7

Click here to load reader

ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

1

ใบความรู้เร่ือง การน าเสนอผลงาน

รหัสวิชา ง30207 ชื่อรายวิชา สร้างสรรค์งานด้วยคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การน าเสนอผลงาน

ความหมาย การน าเสนอ ( presentation ) เป็นวิธีการในการสื่อสารถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับงาน แผนงาน โครงการ ข้อเสนอ ผลการด าเนินงานและเรื่องต่างๆ เพ่ือความเข้าใจ และจูงงใจอาจรวมถึงการสนับสนุนและอนุมัติด้วย จากความหมายที่กล่าวข้างต้น การจัดท ารายงานต่างๆจึงเป็นการน าเสนอเกี่ยวกับผลการด าเนินงาน และเรื่องต่างๆที่ได้รับมอหมายให้ปฏิบัติ ส่วนการเสนอความคิดว่าจะท าอะไร ความเห็น และ ข้อเสนอแนะอาจจัดท าในรูปแผนงาน ( plan ) โครงการ (project ) ข้อเสนอ (proposal) หรือ ข้อเสนอแนะ ( suggestion ) ก็ได้ รูปแบบของการน าเสนอ การน าเสนอมีได้หลายรูปแบบ ซึ่งจะต้องพิจารณาเลือกใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการน าเสนอ และ ความต้องการของผู้รับการน าเสนอ โดยทั่วไปจะมีการใช้อยู่ สองรูปแบบได้แก่ 1. แบบสรุปความ ( qutline ) 2. แบบเรียงความ ( essay ) แบบสรุปความ คือ การน าเสนอเนื้อหาทั้งที่เป็นข้อเท็จจริง ความคิดเห็น และ ข้อพิจารณาเป็นข้อๆ แบบเรียงความ คือ การน าเสนอด้วยการพรรณนา ถึงเนื้อหาละเอียด การเลือกใช้รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จะต้องค านึงถึงความเหมาะสม และ สถานการณ์ในการน าเสนอ การน าเสนอแบบสรุปความมักใช้ในการน าเสนอ ข้อมูลอันประกอบด้วย ข้อเท็จจริง สิ่งที่ค้นพบ เพ่ือให้ผู้รับการน าเสนอรับรู้อย่างรวดเร็ว ส่วนการน าเสนอแบบเรียงความ มักใช้ในการน าเสนอความคิดเห็น และการให้เหตุผลโน้นน้าวชักจูงใจ ซึ่งจะต้องมีการอรรถาธิบาย ในรายละเอียดต่างๆประกอบการน าเสนอ การเลือกใช้รูปแบบของการน าเสนอ จะพิจารณาปริมาณของเนื้อหาสาระ วัตถุประสงค์ และ จุดมุ่งหมายที่ต้องการบรรจุ การเร้าความสนใจ สถานการณ์ในการน าเสนอ และ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับการน าเสนอกับผู้น าเสนอ ในการน าเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณา จะนิยมใช้ตาราง และ แผนภาพ ประกอบ เพ่ือการวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบที่เห็นได้ชัดเจนและรวดเร็ว ลักษณะการน าเสนอที่ดี

Page 2: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

2

นอกจากการเลือกรูปแบบของการน าเสนอ ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะต้องค านึงถึงลักษณะของการน าเสนอ ที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการน าเสนอด้วย โดยทั่วไปลักษณะของการน าเสนอที่ดี ควรมีดังต่อไปนี้ 1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน กล่าวคือ มีความต้องการที่แน่ชัดว่า เสนอเพ่ืออะไร โดย ไม่ต้องให้ผู้รับรับการน าเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร 2. มีรูปแบบการน าเสนอเหมาะสม กล่าวคือ มีความกระทัดรัดได้ใจความ เรียง ล าดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก 3. เนื้อหาสาระดี กล่าวคือ มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา 4. มีข้อเสนอที่ดี กล่าวคือ มีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกท่ีเห็นได้ชัด เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติของผู้น าเสนอ ในการน าเสนอด้วยวาจา คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจ าตัวของผู้น าเสนอ ถือได้ว่าเป็นส่วนส าคัญของความส าเร็จในการน าเสนอ เพราะคุณสมบัติของผู้น าเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชักจูงให้เกิดความสนใจ ความไว้วางใจ เชื่อถือ และการยอมรับได้มาก เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่น าเสนอ ผู้น าเสนอที่ประสพความส าเร็จส่วนใหญ่ จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. มีบุคลิกดี 2. มีความรู้อย่างถ่องแท้ 3. มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ 4. มีความเชื่อม่ันในตนเอง 5. มีภาพลักษณ์ที่ดี 6. มีน้ าเสียงชัดเจน 7. มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ 8. มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ 9. มีความช่างสังเกต 10. มีไหวพริบปฏิภาณในการค าถามดี การตอบค าถามในการน าเสนอ การตอบค าถามเป็นส่วนหนึ่งของการน าเสนอ แม้ว่าการน าเสนอเรื่องต่างๆจะเป็นการน าเสนอที่มีวัตถุประสงค์ เพ่ือการบอกเล่าเรื่องให้ทราบ ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียวจากผู้น าเสนอไปยังผู้รับการน าเสนอ แต่ในการที่จะให้เกิดการสื่อสารที่สมบูรณ์ มีความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็ควรจะมีช่วงเวลาที่เปิดให้มีการซักถามข้อสงสัย หรือสิ่งที่ต้องการค าอธิบายเพิ่มขึ้น เป็นการสื่อสารสองทาง ในการน าเสนอส่วนใหญ่ จะมีการเชื้อเชิญให้มีการซักถามในตอนท้ายของการน าเสนอ ดังนั้นผู้น าเสนอจึงต้องมีหลักการเป็นข้อยึดถือในการปฏิบัติดังนี้ 1. ต้องจัดเวลาให้เหมาะสมในการเปิดการซักถาม อย่าให้มีเวลามากเกินไป จนเกิดค าถามที่ไม่มีสาระหรือค าถามที่ตั้งใจให้การน าเสนอเกิดการเสียหาย แต่ก็ควรจะเผื่อเวลาให้เพียงพอ

Page 3: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

3

2. ต้องคาดคะเนค าถามที่จะเกิดข้ึนไว้ล่วงหน้า เพื่อจะได้เตรียมค าตอบที่เหมาะสม และสามารถเตรียมเอกสาร หรือหลักฐานประกอบค าตอบได้ 3. ต้องแสดงความยินดีต้อนรับค าถาม แม้จะเป็นค าถามที่ไร้สาระ หรือแฝงด้วยความประสงค์ร้าย แต่ก็สามารถจะเลือกตอบ และ สงวนค าตอบไว้ตอบเฉพาะตัวผู้ถามภายหลังก็ได้ 4. ต้องรู้จักการช่วยขัดเกลาค าถามที่วกวน หรือคลุมเครือ หรือช่วยเรียบเรียงค าถาม ที่มีข้อความยืดยาว เยิ่นเย้อให้กระชับขึ้น 5. ต้องตอบให้ตรงประเด็น หมายถึงตรงกับเรื่องที่ถามไม่ตอบเลี่ยง หรือตอบคลุม เครือ ตอบเป็นภาษาวิชาการ ตอบเป็นหลักทฤษฎีพูดเป็นนามธรรม พูดยอกย้อน ประชดประชัน ท าให้เกิดประเด็นค าถามตามมาอีกไม่รู้จบสิ้น จิตวิทยาในการน าเสนอ การน าเสนอประสพความส าเร็จ ต่อเมื่อผู้รับการน าเสนอเกิดการยอมรับ และ พึงพอใจ จึงต้องใช้จิตวิทยาอันเป็นวิชาที่เกี่ยวข้อง กับ พฤติกรรม หรือการกระท าของมนุษย์ มาช่วยใน การสื่อสารท าความเข้าใจ และป้องกันการขัดขวาง ล าพังการน าเสนอข้อเท็จจริง ข้อมูล และสารสนเทศ ต่อผู้รับการน าเสนอยังไม่เพียงพอ เพราะผู้รับการน าเสนอเป็นมนุษย์ปุถุชน มีความรู้สึก และ อารมณ ์ จึงต้องน าเสนอให้สนองตอบต่ออารมณ ์ ของผู้รับการเสนอด้วย การตระเตรียมการน าเสนอ หลังจากการก าหนดจุดมุ่งหมายการน าเสนออย่างชัดเจน และวิเคราะห์ผู้รับการน าเสนอแล้ ว จะต้อง เลือกรูปแบบการน า เสนอให้ เหมาะสม มีการรวบรวมข้อมูลทั้ งที่ เป็นข้อมูล เท็จจริง หลักฐาน สถิติ เพ่ือน ามาสนับสนุนการน าเสนอ ด้วยการน ามาเขียนค ากล่าวน าและเนื้อเรื่อง ตลอดจนค าสรุป ในการนี้จะต้องจัดเตรียมการใช้โสตทัศนอุปกรณ์ ตามความเหมาะสม การน าเสนอที่พร้อมจะต้องมีการฝึกฝน ฝึกซ้อมการน าเสนอก่อนจะน าเสนอจริง เมื่อพบข้อบกพร่องก็จะต้องปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ไม่สมบูรณ์ และคิดหาทางเพ่ิมประสิทธิภาพการน าเสนอให้ดียิ่งขึ้น เพราะการน าเสนอที่ดี จะช่วยให้ประผลส าเร็จคุ้มค่าของการท างานก่อนการน าเสนอ แต่ถ้าการน าเสนอผิดพลาดเพียงครั้งเดียวจะท าลายทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้ท ามาก่อนหน้านี้อย่างสิ้นเชิง 1. การเลือกรูปแบบการน าเสนอ เป็นการพิจารณาความเหมาะสมว่าจะใช้การน าเสนอในรูปแบบใด จึงจะเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการน าเสนอ เหมาะกับลักษณะ และความต้องการของผู้รับการน าเสนอหากเป็นการน าเสนอเพ่ือการต้อนรับการบรรยายสรุป การส่งมอบงาน และการรายงาน มักจะนิยมใช้แบบสรุปความ เพ่ือน าเสนอข้อเท็จจริง เป็นข้อๆเป็นการประหยัดเวลา แต่ถ้าเป็นการน าเสนอเพ่ือการประชาสัมพันธ์การขาย การแนะน าสินค้าหรือบริการ การฝึกอบรม การสอนงาน มักจะนิยมใช้ แบบเรียงความ เพ่ือจะโน้นน้าวชักจูงใจด้วยการพรรณนา 2. การรวบรวมข้อมูล จะต้องค้นหาข้อเท็จจริงทั้งที่เป็นมาในอดีต และ ปัจจุบัน ถ้ามีหลักฐานอ้างอิง บุคคลหรือองค์กรจะต้องเป็นบุคคลหรือองค์กรที่น่าเชื่อถือ ถ้ามีหลักฐานอ้างอิง เป็นเอกสารจะต้องตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ การใช้สถิติ หรือบันทึกเหตุการณ์จากแห่ลงข้อมูลใด ก็จะต้องใช้พิสูจน์ความถูกต้องครบถ้วนได้ ในประการส าคัญผู้น าเสนอจะต้องท าความเข้าใจข้อมูลต่างๆ ให้แจ่มชัด การน าเสนอเอกสารประกอบจะต้องมีความรอบคอบจัดท าอย่างเป็นระบบ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนไม่ว่าจะท าโดยผู้ใด ผู้น าเสนอก็จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบสุดท้ายนั่นเอง

Page 4: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

4

การน าเสนอปัญหาที่เกิดขึ้น จะต้องรู้ที่มาหรือสาเหตุของปัญหา ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายจะต้องศึกษาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จะพิจารณาแค่เฉพาะข้อเท็จจริงประการเดียวไม่ได้ และเมื่อเสนอปัญหาแล้วจะต้องเตรียมข้อเสนอในการแก้ปัญหาด้วย มิฉะนั้นจะกลายเป็นเพียงผู้รู้ปัญหาแต่ไม่สามารถแก้ปัญหา 3. การ เตรี ยมเขียนค ากล่ าวน า เนื้ อ เ รื่ อง และค าสรุป เป็นขั้นตอนที่ ส าคัญ เพราะเป็น ส่วนของเนื้อหาไม่น้อยกว่า 85 % ของการน าเสนอ ทั้งหมด จะต้องจัดท าขึ้นอย่างระมัดระวังด้วยการน าข้อมูลจากการวิเคราห์ ผู้รับการน าเสนอมาพิจารณาว่า ผู้รับการน าเสนอต้องการรู้อะไร ต้องการรู้ปัญหาใด ต้องการรู้ข้อมูลน าไปพิจารณาประกอบการวิเคราะห์และการตัดสินใจในเรื่องใด จะต้องค านึงถึงผู้รับการน าเสนอเป็นหลัก ด้วยการกล่าวน าให้น่าสนใจ เร้าความรู้สึกใคร่รู้ และมีเนื้อเรื่องที่เป็นประโยชน์ ในการรับรู้และการพิจารณา ซึ่งด าเนินเรื่องชวนติดตาม และเข้าใจง่าย ด้วยการปรับวิธีการน าเสนอข้อมูล ให้สะดวกแก่การท าความเข้าใจและเปรียบเทียบเป็นภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ แทนการพรรณนา เป็นตัวอักษร หรือข้อความยืดยาวในส่วนค ากล่าวน าซึ่งไม่ควรจะมีความยาวเกินกว่า 10% ของเนื้อหาทั้งหมด เป็นการเร้าความสนใจให้เกิดสมาธิตั้งใจรับการน าเสนอ โดยทั่วไปการขึ้นต้นให้ตื่นเต้นเร้าใจ ด้วยการตั้งค าถามหรือน าข้อความส าคัญมากล่าว น าเข้าสู่เรื่องอันเป็นตัว เนื้อหาสาระ ในส่วนเนื้อเรื่องจะต้องประมวลความคิดด้วยการรวบรวมข้อมูล สถิติ หลักฐานมีการคิดหาเหตุผล และจัดล าดับความคิด น ามาเรียบเรียงถ้อยค า และเลือกใช้ถ้อยค า ให้สื่ อความหมายตรงตามวัตถุประสงค์อย่ าง เหมาะสม ในส่วนค าสรุปไม่ควรมีค ากล่าววกวน แต่จะต้องมีความสั้นกระชับ ระหว่าง 5% - 10% ของเนื้อหา เพราะการสรุปเป็นการประมวลความ จากเนื้อหาให้หลอมรวมกัน เพ่ือเน้นย้ าสาระของเรื่องที่น าเสนอ แต่ไม่ใช่การกล่าวซ้ าความในเนื้อเรื่อง 4. การเตรียมโสตทัศนอุปกรณ์ประกอบการน า เสนอ จะต้องพิจารณาความเหมาะสม หลายด้าน แม้ว่าในปัจจุบันจะมีเครื่องมือทันสมัยใช้เป็นเครื่องในการน าเสนอที่เร้าความสนใจ ด้วยรูปแบบ วิธีการ และ สีสันงดงาม power – point แต่ก็มีข้อจ ากัดในบางสถานการณ์ ที่ขาดอุปกรณ์ และการใช้เครื่องมือเพียงครั้งเดียวก็อาจไม่คุ้มค่าเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดท า จึงต้องพิจารณาถึงโสตทัศนอุปกรณ์อ่ืนๆ อันเหมาะสมกับการน าเสนอในแต่ละกรณีด้วย 5. การฝึกซ้อมการน า เสนอ เป็นสิ่ งส าคัญที่ จะช่วยให้ เกิดความเคยชิน และมีความมั่น ใจในการน าเสนอ การได้ฝึกฝนบ่อยๆ ด้วยการฝึกซ้อม การน าเสนอในแต่ละสถานการณ์ก่อนหน้าเสนอจริงจะช่วยให้ลดความประหม่า เนื่องจากความกังวลว่าจะน าเสนออย่างไร เพราะได้ผ่านการทดดลองน าเสนอมาแล้ว ผู้ประสพความส าเร็จในการน าเสนอส่วนใหญ่ จะให้ความส าคัญกับการเตรียมความพร้อม ด้วยการฝึกซ้อมทุกครั้งก่อนน าเสนอ 6. การปรับปรุงแก้ ไข เป็นส่วนที่ จะละเลยไม่ ได้ ในการฝึกซ้อม จะพบข้อติดขัด หรือบกพร่องอยู่ หากปล่อยให้เลยตามเลยไม่คิดหาวิธีแก้ไข และด าเนินการปรับปรุง การฝึกซ้อมก็จะได้รับผลประโยชน์ไม่เต็มที่ รวมทั้งเมื่อมีการน าเสนอจริงก็จะต้องประเมินผล และ ค้นหาจุดบกพร่องที่ต้องน ามาปรับปรุงให้การน าเสนอครั้งค่อไปสมบูรณ์ยิ่งข้ึน 7. การเตรียมรับข้อโต้แย้ง เป็นสิ่งที่ ไม่ควรมองข้าม เพราะการน าเสนอทุกเรื่องและ ทุกครั้ง อาจจะมีทั้งผู้ที่ซึ่งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ผู้ซึ่งเห็นด้วยอาจจะเห็นด้วยทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน ซึ่งย่อมจะมีข้อโต้แย้งอยู่บ้าง ส่วนผู้ซึ่งไม่เห็นด้วยทั้งหมด ย่อมจะมีข้อโต้แย้งรุนแรง การคาดการณ์ไว้ก่อนว่าอาจจะมีประเด็นข้อแย้งในเรื่องใด ย่อมจะเป็นทางช่วยให้เกิดความคิดว่าจะหาข้อชี้แจง

Page 5: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

5

ความไม่เข้าใจ หรือความเคลือบแคลงสงสัยในแง่มุมใดบ้าง อย่างไร จะต้องเตรียมข้อมูล หลักฐาน สถิติ อ้างงบุคคลเป็นพยานอย่างไร การน าเสนอผลงานโครงงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการท าโครงงาน หลังจากได้ศึกษา ด าเนินการและสรุปผลแล้ว นักศึกษาควรน าความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้รับรู้รับทราบ การคิดรูปแบบเพื่อน าเสนอ มีค าแนะน าดังนี้ 1. ค านึงถึงผู้อ่านหรือผู้ฟัง โดยยึดหลักการน าเสนอให้เข้าใจง่าย น่าสนใจ 2. วิธีการน าเสนอ เช่น รายงานเป็นเอกสาร รายงานปากเปล่า จัดนิทรรศการ อาจจ าเป็นต้องท าหลายรูปแบบ เพ่ือให้ผลงานแพร่หลายมากขึ้น 3. ผลงานบางโครงงานมีวัสดุประกอบการรายงาน จะต้องเลือกให้เหมาะสม 4. บางโครงงานอาจน าเสนอได้ด้วยการแสดง เล่าเป็นนิทาน เชิดหุ่นประกอบบรรยาย น าเสนอด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Power point 5. โครงงานที่น าเสนอต่อชุมชน อาจท าในรูปแบบของแผงโครงงาน ซึ่งเป็นแผงนิทรรศการที่พับเก็บสะดวก เคลื่อนย้ายง่าย น าไปติดตั้งได้ทันท ี 6. การน าเสนอมีหลากหลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์ ความต้องการของกลุ่ม และความเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์และเวลา 7. ตัวอย่างการน าเสนออ่ืนๆ เช่น นิทรรศการ รายงานปากเปล่า เสนอแผงโครงงานร่วมกับรายงานปากเปล่า จัดแสดงบนเวที เสนอด้วยแผ่นใส หรือสไลด์ หรือวีดีทัศน์พร้อมค าอธิบาย ส่งโครงงานประกวดทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน หัวข้อส าคัญในการน าเสนอ หัวข้อที่น าเสนอคล้ายกับการเขียนรายงาน แต่ควรท าอย่างย่อ และได้ใจความครบถ้วน มีภาพประกอบสวยงาม จะช่วยให้เข้าใจง่าย และน่าสนใจ ดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดท าโครงงาน 3. ชื่อครูที่ปรึกษา 4. ที่มาของโครงงาน 5. วิธีด าเนินการ (ถ้ามีรูปภาพประกอบด้วยจะดีมาก) 6. ผลการทดลอง 7. สรุปผล 8. ข้อเสนอแนะ ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นจะต้องท าหรือเขียนด้วยความประณีต สวยงาม สามารถหาสิ่งประดับมาตกแต่งให้สวยงามได้โครงงานที่ท าเสร็จแล้ว ถ้าไม่มีการเผยแพร่ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้น นักเรียนจึงควรให้ความส าคัญในเรื่องนี้ และคิดวิธีการเผยแพร่ให้น่าสนใจ เพ่ือให้ผลงานของนักเรียนเกิดประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตัวนักเรียนเองและผู้ที่สนใจ

ตัวอย่างรูปแบบการน าเสนอโครงงาน

Page 6: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

6

ขั้นตอนการแนะน า ระยะเวลา ลักษณะภาพประกอบ หมายเหตุ 1. แนะน าตัวผู้น าเสนอ - ชื่อ - วุฒิทางการศึกษา - ต าแหน่ง และหน้าที่

30 วินาที ภาพถ่ายของแต่ละคน

2. บอกชื่อโครงการที่น ามาเสนอ ภาพชื่อโครงการ ควรใช้ตัวอักษรขนาดใหญ่ให้สะดุดตาสะดุดใจ

ขั้นตอนการแนะน า ระยะเวลา ลักษณะภาพประกอบ หมายเหตุ

3. บอกสภาพปัญหาซึ่งเป็นที่มาของ โครงการ

- ปัญหาที่พบ - ความเดือดร้อนที่เกิดข้ึน /

ผลเสียต่อผู้เกี่ยวข้อง - ผลการศึกษาสภาพปัญหา

ที่เป็นข้อมูลสถิติบ่งชี้ถึงสภาพ ปัญหา

4 นาที ภาพที่บ่งบอกถึงปัญหา ความเดือดร้อน/ผลเสีย กราฟแสดงข้อมูล

4. บอกหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ที่น ามาใช้ในการแก้ปัญหา

ภาพชื่อทฤษฎี เพ่ือชี้ให้เห็นหลักปฏิบัติ ที่ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับ

5. ขั้นตอนการด าเนินงาน ในการแก้ ปัญหาบอกทีละขั้นตอน ไปตามล าดับ โดยในแต่ละข้ันตอน จะมีประเด็น ย่อย ๆ ดังนี้ - ขั้นตอนที่… - สิ่งที่ท า - วันเดือนปี ที่ท า - ปัจจัย (สื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ) ที่ใช้ - ผู้รับผิดชอบ - ผลที่ได้รับจากข้ันตอนนี้

9 นาที ตามความเหมาะสม ตามความเหมาะสม

การบอกวิธีการแก้ปัญหา และผลที่ได้รับเฉพาะขั้นตอน จะท าให้ผู้ฟัง เข้าใจได้ง่าย มองเห็น ภาพการแก้ปัญหา ได้ชัดเจน

6. ผลที่ได้รับ - ผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ - ผลกระทบหรือผลพลอยได้

3 นาที กราฟเปรียบเทียบ สภาพปัญหาระหว่าง ก่อน/หลังการแก้ปัญหา

7. ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน และ วิธีการ แก้ปัญหาในระหว่างการด าเนินการ

3 นาที ตามความเหมาะสม

8. - บทเรียนที่ได้รับจากการด าเนินงาน - การพัฒนาการด าเนินงานในระยะ ต่อไป

3 นาที ตามความเหมาะสม

Page 7: ใบความรู้เรื่อง การนำเสนอผลงาน

7

9. ค าลงท้ายที่น่าประทับใจของผู้ฟังและผู้ชม

ตามความเหมาะสม อาจเป็นค ากลอน ที่เชิญชวนให้ผู้ฟัง น าวิธีการแก้ปัญหา ที่น าเสนอไปใช้