึงเป็นมุม ( Angle Pull )

- ระยะระหว่างท่อไปยงัผนังฝั �งตรงข้ามของกล่องดึงสาย

ไม่น้อยกว่า 6 เท่า

ของเส้นผ่านศนูยก์ลางของท่อที�ใหญ่ที�สดุ

- ระยะที�ส ั �นที�สดุระหว่างท่อทางด้านเข้า

และท่อทางด้านออก ต้องไม่น้อยกว่า 6 เท่า

ของเส้นผ่านศนูยก์ลางของท่อที�ใหญ่ที�สดุ

70

รปูที� 4.17 กล่องดึงสายชนิดดึงเป็นมมุ

Page 36: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

36

71

ตวัอย่างที� 4.11 จงหาขนาด Pull Boxes สาํหรบัแบบดึงตรง

ซึ�งใช้กบัท่อ 3 ขนาด คือ 80, 50 และ 15 mm

วิธีทาํ

ความยาวน้อยสุด = 8 x d = 8 x 80

= 640 mm

72

ตวัอย่างที� 4.12 จงหาขนาด Pull Boxes สาํหรบัแบบดึงเป็นมมุ ซึ�งใช้กบัท่อ 3 ขนาด คือ 80, 50 และ 25 mm

วิธีทาํ

D = 6 x 80 + 50 + 25 = 555 mm

d1 = 6 x 80 = 480 mmd2 = 6 x 50 = 300 mmd3 = 6 x 25 = 150 mm

Page 37: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

37

73

อุปกรณ์ประกอบท่อร้อยสาย ( Conduit Fittings )

1) อปุกรณ์ที�ใช้ร่วมกบัท่อสาย- ข้อต่อ ( Couplings ) - ข้อต่อยึด ( Connectors ) - บชุชิ�ง ( Bushing ) - ข้องอ ( Elbows ) - ตวัจบัยึด ( Supports )

74

เครื�องประกอบท่อ RMC

เครื�องประกอบท่อ EMT

Page 38: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

38

75

บชุชิ�ง

ข้องอ

76

รปูที� 4.18 เครื�องประกอบท่อร้อยสาย

ตวัจบัยึด

Page 39: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

39

77

คาํถามท้ายบทคาํถามท้ายบท

3. ท่อสายที�นิยมใช้มีอะไรบา้ง

1. ท่อสาย ( Raceways ) ต่างจากท่อนํ�าอย่างไร จงอธิบาย

2. ท่อสายมีประโยชน์อย่างไร

4. จงอธิบายถงึท่อโลหะหนา ( Rigid Metal Conduit : RMC )

5. จงอธิบายถงึท่อโลหะหนาปานกลาง( Intermediate Metal Conduit : IMC )

6. จงอธิบายถงึท่อโลหะบาง

( Electrical Metallic Tubing : EMT )

78

คาํถามท้ายบท…(ต่อ)คาํถามท้ายบท…(ต่อ)

7. รางเดินสาย ( Wireways ) คืออะไร กฎเกณฑ์ของการเดินสายในรางเดินสายเป็นอย่างไร

8. รางเคเบิลคืออะไร จงอธิบาย

9. กล่องดึงสาย ( Pull Boxes ) มีหลกัเกณฑ์ในการคิดขนาดอย่างไร จงอธิบาย

10. หากต้องการทาํการร้อยสาย IEC 01 จาํนวน 5 เส้นโดยมีรายละเอียดดงันี�

3 x 300 mm2 , 1 x 240 mm2, G-25 mm2

จะต้องใช้ท่อขนาดเท่าไร

Page 40: บทที 4 ท่อสาย - Montri Ngaodat Homepagemontri.rmutl.ac.th/assets/ee04.pdf-ม ความหนาแน นน อยกว าท อRMC-ใช แทนท

06/09/58

40

79

คาํถามท้ายบท…(ต่อ)คาํถามท้ายบท…(ต่อ)11. ต้องการร้อยสายไฟฟ้า XLPE , 3 x95 mm2 ในท่อร้อยสาย

จะใช้ท่อขนาดใด

12. ต้องการร้อยสายไฟฟ้า NYY , 2 x35 mm2 ในท่อร้อยสายจะใช้ท่อขนาดใด

13. สาย CV ขนาด 240 mm2 หากต้องการเดินในท่อ100 mm จะได้มากที�สุดกี�เส้น

14. รางเดินสายขนาด 100 x 150 mm2 จะสามารถบรรจุสายไฟฟ้า CV ขนาด 35 mm2 ได้กี�สายโดยที�พิกดัเหมอืนร้อยในท่อโลหะไมเ่กิน 3 เส้น

80

คาํถามท้ายบท…(ต่อ)คาํถามท้ายบท…(ต่อ)

15. ต้องการเดินสายไฟฟ้า NYY 8 ( 3/C , 185 mm2 ) ในรางเคเบิล จะใช้รางเคเบิลขนาดใด

16. โรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ�งอยู่ในเขตการไฟฟ้านครหลวงใช้หมอ้แปลงขนาด 1600 kVA24 kV/240-416 V ถา้ใช้สาย CV ( 90oC )เป็นสายประธานให้หาขนาดสายไฟฟ้าและขนาดรางเคเบิล