7
โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา (Malay for Malay Studies) 3(3-0-6) หนวยกิต ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ---------------------------------------- ผูสอน นายซาวาวี ปะดาอามีน หองพัก 50330 โทร (7) 3026 E-mail : [email protected] ลักษณะรายวิชา วิชาเลือกเอก/โท 3 หลักสูตรเกา ศศ.. (มลายูศึกษา) วิชาเอกบังคับแนวมลายูศึกษา หลักสูตรใหม ศศ.. (ภาษามลายูและมลายูศึกษา) คําอธิบายรายวิชา ฝกการใชภาษามลายูเพื่อนําไปใชในการศึกษาและคนควาเกี่ยวกับมลายู ศึกษา วัตถุประสงคการสอน 1. เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูศัพทเกี่ยวกับมลายูศึกษาและนําไปใช ประโยชนในการศึกษาคนควาเกี่ยวกับมลายูศึกษาได 2. เพื่อใหนักศึกษาสามารถแตงประโยคและเขียนเรียงความเกี่ยวกับ มลายูศึกษาได 3. เพื่อฝกใหนักศึกษามีทักษะในการอานทําความเขาใจขอมูลงายๆ เกี่ยวกับมลายูศึกษาได 4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําหลักไวยกรณตางๆตามที่ไดศึกษามาจาก วิชาภาษามลายูเบื้องตน และภาษามลายู1มาใชศึกษาคนควาเกี่ยวกับ มลายูศึกษาได 5. เพื่อใหเขาใจและยอมรับความหลากหลายทางสังคม

โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553 แผนกวิชามลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Citation preview

Page 1: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา (Malay for Malay Studies)

3(3-0-6) หนวยกิต ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

----------------------------------------

ผูสอน นายซาวาวี ปะดาอามีน หองพัก 50330 โทร (7) 3026 E-mail : [email protected] ลักษณะรายวิชา วิชาเลือกเอก/โท ป 3 หลักสูตรเกา

ศศ.บ. (มลายูศึกษา) วิชาเอกบังคับแนวมลายูศึกษา หลักสูตรใหม ศศ.บ. (ภาษามลายูและมลายูศึกษา)

คําอธิบายรายวิชา ฝกการใชภาษามลายูเพื่อนําไปใชในการศึกษาและคนควาเกี่ยวกับมลายู ศึกษา วัตถุประสงคการสอน 1. เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูศัพทเกี่ยวกับมลายูศึกษาและนําไปใช ประโยชนในการศึกษาคนควาเกี่ยวกับมลายูศึกษาได 2. เพื่อใหนักศึกษาสามารถแตงประโยคและเขียนเรียงความเกี่ยวกับ มลายูศึกษาได 3. เพื่อฝกใหนักศึกษามีทักษะในการอานทําความเขาใจขอมูลงายๆ

เกี่ยวกับมลายูศึกษาได 4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําหลักไวยกรณตางๆตามที่ไดศึกษามาจาก

วิชาภาษามลายูเบื้องตน และภาษามลายู1มาใชศึกษาคนควาเกี่ยวกับมลายูศึกษาได

5. เพื่อใหเขาใจและยอมรับความหลากหลายทางสังคม

Page 2: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

2

เนื้อหาวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอน สัปดาหท่ี เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน

1 - โครงการสอน ขอตกลง และอธิบาย ความสัมพันธกับวิชาอื่นๆ - ปญหาการเรยีนภาษามลายขูองนักศึกษา วิชาเอกมลายศูึกษา

- อธิบาย ซักถามปญหา - ทดสอบกอนเรียน (pre-test) - เขียนเรียงความขนาดสั้น (Mengapakah pelajar jurusan Pengajian Melayu perlu belajar bahasa Melayu?)

2 - Rumah Melayu - Kepercayaan Orang Jawa Terhadap Gunung Merapi - ขาวสั้นๆจากอินเทอรเน็ต - ไวยกรณ ▪ Tanda Baca (เครื่องหมายวรรคตอน): Tanda Koma, Noktah, Koma Bertitik, Titik Bertindih, Tanda Pembuka dan Penutup Kata, Tanda Soal dan Tanda Seru)

- เลนเกมจับผิด - ศึกษา Tanda Baca จากเนื้อ เร่ืองและเรียงความของตนเอง - ศึกษาตวัอยางขอมูลส้ันๆ เกี่ยวกับมลายูศึกษา - ศึกษาศพัท - power point

3 - Perpaduan Kaum - Agama, Kepercayaan dan Budaya Kaum - Arkeologi, Antropologi - ไวยกรณ ▪ Kata Nama, Kata Ganti Nama, Frasa Nama และโครงสรางประโยค FN + FN

- ตรวจสอบคําภาษามลายูที่ นักศึกษาอานและสะกดผิด บอยๆ - ศึกษาศพัท - ฝกแตงประโยค

4-5 - Animisme, Bomoh - Upacara Perkahwinan Orang Asli - Sirih Pinang - Poligami, Poliandri dan Poligini - ไวยกรณ ▪ Kata Kerja, Frasa Kerja และโครงสราง

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ศึกษาการใช FK จากเนื้อเร่ือง - ฝกแตงประโยค - ทําแบบฝกหดั - ชมวีดีโอ

Page 3: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

3

ประโยค FN + FK ▪ Kata Bantu/Kata Kerja Bantu

6-7 - Petikan Berita - Sistem Mata Wang dalam Masyarakat Melayu - ไวยกรณ ▪ Kata Sendi Nama, Frasa Sendi Nama และโครงสรางประโยค FN + FS

- อานเอกสารประกอบ - internet - ศึกษาศพัท - ศึกษาการใช Kata Sendi Nama จากเนือ้เร่ือง - ฝกแตงประโยค - ทําแบบฝกหดั

8-9 - Pantang Larang Terhadap Lelaki - Pantang Larang Terhadap Perempuan - ไวยกรณ ▪ Kata Adjektif, Frasa Adjektif และ โครงสรางประโยค FN + FA ▪ Kata Penguat

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ฝกเขียนประโยค - ศึกษาการใช Kata Adjektif และ Frasa Adjektif จากเนือ้ เร่ือง - ทําแบบฝกหดั

10 - Adat Perpatih - Adat Temenggung - ไวยกรณ ▪ Kata Penyambung Ayat (Kata Hubung) ▪ Ayat Songsang

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ศึกษา Kata Hubung จากเนื้อ เร่ือง - ฝกเขียนประโยค - ทําแบบฝกหดั

11 - Kerajaan Melayu Serivijaya - Masalah Remaja - Peribahasa

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - วิเคราะหสังคมและวัฒนธรรม มลายูจากสํานวนโวหาร - เลนเกม

12 - Seni Batik - Seni Tembaga - ไวยกรณ ▪ Kata Pemeri

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ฝกเขียนประโยคโดยใช Kata Pemeri และ Kata Nafi

Page 4: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

4

เอกสารประกอบการเรียนการสอน Abu Naim Kassan. 1997. Sukses Lengkap Terkini: PMR Bahasa Malaysia.

Selangor: Pustaka Delta Pelajaran Sdn Bhd. Ana Puteh. 2008.Upacara kematian dan kelahiran masyarakat Iban.Jabatan Antropologi dan Sosiologi, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Asmat, Benedict.1991. Perubahan sosio-ekonomi dan identiti masyarakat Kadazan Kampung Telupid, Sabah.Jabatan Antropologi dan Sosiologi, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Dora Kuntek Daud.2006. Ritual padi bukit komuniti Iban Sarawak Dissertation (M.Malay.Stud.)Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. Dzulfawati Haji Hassan. 2006. Upacara kematian Melanau Likow di Sarawak Kota Samarahan, Sarawak : Universiti Malaysia Sarawak.

▪ Kata Nafi - ทําแบบฝกหดั 13 - Sosialisasi, Asimilasi, Etnografi,

Soal Selidik - ไวยกรณ ▪ Kata Bilangan ▪ Kata Arah

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ฝกเขียนประโยคโดยใช Kata Bilagan และ Kata Arah - ทําแบบฝกหดั

14 - Masyarakat Khadazan-Dusun, Bajau - Masyarakat Iban, Melanau - Sedikit-sedikit Lama-lama Menjadi Bukit - Hutang Emas Dapat Dibayar, Hutang Budi Dibawa Mati - ไวยกรณ ▪ Penggandaan

- อานเอกสารประกอบ - ศึกษาศพัท - ฝกเขียนประโยคโดยใช Kata Ganda - ทําแบบฝกหดั

15 - Penulisan Karangan - สรุป

- อธิบาย / ซักถามปญหา - ฝกเขียนบทความสั้น ๆ

Page 5: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

5

Edo, Juli.2001.Kosmologi orang Asli : satu pemerihalan tentang perjalanan roh Kosmologi Melayu, editor, Yaacob Harun (Kuala Lumpur : Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya,), [133]-146. Khairul Hisyam Kamarudin. 2007. Potensi pelancongan eko-budaya orang asli : tinjauan ke atas komuniti Jahai di Kelantan.International Conference on Tourism and Hospitality : Planning and Managing Heritage for the Future (2nd : 30 Jul - 1 Aug 2007 : Putrajaya). Proceedings, editors: Jasmine Zea Raziah Radha Rashid Henry Gim Beli. 2001. Adat kematian masyarakat Iban di Samarahan Hulu : satu pemerhati.Jabatan Sosio-Budaya Melayu, Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. Hood Salleh. 2006. Mitos keagamaan dan etika di kalangan masyarakat orang asli Tradisi lisan bercorak cerita. (Kuala Lumpur :Jabatan Kebudayaan dan Kesenian Negara, Kementerian Kebudayaan, Kesenian dan Warisan Malaysia.), 31-44 Ismail Hamid. 1988. Masyarakat dan Budaya Melayu. Kuala Lumpur: Dewan

Bahasa dan Pustaka. Jeniri Amir. 1988.Adat resam kaum Melanau.Prosiding Symposium on Sarawak Cultural Heritage (31 Jul - 5 Aug 1988: Kuching). Pt. II : p. 209-224 Marzuki Nyak Abdullah. 2006. Keunikan Ayat Songsang. Pelita Bahasa. No. 2

Februari 2006), 38-40. Mazni Anuar.2004/2005. Perubahan sosial dalam komuniti Melanau : kajian kes di Kampung Rajang, Sarikei, Sarawak.Academic exercise (B.A.) Jabatan Antropologi dan Sosiologi, Fakulti Sastera dan Sains Sosial, Universiti Malaya. Mohd. Koharuddin Mohd. Balwi. 2005. Peradaban Malayu. Johor: Universiti

Teknologi Malaysia. Mohamad Maulana Magiman. 2006. Konsep animisme dalam kehidupan masyarakat Melanau, Sarawak : kajian perubahan.Dissertation (M.Malay Stud.) Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. Nik Safiah Karim dll. 1996. Tatabahasa Dewan: Edisi Baharu. Kuala Lumpur:

Dewan Bahasa dan Pustaka. Norazit Selat. 1993. Konsep Asas Antropologi. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan

Pustaka.

Page 6: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

6

Noria Anak Tugang. 2009.Tenunan kain pua dalam budaya Iban di Sarawak. prosiding Seminar Antarabangsa Tenun Nusantara : Kesinambungan Tradisi dan Budaya (12-14 Mei 2009 : Kuantan). Prosiding, diselenggarakan oleh : Datuk Nor Azah Mohd Omar.2010. Serological diagnosis of toxocariasis among subgroups of

Orang Asli in Kelantan and Pahang.Dissertation (B.Biomed.Sc.)Department of Molecular Medicine, Faculty of Medicine, University of Malaya.

Radha. [et al.] (Sintok, Kedah : Faculty of Tourism and Hospitality Management, Universiti Utara Malaysia, 2007), 293-302. Subal, Frederick Y. 1974. Kadazan kinship and marriage in Tambunan, (Sabah), Malaysia : a study of Kadazan customs on kinship, marriage, divorce and transmission of property.Jabatan Antropologi dan sosiologi, Universiti Malaya. Wan Abdul Kadir. 2002. Tradisi dan Perubahan Masyarakat dan Budaya Melayu.

Kuala Lumpur: Pustaka Ilmu. Wan Wahidah Wan Mustafa. Latihan Tubi Total Tatabahasa. Selangor: SASBADI. Yusuf Jasmin.1987. Pengislaman dan kemurtadan bumiputera Sabah : tinjauan khusus kepada masyarakat Kadazan/Dusun.Fakulti Syariah, Akademi Islam Universiti Malaya. Yap, Beng Liang. 2001. Politik dan ekonomi masyarakat Bajau Kota Belud, Sabah. Kuala Lumpur : Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. Zaini Mohd. Isa.1969. Kebudayaan dan adat resam : Kadazan dan Murut Kelantan : Pustaka Aman Press. Zainal Abidin Borhan, Mohammad Nazzri Ahmad dan Mohd. Hafizan Amiti (Kuantan : Lembaga Muzium Negeri Pahang, 2009), 224-241. การวัดและประเมินผล

1. แบบฝกหัด สอบยอย 20 % 2. เขาชั้นเรียน การมีสวนรวมในชั้นเรียน 10 % 3. สอบกลางภาค 30 % 4. สอบปลายภาค 40 %

Page 7: โครงการสอน 431-218 ภาษามลายูเพื่อมลายูศึกษา เทอม 2 ปี 2553

7

วิธีการตัดเกรด ตัดเกรดแบบอิงเกณฑ

เกรด เกณฑรอยละ A 80-100

B+ 75-79 B 70-74

C+ 65-69 C 60-64

D+ 55-59 D 50-54 E 0-49

หมายเหตุ: คะแนนตามเกณฑนี้อาจเปลี่ยนไดบางเล็กนอยตามดุลพินจิของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน

1. ตองมีเวลาเรียนไมต่ํากวา 80 % จึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค 2. งานที่สงหลังวนักําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะมีการหกัคะแนน 20 % 3. ทุจริตในการสอบปรับตก 4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทุกครัง้ที่เขาชั้นเรียน 5. ปดเสียงโทรศัพทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรียน 6. ขาดสอบยอย หากไปขอสอบภายหลังจะถกูหักคะแนน 20 %