153
1 จีน: ประวัติศาสตรการเมืองและเศรษฐกิจ ศูนยเกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง www.ru.ac.th/korea ยุคโบราณกาล ในบทความนี้ประสงคที่จะอธิบายประวัติความเปนมาของการกอตั้งสังคมจีน โดยเริ่มตนตั้งแตการคนพบตนกําเนิดมนุษยชาติเรื่อยไปจนถึงชวงตนของคริสตศตวรรษ ที21 เพื่อใหผูอานไดสืบสาวเรื่องราวถึงประวัติความเปนมาของการกอตัวของสังคม ใน ขณะเดียวกัน จะเนนวิเคราะหถึงความเกี่ยวของสัมพันธกับเกาหลีและญี่ปุนที่มีปรากฏ ขึ้นในแตละยุควาเปนเชนไร มีอะไรที่เปนจุดรวมที่กอใหเกิดความสัมพันธระหวางสังคม เหลานีและสงผลอันใดใหบังเกิดขึ้นในยุคถัดมา ขอมูลทางประวัติศาสตรของการกอกําเนิดของแตละสังคม และการพัฒนาการ ของสังคมตามลําดับขั้นจนกลายเปนชาติ -รัฐ (nation-state) ที่มีเอกลักษณเฉพาะเปนของ จีน ของเกาหลี และของญี่ปุนนั้น เปนกุญแจสําคัญเพราะจะทําใหเราสามารถติดตาม เรื่องราวของเหตุการณตางๆ ที่ไดดําเนินติดตอกันเรื่อยมาจนตราบเทาทุกวันนีเหตุการณสําคัญกอนการกอตั้งเปนสังคม ขอมูลที่คนพบทางโบราณคดี ทางมานุษยวิทยากายภาพ และทางประวัติศาสตร ยุคโบราณบงชี้วา มนุษยรุนแรกอุบัติขึ้นบนโลกเมื่อราว 10 - 15 ลานปมาแลว โดยได แยกตัวออกจากสายพันธุวานร (Pongidae หรือลิงไมมีหาง เชน อุรังอุตัง ชิมแปนซี และ กอริลลา ) โดยเรียกชื่อวา รามาพิธีคัส (Ramapethecus) ฟอสซิลที่คนพบคือ กระดูก ขากรรไกรสวนบน ที่เชิงเขาสีวาลิก ในประเทศอินเดีย แตเนื่องจากหลักฐานฟอสซิลมี เพียงชิ้นสองชิ้น จึงไมอาจยืนยันไดวาเปนมนุษยกลุมแรกที่แทจริงหรือไม ตอมา เหลา

จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

1

จีน: ประวัติศาสตรการเมืองและเศรษฐกิจ

ศูนยเกาหลีศกึษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง

www.ru.ac.th/korea

ยุคโบราณกาล ในบทความนี้ประสงคที่จะอธิบายประวัติความเปนมาของการกอตั้งสังคมจีน โดยเริ่มตนตั้งแตการคนพบตนกําเนิดมนุษยชาติเรื่อยไปจนถึงชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 21 เพื่อใหผูอานไดสืบสาวเรื่องราวถึงประวัติความเปนมาของการกอตัวของสังคม ในขณะเดียวกัน จะเนนวิเคราะหถึงความเกี่ยวของสัมพันธกับเกาหลีและญี่ปุนที่มีปรากฏข้ึนในแตละยุควาเปนเชนไร มีอะไรที่เปนจุดรวมที่กอใหเกิดความสัมพันธระหวางสังคมเหลานี้ และสงผลอันใดใหบังเกิดขึ้นในยุคถัดมา ขอมูลทางประวัติศาสตรของการกอกําเนิดของแตละสังคม และการพัฒนาการของสังคมตามลําดับขั้นจนกลายเปนชาติ-รัฐ (nation-state) ที่มีเอกลักษณเฉพาะเปนของจีน ของเกาหลี และของญี่ปุนนั้น เปนกุญแจสําคัญเพราะจะทําใหเราสามารถติดตามเรื่องราวของเหตุการณตางๆ ที่ไดดําเนินติดตอกันเรื่อยมาจนตราบเทาทุกวันนี้ เหตุการณสําคัญกอนการกอต้ังเปนสังคม ขอมูลที่คนพบทางโบราณคดี ทางมานุษยวิทยากายภาพ และทางประวัติศาสตรยุคโบราณบงชี้วา มนุษยรุนแรกอุบัติข้ึนบนโลกเมื่อราว 10 - 15 ลานปมาแลว โดยไดแยกตัวออกจากสายพันธุวานร (Pongidae หรือลิงไมมีหาง เชน อุรังอุตัง ชิมแปนซี และกอริลลา) โดยเรียกชื่อวา รามาพิธีคัส (Ramapethecus) ฟอสซิลที่คนพบคือ กระดูกขากรรไกรสวนบน ที่เชิงเขาสีวาลิก ในประเทศอินเดีย แตเนื่องจากหลักฐานฟอสซิลมีเพียงชิ้นสองชิ้น จึงไมอาจยืนยันไดวาเปนมนุษยกลุมแรกที่แทจริงหรือไม ตอมา เหลา

Page 2: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

2

นักวิทยาศาสตรไดพากันออกคนหาฟอสซิลมนุษยตามแหลงตางๆ ทั่วโลก ในที่สุด เรมอนด ดารท นายแพทยโรเบอรท บรูม และหลุยส-แมรี่ ลีกกี้ ตางมุงไปคนหาฟอสซิล

ในทวีปแอฟริกาตามที่ชาลส ดารวินไดทํานายไวในหนังสือของเขา ชื่อ The Descent of

Man (1871) วา บรรพบุรุษของมนุษยนาจะมีถิ่นกําเนิดครั้งแรกในทวีปแอฟริกา ตอมาก็ไดมีการคนพบหลักฐาน วามีมนุษยกลุมแรกของโลกเกิดขึ้นในทวีปนั้นจริงๆ การขุดคนตามชองเขาลึก บริเวณไหลทวีปและบริเวณใกลทะเลในประเทศทันซาเนีย เอธิโอเปย และยูกานดา รวมทั้งตามเหมืองถานหินบริเวณแอฟริกาตอนใตนับตั้งแตป ค.ศ. 1920 นั้น นักวิทยาศาสตรไดพบฟน หัวกะโหลก และกะโหลกสวนหลังมากมายกวา 1,022 ชิ้น เมื่อผูเชี่ยวชาญรวมกันวิเคราะหหลักฐานดังกลาว ตางลงความเห็นวานาจะเปนมนุษยกลุมแรกซึ่งมีชีวิตอยูในราว 1.75 ลานปมาแลว โดยเรียกวา ออสตราโลพิธีคัส (Australopethecus) มนุษยกลุมนี้สามารถสรางเครื่องมือที่ทําดวยหิน และทําหอกไม สวนโครงสรางทางดานรางกายนั้นสามารถเดินไดดวยเทาทั้งสองขาง มีลําตัวตั้งตรงในขณะที่เดิน อันเปนผลมาจากการพัฒนากระดูกเชิงกรานและเขาที่ยืดเขาออกไดเต็มที่ รวมทั้งมีการขึ้นของฟนหลังและฟนกรามขนาดใหญ นั่นหมายความวา มีความสามารถในการกินอาหารประเภทเนื้อได ซึ่งตางจากวานรที่กินเฉพาะพืชเปนอาหารเทานั้น ออสตราโลพิธีคัส ไดสูญพันธุจากโลกไปกวา 500,000 ปมาแลว มนุษยยุคตอมา เรียกกันวา โฮโม อีเรคตัส (Homo erectus) มีชีวิตอยูระหวาง 600,000 – 2 ลานปมาแลว โดยมีหลักฐานชี้ชัดวา สามารถสรางเครื่องมือหินสําหรับใชสับ หรือตัด โดยกะเทาะใหมีความคมดานหนึ่ง และขวานหิน อีกทั้งสรางภาชนะใสของ เสื้อผาเครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และสามารถจัดระเบียบทางสังคมโดยมีการแบงงานระหวางชาย - หญิง พ่ึงพานายพรานในการลาสัตว และอยูรวมกันเปนกลุม ราว 20 – 50 คน หรือ 3 – 12 ครอบครัว อนึ่ง เชื่อกันวาเปนกลุมแรกที่เริ่มใชภาษาในการสื่อสาร แมวาจะพูดไดชาราว 1 ใน 10 ของความเร็วที่มนุษยปจจุบันพูดกัน นักวิทยาศาสตรไดพบหลักฐานฟอสซิลของโฮโม อีเรคตัสในทวีปเอเชีย แอฟริกา และยุโรป โดยเฉพาะอยางยิ่งการคนพบมนุษยปกกิ่ง ซึ่งจัดอยูในสกุล Homo erectus และมีประวัติการคนพบที่นาสนใจยิ่ง กลาวคือ เมื่อป ค.ศ. 1911 นายเจ กันนาร แอนเดอรสัน (J. Gunnar Anderson) นักธรณีวิทยาชาวสวีเดนไดรับแตงตั้งใหเปนที่

Page 3: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

3

ปรึกษาของรัฐบาลจีนเพื่อทําการสํารวจถานหิน และแหลงแร ในขณะที่เขาทํางานในฐานะที่ปรึกษาอยูนั้น แอนเดอรสันไดใหความสนใจในเรื่องการวิวัฒนาการของมนุษยตามแนวคิดของชาลส ดารวิน ดวย เขาจึงพยายามหาและเก็บหลักฐานตามแหลงตางๆ ที่ออกสํารวจอยูเสมอ จนกระทั่งในป ค.ศ. 1921 เขาไดพบซากกระดูกที่หมูบานโจวโขวเตี้ยน ตั้งอยูหางจากนครปกกิ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตราว 30 ไมล นอกจากนี้เขายังพบกระดูกของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมากกวา 20 ชนิด และฟนกราม 2 ซี่เพิ่มอีกดวย แอนเดอรสันไดรวมมือกับ ดร. ออตโต ชแดนสกี้ (Dr. Otto Zdansky) โดย แอนเดอรสันไดมอบหมายให ดร.ออตโต ชแดนสกี้ทําการขุดคนตามผนังหินปูนของเนินดินแถบบริเวณนั้นและเก็บซากกระดูกหลายชนิด แอนเดอรสันดีใจมากโดยเขาใจวาเขาไดคนพบสิ่งที่ตองการ นั่นคือ ซากดึกดําบรรพของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมของยุคเทอรเทียรี่และพลีสโตซิน ดร. ออตโต ชแดนสกี้ไดเก็บซากกระดูกในขณะที่ทําการขุดคนแหลงแรในบริเวณนั้นตลอดชวงฤดูรอนเปนเวลาหลายปและไดนํากระดูกเหลานั้นกลับไปยังสวีเดน เพื่อศึกษาวิเคราะหในหองทดลอง เขาไดเขียนจดหมายถึงแอนเดอรสันวา ซากกระดูกจํานวนหนึ่งที่นําไปยังหองทดลองนั้น มีฟนกรามจํานวน 2 ซี่ที่เปนของมนุษยโบราณในสกุลโฮโม ผลของการวิเคราะหนี้กอใหเกิดความลิงโลดใจแกแอนเดอรสันเปนยิ่งนัก เขาจึงไดรวมกับ ดร.บีรจีร โบลิน (Dr. Birgir Bohlin) ดําเนินการขุดคนหาซากดึกดําบรรพอยางจริงจังในระหวางเดือนเมษายนถึงเดือนตุลาคม ป ค.ศ. 1927 ในบริเวณถ้ําโจวโขวเตี้ยน ในครั้งนี้ คณะนักสํารวจไดพบฟนของมนุษยโบราณซี่หนึ่ง จึงไดนําไปใหนักวิทยาศาสตรชื่อ ดร.เดวิดสัน แบลค (Dr. Davidson Black) ที่คณะแพทยศาสตรในนครปกกิ่ง หลังจากที่ไดวิเคราะหวิจัยอยางละเอียดพรอมกับเปรียบเทียบกับฟนกราม 2 ซี่ที่พบกอนหนานี้ ดร.เดวิดสัน แบลคจึงตั้งชื่อซากที่คนพบใหมนี้วา Homo pekinensis การคนพบครั้งนี้ไดสรางความฮือฮาไปทั่ววงการทางวิทยาศาสตรทั้งในยุโรปและอเมริกา ดร.โบลิน ไดทําการสํารวจอีกครั้งในป ค.ศ. 1928 และพบซากฟน รวมทั้งชิ้นสวนของหัวกะโหลกของเด็กหนุมและของผูชายจํานวนหนึ่ง ในปตอมา นักธรณีวิทยาชาวจีนชื่อ ดับบลิว ซี ไป (W.C. Pei) ทําหนาที่ควบคุมการขุดคนโดยเนนการสํารวจบริเวณตอนลางของถ้ํา การสํารวจดําเนินมาจนกระทั่งถึงวันที่ 2 ธันวาคม ใน

Page 4: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

4

เวลา 16 นาฬิกา คณะสํารวจไดพบกับหัวกะโหลก ซึ่งถือวาเปนหลักฐานที่สําคัญยิ่ง จึงตองใชเวลานานหลายเดือนในการสกัดและเชื่อมตอใหเปนรูปเปนรางและสรุปวา ซากที่คนพบเปนมนุษยโบราณอยางแนนอน ดร. เดวิดสัน แบลค ไดทํางานหนักตลอดทั้งวันทั้งคืนในการวิเคราะหซากกระดูกที่ ขุดคนพบเปนเวลานาน จนกระทั่งรางกายทรุดโทรมและเสียชี วิตในหองทดลองของเขาในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1934 นักกายวิภาคศาสตรคนตอมาที่เขารับหนาที่แทน ดร. เดวิดสัน แบลค คือ ดร. ฟรานซ ไวเดนริช (Dr.Franz Weidenrich) เปนชาวเยอรมันที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของยุโรป เขาไดออกจากบานเกิดเพราะถูกบีบบังคับทางการเมืองจากพวกนาซี ตอมาไดรับตําแหนงเปนศาสตราจารยรับเชิญของคณะแพทยศาสตรที่กรุงปกกิ่ง และเปนผูอํานวยการกิตติมศักดิ์ของสถาบันวิจัยดานธรณีวิทยาของจีน เขาไดศึกษาวิจัยซากกระดูกตอไปแมวาการสํารวจที่หมูบานโจวโขวเตี้ยนจะสิ้นสุดลงในป ค.ศ. 1937 เพราะถูกญี่ปุนเขารุกรานจีน ในชวงเวลานั้น ความสัมพันธระหวางสหรัฐอเมริกากับญี่ปุนไมสูดีนักและทวีความเลวรายไปเรื่อยๆ ดร. ไวเดนริชจึงเห็นวา มีความจําเปนที่จะตองนําซากกระดูกทั้งหมดสงไปทําการศึกษาคนควาตอยังประเทศสหรัฐอเมริกาเพราะจีนอาจจะตกอยูในเงื้อมมือของญี่ปุนในอีกไมชา จึงไดนํากระดูกบรรจุกลองอยางดีและสงไปทางเรือของกองทัพเรือสหรัฐฯ ดร. ไวเดนริชก็ออกจากประเทศจีนไปในป ค.ศ. 1941 พรอมทั้งนํารูปถาย ภาพเหมือนรูปรางของซากกระดูก และตัวแบบหลอของซากกระดูกชิ้นสําคัญไปพรอมกับตัวเขา อยางไรก็ตาม นับแตนั้นเปนตนมา ซากกระดูกทั้งหมดที่เสาะแสวงหามาดวยความยากลําบากก็สูญหายไปโดยไรรองรอยจนทุกวันนี้ (ชวงเวลานั้น โลกไดเขาสูสงครามโลกครั้งที่สอง) มนุษยโบราณสกุล Homo erectus ทีพ่บในประเทศจีนอยูในสกุลเดียวกันกับมนุษยชวา ซึ่งคนพบโดยยูยีน ดูบัว (Eugene Dubois) ชาวเนเธอรแลนดที่พบซากกะโหลกบนฝงแมน้ําโซโลใกลกับหมูบานตรินิล (Trinil) บนเกาะชวาในเดือนสิงหาคม ป ค.ศ. 1891 ซากที่เขาคนพบนั้นไดตั้งชื่อวา Pithecantropus erectus แตมนุษยปกกิ่งมีอายุหลังมนุษยชวาเล็กนอย สวนลักษณะอื่นคลายคลึงกัน มนุษยโบราณ Homo erectus นี้ยังพบในบริเวณทวีปอื่นดวย เชน ในทวีปยโุรป

Page 5: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

5

ไดคนพบมนุษยไฮเดลเบอรกในประเทศเยอรมัน สวนทวีปแอฟริกาก็พบที่ชองเขาลึกโอดูไวในประเทศทันซาเนีย เปนตน คณะผูสํารวจยังพบเครื่องไมเครื่องมือจํานวนนับพันชิ้นที่ตกอยูเกลื่อนกลาดรอบๆ บริเวณหลุมที่ 1 ที่ทําการสํารวจ ซึ่งสามารถยืนยันไดวามนุษยปกกิ่งสรางเครื่องมือและใชเครื่องมือเหลานั้นในการดํารงชีวิต เครื่องมือเหลานี้ไดรับการสะกัดจากหินในรูปแบบที่แตกตางกันเพื่อใชเปนขวานหินและมีดหิน นอกจากนี้ยังพบกระดูกของสัตวชนิดตางๆ ดังเชน หมี กวางปา เสือดาว และมา จึงสันนิษฐานวามนุษยปกกิ่งดํารงชีพดวยการลาสัตว อนึ่ง กะโหลกศีรษะของสัตวเหลานี้ไดนํามาใชเปนภาชนะตักน้ํา และใชเพื่อการเตรียมอาหารอีกดวย มนุษยปกกิ่งสามารถใชไฟและควบคุมไฟได อีกทั้งรอบๆ บริเวณถ้ํา มีพืชพันธุหลายหลากชนิดขึ้นอยู และคนพบซากพันธุพืชเหลานั้นที่กลายเปนหิน ดังนั้น อาจกลาวไดวา วัฒนธรรมของมนุษยปกกิ่งไดพัฒนาขึ้นมาอยูในระดับสูงโดยอยูรวมกันเปนครอบครัว อาศัยอยูเปนกลุมตามถ้ํา และสามารถลาสัตวบางชนิด รวมทั้งใชประโยชนจากพืชชนิดตางๆ ได จากมนุษยปกกิ่งถึงชนกลุมตางๆ ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ ตอมาผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชามนุษยโบราณวิทยา (Human Paleotology) ไดนําหลักฐานที่ไดออกสํารวจขุดคนฟอสซิลทั่วทุกมุมโลกตลอดคริสตศตวรรษที่ 20 มาวิเคราะหอยางละเอียด และไดจัดลําดับชั้นของสิ่งมีชีวิตในสกุลโฮโม เซเปยนส ที่มีลักษณะเฉพาะในแตละยุค โดยเรียกชื่อตางกันดังนี้

ก. มนุษยสไตนแฮม พบในประเทศเยอรมัน มีชีวิตอยูในราว 200,000 – 300,000 ปมาแลว

ข. มนุษยสวอนสโคม พบในประเทศอังกฤษใกลกรุงลอนดอน มีชีวิตอยูในชวง เดียวกบัมนุษยสไตนแฮม

ค. มนุษยนีแอนเดอรธอลส มีชีวิตอยูในราว 125,000 – 400,000 ปมาแลว ลักษณะทั่วไปของมนุษยนีแอนเดอรธอลส ก็คือ การเดินตัวตั้งตรง เชนเดียวกับมนุษยสมัยใหม มีขนาดสมองใหญราว 1,200 – 1,800 ลบ.ซม. โครงสรางทางดานรางกายที่เดนชัดไดแก เตี้ย โดยมีความสูงเฉลี่ยราว 5 ฟุต แตหนักและหนา หนาอกกวาง

Page 6: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

6

และกลม มีกลามเนื้อเปนมัดๆ กระดูกขาใหญและโคง นิ้วมือใหญและสั้น เทาอูม สวนกะโหลกศีรษะลาดต่ําและแบน กระดูกคิ้วโปนหนาเหนือขอบตาและโคงลงมาเชื่อมกับสันจมูก มนุษยนีแอนเดอรธอลสมีความเฉลียวฉลาด สามารถดํารงชีวิตอยูในสภาพอากาศหนาวของยุคน้ําแข็งดวยการอาศัยอยูในถ้ํา สวมใสเสื้อผาหนัง ใชไฟได อาศัยอยูรวมกันเปนหมูบาน และสามารถลาสัตวใหญนอยไดทุกประเภท มีการเรียกวัฒนธรรมของคนกลุมนี้วามุสเตอเรียน อาศัยอยูแถบยุโรปตะวันตก และพบหลักฐานวามีชีวิตอยูในบริเวณประเทศอิรัก รัสเซีย และจีน ง. มนุษยโครมันยอง มีชีวิตอยูตั้งแต 40,000 ปมานี้ ถือวาเปนมนุษยที่มีลักษณะดังเชนมนุษยยุคปจจุบัน โดยจัดใหอยูในสปชียอย คือ โฮโม เซเปยนส เซเปยนส (Homo sapiens sapiens) ซึ่งสันนิษฐานวา ไดวิวัฒนาการแยกสายออกมาจากมนุษยนีแอนเดอรธอลสออกมา ผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชามนุษยโบราณวิทยาคนพบหลักฐานฟอสซิลในสภาพสมบูรณที่หมูบานโครมันยอง ซึ่งตั้งอยูทางตอนใตของประเทศฝรั่งเศส โดยพบโครงกระดูกของมนุษย 5 คน มีอายุขัยในขณะที่ เสียชีวิตราว 40 – 50 ป มีขนาดกระโหลกที่บรรจุสมองไดราว 1,590 ลบ.ซม. หนาผากสูง คางยื่น ใบหนากลม สั้น ซึ่งเปนลักษณะโครงสรางทางกายภาพเหมือนกับมนุษยปจจุบัน จากจุดกําเนิดของโฮโม อีเรคตัส ในบริเวณตอนเหนือของจีนดังที่เรารับรูกันในนามมนุษยปกกิ่งนั้น ยอมเปนจุดที่ชี้ชัดวา ในบริเวณแถบนี้ของโลกไดมีมนุษยโบราณเกิดขึ้น และวิวัฒนาการตอไปเปน โฮโม เซเปยนส จากนั้น บางกลุมไดอพยพแยกยายออกไปอาศัยอยูตามแหลงที่อยูทั่วบริเวณเอเชียตะวันออก และตามสวนอื่นของโลก จึงเปนที่นาสนใจวา ในยุคนั้น สภาพของคนกลุมที่อาศัยอยูในบริเวณนี้เปนอยางไรและมีความเกี่ยวของสัมพันธระหวางกันและกันอยางไร ขอสันนิษฐาน เกี่ยวกับสภาพความเปนอยูของมนุษยในยุคเริ่มแรก จากหลักฐานทางโบราณคดีที่คนพบ เราอาจประมวลสภาพของสังคมเหลานี้ในยุคโบราณไดดังนี้

ก. มีจํานวนประชากรไมมากนักอาศัยอยูกระจัดกระจายเปนกลุมๆ ทั่วบริเวณ แตละกลุมจะอาศัยอยูรวมกันราว 3 – 15 ครอบครัว หรือมีสมาชิกในกลุมราว 20 – 100 คน ตาง

Page 7: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

7

มีความสัมพันธทางสายเลือด กลุมตางๆ เหลานี้เปนที่มาของเทือกเถาเหลากอ หรือโคตรตระกูล (clan) พวกเขาจะอาศัยอยูตามถ้ํา หรือบางกลุมมีการสรางที่อยูอาศัยชั่วคราว เชน ทําเปนเพิงใชหลบแดดและฝน อนึ่ง มีการตอสูแยงชิงอาหาร และปกปองอาณาเขตของกลุมตนอยูเนืองๆ ทําใหความสัมพันธระหวางคนภายในกลุมเปนไปอยางแนนแฟน เพราะตองออกหาอาหารและรักษาความปลอดภัยรวมกัน ในขณะที่เปนอริกับคนตางกลุมที่พยายามเขามาแยงชิงอาหาร และเขามาลวงล้ําอาณาเขตของกลุมตน

การหาอาหารและการจับจองอาณาเขตที่อยูอาศัยกอใหเกิดการอพยพเคลื่อนยายโดยเปนผลมาจากการแยกตัวออกจากกลุมที่มีขนาดใหญข้ึน หรือการอพยพไปเปนกลุมเพื่อแสวงหาดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณกวา หรือถูกรุกรานจากกลุมอื่นที่มีพลังเหนือกวา แมวาบางกลุมจะไมใชชนเผาเรรอนก็ตาม แตการอพยพก็เปนไปอยางตอเนื่องตลอดเวลาตามแถบเชิงเขา

ข. ทุกชีวิตจะตอสูดิ้นรนเพื่อใหมีชีวิตรอด ตองใชเวลาในการตอสูกับความยาก ลําบากในการดําเนินชีวิตภายใตสภาพธรรมชาติที่โหดราย ทั้งสภาพอากาศที่หนาวเหน็บในฤดูหนาว ฝนตก ฟารอง และพบกับความแรนแคนยามเมื่อหาอาหารมาเลี้ยงดูสมาชิกไมไดเพียงพอตามความตองการ ดังนั้น ในยุคนี้ ผูคนจึงไมมีเวลาวางพอที่จะคนคิด ประดิษฐสิ่งของศิลปะ และศาสนาอื่นใด จนกระทั่งสังคมสามารถกอตัวกันขึ้นเปนหลักแหลง และมีการเพาะปลูกพืช และมีอาหารอยางเพียงพอ ซึ่งไดแกประชากรที่อาศัยอยูตามบริเวณที่ราบลุม มีแมน้ําไหลผาน มีความอุดมสมบูรณ และอาจมีผูคนหลากหลายกลุมมาอาศัยอยูรวมกันกลายเปนกลุมใหญ

ค. แมวาศาสนาและลัทธิความเชื่อจะยังไมเกิดขึ้น แตการที่คนที่ตองอาศัยอยู ทามกลางธรรมชาติและคนไมอาจควบคุมได ดังนั้น เมื่อเกิดสภาวะที่โหดรายขึ้น เชน ไฟไหม แผนดินไหว หิมะถลม อุทกภัย วาตภัย ฯลฯ ผูคนก็จะสวดออนวอนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใหชวยคุมครอง จึงกอใหเกิดการนับถือผีสางเทวดา (animism) ข้ึน ตอมาเมื่อมีคนอางวาสามารถติดตอกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ได คนผูนั้นก็จะไดรับการยกยองใหเปนผูนําทางดานความเชื่อ จึงเกิดมีคนทรง พอมด แมมด หมอผีข้ึน ทําใหนักมานุษยวิทยาที่มีชื่อเสียง ชื่อ Bronislaw Malinowski กลาววา ศาสนา/ลัทธิความเชื่อในสังคมโบราณเกิดขึ้นเพื่อใชในการปลอบประโลมใจของผูคนในยามทุกขยาก

Page 8: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

8

ง. ระบบการปกครองในยุคเริ่มแรกนี้ ผูอาวุโสหรือหัวหนาของครอบครัวขยายมักจะทําหนาที่เปนผูนํากลุมและทําการจัดระเบียบทางสังคม กฎเกณฑทางสังคมสรางขึ้นตามขอตกลงหรือไดรับการกําหนดขึ้นโดยกลุมผูอาวุโส อันเปนขอตกลงที่คนในกลุมตองรับรูและปฏิบัติตามเพื่อใหสมาชิกภายในกลุมอาศัยอยูรวมกันอยางเปนสุข อยางไรก็ตาม เนื่องจากตองอยูรวมกับคนกลุมอื่นในบริเวณเดียวกัน หรือบริเวณใกลเคียงกัน ผูนําจึงตองมีความเขมแข็ง สามารถปกปองคุมครองมิใหคนกลุมอื่นเขามาทําราย หรือแยงชิงอาหาร รวมทั้งตองปกปองอาณาเขตของกลุมของตน ดวยเหตุนี้ จึงตองมีชายฉกรรจคอยเกื้อหนุน และเปนกองกําลังขับไลผูรุกราน ผูนําจะเปนผูรอบรูในดานการแสวงหาอาหาร และแบงปนอาหารอยางเปนธรรม ใหความสนใจ ดูแลความทุกขสุขของมวลสมาชิก อีกทั้งเปนผูนําทางพิธีกรรมอีกดวย การปกครองเหลาสมาชิกมักมีลักษณะเปนแบบพอปกครองลูก ที่ผูนํา - ผูตามมีความผูกพันกันอยางใกลชิดตามสายเลือด (lineage) ยิ่งผูคนตองอาศัยอยูในดินแดนที่หนาวเหน็บและมีทรัพยากรธรรมชาติอยูอยางจํากัด ยิ่งทําใหคนแตละกลุมตองประสานความสัมพันธกันอยางแนบแนนภายในกลุม กอใหเกิดการยึดถือระบบโคตรตระกูล (clan) อยางเหนียวแนน ทั้งนี้ความเปนปกแผนของกลุม หมายถึง ความอยูรอดของสมาชิกทุกคนนั่นเอง ความสัมพันธระหวางโคตรตระกูลเกิดขึ้นเมื่อแตละกลุมตางอาศัยอยูบริเวณที่ราบลุมที่มีความอุดมสมบูรณดังที่กลาวแลวขางตน การตอสูเพื่อแยงชิงความเปนใหญระหวางผูนํากลุมจึงเกิดขึ้น ผูนํากลุมที่เขมแข็งกวาก็จะมีอํานาจเหนือ และเปนผูนํากลุมตางๆ ในอาณาบริเวณนั้นทั้งหมด เมื่อมีจํานวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ผูนําก็จะตั้งตนเปนหัวหนาเผา หรือเปนกษัตริย ในเอเชียตะวันออกยุคแรกนั้น จีนมีการรวมตัวกันเปนสังคมใหญที่เปนปกแผนตามที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห และแมน้ําแยงซีเกียงกอนหนาชาวเกาหลีและญี่ปุน ในขณะที่บริเวณทางตอนเหนือของจีนและของเกาหลี ผูคนจะอาศัยอยูรวมกันเปนกลุมๆ สวนใหญดํารงชีวิตแบบปาเถื่อนลาหลังอยูมาก คนจีนจะเรียกชนเหลานั้นวา อนารยชน สวนที่ญี่ปุนก็มีสภาพไมแตกตางจากชนในบริเวณทางเหนือของจีน โดยมีการแยกกันอยูเปนกลุมเล็กกลุมนอย ในกรณีของจีนนั้นไมเปนการงายนักที่จะชี้ชัดถึงขอมูลทางประวัติศาสตรของจีนยุคโบราณ ทั้งที่เปนการอธิบายสภาพความเปนอยูของคนในแตละชวงเวลาและการ

Page 9: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

9

พัฒนาการของสังคมจากชวงเวลาหนึ่งไปสูอีกชวงเวลาหนึ่งตลอดยุคโบราณ ทั้งนี้เพราะคําวา จีนในยุคนั้นยังมิไดหมายถึงการเปนชนชาติเดียวกัน แตเปนที่รวมของชนตางชาติพันธุกวา 50 กลุมเขาดวยกัน นอกจากนี้แตละชาติพันธุก็ยังมีการแบงแยกยอยออกเปนกลุมเล็กกลุมนอยอีกหลายกลุม อนึ่ง แมวาพวกฮั่นซึ่งเปนกลุมใหญมีจํานวนมากที่สุดราวรอยละ 90 และครอบครองแผนดินจีนอยางตอเนื่อง แตก็มีชนกลุมนอย เชน พวกคีตาน แมนจู และมองโกล เขายึดอํานาจทําการปกครองจีน ในขณะที่ชนกลุมนอยกลุมอ่ืนๆ ก็มีการดํารงชีวิตอยูอยางอิสระในเขตปกครองของตนเอง โดยไมเรียกตัวเองวาเปนคนจีน อยางไรก็ตาม เมื่อกลาวสรุปทายที่สุดวา หากพวกเขาอาศัยอยูบนแผนดินจีน (ตามการขีดเสนกั้นอาณาเขตประเทศในยุคใหม) ก็คงตองเรียกวา คนจีน ไปทั้งหมด ดังนั้น การที่จะอธิบายถึงประวัติศาสตรยุคโบราณของจีนอยางละเอียดจึงทําไดยาก และมักกอให เกิดความสับสนอยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ ง เมื่อกลาวถึงความสัมพันธระหวางจีน-เกาหลี-ญี่ปุน ทั้งนี้เพราะตามสภาพที่เปนจริงในยุคโบราณนี้นั้น ในบางกรณีอาจเปนความสัมพันธระหวางชนกลุมนอยของจีนกับเกาหลีและญี่ปุน สวนเอกสารทางประวัติศาสตรที่เขียนโดยคนเกาหลีและญี่ปุนกลับระบุวา สังคมของพวกเขาไดติดตอกับ “จีน” แตก็ไมอาจเขาใจไดวา หมายถึง ชนกลุมนอยหรือราชสํานักของอาณาจักรจีนกันแน อยางไรก็ตาม เรื่องนี้จึงเปนเรื่องที่นาทาทายและชวนใหศึกษาถึงสภาพและเหตุการณที่เกิดขึ้นในบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนในยุคอดีตกาลนี้

1. สภาพทางภูมิศาสตรปจจุบัน ในเบื้องตนนี้จะขอกลาวถึงสภาพภูมิศาสตรของแผนดินที่เรียกวา “จีน” ในยุค

ปจจุบันเพื่อที่จะสามารถฉายภาพใหเห็นถึงการตั้งถิ่นฐาน ประชากร และการกําเนิดวัฒนธรรมของผูคนในบริเวณนี้ ทั้งนี้เพราะภูมิศาสตรเปนปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดเปนรูปลักษณของสังคมขึ้น จีนเปนประเทศที่กวางใหญอันดับสามของโลก โดยมีพ้ืนที่เฉพาะสวนที่เปนแผนดินใหญ ประมาณ 9.6 ลานตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีบริเวณนับตั้งแตตอนกลางของแมน้ําเฮลุงเจียง ใกลโมเหอ ลงมาจนถึงฝงเจิงมูของหมูเกาะหนานชางทางทิศใต และจากที่ราบสูงปารมีรทางทิศตะวันตก มาจนถึงบริเวณที่แมน้ําเฮลุงเจียง และแมน้ําวาสุลีไหลมาบรรจบกันทางทิศตะวันออก ประเทศจีนมีพรมแดนทางบกยาว

Page 10: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

10

20,000 กิโลเมตร ซึ่งติดตอกับประเทศเกาหลีทางตะวันออก สาธารณรัฐประชาชนมองโกลเลียทางเหนือ ประเทศรัสเซียและรัฐอิสระของอดีตสหภาพโซเวียตทางตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ สวนทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใตติดตอกับอัฟกานิสถาน ปากีสถาน อินเดีย เนปาล สิกขิม และภูฐาน และติดตอกับพมา ลาว และเวียตนามทางตอนใต สวนฝงทะเลของแผนดินใหญนั้นมีความยาวมากกวา 18,000 กิโลเมตร ทางฝงทะเลจีนตะวันออกทางทิศใตและตะวันออกเฉียงใตนั้น ติดตอกับคาบสมุทรเกาหลี ญี่ปุน ฟลิปปนส มาเลเซีย อินโดนีเซีย และบรูไนตามลําดับ จีนมีหมูเกาะใหญนอยมากกวา 5,000 เกาะ ซึ่งตั้งอยูกระจัดกระจายตามนานน้ําทะเลที่มีขนาดกวางใหญของจีน เกาะที่ใหญที่สุดไดแก เกาะไตหวัน รองลงมาก็คือเกาะไหหนัน หมูเกาะใหญนอยทั้งที่อยูในที่ลึกและตื้นเขินเหลานี้ไดรับการเรียกรวมๆ กันไปวาหมูเกาะทะเลจีนใต โดยมีชื่อเปนทางการวา หมูเกาะตงชา ชีชา จวงชา และหนานชาง เปนตน ก. ภูมิประเทศ ภูมิประเทศของจีนโดยทั่วไปนั้น จะเปนที่ราบสูงทางทิศตะวันตกแลวคอยๆ ลดต่ําลงมาทางทิศตะวันออก ลักษณะภูมิประเทศจะมีลักษณะตางกัน ตั้งแตเปนเทือกเขาสูงเสียดเมฆจนลาดมาเปนที่ราบลุมแมน้ําที่มีขนาดและรูปรางตางกัน ดังเชน ที่ราบสูง เนินเขาและที่ราบสูงอันกวางใหญแผปกคลุมแผนดินจีนทางตะวันตกเฉียงเหนือ สวนแมน้ําลําคลองและปากแมน้ําฉางเจียงอยูทางทิศตะวันออก หากมองจากเบื้องบนลงมา จะเห็นไดวาภูมิประเทศของจีนจะมีลักษณะเหมือนชั้นบันได สูงจากตะวันตกแลวลดต่ําเปนขั้นๆ มาทางตะวันออกตามลําดับ กล าวคือ จากที่ราบสูงชิงไฮ-ธิเบต ลงมายังที่ราบลุมทางทิศตะวันออก และฝงทะเล ข. เทือกเขา เปนที่รูจักกันทั่วไปวา ประเทศจีนประกอบดวยเทือกเขานอยใหญมากมาย ซึ่งมีเนื้อที่รวมกันมากกวา 2 ใน 3 ของเนื้อที่ประเทศทั้งหมด อาจจําแนกลักษณะเทือกเขาเหลานี้ตามแนวทิศทางไดเปน 3 ประเภท คือ แนวเทือกเขาตะวันออก-ตะวันตก เทือกเขาตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต และแนวเทือกเขาเหนือ-ใต แนวเทือกเขาตะวันออก-ตะวันตกจะอยูบริเวณทิศตะวันตกของจีน ประกอบดวยเทือกเขาอัลไต เทียนชาน คุนลุน คาราคอรัม กางดิส หิมาลัย ชิงหลิง และหนังหลิง

Page 11: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

11

เทือกเขาอัลไตนั้น มีความหมายวา “ภูเขาทองคํา” ในภาษามองโกเลีย ตั้งอยูทางเหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียง มีความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 3,000 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล ทอดแนวไปทางตะวันออกเฉียงใตจนถึงประเทศมองโกเลีย เทือกเขาเทียนชานนั้น มีบริเวณอยูทางตอนกลางของมณฑลซินเจียง สูงจากระดับน้ําทะเล 3,000 – 5,000 เมตร ยอดที่สูงที่สุดอยูทางตะวันตกของเทือกเขาซึ่งสูงถึง 7,000 เมตร เทือกเขานั้นประกอบดวยภูเขาใหญมากมายที่ซับซอนขนานกันอยูจนทําใหเกิดหุบเหวและทะเลสาบขึ้นมากมายระหวางรอยตอของภูเขาเหลานี้ เชน ทะเลสาบอายติงกล ทางตอนกลางของหุบเหวเตอปน มีระดับน้ําลึกที่ต่ํากวาระดับน้ําทะเลถึง 154 เมตร นับวาเปนบริเวณที่ต่ําสุดของประเทศจีน เทือกเขาคุนลุนทอดแนวจากที่ราบสูงปารมีรทางตะวันตกไปยังตะวันออกจนถึงทางตะวันตกเฉียงเหนือของที่ราบลุมเสฉวน มีความยาวทั้งหมด 2,500 กิโลเมตร โดยเฉลี่ยแลว เทือกเขานี้จะสูงกวาระดับน้ําทะเลมากกวา 5,000 เมตรขึ้นไป โดยมียอดเขาสูงถึง 7,000 เมตรอีกหลายยอด เทือกเขาคุนลุนนี้จะมีหิมะปกคลุมหลายชั้นตลอดจนกอนน้ําแข็งใหญๆ จึงเปนแหลงกําเนิดของแมน้ําฮวงโห (แมน้ําเหลือง) และแมน้ําฉางเจียง (แยงซีเกียง) สําหรับภูเขาบารยันฮารซึ่งอยูทางตะวันออกของเทือกเขาคุนลุนก็เปนแหลงตนน้ําของแมน้ําทั้งสองสายดังกลาวดวย เทือกเขาชิงหลิงทอดยาวประมาณ 1,500 กิโลเมตร ไปตามภาคกลางของประเทศจีน ตั้งแตกานสูซึ่งอยูตอนใตทางตะวันตกไปยังทางตะวันออกจนถึงบริเวณแมน้ําฮวงโหและแมน้ําแยงซีเกียงไหลบรรจบกัน เทือกเขาสูงนี้สูงกวาระดับน้ําทะเล 2,000 – 3,000 เมตร และเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารตางๆ ระหวางแมน้ําฮวงโหและแมน้ําฉางเจียง เทือกเขาคาราคอลัม หมายถึง “ภูเขาคุนลุนสีมวงดํา” ในภาษาเหวยเวอ ทอดแนวจากพรมแดนซินเจียง-แคชเมียร ซึ่งอยูทางตะวันตกเฉียงเหนือมายังตะวันออกเฉียงใตเขาไปในธิเบตตอนเหนือ ความสูงเหนือระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ย ประมาณ 6,000 เมตร ขณะที่ยอดโชกียสูงถึง 8,611 เมตร นับเปนยอดเขาที่สูงที่สุดเปนอันดับที่สองของโลก เทือกเขาหนันหลิง เปนชื่อที่ใชเรียกกันทั่วไปสําหรับภูเขาที่อยูในมณฑลกวางสี-กวางตุง และหูหนัน-เจียงสี ประกอบดวยภูเขายุยเจิ้ง ตูปง เมิ่งจูง ชีเตี้ยน และตายู ซึ่งตางก็ถูกขนานนามวา “ภูเขาทั้งหา”

Page 12: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

12

เทือกเขากางดิส แปลวา “ผูเปนนายแหงภูเขาทั้งหมด” ในภาษาธิเบต สูงเหนือระดับน้ําทะเล 6,000 เมตรทางธิเบตตอนใต และเปนแหลงกําเนิดของตนน้ําลําธารที่จะไหลลงทางที่ราบสูงภาคพื้นทวีปและมหาสมุทรอินเดีย สวนยอดเขาคางริงโบชือ หรือ “สมบัติแหงหิมะ” นั้น นับเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์สําหรับชาวพุทธที่จะมาจาริกแสวงบุญ เทือกเขาหิมาลัยตั้งอยูทางริมสุดทางใตของที่ราบสูงชิงไฮ-ธิเบต บริเวณที่สําคัญของเทือกเขานี้จะอยูทางพรมแดนของจีน-อินเดีย และจีน-เนปาล ความยาวทั้งหมดของเทือกเขานี้มีประมาณ 2,500 กิโลเมตร สูงกวาระดับน้ําทะเลโดยเฉลี่ยประมาณ 2,500 เมตร ขณะที่มากกวา 40 เปอรเซ็นตจะมียอดสูงที่ปกคลุมดวยหิมะประมาณ 7,000 เมตร ยอดเขาที่สําคัญที่สุดไดแกยอดโชโมลังมา หรือ “ยอดเขาเทพี” ในความหมายของธิเบต ซึ่งถือวาเปน “ที่พักอาศัยของหิมะ” เพราะยอดเขานี้สูงถึง 8,848.13 เมตรทางพรมแดนจีน-เนปาล นับไดวาเปนยอดเขาที่สูงสุดของโลก นักไตเขาชาวจีนไดทําการไตเขานี้เพื่อทําการสํารวจ 2 ครั้ง คือ ใน ค.ศ. 1960 และ ค.ศ. 1975 เทือกเขาทางตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใตนั้นประกอบดวยแนวเทือกเขาทางตะวันออกและตะวันตก โดยจะอยูทางตะวันออกของจีนเปนสวนใหญ ทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน มีระดับความสูงเฉลี่ย 2,700 เมตร ตั้งแตคาบสมุทรเลียวตุง และชานตุง ลงมาทางใตจนถึงมณฑลซินเจียงและฟูเจี้ยน ที่เหลือจะประกอบดวยเทือกเขาฮิงกันใหญ ซึ่งอยูทางตะวันออกเฉียงเหนือของจีน ภูเขาไตหางซึ่งอยูทางเหนือของจีนมียอดเขาอยูทางตนน้ําแยงซีเกียง และภูเขาซุยเฟงในหูหนัน สวนเทือกเขาทางเหนือ-ใต โดยมากจะประกอบดวยภูเขาเหิงดวนในซือฉวนทางตะวันตกและมณฑลยูนนาน และภูเขาทางมณฑลไตหวันตะวันออก ค. แมน้ําและทะเลสาบ แมน้ําในประเทศจีนมากกวา 1,500 สายมีบริเวณลุมแมน้ํา กวางขวางมีเนื้อที่มากกวา 1,000 ตารางกิโลเมตร ไดแก แมน้ําฉางเจียงหรือแยงซีเกียง ฮวงโห เฮลุงเจียง ชูเจียง ไฮเหอ และฮวยเหอ แมน้ําฉางเจียง เปนแมน้ําที่กวางใหญที่สุดของจีนเกิดจากแมน้ําเตาเถาทางตะวันตกเฉียงใตของยอดเขาเกอลาตันตงซึ่งมีหิมะปกคลุมหนาแนนและเปนยอดเขาที่สําคัญของเทือกเขาตังกูลา ไหลผานมณฑล ชิงไฮ ธิเบต ซือฉวน ยูนนาน เหอเปย หูหนัน เจียงสี อันฮุย และเจียงสู แลวไหลลงสูที่ราบลุมแมน้ําซึ่งมีบริเวณเนื้อที่ราว 1.8 ลานตารางกิโลเมตร

Page 13: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

13

แมน้ําฮวงโหนับเปนแมน้ํากวางใหญอันดับสองของจีน มีตนกําเนิดจากทางดานเหนือของเทือกเขาบารยันฮารในมณฑลชิงไฮ ไหลผานมณฑลชิงไฮ ซือฉวน กานสู หนิงเซี้ย มองโกเลียใน ชานสี เหอหนันและชานตุง แลวไหลลงอาวโบไฮทางจังหวัดเคนลี่ของมณฑลชานตง แมน้ําสายนี้มีความยาวทั้งหมด 5,464 กิโลเมตรและมีเนื้อที่ของที่ราบบริเวณลุมแมน้ํามากกวา 750,000 ตารางกิโลเมตร บนฝงแมน้ําจะมีเมืองหลันโจว เบาเถา เจิ้งโจว จ้ีหนัน และเมืองสําคัญอื่นๆ ตั้งอยู ลุมแมน้ําฮวงโหนี้เปนตนกําเนิดของบริเวณประวัติศาสตรและวัฒนธรรมจีน แมน้ําฮวงโหเปนแมน้ําที่มีความอุดมสมบูรณที่สุดของโลกเพราะแตละปไดพัดพาดินอุดมสมบูรณถึง 1.6 พันลานตันมาไวตามบริเวณที่แมน้ําไหลเอื่อย และพื้นดินจะเริ่มตื้นเขินมีโคลนทับถมกันเปนจํานวนมาก โดยอาศัยการสะสมของการทับถมของดินอุดมที่แมน้ําพามานี้เอง ทองแมน้ําจะตื้นเขินขึ้นมาจนกลายเปนเขื่อนสองฟากฝง ในสมัยโบราณนั้นแมน้ํานี้มีสมญาวา “ความวิปโยคของจีน” เพราะเกิดน้ําทวมใหญอยูเสมอ ยิ่งกวานั้น การปรวนแปรอยางทารุณของแมน้ํานี้ยังมีการบันทึกในประวัติศาสตรไว 26 ครั้งดวยกันถึงเหตุการณที่กอใหเกิดความทุกขยากสูญเสียอยางใหญหลวงของชาวจีน ง. ภูมิอากาศ การที่จีนมีพ้ืนที่กวางใหญทั้งเนื้อที่และลักษณะภูมิประเทศ ทําใหจีนมีภูมิอากาศที่แตกตางกันไปตามแตละทองถิ่น โดยทั่วไปแลว ภูมิอากาศบริเวณคาบสมุทรเลยโจว เกาะไหหนันและตอนใตของไตหวัน และมณฑลยูนนานนั้นจัดเปนภูมิอากาศเขตรอน มีอากาศรอนและฝนตกตลอดป จึงทําใหมีพืชพรรณธัญญาหารอุดมสมบูรณ มณฑลเฮลุงเจียงทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีอากาศอบอุนในระยะสั้นๆ และมีฤดูหนาวที่อากาศหนาวจัดมาก สวนบริเวณลุมแมน้ําฉางเจียงและฮวยเหอทางภาคตะวันออกนั้นมีอากาศอบอุนและชุมชื้นโดยมีฤดูแตกตางกันทั้ง 4 ฤดู สวนที่ราบสูงยูนนาน-ไกวโจวทางตะวันตกเฉียงใตของจีนมีฤดูหนาวคอนขางอบอุนและฤดูรอนคอนขางเย็น เปนตน มีความแตกตางของอุณหภูมิทางตอนเหนือและตอนใตในฤดูหนาวมาก แตจะมีนอยในฤดูรอน ความแตกตางของอุณหภูมิในเดือนมกราคมระหวางเมืองฮารบินทางตะวันออกเฉียงเหนือและเมืองกวางโจวทางตอนใตอยูในระดับ 35 องศา ในขณะที่บริเวณภาคเหนือนั้นแมน้ํามีหิมะปกคลุม แตลุมแมน้ําในมณฑลทางตอนใตจะกลายเปน

Page 14: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

14

ฤดูใบไมผลิแลว นอกจากนี้ขณะที่ทางจีนตอนใตจําตองใชเสื้อกันฝนกัน แตบริเวณหลายแหงทางตะวันตกเฉียงเหนือกลับไมจําเปนตองใชเสื้อกันฝนกันเลย จ. พืช ความแตกตางกันดานที่ดินและลมฟาอากาศนั้น ทําใหจีนมีพืชพรรณหลายหลากชนิด ตั้งแตพืชที่อยูในบริเวณปาชุมชื้นจนถึงทุงหญากวางใหญและทะเลทรายที่แหงแลง ทางปลายสุดของตะวันออกเฉียงเหนือนั้นเปนบริเวณปาไมผลัดใบในเขตอบอุนคอนขางหนาวที่มีใบไมเล็กแหลม เชน ลาช สปรูซ สน สวนปาตนเอลม เมเปล ลินเดน เบอรช และแอชจะขึ้นปกคลุมแถบภูเขาตางๆ บริเวณพรมแดนจีน-เกาหลี ในขณะที่ปาตนโอคและปาผสมระหวางโอคและสนนั้นขึ้นอยูตามภูเขาทางภาคเหนือและคาบสมุทรเหลียวตุง และชานตุง จึงทําใหกลายเปนเขตปาไมผลัดใบในเขตอบอุนตามแนวดานเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ

ฉ. ความแตกตางทางดานชาติพันธุ ประชากรของจีนมีมากกวา 1,300 ลานคน ประกอบดวยชนชาติฮ่ันราวรอยละ 91 และสวนที่เหลือเปนชนตางชาติพันธุ (ชนกลุมนอย) ราว 56 เผา ที่อาศัยอยูกระจัดกระจายเปนกลุมๆ อยูทั่วประเทศ ทําใหจีนมีลักษณะเปนเสมือนสหประชาชาติที่ชนหลายเผาอาศัยอยูรวมกัน โดยมีภาษา วัฒนธรรม ลัทธิความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี เสื้อผาและเครื่องแตงกาย ตลอดจนอาหารที่แตกตางกัน ชนกลุมนอยที่อาศัยอยูทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ติดตอกับคาบสมุทรเกาหลี ไดแก คีตาน วีมาน เฉียงนู แมนจู มองโกล เปนตน ความแตกตางทางดานชาติพันธุในประเทศจีนมีลักษณะคลายคลึงกับความแตกตางกันทางดานภูมิศาสตร โดยบริเวณภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น เพราะตั้งอยูติดกับบริเวณไซบีเรีย สวนภาคกลางและทางภาคตะวันตกของประเทศแหงแลง มีทะเลทรายปกคลุมเปนบริเวณกวางใหญนั้น มีจํานวนประชากรอาศัยอยูอยางกระจัดกระจายและมีจํานวนไมมากนัก ผูคนจะเดินทางติดตอกันตามเสนทางทางบก เรื่อยไปถึงเอเชียกลางและทวีปยุโรป ผานดินแดนที่มีความแหงแลงของทะเลทรายและเขตทุรกันดารของเทือกเขา ซึ่งไดสรางตํานานสายไหมขึ้นในอดีต ในขณะที่ประชากรสวนใหญของประเทศจะอาศัยอยูตามที่ลุมชายฝงตะวันออกติดกับมหาสมุทรแปซิฟก และทางทิศใตที่ติดตอกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ผูคนทางฝงนี้จึงมีความชํานาญในการเดินเรือ ทําการติดตอกับสังคมอื่นที่ตั้งอยูตามชายฝงของทะเลเหลือง ทะเลตะวันออก(ทะเลญี่ปุน) และทะเลจีนใต

Page 15: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

15

2. ประชากร: ยอนรอยจากยุคโบราณกาลมาถึงยุคการตั้งถิ่นฐานถาวร

มนุษยโบราณสกุลโฮโม อีเรคตัสไดวิวัฒนาการตอมาเปนโฮโม เซเปยนส เซเปยนส และไดอาศัยอยูกระจัดกระจายไปทั่วลุมน้ําฮวงเหอ ในบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คงตองย้ําอีกครั้งหนึ่งวา ผูคนที่อาศัยอยูบนดินแดนแผนดินใหญในยุคโบราณ ยังไมอาจเรียกไดวาเปน “คนจีน” ในความหมายปจจุบัน ทั้งนี้เปนเพราะจํานวนประชากรมีไมมากนัก และอาศัยอยูอยางกระจัดกระจายเปนกลุมๆ ตามพื้นที่ตางๆ แตละกลุมจะผูกพันติดตอกันตามสายเลือด หรือโคตรตระกูล (clan) โดยพวกเขามีชื่อเรียกกลุมของตนเองตามเผาที่ตางกันไป สวนการขีดเสนแบงอาณาเขตยังไมเกิดขึ้น เวนแตการกําหนดพื้นที่ระหวางกลุมหรือเผาอยางคราวๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตามพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ เชน บริเวณที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห และแมน้ําแยงซีเกียง ซึ่งเปนบริเวณที่คนหลายกลุมอาศัยอยูในบริเวณใกลเคียงกัน อนึ่ง คนในยุคโบราณกอนคริสตศักราชนั้น มักมีการรบพุงแยงชิงความเปนใหญเหนือดินแดนที่ราบลุมแหงนี้ตลอดเวลา ในที่นี้จะไมขอกลาวถึงกลุมชาติพันธุที่อาศัยอยูในทั่วทุกภูมิภาคของจีนทั้งหมด แตจะเนนกลาวเฉพาะบริเวณภาคกลาง - ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งนี้เพราะภาคกลาง - ภาคเหนือหรือแถบลุมแมน้ําฮวงโห เปนบอเกิดของอารยธรรมจีนตั้งแตเริ่มแรก สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หรือที่ชาวตะวันตกเรียกวา แมนจูเรีย) เปนดินแดนที่ติดตอกับคาบสมุทรเกาหลีและทะเลตะวันออก (ทะเลญี่ปุน) ที่มีคนมากมายหลายเผาอาศัยอยูบริเวณแถบนี้อาจแบงประชากรออกเปนกลุมใหญได 2 กลุม คือ กลุมคนนอกดานและคนในดาน ดังมีรายละเอียดตอไปนี้ (1) คนนอกดาน เปนชนเผาที่อาศัยอยูในภาคเหนือสุดและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อยูนอกเขตกําแพงเมืองจีน ปจจุบันอยูในเขตมณฑลมองโกเลียใน เฮหลุงเจียง จ้ีหลิน และเหลียวหนิง) รวมไปถึงประเทศมองโกเลีย ซึ่งเปนชนเผาที่มีความเจริญนอยกวาเมื่อเทียบกับคนในดาน โดยคนในดานจะเรียกคนนอกดานเหลานี้วา พวกอนารยชน ไดแก เผาคีตาน (Khitan) เผาหยูเจิน (Jurchen) เผาแมนจู (Manchu) เผาเฉียงนู (Hsiung-nu) เผาเจีย (Chieh) เผาเซียนเปยหรือมองโกล (Hsien-pei) เปนตน อนึ่ง ชนแตละเผายังแบงแยกออกเปนเผาเล็ก เผานอยอีก เชน พวกแมนจู ประกอบดวยพวก

Page 16: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

16

ตังกัส (Tangus) และพวกทารทาร (Tartar) ในขณะที่พวกมองโกลประกอบดวยพวกเซียนเปย และพวกโตปา (To’pa) เปนตน

ชนเผาเหลานี้เปนพวกเรรอน (normad) ประกอบอาชีพดวยการเลี้ยงสัตว โดยเดินทางดวยมา อาศัยอยูตามเตนทที่สามารถอพยพเคลื่อนยายไดงายไปยังแหลงที่มีหญาอุดมสมบูรณเพื่อสัตวเลี้ยงของตน ชวงฤดูรอนมักอพยพขึ้นไปอาศัยอยูตามไหลเขาและที่ราบสูง สวนในฤดูหนาวก็รอนเรลงไปอาศัยยังหุบเขาและที่ราบลุมระหวางไหลเขา คนเหลานี้มีฝมือในการรบบนหลังมามาก มีอุปนิสัยดุราย ปาเถื่อน และโหดเหี้ยมที่สามารถสังหารศัตรูโดยไมคํานึงถึงมนุษยธรรม นั่นคือ สามารถทําลายและฆาลางเผาพันธุ ไมวาจะเปน ผูหญิง เด็ก และคนชราที่เปนสมาชิกของชนเผาอื่น จึงมีการสูรบหรือสงครามระหวางเผาเสมอๆ อนึ่ง เนื่องจากเปนกลุมที่มีฝมือในการรบ และมักรุกราน “คนในดาน” อยางตอเนื่อง และมีหลายครั้งที่สามารถยึดครองเมืองหลวงและครอบครองจีนทั้งประเทศไดหลายครั้งหลายครา เชน เผาคีตานปกครองจีนในระหวางคริสตศตวรรษที่ 10 – 13 เผาหยูเจินตั้งราชวงศจินขึ้น เผามองโกลตั้งราชวงศหยวนในระหวาง ค.ศ. 1276 – 1368 และเผาตังกัสแหงแมนจูปกครองจีนระหวาง ค.ศ. 1644 – 1911 นอกจากนี้ พวกเขาไดตั้งตนเปนอาณาจักรเล็กๆ ในแถบภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน เผาคีตานตั้งอาณาจักรเหลียวระหวาง ค.ศ. 947 – 1125 พวกมองโกลหรือชนเผาเซียนเปยตั้งอาณาจักรเหวยเหนือ (Northern Wei) ของราชวงศโตปา (To’pa) เปนตน

จะเห็นวาชนเผานอกดานไดสรางความหวาดผวาใหแกอาณาจักร หรือรัฐตางๆ ที่ตั้งอยูในดานอยางตอเนื่อง และการที่คนในดานเรียกวา ชนปาเถื่อน ก็เพราะมีการยกพลบุกแยงชิงอาหาร ปลนสดมภทรัพยสิน แยงชิงผูหญิงและกวาดตอนผูคนไปเปนทาส ทําทารุณกรรมสังหารผูคนโดยไมเลือก รวมทั้งเผาผลาญบานเรือน เปนตน คนในดานตางก็ตองปกปองกลุมของตนเองทุกวิถีทาง และสรางกําแพงเมืองเพื่อปองกันการรุกราน ในบางครั้งก็กรีฑาทัพออกไปปราบปรามกลุมตางๆ ที่อาศัยอยูนอกดานอยูเนืองๆ (2) คนในดาน หรือเรียกในภาษาจีนวา จงหยวน หมายถึงเขตพื้นที่ราบลุมตอนกลางของจีนมีประชากรอาศัยกันอยูอยางหนาแนนตามบริเวณลุมน้ําฮวงโห เพราะเปนบริเวณที่ราบลุมกวางใหญ มีความอุดมสมบูรณ เหมาะที่จะทําการเพาะปลูก ทั้งนี้เพราะกระแสน้ําไดพัดพาตะกอนจากเทือกเขาตนน้ําจากภาคกลางและภาคตะวันตกไหล

Page 17: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

17

ตามแควนอยใหญสูแมน้ําใหญ ตะกอนเหลานี้จะทับถมบริเวณที่ราบลุมตอนปลายของแมน้ํา ณ. ที่แหงนี้เอง (ภาคกลาง – ภาคเหนือ) ถือเปนบอเกิดอารยธรรมที่เจริญรุงเรืองของจีน โดยในยุคแรก ผูคนทําการเพาะปลูกขาวมิลเลต ขาวโพด และขาว รูจักการเลี้ยงหมอนไหมและทอผา ทําภาชนะดินเผา มีการผลิตและประดิษฐหยกเปนเครื่องประดับ เครื่องมือ เครื่องใชที่ทําดวยหิน และทําการถลุงทองสัมฤทธิ์เพื่อทําอุปกรณ และอาวุธ สวนที่ราบลุมแมน้ําฉางเจียง หรือแยงซีเกียงก็เปนอีกบริเวณหนึ่งที่ผูคนตั้งบานเรือนอาศัยอยู แถบนี้มีจํานวนประชากรเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะความอุดมสมบูรณ บริเวณลุมน้ําแยงซีเกียงจะมีความเจริญรุงเรืองนอยกวาบริเวณลุมน้ําฮวงโห

ในยุคโบราณนี้ มีการกอตั้งรัฐตางๆ ข้ึนมากมายในแถบภาคเหนือ โดยแบงออกเปนเผาๆ กระจัดกระจายไปทั่วบริเวณสองลุมน้ํานับตั้งแต ป 2000 – 1500 ปกอนคริสตศักราชอนึ่ง การรบพุงระหวางรัฐตางๆ เปนไปอยางตอเนื่อง โดยเผาที่มีกําลังเขมแข็งก็เขาปกครองเผาที่ออนแอกวาสลับกันไปมา จนกระทั่งคนเผาเซี้ย (Xia) เปนกลุมที่มีอิทธิพลมาก ไดกอตั้งเปนราชวงศเซี้ยข้ึน แตนักประวัติศาสตรยังไมยอมรับวาบริเวณนี้มีความเปนปกแผนเปนประเทศ เพราะชนเผาอื่นมากมายที่ไมไดยอมรับถึงความยิ่งใหญของชนเผาเซี้ย และทําการตอตานอิทธิพลของรัฐเซี้ย ตอมาไมนาน อํานาจของคนเผานี้ก็เสื่อมถอยลง ในชวงถัดมาราวป 1520 – 1027 กอนคริสตศักราช มีชนเผาชางไดสรางอิทธิพลเหนือชนกลุมอื่น และสถาปนาเผาตนเปนราชวงศชาง (Shang) โดยไดสรางเมืองหลวงที่เมืองโบกอน ตอมาไดกลายเปนสังคมที่มีความเจริญกาวหนาทั้งทางดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมขึ้น สิ่งสําคัญก็คือมีการสรางสังคมที่มีรูปแบบของรัฐบาลกลาง สรางกองทัพที่มีระบบระเบียบ และสรางกําแพงลอมรอบเมือง ผูคนมีการแบงชนชั้นตามสายตระกูลหรือโคตรตระกูล มีการถือเชื้อสายของชนชั้นสูง (aristocratic lineage) อีกทั้งหามแตงงานระหวางคนภายในตระกูลเดียวกัน ในอาณาจักรชาง ประชากรสามารถทําไหหมักเหลาไวน สรางเครื่องดนตรี และประดิษฐตัวอักษร Si Mu Wu บนแผนทองสัมฤทธิ์ สรางปฏิทิน และมีการฝงศพดวยการฝงมนุษย (ทาส) ตามศพผูเปนนายเพื่อบูชายันตดวย

Page 18: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

18

ตอมาชนเผาโจว (Chou) ไดทําลายลางอํานาจของราชวงศชาง และทําการครอบครองบริเวณแถบลุมน้ําฮวงโหในชวงป 1027 – 258 กอนคริสตศักราช ราชวงศโจวไดนําระบบศักดินามาใช โดยมอบที่ดินทํากินและประชาชนใหกับขุนนางเชื้อพระวงศ ไปดําเนินการอยางเปนอิสระ ลักษณะนี้กอใหเกิดหนวยการปกครองยอยจํานวน 71 รัฐ รัฐที่มีขนาดใหญไดแก ลู เว ฉี หยวน ฉิน เปนตน ทุกหนวยการปกครองยอย จะขึ้นตรงตอกษัตริย

จักรพรรดิจนี

ยุคโบราณที่จีนปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยนั้น จักรพรรดิทรงมีฐานะเปนโอรสแหงสวรรค ผูไดรับอาณัติจากสวรรคใหมาปกครองโลกมนุษย ดังนั้น พระราชอํานาจของพระองคจึงมีอยูอยางไมจํากัด พระราชโองการถือเปนกฎหมายสูงสุดที่ผูใดจะละเมิดมิได มีหลักฐานพบวา จักรพรรดิในตํานานที่ปกครองจีนมีมานานกอนยุคราชวงศเซี้ยหรือราว 2,000 ปกอนคริสตศักราชเสียอีก โดยตัวหนังสือจีนที่เขียนวา หวง แปลวา พระราชาสมมติเทพ

หรือเทวราชา และคําวา ตี้ แปลวา กษัตริยผูทรงธรรม/นักปราชญ หรือธรรมราชา ทั้งสองคํานี้จะเขียนแยกออกจากกันเพื่อใชเรียกตําแหนงกษัตริยที่มีคุณสมบัติตรงตามนั้น ตอมาในยุคราชวงศฉิน (ป 211 กอนคริสตศักราช) ไดรวมคําทั้งสองเปนคําเดียวกัน คือ หวงตี้ (คนไทยอานวา ฮองเต) เพื่อใชเรียกองคจักรพรรดิ คํานี้จึงใชเรียกเรื่อยมาจนกระทั่งถึงวาระสุดทายของราชวงศชิงในป ค.ศ. 1912 คนจีนมีความเชื่อกันวา จักรพรรดิเปนสมมติเทพที่สวรรคสงลงมาปกครองบานเมือง ตามปกติ การสืบเชื้อสายจะเปนไปตามสายโลหิต โดยพระโอรสองคโตของมเหษีจะขึ้นครองราชยตอจากพระบิดา ซ่ึงเปนไปตามหลักลัทธิธรรมเนียมของขงจื้อ อยางไรก็ตาม หากผูปกครองพระองคใดไมอยูในทศพิธราชธรรม หรือโหดราย ก็จะถูกสวรรคลงโทษ กอใหเกิดทุพภิกขภัย และอาเพศตางๆ อันเปนลางบอกเหตุ จึงตองมีการเลือกจักรพรรดิองคใหม ซ่ึงอาจเปนสามัญชนที่มีความเกงกลา ดังเชน ในสมัยราชวงศฮ่ันและราชวงศหมิง หรืออาจเปนชนเผาอื่น ดังเชนในสมัยราชวงศหยวนและราชวงศชิง เปนตน อันเปนการเปลี่ยนเปนราชวงศใหมและสืบทอดอํานาจติดตอกันมาเปนชวงๆ ลักษณะดังนี้ เปนเอกลักษณสําคัญของจีนที่ทําใหระบบสมบูรณาญาสิทธิราชยมีความมั่นคงและธํารงอยูไดนานหลายพันป

Page 19: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

19

เมื่อสมัยของโจวตะวันตกสิ้นสุดลงในป 770 กอนคริสตศักราช ก็มีการตั้งเมืองหลวงใหมชื่อ ลัวอ้ี (หรือเมืองหลัวหยาง ในมณฑลเหอหนันปจจุบัน)และเรียกกันวายุค โจวตะวันออกโดยไดแบงออกเปนชวงๆ คือ สมัยฤดูใบไมผลิและฤดูใบไมรวง ( 770 – 476 กอนคริสตศักราช) และสมัยรัฐทหาร ( 475 – 221 กอนคริสตศักราช) ชาวโจวสามารถประดิษฐเทคโนโลยีในการหลอมเหล็กและหลอเหล็กเปนผานไถ ทําเปนขวาน และเครื่องมืออ่ืนๆ อนึ่ง กษัตริยอนุญาตใหชาวบานจับจองที่ดินทํากินสวนบุคคลได ดังนั้น ในรัฐลู จึงมีการเรียกเก็บภาษีที่ดินของชุมชนขึ้นเปนครั้งแรกในป 594 กอนคริสตศักราช โดยแทจริงแลว กษัตริยหรือจักรพรรดิของราชวงศชาง และราชวงศโจวมิไดมีอํานาจและมีอิทธิพลเหนือรัฐอื่นๆ มากมายนัก ทั้งนี้เพราะชนในแตละรัฐตางเปนกลุมชนที่มีลักษณะเดนเปนเอกลักษณของตนเอง ทําการปกครองและใชชีวิตอยูรวมกันในกลุมพวกของตน แตที่เรียกเปนราชวงศก็เนื่องจากคนกลุมนี้มีความเขมแข็งมากกวารัฐอ่ืนเพียงเล็กนอย อีกทั้งยังอางวามีอิทธิพลเหนือดินแดนเหลานั้นดวย อนึ่ง ความกวางใหญไพศาลของเขตปกครองของแตละรัฐ และระยะทางที่หางไกลระหวางรัฐทําใหราชอาณาจักรเปนเพียงในนาม และการขีดเสนอาณาเขตเปนเพียงความนึกคิดของผูปกครองที่เปนกษัตริย ดวยเหตุนี้ นักประวัติศาสตรชาวตะวันตกจึงยังไมเรียกวาจีนในความหมายที่เปนแผนดินที่มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จนกระทั่งมีการรวบรวมแวนแควนเปนปกแผนเปนครั้งแรกในสมัยราชวงศฉิน (ป 221 – 210 กอนคริสตศักราช) ดังที่กลาวแลวขางตนวา การแยงชิงความเปนใหญระหวางรัฐตางๆ เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ทําใหรัฐเล็กๆ ตองตกอยูใตอิทธิพลของรัฐใหญ ในขณะเดียวกันภายในรัฐเดียวกันก็มีการแยงชิงอํานาจระหวางกลุมผูนําทางการเมืองอยางดุเดือดและเขมขน อํานาจที่แทจริงจึงตกอยูในมือของเหลาขุนนางและขาราชการชั้นผูใหญ ในขณะที่ประชาชนไดรับความทุกขยาก ดังนั้นจึงเกิดมีนักปราชญ เชน ขงจื้อ (มีชีวิตอยูในชวงป 551 – 479 กอนคริสตศักราช เกิดที่รัฐลู) เลาจื้อ จังจื้อ และหันเฟย เปนตน คนเหลานี้ไดตั้งสํานักหรือสถานศึกษาเพื่อฝกอบรมเหลาขุนนาง และผูคนใหมีคุณธรรมของการอยูรวมกัน นั่นคือ ความซื่อสัตย ความเห็นอกเห็นใจ ความรัก และความยุติธรรม ข้ึนมาทดแทนการแขงขันชิงดีชิงเดน ความอิจฉาริษยา ความเห็นแกตัว และสงครามเพื่อให

Page 20: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

20

สังคมมีความสงบสุข ดังนั้น จึงเกิดมีลัทธิหรือสํานักขึ้นมากมายในชวงรอยตอของคริสตกาล ในจํานวนนี้ ลัทธิขงจื้อไดรับความนิยมสูงสุดและกลายเปนลัทธิความเชื่อที่เปนรากฐานของการดํารงชีวิตของคนในสังคมเอเชียตะวันออกนับตั้งแตนั้นมาจนปจจุบนั ในยุคราชวงศฉิน คนในดานไดรวมตัวกันเปนปกแผน จึงมีการเรียกวา อาณาจักรจีนขึ้นเปนครั้งแรก โดยไดขีดเสนอาณาเขตทางทิศเหนือของประเทศไปจรดกําแพงเมืองจีน หรือวานหลี่ฉางเฉิง หรือกําแพงหมื่นลี้ ซึ่งมีความยาวประมาณ 10,000 ลี้ (ราว 5,000 กิโลเมตร) ความกวางบางชวงขนาดมาวิ่งเรียงสี่ตัวได กําแพงนี้สรางขึ้นเพื่อปองกันการรุกรานจากพวกนอกดานที่มักเขามาปลนฆาชิงทรัพยอยูเนืองๆ ในการสรางกําแพงยักษนี้เปนการสรางเชื่อมกําแพงของแควน (รัฐ) ตางๆ ใหติดตอกันยาวตอเนื่องจากภาคตะวันตกไปจรดทะเลในภาคตะวันออก การสรางกําแพงนี้เปนโศกนาฏกรรมของมนุษยชาติเพราะเนื่องจากผูคนที่ถูกเกณฑไปสรางตางลมตายนับพันคน อยางไรก็ตาม กําแพงนี้ถือไดวาเปนสิ่งมหัศจรรย 1 ใน 7 ของโลกในยุคโบราณและมีปรากฏใหเห็นจนถึงทุกวันนี้ การเก็บภาษีอยางหนักราวสองในสามของผลผลิต การเกณฑคนไปทํางานใหกับรัฐ และเกณฑคนไปสรางกําแพงยักษและพระราชวัง ทําใหเกิดความเดือดรอนทั่วไปในหมู ชาวนา จนถึงป 209 กอนคริสตศักราช หัวหนากบฎชาวนาชื่อ เฉิน เซ็ง (Chen Sheng) และอู กวาง (Wu Guang) ไดนําพรรคพวก 900 คน ประกาศตั้งรัฐบาลใหมและเรียกรองใหชาวจีนรวมกันขับไลราชวงศฉินออกไป การกระทําในครั้งนี้กอใหเกิดความปนปวน ในที่สุดก็สามารถลมลางราชวงศฉินลงไปได ตอมา หัวหนากบฎชาวนาชื่อ หลิว ปง ไดรวบรวมประเทศและตั้งตนเปนกษัตริยแหงราชวงศฮ่ันข้ึน เรียกกันวา ฮ่ันตะวันตก ครองอํานาจระหวางป 206 กอนคริสตศักราชถึง ค.ศ. 24 พระองคนําระบบการปกครองของราชวงศฉินมาใชโดยผูวาราชการจังหวัดทําหนาที่ในการบริหารและควบคุมดูแลอําเภอในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบ และผูวาราชการจังหวัดจะขึ้นตรงตอรัฐบาลกลาง ราชวงศฮ่ันไดปกครองจีนและสรางอารยธรรมขึ้นมากมาย

ศิลปวัฒนธรรมในยุคราชวงศฉิน - ฮ่ันนี้ไดเจริญรุงเรืองยิ่ง โดยมีหลักฐานสําคัญสองชิ้นที่ถูกคนพบ นั่นคือ หนังสือเรื่อง Records of the Historians เขียนโดยซือหมา

Page 21: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

21

เฉียน (Sima Qian, 145-90 B.C.) และ History of the Han Dynasty เขียนโดยบันคู (Ban Gu, 32-92 A.D.) หนังสือเลมแรกเปนการเขียนตามแนวชีวประวัติเพื่อเลาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตรทั่วไป สวนเลมที่สองเขียนเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตรของราชวงศ ฮ่ัน แนวการเขียนทั้ งสองแบบนี้กลาย เปนแบบฉบับของบันทึกทางประวัติศาสตรของทางราชการอีก 2,000 ปในกาลตอมา โดยมีการเขียนบทประพันธที่รอยเรียงเปนเรื่องยาว สวนนักปรัชญาชื่อ หวัง ชอง (Wang Chong) เขียนเรื่อง

Discourses Weighed in the Balance ไดใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติในแงวัตถุนิยมเบื้องตนและคัดคานความเชื่อในเรื่องโชคลางที่ชนชั้นปกครองใชเปนเครื่องมือหลอกลวงประชาชน ในดานจิตรกรรมนั้น ชาวจีนในราชวงศฮ่ันสามารถแกะสลักหินและอิฐไดเปนผลสําเร็จ สามารถวาดภาพบนแผนอิฐบนหลุมฝงศพและทํา

เครื่องเขินไดอยางสวยงาม ในทางวิทยาศาสตรก็มีการเขียนหนังสือชื่อ Nine Chapters of

the Mathematical Art ที่นําเสนอแนวคิดใหมๆ เชน การคิดคํานวณเศษสวน วิธีการคิดเลขบวกและลบ และทศนิยม เปนตน สวนนักฟสิกสชื่อจาง เฮง (Zhang Heng) สามารถประดิษฐเครื่องบันทึกแผนดินไหวและเครื่องมือทางดาราศาสตรซึ่งทํางานโดยกําลังน้ํา

จาง ชองจิง (Zhand Shongjing) เขียนหนังสือชื่อ On Typhoid Fevers and Other

Diseases เปนเรื่องเกี่ยวกับไขไทฟอยดและโรคภัยไขเจ็บตางๆ ถือไดวาเปนตําราการแพทยที่มีความสําคัญยิ่ง ในชวงเวลาเดียวกันนี้ หัวตู (Hoa Tuo) ไดใชวิธีฝงเข็มกอนการผาตัด อันเปนวิธีการที่มีประสิทธิภาพ จึงถือไดวาเขาเปนบุคคลแรกของโลกที่ใชวิธีฝงเข็มใหคนไขสลบในขณะที่ทําการผาตัด ไค หลุน (Cai Lun) เปนคนแรกที่ทํากระดาษขึ้นเปนครั้งแรก ซึ่งใชเปลือกไม เศษผา เก า เศษตาข ายตกปลาเกาๆ และเศษปานเกาๆ เปนวัตถุที่ ใชผลิตกระดาษ คุณประโยชนที่เขากระทําขึ้นนี้มีผลตอการพัฒนาและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมของโลกยิ่ง 3. ความสัมพันธกับเกาหลีและญี่ปุน นักประวัติศาสตรของจีนสวนใหญไมไดกลาวถึงรายละเอียดของชนเผาที่อาศัยอยูนอกดานมากนักในยุคโบราณกอนคริสตกาล ขอมูลที่ปรากฏเปนหลักฐานที่มีอยูก็คือ แถบภาคเหนือสุดและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่อยูอาศัยของเหลาอนารยชน และมี

Page 22: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

22

การรุกรานจากชนเผาเหลานั้นอยูเนืองๆ และมีการสรางกําแพงขวางกั้นมิใหอนารยชนเขามารุกรานคนในดานไดงาย อนึ่ง การรุกรานระหวางกันของคนภายในดานและกับคนนอกดานยังผลใหมีการอพยพยายถิ่นไปแสวงหาดินแดนที่สงบสุขกวาบนคาบสมุทรเกาหลีและญี่ปุน ในขณะเดียวกัน มีการกวาดตอนเชลยศึก และการปลนสดมภนําเอาเครื่องมือเครื่องใชไปดวย กอใหเกิดการแพรกระจายวัฒนธรรมไปสูชนกลุมนอยนอกดานใหไดรับรู และเอาแบบอยางวิธีการปลูกขาว และการทําเครื่องปนดินเผา รวมทั้งสิ่งของเครื่องใชที่ จําเปนตอการดํารงชีวิตจากคนในดานไปใช จึงเกิดเปนบริเวณวัฒนธรรมที่คลายคลึงกันไปทั่วภูมิภาคแถบนี้ (1) การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ในยุคนี้จีน ไดทําการคาขายและแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมกับตางประเทศมากมาย ชวงตนของราชวงศฮ่ันตะวันตกนั้น จักรพรรดิวูดิ (Wudi) ไดมีการติดตอกับญี่ปุน ตอมาในป ค.ศ. 57 ญี่ปุนยุคยามาโต (Yamato) ไดสงคณะทูตพรอมกับนําของขวัญไปใหแกจักรพรรดิจีน ในทางกลับกัน จักรพรรดิกวางวู (Guangwu) แหงอาณาจักรฮั่นตะวันออกไดสงพระราชลัญจกรทองคําไปใหแกกษัตริยญี่ปุน อนึ่ง จีนยังไดสงผลิตภัณฑที่ทําดวยทองแดง เหล็ก และผาไหมไปยังญี่ปุนอยางตอเนื่อง ในขณะที่ญี่ปุนสงอาวุธและสินคากลับไปยังจีน จีนไดติดตอกับประเทศตางๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใตตั้งแตสมัยฮ่ันตะวันตก โดยสงทูตออกเดินทางจากมณฑลกวางตุงผานทะเลจีนใตไปยังประเทศในแถบแหลมมลายู และเลียบชายฝงพมาไปยังประเทศอินเดีย สําหรับการติดตอกับประเทศตางๆ ในแถบเอเชียตะวันตกนั้น คณะทูตจีนใชการเดินทางบกไปยังปากีสถาน อัฟริกานิสถาน เนปาลและแควนแคชเมียร ในชวงนั้น พุทธศาสนาไดแพรหลายบริเวณรอบๆ ประเทศแถบเอเชียตะวันตกแลว จึงคอยๆ แผขยายอิทธิพลความเชื่อเขาไปยังจีนทีละเล็กทีละนอย การติดตอของจีนไดดําเนินตอไปทางทิศตะวันตกถึงประเทศอิรัก และอิหราน (เดิมเรียกวา เปอรเซีย หรือ Parthia) รวมทั้งประเทศตางๆ ในแถบนั้น ในขณะเดียวกันคณะทูตจากประเทศเหลานั้นก็ไดเดินทางไปเยี่ยมคารวะจักรพรรดิจีน และไดนําผาไหมและสินคาของจีนกลับไปยังประเทศของพวกเขา ระยะทางระหวางเมืองจีนกับประเทศแถบทะเลเมดิเตอเรเนียนหางกันถึง 7,000 กิโลเมตร จึงเกิดตํานาน “เสนทางสายไหม” (Silk Road) ที่กองคาราวานเดินทางผานทะเลทราย ขามภูเขา และเผชิญกับคนและสังคม

Page 23: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

23

ที่แปลกแตกตางทั้งทางดานรางกายและวัฒนธรรมมากมายที่อาศัยอยูบนเสนทางอันยาวไกล นี่เปนสัญลักษณสําคัญของการผูกสัมพันธและสรางความเขาใจระหวางชาติ ควบคูไปกับการคาระหวางประเทศ ซึ่งไดเริ่มขึ้นนับตั้งแตตนของคริสตกาลมาแลว

(2) อิทธิพลของจีนตอคาบสมุทรเกาหลีในยุคกอนคริสตศักราช จักรพรรดิวูดิไดขยายดินแดนดวยการสงกําลังทหารไปโจมตีเมืองตางๆ ทางทิศเหนือ ทิศใต และทิศตะวันตกทั่วสารทิศ อนึ่ง พระองคไดกรีฑาทัพทั้งทางบกและทางทะเลไปทางทิศเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ เพื่อยึดดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีเปนประเทศราชหรืออาณานิคม เมื่อยึดไดก็ตั้งศูนยกลางการปกครองเกาหลีที่เมืองซึ่งตั้งอยูใกลกับนครเปยงยางปจจุบัน จีนมีอํานาจครอบครองเกาหลีทางตอนเหนือและลงมาทางทิศใตจนถึงเขตของเมืองโซล โดยเรียกอาณานิคมนี้วา โลลาง กลาวกันวา อาณานิคมโลลางมีจํานวนประชากรราว 315,000 คนจากครัวเรือนทั้งสิ้น 63,000 ครัวเรือน อาณานิคมนี้มีประชากรอาศัยอยูเปนจํานวนมากและมีความอุดมสมบูรณมากกวาแควนชานตุงและแควนเหลียวตุงเสียอีก ดังนั้น พระองคจึงไดตั้งศูนยกลางวัฒนธรรมจีนขึ้นในบริเวณนี้อีกทั้งยังไดขยายอิทธิพลวัฒนธรรมจีนไปยังญี่ปุนอีกดวย จุดนี้เองที่เปนจุดที่คนเกาหลีตางกระหยิ่มใจที่ไดทําหนาที่สงผานวัฒนธรรมจีนไปยังญี่ปุน อีกทั้งยังย้ําอยูเสมอวา วัฒนธรรมจีนที่สงผานไปยังญี่ปุนนั้น ไดรับการผสมผสานกับวัฒนธรรมเกาหลีกอน แลวจึงสงไปยังดินแดนอาทิตยอุทัย

จีน: ศูนยกลางแหงประชาคมนานาชาติและอารยธรรม ดังที่กลาวแลววา ที่ราบลุมบนฝงแมน้ําเหลือง (แมน้ําฮวงโห) เปนที่อยูอาศัยของผูคนมานานหลายพันปแลว จนกระทั่งป 221 กอนคริสตศักราช กษัตริยแหงราชวงศฉินไดรวบรวมแวนแควนเปนอาณาจักรจีนขึ้นเปนครั้งแรก แตก็ธํารงความเปนปกแผนไดจนถึงป 206 หรือราว 15 ป ก็ลมสลาย ตอมา ราชวงศฮ่ันไดยึดอํานาจและเขาครอบครองดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณแหงนี้เปนเวลายาวนานติดตอกันกวา 400 ป (ป 202 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 220) จะเห็นไดวา อาณาจักรจีนไดเริ่มขีดเสนกั้นอาณาเขตและเปนที่ยอมรับกันทั่วไปนับตั้งแตป 221 กอนคริสตศักราชเปนตนมา ในขณะที่ดินแดนบน

Page 24: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

24

คาบสมุทรเกาหลีและญี่ปุนเพิ่งจะเริ่มกอตัวเปนรูปเปนรางขึ้นในชวงรอยตอแหงคริสตกาลนี้เอง เหตุการณทางประวัติศาสตรที่เริ่มตนตั้งแตยุคนี้เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 เปนหวงเวลาที่นาสนใจยิ่ง เพราะทั้งจีน เกาหลี และญี่ปุนตางไดสรางความเปนชาติของตนเองขึ้น และสรางสรรควัฒนธรรมและอารยธรรมของแตละชาติอยางรวดเร็ว ยิ่งในตอนปลายของชวงเวลาดังกลาว หรือนับตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16 เปนตนมา สถานการณของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไดเปลี่ยนไปแทบพลิกหนามือเปนหลังมือเมื่อโลกตะวันตกไดแผอิทธิพลครอบคลุมโลกตะวันออก ทําใหภาพความโดดเดนของอารยธรรมของซีกโลกนี้ถูกบดบังและวัฒนธรรมบางอยางถูกลบทิ้ง และยังผลใหเกิดการตอสูระหวางคนผิวเหลืองดวยกันเองกลายเปนการประหัตประหารกันและกันเพราะตางอิงกับอารยธรรมภายนอก ในขณะเดียวกัน ก็ตองตอสูกับชนชาวผิวขาวผูซึ่งมีอาวุธและวัฒนธรรมที่เหนือกวา กอใหเกิดการลมสลายของจักรวรรดิจีน ในทางตรงขาม การปรับตัวของญี่ปุนไดพลิกฟนกลายเปนผูชนะโดยใชแรงผลักจากภายในผนวกกับการผูกมิตรกับชาติตะวันตกอยางเคียงบาเคียงไหลแทนการเปนเบี้ยลางของชนผิวขาวอยางไรศักดิ์ศรีเฉกเชนประเทศทั้งหลายในเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา ทําใหอาณาจักรอาทิตยอุทัยกลายเปนชาติมหาอํานาจของโลกตะวันออก ในขณะที่เกาหลีซึ่งตั้งอยูทามกลางชาติมหาอํานาจจีน – ญี่ปุน – รัสเซีย ไดถูกบดบังและถูกยึดครองจากชาติที่แข็งแกรงกวาสลับกันไปมาอยางหลีกเลี่ยงไมพน ประวัติศาสตรในยุคนี้ก็เชนกันที่ย้ําถึงความสมานฉันทของทั้งสามชาติที่ตั้งอยูใกลชิดติดกัน โดยเฉพาะในดานการคาและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหวางกันและกัน อยางไรก็ตามดวยสภาพทางภูมิศาสตรที่จีน – เกาหลี – ญี่ปุนตั้งอยูรวมกันเปนกระจุก จึงกอใหเกิดสงครามการรุกรานและการยึดครองประเทศเพื่อนบานตลอดหวงประวัติศาสตร ซึ่งประวัติศาสตรในชวงนี้เองไดสงผลใหเกิดเปนขอขัดแยงมาจนถึงศตวรรษที่ 21 ดังเชน เกาหลี – ญี่ปุน ที่ตางอางสิทธิเหนือหมูเกาะโดกโด (Dokdo) และญี่ปุน – จีน เหนือหมูเกาะเตี้ยวยว๋ี (Diaoyu) ตลอดจนขอแตกตางในเนื้อหาทางประวัติศาสตรที่นักวิชาการของแตละชาติเขียนขึ้น เชน ระหวางจีน – เกาหลี ในเรื่องอาณาจักรโคกูริว และจีน – เกาหลีที่อางวาแบบเรียนประวัติศาสตรของนักเรียนชั้น

Page 25: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

25

มัธยมศึกษาญี่ปุนบิดเบือนขอเท็จจริง ประเด็นตางๆ ดังกลาวไดเกิดเปนปญหาระหวางประเทศและกอใหเกิดความตึงเครียดในดานความสัมพันธระหวางประเทศในยุคปจจุบัน ราชวงศฮ่ัน นับตั้งแตราชวงศฮ่ันไดครอบครองดินแดนจีนเมื่อป 202 กอนคริสตศักราชเรื่อยมาจนถึงป ค.ศ. 220 นั้น การสรางความเปนปกแผนไดกระทําขึ้นอยางตอเนื่อง เฉกเชนราชวงศฉินที่กอใหเกิดความเขมแข็งแกสังคมจีน ทั้งทางดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี จนกลายเปนแหลงอารยธรรมที่สูงเดน อีกทั้งไดขยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมไปเหนือดินแดนนอกดาน (บริเวณนอกกําแพงเมืองจีนไปทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ หรือที่เรียกวา แมนจูเรีย) รวมทั้งเกาหลีและญี่ปุน ราชวงศฮ่ันมีประวัติที่นาสนใจยิ่ง ดังนี้

เมื่อหัวหนากบฎชาวนาชื่อ หลิว ปง ไดรวบรวมประเทศและตั้งตนเปนกษัตริย แหงราชวงศฮ่ันข้ึน เรียกวา ฮ่ันตะวันตก (Western Han) ครองอํานาจระหวางป 206 กอนคริสตศักราช ถึง ค.ศ. 24 พระองคไดนําระบบการปกครองของราชวงศฉินมาใช และไดทํากิจกรรมหลัก เชน การทําเกลือ การถลุงเหล็ก และการทําเหรียญกษาปณที่ผูกขาดโดยรัฐบาลกลาง ทําใหอํานาจของสวนกลางมีมากขึ้นและเปนศูนยรวมแหงอํานาจของรัฐ ราชวงศฮ่ันไดยึดนโยบาย “ลดการเกณฑคนไปทํางานใหรัฐและลดการเก็บภาษี” ทําใหเศรษฐกิจฟนตัวและพัฒนากาวหนา สวนดานการเกษตรกรรมนั้น ไดเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตดวยการใชวัวลากเมื่อไถนา ใชเครื่องมือในการปลูกและเก็บเกี่ยว นอกจากนี้นายเฉากัวผูเชี่ยวชาญดานการเกษตรไดเสนอระบบการปลอยที่ดินใหวางหนึ่งปเพื่อใหดินฟนตัวกอนที่จะเพาะปลูกในปถัดไป หรืออาจเรียกวา เพาะปลูกบนที่ดินสลับปกัน การกระทําดังนั้นทําใหไดรับผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นหลายเทา ระบบการทําเกษตรแผนใหมนี้ไดรับการบันทึกในหนังสือชื่อ The Book of Fan Schengzhi ที่อธิบายถึงเทคโนโลยีทางการกสิกรรมและประสบผลสาํเร็จสูงสุด ชาวฮั่นตะวันตกไดพัฒนาในดานผาไหม สินคาอุปโภคบริโภค และเครื่องมือในการทํามาหากินอยางไมหยุดยั้ง ในสมัยราชวงศฮ่ัน กษัตริยของราชวงศฮ่ัน ชื่อ วูดิ ไดสงทูตชื่อ ชาง เฉียน เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับชนตางเผา (nationalities) ในป 138 และอีกครั้งหนึ่งในป 119 กอนคริสตศักราช กอใหเกิดการคาขายและแลกเปลี่ยนทาง

Page 26: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

26

วัฒนธรรมระหวางกันและกัน ทําใหชาวฮ่ันนําการเพาะปลูกพืชผลไมหลากชนิดมาจากชนตางเผา เชน องุน กระเทียม วอลนัท และงา รวมทั้งนําดนตรีและการเตนรําจากชนชาติอ่ืนเขามาในอาณาจักรฮั่นดวย อยางไรก็ตาม เจาฟาและขุนศึกที่ไดรับพระราชทานที่ดินใหไปปกครองหัวเมืองตางๆ แตในที่สุดก็ไดกลายเปนศัตรูกันในกาลตอมา ทั้งนี้เนื่องมาจากการแยงชิงที่ดินเพื่อขยายอิทธิพลของตนออกไป และตางฝายตางตองการเปนใหญ ทําใหขอขัดแยงขยายตัวออกไปเปนวงกวาง ในขณะเดียวกัน ในราชสํานักเองก็มีการแกงแยงอํานาจ และมีการเปลี่ยนตัวจักรพรรดิหลายครั้ง โดยแตละครั้งก็ตองใชกําลังทหารเขาชวงชิง จึงเกิดการสูรบลมตายมากมาย ในป ค.ศ. 25 หลิว ซิว ผูซึ่งเปนเจาของที่ดินขนาดใหญไดรวบรวมสมัครพรรคพวกแยงชิงอํานาจและตั้งตนเปนจักรพรรดิของราชวงศฮ่ันตะวันออก (Eastern Han) และสามารถธํารงอํานาจอยูไดระหวางป ค.ศ. 25 – 220 ในสมัยนี้ ระบบเศรษฐกิจแบบศักดินาไดรับการพัฒนาไปพรอมๆ กับความขัดแยงเกิดขึ้นในสังคมอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ราชวงศฮ่ันตะวันตกและตะวันออกไมสามารถแกไขขอแยงทางสังคมได ทั้งนี้เปนเพราะเจาของที่ดินและขุนศึกตางมีอํานาจในการปกครองแวนแควนของตน คนเหลานี้ตางแขงขันทางดานอํานาจและขยายอิทธิพลของตนออกไปอยางเอาเปนเอาตาย จึงจําเปนที่จะตองหารายไดจํานวนมากจากชาวนาและพอคาเพื่อสรางปราสาทราชฐานและเครื่องมือเครื่องใชใหครบครัน ชาวนาจึงถูกเอารัดเอาเปรียบและถูกฉกฉวยผลผลิตและทรัพยสินไปอยางตอเนื่อง เมื่อมีการตอสูระหวางแวนแควนหรือระหวางรัฐเล็กๆ ก็จะตองเกณฑชาวนาไปเปนทหาร ทําใหชาวนาลุกฮือเพื่อเรียกรองขอความเปนธรรมหลายครั้งในป ค.ศ. 107 และมีการลุกฮือของชาวนาขึ้นอีกกวา 100 ครั้งในอาณาจักรฮั่นในชวง 80 ปตอมา ในป ค.ศ. 184 กบฏชาวนามีความเขมแข็งมากที่สุดในประวัติศาสตรของชาติจีน กองทัพชาวนา ภายใตการนําของหวางจิ้น ผูซึ่งใชลัทธิเตานิกายหลักการของสันติภาพไดนํากองกําลังกอการจลาจล โดยใชชื่อวา Yellow – Turban แตไดรับการขัดขวางจากกองทัพของเหลาเจาของที่ดินและขุนนาง การตอสูกันไดเกิดขึ้นเปนเวลานานถึง 20 ป แมวากองกําลังของกบฏจะพายแพ แตการจลาจลครั้งนี้ไดทําลายสถานภาพของเจาของที่ดินและสามารถกําจัดประเพณีสืบทอดอํานาจของชนชั้นเจาของที่ดินไป ทําให

Page 27: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

27

ประวัติศาสตรแหงการปฏิวัติของชาวนาไดรับการจารึกและถือเปนแบบอยางของการปฏิวัติจากเบื้องลางในกาลตอมา

การจลาจลของชาวนาภายใตการนําของกลุมที่โพกศีรษะสีเหลือง (Yellow Turbans) เปนผลใหอาณาจักรของราชวงศฮ่ันตะวันออกสิ้นสุดลง ทั้งนี้ แมวาจักรพรรดิแหงราชวงศฮ่ันในชวงตนจะนําเอาลัทธิขงจื้อมาใชเปนแกนนําในการดําเนินนโยบายการปกครองประเทศ แตเมื่อเวลาผานไปอํานาจของราชสํานักไดลดลงไปเรื่อยๆ ในขณะที่ขุนนางเจาผูครองนครตางเพิ่มบารมีอํานาจมากขึ้น และใชอํานาจอันมิชอบกดขี่ขมเหงชาวนาและแยงยื้อผลประโยชนจากผูยากไร จนคนเหลานั้นไมอาจทนตออํานาจของเหลาทหาร ขาราชการและขุนนางเหลานั้นได อยางไรก็ตาม ขุนนางเจาผูครองนครตางพยายามใชกําลังทหารบดขยี้กบฏชาวนาซ้ําแลวซ้ําเลา และพยายามสรางอิทธิพลทางทหารขึ้นมาเสริมอํานาจตน รวมทั้งแผอิทธิพลไปเหนือรัฐหรือแควนที่ออนแอกวา ทําใหรัฐบาลกลางของราชวงศฮ่ันตะวันออกถึงกาลอวสานเมื่อไมมีแควนใดยอมรับอํานาจ

ในเวลาตอมา เกา เกา (Cao Cao ค.ศ. 155 – 220) ไดยึดครองอํานาจเหนือแควนแถบที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห หลิวเปย (Liu Bei ค.ศ. 161 – 223) ยึดครองอํานาจเหนือแวนแควนแถบเสฉวน และซุนกวน (Sun Quan ค.ศ. 182 – 252) ไดยึดครองดินแดนที่ราบลุมภาคกลางของแมน้ําแยงซีเกียง จากนั้นไดตั้งอาณาจักรขึ้นคือ รัฐเว (Wei ค.ศ. 220 – 265) มีเมืองหลวงชื่อเลาหยาง รัฐฉู (Shu ค.ศ. 220 – 263) มีเมืองหลวงชื่อเชงคู และรัฐอู (Wu ค.ศ. 229 – 280) มีเมืองหลวงชื่อนานกิงขึ้นตามลําดับ จีนก็เขาสูยุคสามอาณาจักร

สมัยสามอาณาจักรหรือสามกก (Three Kingdoms) การตอสูกันระหวางอาณาจักรทั้งสามคือ เว ฉู และอู ไดดําเนินตอไปอยางไมหยุดยั้ง ปญหาที่เผชิญหนาก็คือ การหาอาหารและเสบียงอยางเพียงพอแกกองทัพ ดังนั้น เกาเกาจึงไดใชทหารและประชาชนจํานวนมากสรางเขื่อนชลประทานผันน้ําจากแมน้ํา ฮวงโหเพื่อหลอเลี้ยงพืชผลในแถบที่ราบตามชายฝงแมน้ํา ทําใหการเกษตรกรรมเจริญงอกงามในบริเวณทางภาคเหนือของอาณาจักรเว สวนอาณาจักรฉูนั้น ประมุขของรัฐไดสั่งใหขุดคลองขนาดใหญจากเมืองลั่วหยางไปจนถึงเมืองหางโจว ทําใหจังหวัดเสฉวน ยูนนานและหางโจวมีความอุดมสมบูรณเพราะผลิตผลทางการเกษตรเพิ่มขึ้นมากมาย และอาณาจักรอูก็ไดพัฒนาทางดานการ

Page 28: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

28

เกษตรกรรมใหเจริญรุดหนาและสรางอุตสาหกรรมการตอเรือ ตลอดจนทําการคาทางทะเลไปยังเกาะไตหวันและเมืองทาตางๆ สมัยจินตะวันตก (Western Jin) อาณาจักรทั้งสามดังที่กลาวถึงนั้น อาณาจักรเวเขมแข็งที่สุด ในป ค.ศ. 263 ก็สามารถเอาชนะรัฐฉูได และตั้งราชวงศจินข้ึน ตอมาในป ค.ศ. 280 ไดรับชัยชนะอาณาจักรอู จึงทําใหจีนรวมกันเปนปกแผนอีกครั้งหนึ่ง แตก็เปนระยะเวลาสั้นๆ รัฐบาลของราชวงศจินเต็มไปดวยการคอรรัปชั่น การคัดเลือกขาราชการมิไดใชระบบคุณธรรมหรือตามความสามารถ แตเลือกจากพวกพอง กลุมขุนนางที่มีเชื้อสายจากเชื้อพระวงศกุมอํานาจทางการเมืองเด็ดขาด คนกลุมนี้ใชชีวิตอยางหรูหราและฟุมเฟอย สวนขุนนางที่ถูกสงไปปกครองแวนแควนตางๆ เพื่อใหประเทศเกิดความเขมแข็งนั้นกลับสรางอํานาจและใชกําลังทหารเขาโจมตีกันและกัน ทําใหราชวงศจินมีอิทธิพลเหนือประเทศจีนอยูไดเพียง 16 ปก็ลมสลาย พวกชาวนาและประชาชนไดรับความเดือดรอนอันเปนผลมาจากสงครามระหวางเหลาขุนนาง มิหนําซ้ําภัยพิบัติทางธรรมชาติเขาซ้ําเติมอยางตอเนื่อง จีนจึงตกอยูในสภาพแตกแยกออกเปนเสี่ยงๆ โดยบริเวณภาคใตตกอยูภายใตการปกครองของราชวงศจินตะวันออก สวนภาคเหนือแบงแยกออกเปนรัฐตางๆ จํานวน 16 รัฐ จากนั้น การตอสูแยงชิงอํานาจระหวางกันก็ดําเนินตอไปจนถึงยุคราชวงศใตและราชวงศเหนือ ซึ่งตอมาก็สิ้นสุดลงเมื่อป ค.ศ. 589 สภาพเศรษฐกิจและสังคมในยุคนี้ถือวากาวหนาตอไปอีกขั้นหนึ่ง กลาวคือ ในดานการเกษตรกรรมนั้น ชาวนาสามารถปลูกขาวไดปละ 2 ครั้ง เพราะมีน้ําชลประทานหลอเลี้ยงอยางสม่ําเสมอและมีภูมิอากาศเหมาะสม สินคาหัตถกรรมมีมากขึ้น และกระบวนการผลิตสลับซับซอนยิ่งขึ้น เทคโนโลยีในการปนฝายและทอผาเจริญรุดหนาโดยใชเวลาทอชั่วขามคืน มีสินคาผลิตขึ้นไดมากมาย ไมวาจะเปนกระดาษ เกลือ เครื่องเขิน เครื่องเงิน เครื่องปนดินเผา ถวยชาม และการตอเรือ เมืองหลายเมืองเปนศูนยกลางการคาที่มีผูซื้อ-ขายมาจากแดนใกลและไกล คนจีนในยุคนั้นเขียนโคลงกลอนและบทกวีมากมาย รวมทั้งมีการวิเคราะหวิพากษวิจารณบทประพันธอีกดวย อนึ่ง พุทธศาสนาไดรับความนิยมมาก มีการสราง

Page 29: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

29

พระพุทธรูปดวยการแกะสลักหินผาตามถ้ําตางๆ และสรางวัดวาอารามขึ้นทั่วประเทศ นอกจากนั้น มีการวาดภาพที่สวยสดงดงามและกลายเปนสมบัติล้ําคา จีนไดสงชางฝมือและคนวาดภาพไปยังประเทศเกาหลีเพื่อถายทอดความรู นักปราชญขงจื้อและผูเชี่ยวชาญดานการฝงเข็มและการทําปฏิทินก็เดินทางไปยังเกาหลีเชนกัน ในขณะเดียวกัน จีนไดนําดนตรีและเครื่องดนตรีจากเกาหลีเขาประเทศ การแลกเปลี่ยนดังนี้ทําใหเพิ่มสีสันและความรุงเรืองทางวัฒนธรรมยิ่งขึ้น ในป ค.ศ. 238 จักรพรรดิมิงดิแหงอาณาจักรเวไดแลกของกํานัลกับราชินีของญี่ปุน ตอมาราวคริสตศตวรรษที่ 4 มีคนจีนอพยพไปอยูในญี่ปุนไดนําเทคโนโลยีเกี่ยวกับเสื้อผา การปนหมอ-ถวยชาม การเลี้ยงไหม การตัดเย็บเสื้อผา และการปรุงอาหารถายทอดใหกับคนญี่ปุน นอกจากนี้ ยังไดนําหนังสือปรัชญาของขงจื้อ เมงจื้อ และหนังสืออ่ืนๆ เขาไปเผยแพรในดินแดนอาทิตยอุทัย ในยุคสามอาณาจักร จักรพรรดิของอาณาจักรอูไดสงทูตชื่อ กังไตและซูหยิน เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศตางๆ ในแหลมอินโดจีน เชน อาณาจักรจําปาและอาณาจักรฟูนาน ภายหลังที่เดินทางกลับ ทูตทั้งสองไดเขียนหนังสือชื่อ เรื่องราวของ

ตางประเทศ โดยกังไต และ สิ่งล้ําคาในอาณาจักรฟูนาน โดยซูหยิน ในกาลตอมาอาณาจักรฟูนานก็ไดสงทูตของพวกเขาไปเยี่ยมเยือนเมืองจีนหลายครั้ง อนึ่ง ในยุคราชวงศใต พระชาวฟูนานไดเดินทางมายังจีนและแปลพระไตรปฎกจากภาษาจีนเปนภาษาเวียตนามแลวนํากลับไปยังอาณาจักรฟูนาน จึงถือไดวาเปนครั้งแรกที่จีนไดสงออกตัวหนังสือจีน และสงออกสถาปตยกรรม วิธีการทํากระดาษ และสิ่งทอไปยังเวียตนาม (หรืออาณาจักรฟูนาน) ตอมา ทูตของประเทศตางๆ ที่ตั้งอยูบนเกาะอินโดนีเซียและแหลมมลายูไดสงทูตไปยังจีนและนําเครื่องบรรณาการไปถวายแดพระเจากรุงจีน ในป ค.ศ. 399 พระรูปหนึ่งชื่อ ฟาเซี่ยน อายุ 65 ป ไดเดินทางออกจากเมืองเชียงกันของจีนไปยังประเทศทางทิศตะวันตก ไดแก อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ และไดจําพรรษาอยูในดินแดนแหงนั้นนานถึง 3 ป เพื่อเรียนรูภาษาพื้นเมืองนอกเหนือจากการศึกษาคัมภีรตางๆ ทางพุทธศาสนา นอกจากนั้น ทานยังไดไปเยี่ยมสถานที่ประสูติของพระพุทธเจาในประเทศเนปาล และไปพํานักยังประเทศศรีลังกาอีกเปนเวลา 2 ปกอนที่จะเดินทางกลับไปยังจีนโดยทางเรือ ภายหลังที่ออกเดินทางไปยังดินแดนตางๆ

Page 30: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

30

นานถึง 14 ป ทานไดเขียนหนังสือชื่อ บันทึกเมืองพุทธศาสนา อันเปนผลมาจากการสังเกตและประสบการณที่ผานพบมา ตอมาพระอินเดียชื่อ กุมารวิชา ไดเดินทางมายังจีนและไดแปลพระไตรปฎก 300 เรื่อง งานชิ้นนี้ถือเปนผลงานการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมครั้งสําคัญระหวางจีนกับอินเดียในชวงป ค.ศ. 384 – 417 ซึ่งในเวลาเดียวกันนี้เองที่ยาพื้นเมืองอินเดีย ศิลปกรรมและประดิษฐกรรมไดนําเขามาจากอินเดีย รวมทั้งพระพุทธรูปสูง 4.2 ฟุตที่กษัตริยแหงสิมหะลานครไดมอบเปนของกํานัลแดจักรพรรดิอันดิแหงราชวงศจินตะวันออก

ตลอดชวงเวลาตั้งแตยุคสามอาณาจักรไปจนถึงราชวงศเหนือและใต ทูตของประเทศตางๆ แถบเอเชียกลางและเอเชียตะวันตกไดเดินทางเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนอยางตอเนื่อง ราชวงศซัสซาเนียนของอิหรานไดมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับราชวงศเว และมีพอคาจากจักรวรรดิโรมันไดเดินทางเขามาคาขายกับอาณาจักรอู เมื่อเร็วๆ นี้มีการคนพบหลักฐาน เชน เหรียญทองคํา และเหรียญตรามากมายทั้งในจีนและในประเทศเหลานั้น ซึ่งยืนยันไดวามีการติดตอกันอยางกวางขวางในยุคโนน ราชวงศสุย (Sui dynasty)

ป ค.ศ. 581 หยาง เจี้ยน (Yang Jian ค.ศ. 541 – 604 ) แหงเมืองโจวภาคเหนือได บังคับใหจักรพรรดิจิงดิสละราชสมบัติและเขาสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดินามวา เหวินดิ (Wendi คําวา di หมายถึงจักรพรรดิ) และตั้งเมืองหลวงชื่อฉางอัน จึงเปนการเริ่มตนราชวงศสุย (ค.ศ. 581 – 618) นับแตนั้นมา จากนั้นก็ยกกองทัพไปพิชิตแวนแควนตางๆ จนสามารถรวบรวมจีนใหเปนปกแผนขึ้นมาอีกครั้ง จักรพรรดิเหวินดิไดนําระบบการปกครอง “สามสํานักหกกระทรวง” มาใช สามสํานัก ไดแก สํานักราชเลขานุการองคจักรพรรดิ องคมนตรี และคณะรัฐมนตรีซึ่งนําโดยนายกรัฐมนตรี สํานักทั้งสามเปนองคกรหลักสูงสุดในการบริหารประเทศ สวนกระทรวงตางๆ นั้นจําแนกออกเปนกระทรวงบุคลากร กระทรวงการคลัง กระทรวงพิธีการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงโยธาธิการ ระบบการบริหารงานแบบนี้เคยใชในสมัยราชวงศฉิน-ฮ่ันมาแลว จักรพรรดิหยางดิ (ค.ศ. 605 – 618) ไดสืบทอดอํานาจตอมา พระองคไดสรางพระราชวังหลายแหง จึงตองเกณฑชาวบานชาวนาจํานวนมากมากอสราง อนึ่ง พระองค

Page 31: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

31

ทรงไปราชการโดยเดินทางประพาสทางน้ําลงไปทางใตถึง 3 ครั้ง ในแตละครั้งตองใชไพรพลและเงินทองมากมาย นอกจากนี้ พระองคทรงยกกองทัพโจมตีเกาหลี 3 ครั้ง ซึ่งตองเกณฑชาวนาหลายลานคนไปเปนทหาร ทหารกองหนุน และกรรมกร ในที่สุด ประชาชนและชาวนาไมอาจทนรับกับสภาพที่ตองถูกเกณฑไปเปนทหารโดยไมมีเวลาทํามาหาเลี้ยงครอบครัว และตองเสียภาษี ตลอดจนตองมอบผลผลิตจํานวนมากไปใหกับทหารและราชสํานัก จึงรวบรวมพวกกอการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ ในป ค.ศ. 617 ขุนนางชื่อ หลีหยวน ถือโอกาสเขาขางฝายชาวนา นํากําลังเขายึดเมืองฉางอันและจับจักรพรรดิ หยางดิประหารชีวิต ในปตอมาจึงเปนการสิ้นสุดราชวงศสุย ราชวงศถัง (Tang dynasty) หลีหยวนไดสถาปนาตนเองขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศถัง (ค.ศ. 618–907) ข้ึน จากนั้นก็ดําเนินการปราบปรามกบฏชาวนาอยางโหดเหี้ยม ทําใหความสงบบังเกิดข้ึน และสามารถรวบรวมประเทศใหเปนปกแผนอีกครั้ง ราชวงศถังพยายามลดความตึงเครียดระหวางกลุมผูปกครองกับชาวนาลงดวยการแบงที่ทํากินใหเทาเทียมกันและจัดระบบเก็บภาษี 3 แบบขึ้น ในเรื่องการแบงที่ทํากินนั้น ชายใดเมื่ออายุครบ 18 ปจะไดรับที่ดินจากรัฐบาลคนละ 100 มู (หนวยการวัดที่ดิน) ที่ดิน 20 มูสามารถนําไปซื้อ-ขายหรือโอนใหแกลูกหลานได สวนอีก 80 มูนั้นจะตองสงคืนใหแกรัฐเมื่อเกษียณอายุหรือเสียชีวิต ภรรยาหมายจะไดรับ 30 มู และจะไดรับเพิ่มเปน 50 มูหากตองรับหนาที่เปนหัวหนาครัวเรือน สวนผูหญิงที่มิใชแมหมายไมสามารถมีที่ดินได สวนระบบการเก็บภาษี 3 แบบนั้น หมายความวา ผูชายจะตองมอบขาว 2 ถังใหแกรัฐบาลทุกปเพื่อเปนคาเชา และมอบของกํานัลเปนผาไหมยาว 20 ฟุต และเสนใยไหม 3 ออนซ นอกจากนี้ตองไปทํางานใหแกรัฐอีก 20 วัน หากเขาไมประสงคที่จะไปทํางาน ก็ตองมอบผาไหม 3 ฟุตตอการทํางานหนึ่งวันเปนการทดแทน ในชวงเวลาเกือบสามรอยปภายใตการปกครองของราชวงศถัง สภาพเศรษฐกิจสังคมไดเจริญรุดหนาไปเปนอันมาก การเกษตรกรรมไดพัฒนากาวหนาดวยการสรางระบบชลประทาน ทําใหสามารถเพาะปลูกบนพื้นที่วางเปลาไดมาก ยังผลใหผลิตผล

Page 32: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

32

เพิ่มขึ้น การปลูกชาเพื่อการจําหนายไดเกิดขึ้นในยุคนี้เอง โดยมีการปลูกทั่วไปในภาคใต และมีการทําไรชาขนาดใหญ ธุรกิจการคาและหัตถกรรมเจริญกาวหนา เมืองฉางอันกลายเปนศูนยกลางธุรกิจที่สําคัญ และเมืองอื่นๆ ก็เปนศูนยกลางการคาขาย ดังเชน ลั่วหยาง หางโจว เจียงโจว หมิงโจว เปนตน และมีการสรางถนนเชื่อมติดตอกันระหวางเมือง รวมทั้งมีการเดินทางโดยทางน้ําจากเหนือจรดใตตามคลองขนาดใหญที่ขุดขึ้น

(1) ความผูกพันระหวางชนเผาตางเชื้อชาติ (linkages between nationalities) จีน เปนที่รวมของชนชาติตางๆ จํานวน 56 เผา ประชากรสวนใหญเปนชนชาติฮ่ันจํานวนราวรอยละ 91 ของประชากรทั้งหมด สวนกลุมอื่นไดแก แมนจู ธิเบต เหวยเวอ เหมียว อ้ี จวง บูเยย และมองโกล ซึ่งมีประชากรของแตละกลุมมากกวา 1 ลานคนขึ้นไป ชนกลุมขนาดกลาง เชน ตง เหยา ยาย ตูเจี้ยน ฮานี ไต คาซัค ลื่อ ลื่อซู วา ชือ เกาชาน ลาฮู ชุย ตงเสียง นาซี จิงโป และโตบา โดยแตละกลุมจะมีประชากรระหวางกลุมละ 100,000 – 1,000,000 คน สวนชนกลุมที่มีขนาดเล็กที่มีประชากรราว 10,000 – 100,000 คน อีกมาก ในยุคราชวงศถัง ชนแตละเชื้อชาติตางเสริมสรางอํานาจและตั้งเปนอาณาจักรที่เปนของตนเอง เชื้อชาติที่มีประชากรจํานวนมาก (กลุมเชื้อชาติขนาดใหญ) ไดติดตอสัมพันธกับอาณาจักรของราชวงศถังดวยการสงลูกสาว หรือสูขอลูกสาวเพื่อแตงงานดวย ทําใหความสัมพันธระหวางอาณาจักรของชนชาติเล็กๆ กับอาณาจักรที่ทรงพลังของราชวงศถังมีความสนิทสนมและแนนแฟน (2) กบฏชาวนาและการสิ้นสุดราชวงศถัง ระบบศักดินาที่ขุนนางหรือเจาผูครองนคร ไดรับสิทธิจากองคจักรพรรดิใหไปปกครองแควนใดแควนหนึ่ง ขุนนางนั้นจะมีสิทธิเหนือแวนแควนที่ปกครองอยู ขุนนางผูครองนครจะมอบที่ดินใหแกชาวนาเปนผูทํากินบนผืนแผนดินที่ไดรับอนุญาต และชาวนาจะตองมอบผลผลิตบางสวนใหกับขุนนางเปนการตอนแทน นอกจากนั้นชาวนาจะตองไปทํานาซึ่งเปนที่ของขุนนางอาทิตยละ 3 วัน แวนแควนที่ขุนนางไปปกครองจะมีกองทหารทําการคุมครองแควนนั้นๆ ซึ่งผูปกครองแควนจะมีอํานาจแตงตั้งและบังคับบัญชาเหลาทหาร ในยามใดที่ราชสํานักองคจักรพรรดิชิงดีชิงเดนและแยงอํานาจระหวางสมาชิกในราชวงศ หรือองคจักรพรรดิออนแอ หรือทําตัวเสเพลไมเอาใจใสในการปกครองบริหารบานเมือง ในทางตรงกันขาม

Page 33: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

33

ขุนนาง หรือผูปกครองแวนแควนบางแหงตั้งใจบริหารงานและทุมเทในการพัฒนาใหแควนของตนเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว ลักษณะดังนี้จะกอใหเกิดการแข็งขอ ไมยอมรับอํานาจของสวนกลาง และจะเกิดสงครามระหวางจักรพรรดิกับเจาผูครองนคร และระหวางแวนแควนที่มีความเขมแข็งกับแควนที่ออนแออยูเสมอ ในบางกรณี องคจักรพรรดิและผูปกครองแวนแควนตองการสรางบารมีและใชชีวิตอยางสุขสบาย จึงเก็บภาษีอากรจากชาวนาและประชากรในอัตราสูง อีกทั้งเกณฑคนใหไปทํางานในราชสํานักเปนระยะเวลานาน รวมทั้งเกณฑคนไปเปนทหารเพื่อรุกรานแควนอื่นๆ ทั้งสองกรณีดังกลาวกอใหเกิดความทุกขยากในหมูประชากรและชาวนา จนกระทั่งความทุกขยากบังเกิดขึ้นอยางดาษดื่นจนผูคนไมอาจทนรับกับสภาพดังกลาวได ชาวนาจึงรวมตัวกันตอตานอํานาจของขุนนางและองคจักรพรรดิ และเรียกกันวา กบฎชาวนา ในชวงสุดทายของราชวงศถัง เหลาขาราชการ ขุนนาง และผูปกครองแวนแควนตางแยงชิงอํานาจกันเพื่อสะสมที่ดินใหไดมากที่สุด จึงทําการเบียดบังและขับไลชาวนาออกจากที่ดินทํากิน ทําใหชาวนาสูญเสียที่ทํากินเพราะถูกผลักดันใหตองออกจากที่ดินเดิมไป อนึ่ง ในยุคนี้ รัฐบาลไดเพิ่มอัตราการเก็บภาษีสูงมาก โดยใหเสียภาษีขาวเขียว นั่นคือ เรียกเก็บภาษีกอนที่ขาวจะเก็บเกี่ยว นอกจากนี้ ไดเกิดภัยแลงซ้ําแลวซ้ําเลาในแควนชานตุงและเหอหนาน พวกชาวนาไมอาจทนตอความแรนแคนและการกดขี่ไดอีกตอไป จึงเกิดการจลาจลขึ้น ป ค.ศ. 874 หวัง เซียนซีไดนําชาวนาแข็งขอข้ึนที่เมืองเชียงหยวน ในปตอมา ฮวาง เจาไดกอกบฏชาวนาที่เมืองเกาโจว กลุมกบฏชาวนาสองกลุมไดนํากองทัพชาวนาทั้งสองกลุมไดรวมตัวกันตอตานรัฐบาล ในที่สุดทางการไดสังหารหวัง เซี่ยนซีในขณะที่ตอสูกัน ฮวาง เจาจึงไดนํากองทัพชาวนาทั้งสองกลุมซึ่งมีผูเขารวมถึง 100,000 คน ทําสงครามกองโจรกับกองทหารของขุนนางเปนเวลาหลายปตามสมรภูมิของแควนตางๆ เชน อานหุย เจียงสี ฟูเจี้ยน กวางโจว และเลาหยาง จนถึงเมืองฉางอัน การปะทะกันระหวางชาวนากับกองทหารเปนไปอยางดุเดือดและเปนระยะเวลานาน จนกระทั่งในป ค.ศ. 884 ฮวาง เจาก็ถูกสังหารที่หมูบานฮูลังกูใกลกับภูเขาไตซาน แตพลพรรคก็ยังดําเนินการตอสูตอไปอีกหลายป

Page 34: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

34

แมวากบฏชาวนาจะพายแพในเวลาตอมา แตก็ยังผลใหราชวงศถังเสื่อมศรัทธาและสูญสิ้นราชวงศไปในที่สุด ราชวงศท้ัง 5 และ 10 อาณาจักร ในขณะที่กบฏชาวนาไดตอสูกับกองทหารองคจักรพรรดิแหงราชวงศถังนั้นบรรดาผูปกครองแวนแควนตางๆ ก็ทําการขยายอํานาจทางการทหารและสรางอิทธิพลข้ึน ตอมาเมื่อทําการปราบปรามฮวาง เจาสําเร็จและราชวงศถังถึงกาลอวสาน นายพลซู เหวินจึงไดนําทัพบุกเขาไปยังเมืองฉางอันและบีบบังคับใหจักรพรรดิไอดิสละราชสมบัติใหแกเขาในป ค.ศ. 907 เขาไดสถาปนาราชวงศซูเหวินหรือนักประวัติศาสตรเรียกวา ราชวงศท้ัง 5 มีอํานาจอยูในระหวางป ค.ศ. 907 – 960 (เปนเวลา 53 ป) ราชวงศนี้มีอํานาจเหนือบริเวณลุมน้ําฮวงโห สวนทางตอนใตของจีนนั้น ไดมีแวนแควน 10 แควนปกครองดินแดนแถบมณฑลชานสี นักประวัติศาสตรเรียกวา ดินแดน 10 อาณาจักร ความเจริญรุงเรืองทางดานสังคมวัฒนธรรมในยุคราชอาณาจักรสุย ราชวงศถัง ราชวงศท้ัง 5 และ 10 อาณาจักร

ในยุคดังกลาว พุทธศาสนาไดรับความนิยมเปนอยางมากในชวงราชวงศสุยและราชวงศถัง ตอมา ปลายยุคราชวงศถังไดเกิดมีกลุมตอตานพุทธศาสนาขึ้น ซึ่งนําโดย ฮ่ัน ยู และฟู ยี ผูซึ่งมีแนวคิดแบบวัตถุนิยม วรรณคดีในยุคนี้ไดเฟองฟู มีกวีที่มีชื่อเสียงไดสรางผลงานมากมาย กลาวกันวา มีบทกวีในยุคราชวงศถังถึง 50,000 บทที่เขียนโดยกวีจํานวน 2,200 คน กวีผูที่มีชื่อเสียงไดแก ลี ไบ ดู ฟู และไบ จูยี เปนตน นอกจากนี้ ยังมีหนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตรที่เขียนบันทึกเรื่องราวในอดีตอีกเปนจํานวนมาก อนึ่ง จิตรกรที่สําคัญไดผลิตงานปน ทั้งที่เปนรูปปนของจักรพรรดิและพระพุทธรูป จากนั้น ไดนําไปประดิษฐานไวตามที่ตางๆ สวนจิตรกรบางคนไดแกะสลักหินตามถ้ํา ซึ่งมีความสวยสดงดงามและกลายเปนปฏิมากรรมชั้นเยี่ยมในกาลตอมา ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรดําเนินไปอยางตอเนื่องในยุคเหลานี้ รวมทั้งผลงานทางดานการแพทยอีกมาก โดยมีสถาบันจักรพรรดิดานการแพทยที่เปนศูนยรวม

Page 35: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

35

ของศาสตราจารยและนักศึกษาแพทยที่เชี่ยวชาญเรื่องโรคตางๆ การฝงเข็ม การนวดแผนโบราณ และอื่นๆ อนึ่ง วิทยาลัยแพทยแหงนี้แบงออกเปน 5 ภาควิชา ที่เนนการเรียนการสอนเฉพาะสาขา เชน อายุรกรรม ศัลยกรรม สมุนไพร เปนตน

ในดานการแลกเปลี่ยนดานวัฒนธรรมและความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศตางๆ ในเอเชียนั้น ในยุคราชวงศถัง จีนมีความกาวหนาทางเศรษฐกิจและเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมมาก ประจวบเหมาะกับการคมนาคมขนสงเปนไปอยางสะดวกระหวางเมืองฉางอันซึ่งเปนเมืองหลวงกับอาณาจักรตางๆ ในเอเชีย ยุคสามอาณาจักรของเกาหลี คือ โคกูริว ซิลลา และเพ็กเจ ไดมีความสัมพันธอันดีกับราชวงศถัง โดยอาณาจักรของเกาหลีไดสงนักเรียนมาศึกษาเลาเรียนในประเทศจีน ในป ค.ศ. 840 อาณาจักรซิลลาสงนักเรียนมายังจีนถึง 105 คน และเมื่อเรียนจบก็เดินทางกลับไปทํางานโดยไดรับตําแหนงใหญโตในอาณาจักรแหงนั้น พวกเขาไดเผยแพรวัฒนธรรมจีนไปทั่วประเทศ ในดานการคา สินคาสําคัญจากเกาหลี ไดแก มา วัว ผา ปอ และยา ในขณะที่จีนสงสินคาไปขายยังเกาหลี คือ ผาไหม ชา ถวยชาม และเครื่องเย็บปกถักรอย นอกจากนั้น จีนยังรับเอาบทเพลง การเตนระบํา และเครื่องดนตรีจากเกาหลีเขามา ทําใหเพิ่มสีสันการดํารงชีวิตในราชอาณาจักรถังยิ่งนัก การติดตอกับญี่ปุนก็เปนไปอยางตอเนื่อง โดยไดสงพระของพุทธศาสนาไปอบรมสั่งสอนคนญี่ปุน ดังเชน ในป ค.ศ. 743 พระจีนชื่อ เจียน เจน ไดรับเชิญใหเดินทางไปยังญี่ปุนโดยไดนํายาสมุนไพรจีนไปเผยแพร และไดดําเนินการสรางวัดโทโชไดในเมืองนาราอีกดวย ในการติดตอกับอินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศก็ไดดําเนินตอไปอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้ เพราะการนําคําสั่งสอนของพุทธศาสนาเขามายังจีนนั่นเอง โดยมีพระภิกษุของจีนเดินทางไปยังประเทศเหลานี้ สวนการติดตอกับเอเซียกลาง ยุโรป และแอฟริกาก็เปนไปอยางไมขาดสายทั้งในดานการคาขายและการทูตระหวางกัน สินคาจีนที่ ข้ึนชื่อสงไปขายยังประเทศแถบตะวันออกกลางและยุโรป ไดแก ผาไหม สินคาแกะสลัก และสินคาประเภทที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมจีน สวนทางดานแอฟริกานั้น จีนสงเทคนิควิธีการทํากระดาษ การทอผาไหม และการผลิตสินคาหัตถกรรมหลายชนิดไปสอนคนพื้นเมืองใหผลิตสิ่งของเครื่องใชดังกลาวในบริเวณแถบนี้ของโลก

Page 36: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

36

ราชวงศซอง ในระหวางป ค.ศ. 960 – 1368 อิทธิพลของขุนนางหรือผูปกครองแวนแควนตางๆ ยังคงมีอยูตอไปอีกสี่รอยกวาปแมวาจะเกิดสงครามระหวางรัฐหรือแควน เกิดกบฏชาวนา และเกิดการแยงชิงอํานาจของเหลาขุนนางเชื้อพระวงศในราชสํานัก โดยจะปรากฏอยูเสมอวา ภายหลังวิกฤติการณสําคัญๆ ผูปกครองแควนที่เขมแข็งจะตั้งตนเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศใหมข้ึนมา จากนั้นไมนานก็จะเกิดปญหาทางการเมืองนําไปสูการลมสลายของราชวงศนั้นๆ ตอมาแควนใหมที่เขมแข็งกวาก็จะยึดอํานาจและตั้งราชวงศข้ึนมาแทนที่ สงครามระหวางรัฐตางๆ ในยุคราชวงศทั้ง 5 ที่เปนไปอยางตอเนื่องนั้นๆไดกอใหเกิดการพังพินาศดานเศรษฐกิจของจีน จนกระทั่งในป ค.ศ. 960 เฉา กวานยินไดรวบรวมไพรพลยึดเมืองหลักและสถาปนาตนเองเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศซองข้ึน นักประวัติศาสตรเรียกวา อาณาจักรซองเหนือ (Northern Song : 960 – 1126) โดยมีเมืองหลวงชื่อ เบียนกิง องคจักรพรรดิไดพยายามปองกันมิใหหัวเมืองนอยใหญแข็งขอ จึงไดรวบอํานาจทหารไวที่สวนกลางทั้งหมด และแตงตั้งที่ปรึกษาคอยดูแลปกครองแควนเหลานั้นแทน อํานาจการเคลื่อนยายกองทหารจะอยูที่สวนกลางเทานั้น ความสงบสุขของราชวงศซองสงผลใหชาวจีนพัฒนาความรูวิทยาการและวัฒนธรรมใหเจริญกาวหนาตอไป ชาวนาไถนากอนปลูกขาวแบบนาดํา มีการใชผานเหล็กและการชลประทานอยางกวางขวาง มีการปลูกไรชาเปนบริเวณกวางในมณฑลกวางตุงและมณฑลกวางสี รวมทั้งที่ราบลุมตามฝงแมน้ํา ในยุคนี้ มีการทําเหมืองทองคํา เงิน ทองแดง เหล็ก และดีบุกโดยไดรับผลผลิตมากกวาสมัยราชวงศถัง มีการใชถานหินถลุงเหล็กยังผลใหคุณภาพของเหล็กดีข้ึน สวนการทําเครื่องลายครามนั้น ผลผลิตมีความสวยงามและมีคุณภาพยิ่งโดยไดพัฒนาเตาเผา ซึ่งจะมีเอกลักษณของเครื่องลายครามไปตามแควนตางๆ ในยุคนี้ จีนไดสรางธนบตัรขึ้นในป ค.ศ. 1023 สมัยจักรพรรดิเหยินจง (Renzong) โดยเรียกวา เจียวจ่ือ (Jiaozi) ซึ่งถือวาเปนธนบัตรที่เกาแกที่สุดของจีน ราชวงศเหลียว ราชวงศเซี้ยตะวันตกและราชวงศจิ้น

ในขณะที่ราชวงศซองเรืองอํานาจอยูนั้น ราชวงศเหลียว (Liao: 916 – 1125) ได

Page 37: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

37

กอตั้งขึ้นในแถบทางตอนเหนือแถบมณฑลเหอเปยและมณฑลชานสี ตอมา ค.ศ. 1125 รัฐเหลียวถูกรัฐจิ้นรุกรานและยึดแควนไดสําเร็จ ทําใหชนเผาคีตานซึ่งปกครองราชวงศเหลียวตองถอยรนไปตั้งแควนเล็กๆ ชื่อเมืองเหลียวตะวันตก จากนั้นไมนาน เมืองเหลียวตะวันตกก็พายแพแกกองทัพของเจงกีส ขานแหงมองโกลไป ในชวงที่แควนซองและแควนจิ้นเผชิญหนากันทางทหารและเขาโจมตีเพื่อแยงชิงความเปนใหญอยูนั้น ชนเผาเฉียงนูที่อาศัยอยูในแถบหนิงเซี้ย กานสู และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลชานสีรวมกันกอตั้งราชวงศเซี้ยตะวันตก (Western Xia: 1038 – 1227) ข้ึน ตอมาเซี้ยตะวันตกทําสงครามกับซองหลายครั้งจนกระทั่งตางฝายตางไดรับความเสียหายและประชาชนพบกับความลําบากยากเข็ญไปทั่ว ในที่สุด ทั้งสองฝายจึงทําสัญญาสงบศึกในป ค.ศ. 1044 ในกาลตอมา อาณาจักรเซี้ยตะวันตกออนแอลงไปเรื่อยๆ ในที่สุดก็ตกอยูใตอํานาจของเจงกีส ขานในป ค.ศ. 1227 ตลอดระยะเวลาที่แตละรัฐทําสงครามกันนั้น ชนเผาฮ่ัน ชนเผาคีตาน และชนเผาแดงเซียงยังคงรักษาความสัมพันธทางการทูตและคาขายระหวางกัน รวมทั้งสงสินคาไปขายใหอาณาจักรเหลียวและอาณาจักรเซี้ยอยูเสมอมิไดขาด การแยงชิงอํานาจและตั้งรัฐอิสระก็ดําเนินตอไป และมีการเผชิญหนากันระหวางอาณาจักรซองทางตอนใตและอาณาจักรจิ้น การสูรบเกิดขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได จนกระทั่งป ค.ศ. 1411 อาณาจักรทั้งสองก็บรรลุขอตกลงสันติภาพระหวางกัน

ราชวงศหยวน: ความเจริญรุงเรืองของชนเผามองโกล ชนเผามองโกลเปนชนกลุมนอยที่อาศัยอยูในบริเวณลุมแมน้ําเอรกันมาชานานนับตั้งแตอดีต ตอมาเมื่อมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น ประชากรของเผานี้ก็ขยายบริเวณที่อยูอาศัยออกไปตั้งบานเรือนแถบที่ราบสูงมองโกเลียระหวางเทือกเขาฮิงกันและเทือกเขาอัลไต ชาวมองโกลมีวิถีชีวิตแบบพวกเรรอน จึงมีความสามารถในดานลาสัตว ข่ีมา และยิงธนู ในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 12 หัวหนาเผามองโกลชื่อ เตมูจิน สามารถรวบรวมคนมองโกลใหเปนปกแผนเดียวกันไดทั้งหมด ตอมา ป ค.ศ. 1206 เขาไดรับเลือกใหเปน “ขานที่ยิ่งใหญ” หรือ เจงกีส ขาน และไดตั้งอาณาจักรมองโกลขึ้น เจงกิส ขานมีความสามารถในดานการรบมาก และไดกรีฑาทัพรุกลงไปทางใต ยึดแควนใหญนอย ดังเชน ค.ศ. 1215 ยึดแควนจิ้น และค.ศ. 1227 ยึดแควนเซี้ยตะวันตก

Page 38: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

38

แตเจงกีส ขานลมเจ็บและเสียชีวิตเสียกอน บุตรชายชื่อ ออกได สืบทอดอํานาจตอและเอาชนะแควนซองได จึงไดสถาปนาตนเองเปน ขานผูยิ่งใหญ หรือ กุบไล ขาน และตั้งราชวงศหยวน (Yuan regime: 1271 – 1368) ข้ึน จากนั้น เขาก็ไดยึดแวนแควนตางๆ รวมทั้งแควนของชนเผาตางเชื้อชาติอ่ืนๆ อันเปนการรวมจีนเปนประเทศอันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้ง ราชวงศหยวนไดรวบอํานาจการบริหารงานเขาสูสวนกลาง โดยมีเมืองดาดู (หรือนครปกกิ่ง) เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม การคาขายและการคากับตางประเทศเจริญรุดหนาไปมากในยุคนี้ มีพอคาและนักเดินทางชาวตางประเทศเดินทางเขามาในเมืองจีนอยางไมขาดสาย ในจํานวนคนเหลานี้ มีชาวเวนิช ชื่อ มารโค โปโล ไดเขารับราชการในราชสํานักของราชวงศหยวน เขาไดเขียนหนังสือบรรยายความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณของอาณาจักรวา “…ที่นี่มีสินคาหลากหลายชนิดในตลาด มีการซื้อขายผาไหมกวา 1,000 เลมเกวียนระหวางเมืองตางๆ ในแตละวัน ไมมีเมืองใดในโลกเสมอเหมือนเมืองดาดูที่มีสินคาแปลกๆ ทั่วทุกมุมโลกวางขายในตลาด…” ราชวงศหมิงและราชวงศชิง

ป ค.ศ. 1368 ซู หยวนซาง ไดสถาปนาตนขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศหมิง (Ming dynasty: 1368 – 1644) โดยมีเมืองหลวงชื่อ นานกิง ในยุคนั้น อํานาจของรัฐบาลกลางมีความเขมแข็งยิ่ง โดยมีการยกเลิกตําแหนงราชเลขานุการและตําแหนงนายกรัฐมนตรี และไดกระจายอํานาจใหกับรัฐมนตรีหกกระทรวง คือ กระทรวงบุคลากร กระทรวงพิธีกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม และกระทรวงโยธาธิการ รัฐมนตรีแตละคนจะขึ้นตรงตอองคจักรพรรดิ สวนในระดับภูมิภาคนั้น แบงการปกครองออกเปน 13 จังหวัด แตละจังหวัดอยูภายใตการดูแลของผูวาราชการจังหวัดที่รับผิดชอบสวนราชการตางๆ รวมทั้งการคลัง ศาลจังหวัด และผูบัญชาการทหาร ตลอดจนระดับที่ต่ํากวาจังหวัดคือ อําเภอและตําบล สําหรับหัวเมืองที่ตั้งอยูหางไกลและแควนที่มีชนกลุมนอยอาศัยอยูนั้น มีการสงผูแทนฝายทหารไปดูแล ซึ่งผูแทนนั้นๆ จะทําหนาที่เปนขาราชการและรับผิดชอบงานการปกครองไปดวย

Page 39: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

39

สมัยราชวงศหมิงนี้มีการคัดเลือกผูเขารับราชการดวยการสอบไล ซึ่งเจริญรอยตามยุคราชวงศสุย-ถังที่ใชระบบนี้มากอน โดยแตละอําเภอจะมีโรงเรียนของตนเอง เมื่อนักเรียนเรียนจบหลักสูตรก็จะไดรับประกาศนียบัตรที่เรียกวา ซิ่วไข ผูที่ไดรับซิ่วไข สามารถเขาไปสอบไลในระดับจังหวัด ซึ่งจัดสอบขึ้นที่เมืองหลวงของจังหวัด หากสอบผานก็จะไดรับประกาศนียบัตรที่เรียกวา จูเรน และผูที่ไดรับจูเรนจะสามารถเขาสอบไลระดับประเทศ หากสอบไดก็จะไดประกาศนียบัตรที่เรียกวา จ้ินซือ นั่นหมายความวา บุคคลคนนั้นก็จะไดรับแตงตั้งเปนขาราชการ ซึ่งอาจจะทํางานในสวนกลางหรือสวนภูมิภาคไดทั่วประเทศ ในแตละชวง รัฐบาลจะสงเจาหนาที่ออกไปสํารวจสํามะโนประชากรและสํารวจที่ดิน เพื่อที่จะใชเปนหลักฐานในการเก็บภาษี และในการเกณฑคนไปทํางานใหกับรัฐบาล รัฐบาลจึงสามารถเรงรัดและเก็บภาษีไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย ยุคราชวงศหมิงมีการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจสังคมไปสูการคอยๆ กอตัวของลัทธิทุนนิยมขึ้น ทั้งนี้เปนผลมาจากการเพิ่มผลผลิตไดเปนจํานวนมาก เพราะชาวนาขยายพ้ืนที่การปลูกขาวและพัฒนาการไถและการเพาะปลูก สวนการปลูกฝายก็ไดรับผลผลิตเพิ่มขึ้นมากโดยขยายพื้นที่เขาไปในแถบที่ราบลุมแมน้ําฮวงโห ในขณะที่มณฑลหูโจวและซีเจียงมีชื่อเสียงในการทําผาไหม จนเปนที่กลาวขานวา “ผาไหมหูโจว” มีชื่อเสียงไปทั่ว การทําเหมืองและการผลิตสินคาหัตถกรรมก็ไดพัฒนากาวหนาเปนอันมาก การถลุงเหล็กกลายเปนกิจการของเอกชนไปและยังผลใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีในชั้นสูงข้ึน ดังตัวอยางเชน เตาถลุงเหล็กในเมืองซุนหัวของมณฑลเหอเปยที่มีความสูงถึง 12 ฟุตและสามารถหลอมแรเหล็กไดครั้งละหนึ่งตัน โรงงานนี้มีคนงานทํางานราว 4-6 คน นอกจากนี้ มีการสรางระฆังขนาดใหญซึ่งใชกําลังคนทํางานเปนจํานวนมาก สวนการทําถวยชามเครื่องเคลือบนั้น มีเตาเผาขนาดใหญและใชเทคโนโลยีชั้นสูง การทํากระดาษและการพิมพเจริญกาวหนาอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ มีการตอเรือขนาดใหญเพื่อใชเดินทะเล ขนาดและปริมาณการผลิตสินคาเกษตรและหัตถกรรมดังกลาว ซึ่งมีปรากฏตามแหลงผลิตทั่วไปตามมณฑล (ในยุคนั้นถือเปนรัฐหรือแควน) ตางๆ ทําใหมีศูนยกลางการซื้อขายถึง 30 เมืองที่ประชาชนนําสินคา เชน เสื้อผาและผา อาหาร ชา และหนังสือมา

Page 40: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

40

วางขาย ตลอดจนสินคาหัตถกรรมชนิดตางๆ ทําใหเศรษฐกิจของคนจีนในยุคนี้เฟองฟูและสรางความมั่งคั่งใหแกผูผลิตและพอคา พอถึงชวงกลางของยุคราชวงศหมิง การสะสมทุนและการกอตัวของนายทุนเริ่มปรากฏขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งในอุตสาหกรรมทอผาไหม และผาฝายในแถบตะวันออกเฉียงใต ซึ่งมีโรงงานนับพันแหงในเมืองซูโจวที่วาจางคนงานกรรมกรเปนจํานวนมาก และมีการแบงงานกันทําตามขั้นตอนของการผลิตตางๆ คนงานเหลานี้ไดรับคาจางจากการขายแรงงาน หากเมื่อใดไมมีงาน พวกเขาก็จะวางงาน ดังนั้น จึงเกิดความสัมพันธระหวางนายจางกับลูกจางตามรูปแบบของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมเดนชัดขึ้นเปนลําดับทามกลางระบบเศรษฐกิจแบบศักดินา ในชวงสุดทายของราชวงศหมิง ชาวนากอการจลาจลขึ้นอันเปนผลมาจากการฉอราษฎรบังหลวงในหมูขาราชการและรัฐบาล โดยเหลาขาราชการตางแยงยื้อที่ดินเปนกรรมสิทธิ์สวนตนมากขึ้นเพราะตางชวงชิงความมั่งคั่งและอํานาจ ประจวบกับสภาพภัยแลงปรากฏขึ้นทั่วไปอยางตอเนื่อง ทําใหไรนาเสียหาย ชาวนาจึงรวมตัวกันประทวงและชูประเด็น “การแบงที่ทํากินเทาเทียมกันและยกเลิกการเก็บภาษีอากร” ชาวนาตางเดินขบวนเขาสูเมืองหลวง ทหารของราชวงศหมิงกลับยอมแพอยางงายดาย ทําใหจักรพรรดิองคสุดทายของราชวงศนี้ปลงพระชนมดวยการผูกคอตายในป ค.ศ. 1644 เหลาเสนาอํามาตยของราชวงศหมิงหนีไปรวมมือกับขุนนางแมนจูทําการบดขยี้กองทัพของชาวนา เมื่อไดรับชัยชนะแลว ผูนําแมนจูจึงไดสถาปนาขึ้นเปนจักรพรรดิและตั้งราชวงศชิง (Qing dynasty : 1646 - 1911) ข้ึนในป ค.ศ. 1646 ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอมาจักรพรรดิแหงราชวงศชิง ไดขยายดินแดนออกไปอยางกวางขวางและรวมประเทศเปนปกแผนอีกครั้ง อํานาจของราชวงศชิงขยายอิทธิพลไปทางทิศตะวันตกไปยังทะเลสาบบอลแคชและเทือกเขาปารมีร ทางทิศเหนือจรดพรมแดนไซบีเรีย ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดเทือกเขาฮิงกันสวนนอกและทะเล รวมทั้งเกาะสักกาลิน ทางทิศตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟก เกาะไตหวัน และหมูเกาะขางเคียง สวนทางใตจรดหมูเกาะหนานชา และทางตะวันตกเฉียงใตมีพรมแดนถึงธิเบตและยูนนาน ตั้งแตชวงหลังของคริสตศตวรรษที่ 16 เปนตนมา รัสเซียไดขยายอิทธิพลเขาสูไซบีเรีย และในกลางทศวรรษที่ 17 รัสเซียก็เขารุกรานที่ราบลุมเฮลุงเจียงซึ่งเคยอยูใตอํานาจ

Page 41: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

41

การปกครองของจีนตลอดมา แตจักรพรรดิคางสีแหงราชวงศชิงสามารถตานทานการขยายของรัสเซียไวได ตอมาทั้งจีนและรัสเซียบรรลุขอตกลงสันติภาพระหวางกันในป ค.ศ. 1689 จึงไดลงนามในสนธิสัญญานิบฉู โดยกําหนดใหบริเวณเฮลุงเจียงและที่ราบลุมวาสุลีอยูใตการปกครองของจีน ความเจริญกาวหนาทางวิทยาการและวัฒนธรรมของจีนในยุคราชวงศหมิงและราชวงศชิงเปนไปอยางตอเนื่อง และการติดตอคาขายกับประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกาเปนไปอยางกวางขวาง อยางไรก็ตาม เมืองทาสําคัญๆ ของจีนไดถูกโจรสลัดญี่ปุนโจมตีอยูเนืองๆ แตกองทัพของจักรพรรดิชิงไดตอบโตจนพวกโจรสลัดยอมแพหลบหนีไป อยางไรก็ตาม ความรุงเรืองของจีนไดถึงกาลอวสานในตอนปลายของราชวงศชิงนี้เอง ทั้งนี้เปนผลมาจากการรุกรานของชาวยุโรปและญี่ปุน ดังจะไดกลาวในหัวขอถัดไปนี้ จีนกับการติดตอกับตะวันตก

การแผอิทธิพลของชาวตะวันตกนับตั้งแตตอนเริ่มตนคริสตศตวรรษที่ 16 เปนตนมานั้นไดสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในแถบเอเชียตะวันออกทีละเล็กละนอย โดยพวกเขาใชแบบแผนของการติดตอที่เริ่มจากการเดินเรือไปแวะจอดพัก และสรางมิตรภาพกับชนพ้ืนเมือง จากนั้นก็สงมิชชันนารีและพระเขาไปเผยแพรคริสตศาสนาและทําการคาขาย ตอมา ก็เขายึดครองจุดยุทธศาสตรเพื่อปกปองผลประโยชนของตน เชน เกาะที่เปนศูนยกลางการคมนาคม และบริเวณชองแคบ เปนตน และในที่สุดก็เขายึดดินแดนสวนใหญของชนพื้นเมืองเปนอาณานิคม โดยสงคนเขาไปปกครองและตั้งกองทหารประจําการเพื่อตักตวงเอาผลประโยชนสงกลับไปยังประเทศแมของตน

ชาวยุโรปไดใชเวลานานหลายศตวรรษในการเขาไปแผอิทธิพลยังดินแดนอเมริกาเหนือ อเมริกาใต แอฟริกา ตะวันออกกลาง เรื่อยมาจนถึงอินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตามลําดับ เมื่อสามารถยึดครองดินแดนแทบทุกสวนของโลกไดแลว ก็เขาไปรุกคืบยังเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยไดใชความพยายามที่จะทําลายและยึดครองจีนดวยยุทธวิธีทุกรูปแบบ จนในที่สุดประเทศที่มีอารยธรรมสูงสงแหงนี้ก็ลมสลาย ดังลําดับตามเหตุการณตอไปนี้

Page 42: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

42

(1) ชนกลุมแรกที่มาเยือน ชาวยุโรปกลุมแรกที่เขาไปติดตอกับจีนก็คือ ชาวปอรตุเกส โดยภายหลังที่ไดยึดชองแคบมะละกาไดสําเร็จก็ไดโจมตีบริเวณชายฝงของกวางตุงในป ค.ศ.1511 แตก็ไดรับการตอบโตจากกองทัพของราชวงศหมิง ตอมาในป ค.ศ.1553 พวกปอรตุเกสไดเชาสวนหนึ่งของเกาะมาเกาโดยไดติดสินบนขาราชการจีนที่มีอํานาจตัดสินใจในการใหเชา แตแทจริงแลว ฝรั่งชาตินี้อางวาเกาะมาเกาเปนอาณานิคมของตน อยางไรก็ตาม จีนก็ยังทําการปกครองเกาะนี้เพื่อแสดงถึงการมีอํานาจเหนือเกาะอยู ตอมา ชาวสเปนและชาวดัชไดเขามา และยึดเกาะไตหวันในชวงรอยตอของปลายของราชวงศหมิงและตอนตนของราชวงศชิง แตชาวดัชสามารถชวงชิงความไดเปรียบและมีอิทธิพลเหนือไตหวันได เมื่อนายพลเซ็ง เจงกอง ผูซึ่งตอตานราชวงศชิงไดหนีไปอยูเกาะไตหวัน เขาไดรวบรวมชาวพื้นเมืองขับไลชาวฮอลันดาผูรุกรานเปนผลสําเร็จและไดตั้งรัฐบาลอิสระขึ้น ตอมาก็ถูกกองทหารของราชวงศชิงยกไปบุกยึดเกาะไตหวันใหเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรราชวงศชิงในป ค.ศ.1683 และไดสงขาราชการไปปกครอง พรอมทั้งตั้งกองทหารเพื่อปกปองเกาะนี้ ในชวงคริสตศตวรรษที่ 17 และ 18 เหลาประเทศจักรวรรดินิยมลาเมืองขึ้นชาวยุโรป เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกาไดแผอิทธิพลเขาไปยังประเทศแถบเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งชาวอังกฤษที่อาศัยบริษัทอีสอินเดีย เขามาตั้งสํานักงานคาขายที่เมืองกวางโจวเปนครั้งแรกในป ค.ศ.1699 เพื่อทําการคาและแสวงหาผลประโยชนใหกับบริษัทของตนในแถบนี้ จนกระทั่งในป ค.ศ.1793 รัฐบาลอังกฤษไดสงทูตพิเศษชื่อ แม็คคารทนี่ เพื่อขอสิทธิพิเศษทางดานการคา แตก็ไดรับการปฏิเสธ ทั้งนี้เนื่องจากวาคณะผูบริหารของราชวงศชิงยังคงยึดถือการปกครองแบบศักดินาอยู จึงยึดนโยบายปดประตูทางการคากับชาติตะวันตก ยกเวนเปดใหเฉพาะเมืองกวางโจวเทานั้นที่จะสามารถทําการคาได ในตอนแรก อังกฤษก็ขายสินคาจําพวกผาและพริกไทย สวนจีนขายสินคาจําพวกชา ผาไหม ยา และเครื่องเคลือบดินเผา (ถวยชาม) กาลเวลาผานไปจนถึงตนศตวรรษที่ 19 ขนาดและปริมาณการคาระหวางจีนกับอังกฤษก็มิไดเพิ่มมากขึ้นเทาใดนัก ทั้งนี้เปนเพราะนโยบายการปดประตูทางการคาของจีนนั่นเอง อังกฤษเริ่มขาดดุลการคามากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น จึงไดลักลอบสงฝนไปขายใหแกจีนโดยความรวมมือของขาราชการและพอคาที่เห็นแกได ฝนก็เขาไปทําลายความเขมแข็งของจีนอยางรวดเร็ว เพราะคนติดฝนงอมแงมทั่วไป ทําใหมีการนําฝนเขา

Page 43: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

43

ประเทศเปนปริมาณและมูลคาสูงขึ้นเรื่อยๆ พอคาชาวอังกฤษตางไดรับผลกําไรมหาศาลจากการคาฝน ในทางตรงกันขาม สถานการณการคลังของจีนไดรับผลกระทบอยางรุนแรงและเขาขั้นวิกฤต รัฐบาลจีนจึงประกาศยุติการนําฝนเขาประเทศ แตคําประกาศนี้กอใหเกิดความไมพอใจในหมูพอคาชาวอังกฤษที่ตองสูญเสียกําไรมหาศาล ปญหาเรื่องฝนนี้เองที่เปนสาเหตุสําคัญของสงครามที่ประทุข้ึนในป ค.ศ.1840 โดยจะไดกลาวในหัวขอถัดไป ในแงของการแพรกระจายทางวัฒนธรรมนั้น มิชชั่นนารีชาวยุโรปไดเขาไปในจีนตั้งแตป ค.ศ.1579 เพื่อเผยแพรคริสตศาสนา ในตอนปลายราชวงศหมิง มีโบสถคาธอลิคจํานวน 13 แหงในจังหวัดตางๆ ของจีน พอถึงป ค.ศ.1610 มีการสรางโบสถเพิ่มขึ้นเปน 2,500 แหง และเพิ่มเปน 150,000 แหงในป ค.ศ.1650 สวนมิชชั่นนารีนิกายโปรแตสแตนทไดเขาไปยังจีนในราวปที่เกิดสงครามฝน

(2) บทบาทของชาวยุโรปกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมจีน ป ค.ศ. 1840 ซึ่งเปนปที่ไดเกิดมีสงครามฝนระหวางอังกฤษกับจีนนั้นนับวาเปนจุดหัวเลี้ยวหัวตอที่สําคัญระหวางเกากับใหมในประเทศจีน เปนเครื่องหมายบงบอกถึงความสิ้นสุดแหงการที่จีนมีความเปนอยูอยางมีอารยธรรมที่เปนอิสระมาเปนเวลานาน และบงบอกถึงการสิ้นสุดของการปดตัวเองโดยไมไดมองโลกภายนอกอยางจริงจัง นับตั้งแตสมัยที่พวกปอรตุเกสไดมาถึงจีนตอนใตจนกระทั่งถึงยุคนี้นับเปนเวลาเกือบ 300 ปแลวนั้น ราชสํานักจีนไดประสบผลสําเร็จในการรับมือกับพวกตะวันตกตามแบบฉบับของตนเอง การคาไดถูกจํากัดวงอยูที่เมืองทาสองสามแหงซึ่งผูแทนจากราชสํานักจะปฏิบัติหนาที่อยางเขมงวดกวดขัน และเก็บภาษีสูง นี่เปนแบบดั้งเดิมแหงการที่รัฐมีอํานาจควบคุมการคาไมวาจะเปนของตางประเทศหรือของพื้นเมืองก็ตาม เปนระบบที่ออกแบบขึ้นเพื่อจะใชควบคุมดูแลไดอยางใกลชิดเพื่อที่จะทําใหพวกพอคาอยูในสถานภาพที่ต่ําตอยเรื่อยไป เพื่อใหการคาตกอยูภายใตอํานาจผลประโยชนของรัฐ และเพื่อใหไดภาษีอากรมากที่สุด แตมีความรับผิดชอบนอยที่สุดของพวกขาราชสํานักในสวนที่เกี่ยวกับการดําเนินการคาที่แทจริง (ซึ่งพวกพอคาที่ไดรับอนุญาตจะตองปฏิบัติใหสอดคลองตองกันกับธรรมเนียมการปฏิบัติแบบเกาๆ ที่รัฐเปนผูผูกขาด) เพราะฉะนั้น ความลาชาหลายอยางของระบบจึงมิใชวาชาวตางประเทศไมมีความสามารถ แตเปนเพราะวาการจํากัดเงื่อนไขที่ “เปนปกติ” ในการประกอบธุรกิจในประเทศจีนเสียมากกวา

Page 44: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

44

พอคาจีนไดศึกษาวิธีที่จะอยูรวมกับชาวตางประเทศมานานแลว อยางไรก็ตาม พวกตะวันตกโดยเฉพาะพอคาชาวอังกฤษในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ดื้อดึงไมยอมอยูภายใตขอบังคับที่เขมงวดเหลานี้ เพราะมีความเชื่อในเรื่องการคาเสรีและมักจะบูชาเงินตราเปนพระเจา พวกเขาไดทําการตอตานระบอบการปกครองของจีนที่ไมยอมรับสิ่งเหลานี้ แบบแผนที่กําหนดไวสําหรับการคากับชาวตางประเทศทําใหพวกพอคาตองอยูในฐานะที่เสียเปรียบเชนนั้น ยอมทําใหเกิดความยากลําบากไปถึงรัฐบาลดวยเหมือนกัน ภาษีที่เก็บมากเกินไปและการเขมงวดกวดขันเทากับเปนการเชื้อเชิญบุคคลที่กลาไดกลาเสียและเปนคนเจาความคิดทําการลักลอบหนีภาษีข้ึนมา อนึ่ง การลักลอบหนีภาษียอมพิสูจนใหเห็นวา เปนการทําใหไดกําไรงาม ไมใชเพียงเฉพาะผูที่มีสวนรวมโดยตรงเทานั้น แตรวมไปถึงพวกขาราชการตามทองถิ่นดวย เพราะพวกขาราชการที่รับสินบนจึงไมเขาไปแตะตองการคาที่ผิดกฎหมาย องคประกอบเหลานี้ไดชวยอธิบายถึงเหตุผลวา ทําไมรัฐบาลจึงพบกับความยากลําบากในการทําใหการคาฝนสิ้นสุดลง ทั้งๆ ที่ไดมีการหามแลวหามอีกว า ไมใหสงฝน เข าไปและไมใหค าฝน รัฐไม เพียงแตจะตองกระทบกระทั่งกับชาวตางประเทศซึ่งเห็นวาฝนจากอินเดียและตะวันออกกลางเปนยาประหลาดที่ใชรักษการขาดดุลการคากับจีนซึ่งเรื้อรังมาเปนเวลานานเทานั้น แตยังไดกระทบกระทั่งกับพวกจีนดวยกันเอง ซึ่งผลประโยชนสวนตัวไดทําใหพวกเขารวมมือทําการคาที่ผิดกฎหมายมากกวาที่จะขจัดการลักลอบใหหมดไปเพื่อประโยชนสุขของคนจีนทั้งประเทศ อนึ่ง ผลประโยชนสวนตัวของชาวตางประเทศที่มีสวนรวมในการคาของจีนมิไดผูกพันอยูกับการคาฝนไปเสียทั้งหมด และเปนไปไดที่การไกลเกลี่ยแบบผูรูจะทําใหการขนฝนเขาไปลดนอยลง ในเมื่อสินคาชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะสินคาหัตถกรรมสามารถเขามาแทนที่ฝนได แตเคราะหรายอยูที่ราชสํานักจีนปฏิบัติในเรื่องสัมพันธไมตรีกับชาวตางประเทศตามแบบประเพณี โดยสวนใหญถือวาเปนความสัมพันธแบบเมืองที่สงเครื่องบรรณาการไปถวาย หรือรัฐบรรณาการ อันเปนเหตุทําใหจักรพรรดิจีนทรงเห็นวาประเทศเหลานั้นเปนเมืองขึ้นไปหมด ดวยเหตุนี้ จึงไมมีการผอนปรนในการสรางสัมพันธภาพที่เทาเทียมกับมหาอํานาจตะวันตก หรือยอมใหมีการไกลเกลี่ย ซึ่งจะเปน

Page 45: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

45

การบั่นทอนอํานาจเด็ดขาดที่องคจักรพรรดิจะพึงมีตอชาวตางประเทศดุจเดียวกับที่ทรงมีตอไพรฟาประชากรของพระองคเอง ในสถานการณเชนนี้ จึงไมมีทางที่จะแกปญหานี้ไดเลย ความชั่วรายที่เกิดจากการคาฝนนั้นมีผลกวางใหญไพศาลมาก พรอมกันนั้นจีนไมสามารถรักษานโยบายการคาอยางโดดเดี่ยวใหคงไวเหมือนเดิม ทําใหเปนการบังคับใหหาวิธีการตกลงกันแบบชั่วคราวกับฝายตะวันตก และการใชกําลังตอกันก็เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมพน

(3) สงครามฝน (ค.ศ. 1839 – 1843) ความเสียหายทางดานเศรษฐกิจและสุขภาพของคนจีนอันเนื่องมาจากการลักลอบคาฝนของพอคาชาวอังกฤษและขุนนางพอคาจีนจนไมอาจจะทนได รัฐบาลของราชวงศชิงจึงไดสงอุปราชหลิน ซีสู (Lin Zesu) ไปยังเมืองกวางตุงในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1839 เขาไดสั่งใหพอคามอบฝนใหกับทางการ และบังคับใหผูอํานวยการศูนยการคาอังกฤษชื่อ ชาลส อิลเลียต มอบฝนจํานวน 20,000 หีบ ซึ่งมีน้ําหนักกวา 1.15 ลานกิโลกรัม ในจํานวนนี้เปนฝนของพอคาชาวอเมริกันราว 1,500 หีบ จากนั้นในวันที่ 3 มิถุนายน เขาไดสั่งเผาฝนทั้งหมดตอหนาสาธารณชน นอกจากนั้น เขาไดประกาศหามพอคาชาวอังกฤษนําฝนเขาประเทศจีนอีกตอไป รัฐบาลอังกฤษไดสงกองทัพเรือ ที่ประกอบดวยเรือรบ 40 ลําและทหาร 4,000 คนเขาโจมตีเมืองทาในกวางตุง และโจมตีเมืองเซี๊ยเมินของมณฑลฟูเจี้ยน (คนไทยเรียกวา ฮกเกี้ยน) และสามารถยึดเมืองดิงไฮ มณฑลซีเจียง รวมทั้งรุกไปถึงเมืองเทียนสินในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1840 ดวยอํานาจของอาวุธรายแรงคือปนใหญที่ทหารอังกฤษใชโจมตี รัฐบาลชิงจึงไดสั่งปลดอุปราชหลิน ซีสูและทําการสอบสวนเพื่อลงโทษฐานกอใหเกิดสงคราม รัฐบาลชิงไดสงทูตกีซานไปเจรจาสงบศึกกับกองทัพอังกฤษ ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1841 กีซานไดลงนามในขอตกลงกับอังกฤษโดยยกเกาะฮองกงใหและเปดเมืองทากวางโจวใหเปนศูนยกลางการคากับอังกฤษ แตจักรพรรดิทรงตระหนักวา การมอบดินแดนและการจายคาปฏิกรรมสงครามเปนการทําใหจีนเสื่อมศักดิ์ศรี จึงไดประกาศสงครามกับอังกฤษ และกองทัพอังกฤษไดโจมตีเมืองกวางโจวดวยปนใหญสรางความเสียหายแกบานเมืองมาก ผูบัญชาการรบชื่อ ยีชาน ผูซึ่งเปนหลานของจักรพรรดิเดากวางประกาศยอมแพ อยางไรก็ตาม กองทัพอังกฤษยังไมยอมรามือ และเขาโจมตีเมืองทาตางๆ ข้ึนไปทางเหนือสามารถยึดเมืองเซี่ยงไฮ เซี๊ยเหมิน ดิงไฮ และเมืองซี

Page 46: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

46

เจียง อีกทั้งไดใชกองทัพเรือปดลอมเมืองนานกิง ในที่สุด จักรพรรดิชิงก็ขอเจรจาสงบศึกลงนามในสนธิสัญญานานกิง สนธิสัญญานี้บังคับใหจีนเปดเมืองทา 5 เมืองทําการคากับอังกฤษ ยกเกาะฮองกงใหและจายคาปฏิกรรมสงครามจํานวน 21 ลานเหรียญสหรัฐฯ รวมทั้งยอมใหอังกฤษกําหนดอัตราภาษีสินคานําเขาใหเหลือเพียงรอยละ 5 และชาวอังกฤษสามารถสรางบานเรือนและอาคารตางๆ ตามเมืองทา 5 แหงนั้นดวย ป ค.ศ. 1844 สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสก็เซ็นสนธิสัญญาเลียนแบบอังกฤษเชนเดียวกับสนธิสัญญานานกิง ทําใหจีนสูญเสียอธิปไตยบางอยางไป อีกทั้งตองเปดประตูรับสินคาจากชาติตะวันตกทุกประเภท จีนจึงเขาสูยุคกึ่งอาณานิคม-กึ่งศักดินา (semi-colonial and semi-feudal) การพายแพของจีนสรางความตระหนกใหแกชนชาติอ่ืน เชน เกาหลี ญี่ปุน และไทย ที่ตางไมคาดคิดวาประเทศยิ่งใหญเชนจีนจะพายแพแกพวกตะวันตกอยางงายดาย จึงไดปรับนโยบายของตนเพื่อรับกับสถานการณใหมที่เกิดขึ้นในภูมิภาคสวนนี้ของโลก ในขณะเดียวกัน การยอมรับอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนก็เริ่มลดลง ทั้งนี้เพราะตางคิดวา แมแตประเทศที่มีอารยธรรมเกาแกที่ยิ่งใหญยังไมสามารถปกปองและเอาชนะพวกฝรั่งได ดังนั้น ตางเริ่มมองหาทางเลือกใหมที่จะศึกษาและนําเอาวัฒนธรรมตะวันตกเขามาปรับใชกับสังคมของตนเอง นั่นหมายความวา ประเทศเหลานี้ตางเปดประเทศของตนและยินยอมใหชาวตะวันตกเขาประเทศได เชน ญี่ปุนเปดประเทศในป ค.ศ. 1854 สวนเกาหลีก็เปดคาขายกับชาติตะวันตกในป ค.ศ. 1882 (3) อันเปนผลมาจากความเกรงกลัวอํานาจทางทหารและอาวุธของชาติตะวันตก และตองการหลีกเลี่ยงสถานการณที่จีนตองประสบกับความพายแพในสงครามฝนนั่นเอง

(4) กบฏไถผิง (Taiping revolution: 1851 – 1864) หลังสงครามฝนสิ้นสุดลง จีน พบกับความยุงเหยิงในทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และการเมืองมากมายอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน คนจีนมีความเชื่อและความคิดเห็นแตกแยกจนไมอาจประสานรอยราวใหกลับไปสูสังคมที่ยิ่งใหญภายใตการปกครองของจักรพรรดิไดอีก การแตกแยกทางดานความคิดความเชื่อเปนผลมาจากการเผชิญหนาระหวางการปกครองระบบศักดินากับระบบทุนนิยม ระหวางระบบการปกครองแบบราชสํานักกับการรุกรานของชาติมหาอํานาจตะวันตก และระหวางการยอมรับแบบแผนกฎเกณฑชีวิตตามประเพณีนิยม

Page 47: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

47

กับวัฒนธรรมแบบวัตถุนิยมตามหลักเหตุและผล การเผชิญหนาดังกลาวกอใหเกิดการลมสลายของระบบการปกครองแบบราชสํานักที่มีราชวงศหนึ่งทําการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ในที่สุด ราชวงศชิงก็ถึงกาลอวสานในป ค.ศ. 1911 เมื่อขบวนการสี่พฤษภาคม (May Fourth) ไดเกิดขึ้นและนําจีนไปสูระบบการปกครองแบบสาธารณรัฐนับแตนั้นมา ในที่นี้จะกลาวถึงกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงตั้งแตชวงป ค.ศ. 1841 ที่เกิดกบฏไถผิงขึ้น ทั้งนี้เพราะรัฐบาลของราชวงศชิงไดเก็บเกี่ยวแยงชิงผลผลิตจากชาวนาทุกทางเพื่อหาเงินมาจายคาปฏิกรรมสงครามจํานวนมหาศาล จนคนสวนใหญไมอาจทนตอการเอารัดเอาเปรียบและการกดขี่ขมเหงไดตอไปอีก จึงพากันลุกฮือกอการจลาจลและการกบฏขึ้นหลายแหงหลายครั้ง การกอกบฏที่สําคัญก็คือ กบฏไถผิง ในป ค.ศ. 1841 ฮอง ชิวฉวน เปนผูนําชาวนาทําการจลาจลในมณฑลกวางสี และสถาปนาอาณาจักรไถผิงขึ้น แผนการปฏิรูปสังคมของไถผิงก็คือ การจัดสรรที่ดินที่ใหแกทุกคนบนพื้นฐานความเทาเทียมกัน ฝูงชนชาวจีนตางใหการสนับสนุน จนทําใหกองทัพไถผิงสามารถยึดครองดินแดนทางตอนใตไดเกือบทั้งหมด ตอมา ป ค.ศ. 1853 สามารถยึดนครนานกิงและตั้งเปนเมืองหลวงของอาณาจักรไถผิง จากนั้นก็สามารถยึดดินแดนใน 17 มณฑลและยังขยายอิทธิพลออกไปอยางกวางขวาง ในที่สุดกองทัพของราชวงศชิงไดรวมมือกับกองทัพตางชาติ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ชวยกันบดขยี้กบฏไถผิง และในป ค.ศ. 1864 อาณาจักรไถผิงก็ถูกปราบปรามจนสูญสิ้นไป

(5) การแบงปนสวนจีนเพื่อตักตวงผลประโยชน จักรวรรดินิยมอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน และรัสเซียไดแบงปนประเทศจีนเพื่อตักตวงผลประโยชนสงกลับเมืองแม ในขณะเดียวกัน ญี่ปุนซึ่งเปนประเทศที่มีความเขมแข็งทางการทหารไดเขารวมวงดวย โดยการทําสงครามกับจีนในป ค.ศ.1894 จีนพายแพจึงตองยอมยกดินแดนคือ เกาะไตหวัน หมูเกาะเปสคาดอเร็ส และแหลมเหลียวตุงให และตองยอมเปดเมืองทาจุงกิง ซูโจวและหัวโจวเพื่อใหญี่ปุนเขามาคาขายไดอยางสะดวก อีกทั้งตองเสียคาปรับในการทําสงครามจํานวน 200 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตอมาจีนตองทําสงครามฝนครั้งที่สองกับอังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งเปนที่แนนอนวาทหารของรัฐบาลชิงไมอาจตอสูได จึงถูกตางชาติเขายึดเมืองสําคัญๆ และตองเสียคาปรับสงครามอีกจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ.1900 พันธมิตร

Page 48: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

48

8 ชาติ ประกอบดวยรัสเซีย ฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมัน สหรัฐฯ ญี่ปุน อิตาลี และออสเตรียไดรวมมือกันทําสงครามกับกลุมกบฏที่ตอตานเหลาจักรวรรดินิยมที่ลักลอบทําลายผลประโยชนของมหาอํานาจตามเมืองตางๆ โดยไดยกกองทัพบดขยี้กลุมกบฏและสามารถยึดเมืองเทียนสินและปกกิ่งคืนมาจากฝายจีนผูรักชาติ การกระทําของพวกมหาอํานาจเปนไปอยางโหดเหี้ยม ดวยการสังหารทุกคนที่คนพบไมวาจะเปนผูหญิง เด็ก และคนชรา รัฐบาลชิงจําเปนตองเจรจาสงบศึกและจายคาปฏิกรรมสงครามเปนจํานวนเงินถึง 450 ลานเหรียญโดยผอนใชเปนเวลา 39 ป และรัฐบาลชิงจําเปนตองขับเคี่ยวกับฝายกบฏมิใหกอการจลาจลขึ้นอีก สวนรัสเซียไดเขายึดครองภูมิภาคอีหลีซึ่งอยูทางตอนเหนือติดกับเตอรกีสถานของรัสเซีย ดินแดนสวนนี้อุดมดวยแรธาตุและพื้นที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก รัสเซียยึดดินแดนแถบนี้พรอมกับไดรับคาปฏิกรรมสงครามอีก 5 ลานรูเบิลสในป ค.ศ.1881 ตอมาจีนไดขอดินแดนคืนแตตองเสียคาชดเชยทางทหารเพิ่มเปน 9 ลานรูเบิลส จีนไดตั้งเตอรกีสถานของจีนเปนมณฑลซินเจียง กลาวโดยสรุป ประวัติศาสตรของจีนมีเรื่องราวที่นาสนใจยิ่งนับตั้งแตไดกอตั้งเปนอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวกันในยุคราชวงศฉินเปนตนมา อาณาจักรฉินประกอบดวยชนเผาฮ่ันอาศัยอยูบนที่ราบลุมภาคกลาง ซึ่งเปนแหลงที่มีความอุดมสมบูรณบนบริเวณฝงแมน้ํา ฮวงโหและแยงซีเกียง หรือที่เรียกวา แถบจงหยวน หรือบริเวณในดาน แมวาอารยธรรมสูงสงไดรับการสรางขึ้นโดยชนเผาฮ่ันเปนหลักในแถบจงหยวน แตชนกลุมนอยก็มีบทบาทสําคัญตอความเจริญรุงเรืองของจีนในชวงเวลาตอมา ดังเชน ชนเผาคีตานไดตั้งราชวงศเหลียว (ค.ศ. 912 – 1125) ชนเผาเฉียงนูตั้งราชวงศเซี้ยตะวันตก (ค.ศ. 1308 – 1227) ในขณะที่ราชวงศซอง (ค.ศ. 960 – 1368) ครอบครองอํานาจในแถบจงหยวน ทําใหในยุคราชวงศซอง เซี้ย และเหลียวแบงแผนดินออกเปน 3 สวน กลาวคือ อาณาเขตทางตอนเหนือและทางตะวันตกของบริเวณนอกดานเปนดินแดนของเซี้ย อาณาเขตทางตอนเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของบริเวณนอกดานเปนดินแดนของเหลียว สวนซองครอบครองดินแดนในดานทั้งหมด รัฐทั้งสามตางมีความเขมแข็งและเปนอิสระตอกัน จากจุดนี้เองที่นักประวัติศาสตรจีนเริ่มมองเห็น

Page 49: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

49

ความสําคัญ และเริ่มใหความสนใจศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรของชนกลุมนอยมากขึ้น ชนเผานอกดานหรือพวกอนารยชนไดสรางความประหลาดใจใหแกชาวฮ่ันเปนอยางยิ่งเมื่อชนเผามองโกลสามารถมีชัยเหนือชนเผาคีตานและเฉียงนู และสามารถยึดครองเขตจงหยวน (ในดาน) ไดทั้งหมด อีกทั้งไดเขายึดครองราชสํานักในกรุงปกกิ่งไดสําเร็จ เมื่อชาวมองโกลครอบครองอํานาจเหนือจีนและตั้งราชวงศหยวน (ค.ศ. 1271 – 1368) ข้ึน ก็สงกองทัพรุกและยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีไดอีกครั้ง (ภายหลังที่เคยตกเปนมณฑลโลลางภายใตการยึดครองของราชวงศฮ่ัน ซึ่งมีอํานาจในระหวางป 206 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 220) ตอมา พวกอนารยชนนอกดาน ไดสรางความเกรียงไกรขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อชนเผาแมนจูเขายึดครองอาณาจักรหมิง (ค.ศ. 1368 – 1644) ไดสําเร็จ และสามารถตั้งเปนราชวงศชิง (ค.ศ. 1646 – 1910) ข้ึน ทหารชิงไดเขาไปมีอิทธิพลเหนือคาบสมุทรเกาหลีอีกครั้ง จึงเปนที่นาสนใจวา ราชวงศของชนเผามองโกลและแมนจูตางอางสิทธิเหนือดินแดนเกาหลีในชวงที่มีอํานาจครอบครองจีนทั้งหมด ในขณะที่พวกฮ่ัน เชน ราชวงศ หมิง ซอง ถัง และฉิน ไมไดใหความสนใจในการแผอิทธิพลเหนือคาบสมุทรเกาหลีแตอยางใด การแผอิทธิพลและการเขาไปยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีนั้น จีนไดเขาไปเบียดบังหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจเพื่อสงกลับไปยังจีน เชน ปลา เกลือ เหล็ก ไมซุง พืชผลทางการเกษตร อีกทั้งใชกําลังบังคับใหคนเกาหลีเปนแรงงานตัดไมสงไปยังประเทศของตน ดังนั้น ในยามที่จีนออนแอลง อันเปนผลมาจากการแกงแยงชิงดีชิงเดนในดานอํานาจและดินแดนระหวางกันและกัน ชาวเกาหลีจึงลอบโจมตีบานขุนนางที่สงไปจากจีน รวมทั้งโจมตีเมืองตางๆ ของจีนที่ตั้งอยูในแถบแมนจูเรียทางตอนเหนือและทางตะวันออกของคาบสมุทร อีกทั้งงดสงบรรณาการไปมอบใหแกพระเจากรุงจีนเปนบางชวงบางตอน แตความสําเร็จดังกลาวก็ไมไดยาวนานเทาใดนัก ทั้งนี้เมื่อจีนเขมแข็งข้ึน ก็รุกรบและขับไลชาวเกาหลีใหกลับคืนสูดินแดนบนคาบสมุทร และบีบบังคับใหสงบรรณาการไปยังจักรพรรดิที่อยูในนครหลวงของจีนอีกครั้ง

Page 50: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

50

ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี แตเดิมนั้นนักประวัติศาสตรจีนใหความสนใจในการเขียนเรื่องราวของกลุมชนที่มีถิ่นฐานบนฝงแมน้ําเหลือง (ฮวงโห) และแมน้ําแยงซีเกียง หรือแถบจงหยวน มากกวาที่จะบันทึกเรื่องราวของชนเผาที่ตั้งอยูนอกดาน โดยเฉพาะอยางยิ่งพวกมองโกลที่มีถิ่นที่อยูทางตอนเหนือและพวกแมนจูในแถบมองโกเลีย (มณฑลเหลียวหนิง จ้ีหลิน และเฮอ หลุงเจียง ในปจจุบัน) จนกระทั่งชนเผาเหลานี้มีกําลังอํานาจมากขึ้น และสามารถยึดครองประเทศจีนไดทั้งหมดในยุคราชวงศหยวน และราชวงศชิง ทําใหนักวิชาการเริ่มใหความสนใจศึกษาประวัติศาสตรของคนกลุมนอยเหลานี้อยางจริงจัง ทั้งในดานการกอกําเนิดของเผา วิถีชีวิต และพัฒนาการของชนเผาอยางละเอียด ทั้งนี้ทั้งนั้น จุดเริ่มตนสําคัญก็คือเมื่อราชวงศหยวนไดครอบครองอํานาจเหนือจีนทั้งหมด

เหตุการณที่เกิดขึ้นในยุคโบราณนั้นมีการพูดถึงนอยมาก หรือแมวาจะกลาวถึงก็เปนเพียงการใหภาพกวางๆ ของเหลา “อนารยชน” ทางทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ สวนรายละเอียดถึงการกอตั้งเปนสังคม และความสัมพันธระหวางชนเผาตางๆ และกับชาวเกาหลีนั้นไดรับความสนใจนอยมาก ทั้งนี้อาจเปนเพราะตางคิดวา “พวกปาเถื่อนมักแยงชิง ความเปนใหญในหมูกันเอง” และ “ชนเผาเหลานี้ไรความเจริญ ตองพึ่งพาวัฒนธรรมที่สูงเดนของพวกฮั่น” รวมไปถึง “การเขามาสวามิภักดิ์ตอราชสํานักของจีนเพื่อตองการความอยูรอด” นั่นเอง ในยุคราชวงศฮ่ันของจีนนั้น การขีดอาณาบริเวณของราชอาณาจักรจะขึ้นไปจรดกําแพงเมืองจีนในทางตอนเหนือ (ในดานหรือเขตจงหยวน) เทานั้น สวนพวกที่อยูบริเวณนอกกําแพงจะถูกเรียกวา Wu Hu แปลวา “ไมใชคนจีน” (non-chinese) หรือหมายถึง “ชนปาเถื่อน” (barbarian) อันประกอบดวยชนเผาเรรอนใหญๆ คือ เฉียงนู (Hsiung-nu) เฉียงเปย (Hsiung bei) ดี (Di) เชียง (Qiang) และไจ (Jie) อีกทั้งมีชนเผาหลัก ไดแก มองโกล แมนจู คีตาน และวีมาน ครอบครองความเปนใหญเหนือบริเวณแถบนี้เปนหยอมๆ นอกจากนี้ยังมีชนเผาอีกหลายเผา ในจํานวนนั้นมีเผาปูโย และโคกูริวที่นักประวัติศาสตรเกาหลีอางวาเปนบรรพบุรุษของชนชาติเกาหลี ชนเผาดังกลาวอาศัยอยูทางตอนเหนือของคาบสมุทรเกาหลี บางครั้งก็ทําการขยายอาณาเขตไปทางตะวันตกในแถบมณฑลเหลียวตุงและทางตอนเหนือที่เปนบริเวณของมณฑลจี้หลินของจีนในปจจุบัน

Page 51: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

51

ในชวงที่อาณาจักรโคกูริว (ป 57 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 935) เรืองอํานาจนั้น ชนเผาโคกูริวไดทําการขยายดินแดนออกไปอยางกวางขวางทั้งทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของคาบสมุทร และลงมาทางใตจนถึงเมืองเปยงยางและเมืองเกซอง นักประวัติศาสตรเกาหลีจะเขียนวา อาณาจักรนี้ไมยอมออนขอใหราชสํานักจีนที่ตั้งอยูในบริเวณลุมแมน้ําฮวงโห โดยตั้งตัวเปนรัฐอิสระและไมนําพาคําขอรองของจักรพรรดิจีนที่ใหรวมกันโจมตีปราบปรามชนกลุมนอยเผาอื่นๆ เชน เผาเฉียงนู ที่มักโจมตีบริเวณในดานอยูเนืองๆ และในยามที่รัฐเล็กๆ ของจีนทําศึกสงครามตอกัน ทั้งนี้ชนเผาเฉียงนูมักลักลอบเขาปลนสดมภและฆาฟนผูคนโดยไมเลือกเพื่อแยงชิงอาหาร เครื่องมือเครื่องใชในครัวเรือน และของมีคาทุกอยาง นอกจากนี้ ในบางครั้งชนเผาโคกูริวยังนํากําลังพลเขาโจมตีรัฐเยน (Yen) บริเวณแหลมเหลียวตุงของจีนที่ตั้งอยูทางทิศตะวันตกของอาณาจักรโคกูริวเพื่อขยายอาณาเขต ดังนั้น จีนจึงรุกเขาไปโจมตีดินแดนโคกูริว จนในที่สุดสามารถยึดครองโคกูริวเปนอาณานิคมไดเปนผลสําเร็จ สวนนักประวัติศาสตรจีน กลับมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน กลาวคือในยุคนี้ คนจีนหรือชาวฮั่นจะมีแนวความคิดวา ศูนยกลางของอาณาจักรและอารยธรรมอยูที่บริเวณราชสํานักที่ตั้งอยูบนแถบลุมแมน้ําเหลือง (หรือในเมืองหลวง ซึ่งก็เปลี่ยนจากเมืองหนึ่งไปเปนอีกเมืองหนึ่ง แลวแตวารัฐใดจะสามารถครอบครองความเปนใหญได) คําวาศูนยกลางจึงมีความสําคัญยิ่งเพราะเปนแหลงรวมทางการทหาร การปกครอง อารยธรรม และความเปนเลิศในดานความรู การแพทย ดาราศาสตร และงานศิลปะวิทยาการทุกแขนง ดวยเหตุนี้ จีนในยุคนั้นจึงถือวา ตนเปนใหญเหนือดินแดนอนารยชนทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาจักรโคริว เพ็กเจ ซิลลา รวมทั้งญี่ปุนซึ่งตองอาศัยพ่ึงพาความยิ่งใหญของจีน และรับเอาอารยธรรมของจีนไปปรับใชในสังคมของตน อนึ่ง นักวิชาการจีนยังไดระบุหลักฐานสําคัญวา ผูนําของรัฐเหลานี้จะตองรับสารตราตั้งจากพระเจากรุงจีน และคธาในงานปราบดาภิเษก จึงจะไดเปนกษัตริยปกครองดินแดนดังกลาวไดอยางสมบูรณ และจะตองสงเครื่องบรรณาการไปมอบใหตามชวงเวลาที่กําหนดเสมอ จุดสําคัญที่สุดที่ยังผลใหเกิดปญหาขอพิพาททางประวัติศาสตรระหวางจีน – เกาหลีในยุคปจจุบัน (ตนคริสตศตวรรษที่ 21) ก็คือ การอางสิทธิ์ของนักวิชาการจีนวา อาณาจักรโคกูริวเปนของจีนในอดีต ดวยการเปลี่ยนแปลงขอเขียนในหนังสือ

Page 52: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

52

ประวัติศาสตรของตน ทั้งๆ ที่กอนหนานั้นไดย้ําอยางชัดเจนวา โคกูริวเปนอาณาจักรหนึ่งในสาม (ยุคสามอาณาจักร ราวป 57 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 667) ของเกาหลีโบราณ อนึ่ง ในทศวรรษที่ 1980 นักประวัติศาสตรจีนยังไดเปลี่ยนแปลงเนื้อหาอีกวา ปูโย (ป 500 – 494 กอนคริสตศักราช) และโคกูริวเปนอาณาจักรสวนหนึ่งของประวัติศาสตรจีน โดยใหเหตุผลวา เนื่องจากชนเผาปูโยและโคกูริวเปนชนกลุมนอยที่อาศัยบนแผนดินจีน ไดสรางสรรคโบราณสถาน เชน หลุมฝงศพที่ทําดวยหิน เปนเสมือนหนึ่ง “ประมิดของโลกตะวันออก” ปจจุบัน หลุมฝงศพประเภทนี้ มากกวา 100 แหงตั้งอยูในบริเวณที่ราบระหวางเมืองเกานี (Guonei) และเมืองหวันดู (Wandu) ของมณฑลจี้หลิน ซึ่งไดรับการยกยองใหเปนมรดกโลกจากองคการยูเนสโก

นักวิชาการของจีนไดเริ่มตนศึกษาประวัติศาสตรชนกลุมนอยที่อาศัยอยูตามชายแดนของประเทศ โดยไดตั้งศูนยวิจัยชื่อ The Research Center for Chinese Borderland History and Geography (RCCBHG) ในป ค.ศ. 1983 ซึ่งเปนองคกรหนึ่งในสถาบันสังคมศาสตรของจีน (Chinese Academy of Social Science (CSS)) ศูนยศึกษา RCCBHG มีความสําคัญตอประเทศจีนมาก โดยมีสมาชิกคนหนึ่งของโปริตบิวโรของรัฐบาลกลางมาเปนกรรมการของศูนยวิจัย ฯ และมีผูนําทางการเมืองอีกหลายคนที่รวมเปนสมาชิก อนึ่ง ศูนยวิจัยแหงนี้ไดตั้งศูนยยอย ชื่อ ศูนยศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast Center) ข้ึนในป ค.ศ. 1999 ตอมาเมื่อมีการประชุมรวมระหวางคณะกรรมการกลางของพรรคคอมมิวนิสตจีน CSS และเจาหนาที่ของมณฑลสามมณฑล (เฮอหลุงเจียง จ้ีหลิน และเหลียวตุง) มติของที่ประชุมไดกําหนดใหตั้งโครงการศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeast Project) ในเดือนกุมภาพันธ ป ค.ศ. 2002 เพื่อศึกษาคนควาวิจัยแบบสหวิทยาการขึ้น โดยกําหนดชวงเวลาการศึกษา 5 ป รายงานการศึกษาของโครงการนี้ระหวางป ค.ศ. 2002 – 2004 มีจํานวนทั้งสิ้น 126 เรื่อง ในจํานวนนี้มีราว 70 เรื่องที่ศึกษาวัฒนธรรมโคกูริวและความสัมพันธกับวัฒนธรรมจีน ซึ่งงานวิจัยตางก็ยืนยันไปในทิศทางเดียวกันวา โคกูริวเปนอาณาจักรที่ตั้งอยูในจีน จึงควรเปนสวนหนึ่งของจีน โดยระบุรายละเอียดดังตอไปนี้ อาณาจักรโคกูริวเปนแหลงรวมของชนเผาปูโยและชนกลุมนอยอ่ืนๆ ไดแก ยีแมก (Yemaek) หรือวีมาน (Wiman) ฮ่ัน (Han) เชียนเปอย (Xianbei) ซูเซน (Sushen)

Page 53: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

53

เปนตน อาณาจักรนี้ตั้งอยูในดินแดนของจีน ดังนั้น จึงไมมีสายสัมพันธใดที่เชื่อมโยงกับชนชาติเกาหลี โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมที่เปนชนชั้นผูปกครอง อนึ่ง อาณาจักรโคกูริวก็อยูภายใตการคุมครองของอาณาจักรฮั่นตะวันตก และอยูภายใตการปกครองของราชวงศถังของจีน ซึ่ ง เปนหนึ่ งของราชวงศที่สืบสานอํานาจของจีนอยางตอเนื่องตลอดประวัติศาสตรอันยาวนาน นอกจากนี้อาณาจักรโคกูริวไดสงเครื่องบรรณาการเพื่อผูกสัมพันธ และยอมรับอํานาจและอารยธรรมจากราชสํานักของจีนอยางสม่ําเสมอจนอาณาจักรนี้ลมสลาย อีกทั้งประชากรของอาณาจักรโคกูริวจํานวนเกือบสามแสนคนไดอพยพไปรวมอยูกับสังคมจีนในบริเวณลุมแมน้ําเหลืองและกลายเปนชาวฮั่นในที่สุด ประการสุดทาย นักประวัติศาสตรจีนเนนวา ไมมีความสัมพันธระหวางอาณาจักรโคกูริวกับอาณาจักรโคริว (ค.ศ. 918 – 1392) ของเกาหลี ทั้งนี้เพราะพวกเขาอางวา ผูกอสรางอาณาจักรโคริวนั้นเปนชาวฮั่นที่มาจากดินแดนของราชวงศสุยและราชวงศถังของจีน มิใชสืบเชื้อสายมาจากอาณาจักรซิลลาของเกาหลีแตอยางใด เรื่องราวทางประวัติศาสตรดังที่เพิ่งกลาวถึงนี้ไดรับการคัดคานจากนักวิชาการชาวเกาหลีซึ่งตางอางวา อาณาจักรโคกูริวเปนของเกาหลี และผูกพันกับการตั้งอาณาจักรโคริวโดยตรง อีกทั้งชื่อ โคกูริว ยอมาเปน โคริว ซึ่งหมายถึง โคเรีย หรือเกาหลีในปจจุบันนั่นเอง ในที่นี้ จะไมขอพิสูจนวา อาณาจักรโคกูริวเปนของใคร แตจะกลาวถึงความสัมพันธของจีนที่มีตอเกาหลีตั้งแตยุคสามอาณาจักรเรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 ในยุคนั้นจีนถือวาตนเปนศูนยกลางของโลก โดยรัฐอื่นที่ตั้งอยูรอบขาง เชน โคกูริว เพ็กเจ ซิลลา หมูเกาะริวกิว และญี่ปุน ตางตองสงบรรณาการไปมอบใหแกจักรพรรดิจีนในราชวงศฮ่ัน ราชวงศจ้ิน ราชวงศเหนือ – ใต ราชวงศสุย และราชวงศถัง ความตอเนื่องของการสงบรรณาการในยุคนี้ข้ึนอยูกับความเขมแข็งของราชสํานักจีนเปนสําคัญ แมวาจีนในชวง ค.ศ. 1 – 1000 นั้นจะมีการแยงชิงอํานาจระหวางรัฐตางๆ เพื่อความเปนใหญอยูตลอดเวลา กอใหการผลัดเปลี่ยนการครอบครองอํานาจ และการแบงแยกออกเปนรัฐเล็กๆ เชน ยุคสามกก (ค.ศ.220 – 280) และยุค 5 ราชวงศ 10 อาณาจักร (ค.ศ. 907 – 960) เปนตน แตรัฐบริวารรอบขางยังคงยึดถือความเปนผูนําของจีนเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งสามอาณาจักรของเกาหลีที่ตองพึ่งพาวัฒนธรรม ไดแก ดาราศาสตร การแพทย พุทธศาสนา ระบบการปกครอง ภาษาและวรรณคดี ตลอดจนกําลังทหาร ดังเชนเมื่ออาณาจักรซิลลาทําสงครามกับอาณาจักรโคกูริวและเพ็กเจ ไดขอรองใหกองทัพถังมาชวยจนไดรับ

Page 54: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

54

ชัยชนะ สามารถรวมดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เรียกวา สหพันธรัฐซิลลา (United Silla ค.ศ. 668 – 918) เปนตน โลกทัศนของจีนไดบรรลุผลสําเร็จอยางยิ่งใหญเมื่อชนเผามองโกลเอาชนะพวกฮ่ัน เขายึดครองราชสํานักจีนโดยตั้งราชวงศหยวนขึ้น จากนั้นก็ไดแผแสนยานุภาพอันเกรียงไกรเขายึดครองจีนทั้งในดานและนอกดานไดทั้งหมด อีกทั้งยังยึดครองดินแดนทางภาคตะวันตกไปจรดยุโรปและครอบครองกรุงมอสโคว นั่นหมายความวา จีนเปนศูนยกลางในซีกโลกตะวันออกอยางแทจริง

ในยุคราชวงศหยวนนี้ตรงกับยุคอาณาจักรโคริวของเกาหลี (ค.ศ. 918 – 1329) และจีนถือวา ไดยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีตลอดยุคโคริว ดังมีรายละเอียดของเหตุการณตอไปนี้ มองโกลเปนชนเผาเรรอน เลี้ยงสัตว อาศัยอยูในแถบเทือกเขาอัลไตไปจนถึงแมนจูเรียมาชานาน เมื่อเตมูจินรวบรวมแวนแควนของสายตระกูลตางๆ ข้ึนเปนอาณาจักรในตอนคริสตศตวรรษที่ 12 แมวามองโกลจะมีรัฐบาลและวัฒนธรรมที่ดั้งเดิม ไรความเจริญ แตดวยการเปนนักรบบนหลังมาที่เกงกาจ ทําใหพวกเขามีชัยเหนือกองทัพอ่ืนๆ ในเอเชียจนไปถึงทวีปยุโรป ยกเวนญี่ปุนเทานั้น เจงกิส ขาน ผูนําคนตอมาไดเขาปกครองแมนจูเรียและดินแดนทั้งหมดทางตอนเหนือ เขาไดโจมตีอาณาจักรชินในป ค.ศ. 1211 และยึดไดในป ค.ศ. 1215 เจงกิส ขานไดโจมตีชนเผาคีตาน (Khitan) จนพายแพและพากันอพยพหลบหนีไปอยูในเกาหลีโดยขามแมน้ํายาลูไปถึงเมืองเปยงยาง มองโกลขอรองใหกษัตริยโคริวชวยกําจัดชนเผาคีตาน (ซึ่งถือวาเปนการติดตอครั้งแรกระหวางมองโกล – โคริว) และมองโกลเรียกรองเครื่องบรรณาการมากมายจากโคริว เมื่อโคริวไมยอมจาย ก็ถูกขูวาจะโจมตี ตอมาเมื่อคณะทูตมองโกลกลับจากเกาหลีไดถูกสังหารจากชายนิรนาม มองโกลโกรธและถือเปนขออางในการโจมตี ในป ค.ศ. 1227 ไดสงทหารเขาโจมตีเมืองทางตอนเหนือของอาณาจักรโคริว ยึดเมืองสําคัญไดหลายเมือง กษัตริยโคริวขอทําสัญญาสงบศึกกอนที่อาณาจักรถูกทําลาย มองโกลจึงเสนอใหเกาหลี (โคริว) สงหนังนาค 10,000 แผน มา 20,000 ตัว ผาไหม 10,000 กระชอน และเสื้อผาทหาร 1 ลานชุด และเด็ก/ชางจํานวนมากเปนทาส มองโกลสงเจาหนาที่และทหาร 72 นายมาประจําเมืองตางๆ ของโคริว เพื่อบังคับใหมีการสงมอบบรรณการ

Page 55: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

55

ชอย อูย ผูนําชนเผาทางตอนใตพยายามตอสูเพื่อบานเมือง โดยไมทอถอย แตกองทัพมองโกลเขมแข็งมากกวาจึงไมอาจเอาชนะได ตอมาใน ป ค.ศ. 1232 ผูดูแลของมองโกลเริ่มผอนคลายความเขมงวดในการปกครองลง แตก็เกิดการตอสูกันขึ้น ในที่สุดพระชื่อ คิม ยูนฮูสามารถฆานายพลชารไต ผูบัญชาการทหารมองโกลได ทําใหมองโกลจําตองถอยทัพออกจากคาบสมุทรในตอนปลายปนั้นเอง มองโกลกลับมาโจมตีโคริวอีกครั้ง โดยเคลื่อนทัพรุกถึงเมืองกวางจูในป ค.ศ. 1235 และรบรุกตอในระหวางป ค.ศ. 1253 – 1257 สามารถตีพวกตอตานชาวเกาหลีจนแตกพาย มองโกลไดยกทัพรุกตอไปยังจังหวัดโชลลาและเผาพระไตรปฎก ซึ่งเปนมรดกล้ําคาของเกาหลีที่เก็บไวที่วัดพูอินซา อีกทั้งผูคนถูกฆาตายมากมายตามเมืองตางๆ นอกจากนั้น วัด ปราสาท และศิลปกรรมล้ําคาถูกทําลายอยางยอยยับ รวมทั้งชอย อุยถูกลอบปลงพระชนมในป ค.ศ. 1258 อันเปนการสิ้นสุดการปกครองของผูนําจากสายสกุลชอย และในป ค.ศ. 1259 พระยุพราชชอน ถูกสงไปเปนตัวประกันในราชสํานักมองโกล เมื่อกษัตริยโคจองสวรรคตในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1259 เจาชายวอนจองไดสืบทอดอํานาจและตองสงลูกไปเปนตัวประกันในราชสํานักมองโกลอีก จากนั้นก็มีการปฏิวัตริัฐประหารในอาณาจักรโคริวอยางตอเนื่องอีกหลายปตอมา ในป ค.ศ. 1271 มองโกลครอบครองจีนและตั้งชื่อวา ราชวงศหยวน โดยตั้งเมืองปกกิ่งเปนเมืองหลวง ในป ค.ศ. 1279 ก็สามารถครอบครองจีนไดทั้งหมด กุบไล ขานไดตั้งตนเองเปนลูกของพระเจา นโยบายของจีนตอเกาหลียุคราชวงศหยวนก็คือ กําหนดใหคนเกาหลีเปนขาราชการมียศต่ํากวาชาวมองโกล และตั้งสํานักแหงชัยชนะภาคตะวันออก (Office for the Conquest of the East) ทําหนาที่ในการวางแผนรุกญี่ปุนตอไป แตเมื่อพายแพ มองโกลก็ยังคงยึดครองคาบสมุทรเกาหลีตอนเหนือ รวมทั้งเกาะเชจู และเกาหลีตองสงบรรณาการ เชน ทอง เงิน โสม และเหยี่ยวใหราชวงศหยวนเปนจํานวนมากในแตละป และที่รายที่สุดก็คือ เมื่อมองโกลบุกญี่ปุน โคริวตองแบกรับคาใชจายและกําลังพลทุกอยางในการสนับสนุนการสูรบของพวกมองโกล อํานาจของมองโกลครอบครองจีนเกือบหนึ่งรอยป ก็พายแพแกจู หยวนชาง ผูกอตั้งราชวงศหมิงในป ค.ศ. 1368 ความเกงกลาของจีนในยุคราชวงศหมิงไดลดลงมาก

Page 56: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

56

รวมทั้งอิทธิพลการครอบครองโดยตรงเหนือดินแดนของชนกลุมนอยอ่ืนก็ลดขนาดลง ทั้งนี้เปนผลมาจากการประกาศนโยบายการอยูอยางโดดเดี่ยว และการที่ตองไลเขนฆาชนเผามองโกลหลายตอหลายครั้งจนแทบไมหลงเหลือ ทําใหดินแดนที่เคยถูกยึดครองไดตั้งตัวเปนอิสระ หรือเขาไปรวมกับชนชาติเดิม ในยุคนี้อาณาเขตของประเทศจีนจึงเหลือเพียงบริเวณลุมแมน้ําฮวงโห ลุมน้ําแยงซีเกียง และดินแดนแถบตะวันตกไปจนถึงที่ราบสูงชิงไฮซึ่งเปนถิ่นที่อยูของชนชาติพันธุฮ่ันเทานั้น ราชวงศหมิงครอบครองอํานาจเหนือจีนราว 300 ป ในที่สุดก็ถูกพวกแมนจู ซึ่งเปนชนกลุมนอยที่อาศัยอยูทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเอาชนะ และตั้งเปนราชวงศชิงขึ้นปกครองประเทศจีน ราชวงศชิงไดแผขยายอิทธิพลไปยังดินแดนที่ตั้งอยูนอกอาณาเขตของราชวงศ หมิง (ชาวฮั่น) ออกไปแทบทุกทิศทาง แมดินแดนทั้งหมดจะไมใหญโตเมื่อเทียบกับอาณาเขตในยุคราชวงศหยวนของมองโกลก็ตาม แตก็ครอบครองดินแดนกวางขวาง ใหญโตมากกวาดินแดนของจีนในปจจุบัน ในขณะเดียวกันก็ไดแผอิทธิพลเหนือดินแดนอ่ืนๆ โดยเรงรัดฟนฟูระบบรัฐบรรณาการกับรัฐอื่นๆ รอบขางใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดังเชนที่เคยเปนมาแตครั้งอดีตกาล ประเด็นสําคัญที่เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางจีนตอเกาหลี มีดังนี้

(1) ระบบรัฐบรรณาการ ระบบรัฐบรรณาการเปนระบบเกาแกที่จีนมีตอรัฐเล็กๆ ที่ตั้งอยูโดยรอบประเทศ

จีน ซึ่งเริ่มตน นับตั้งแตราชวงศฮ่ันเปนตนมา ดังเปนที่ประจักษวา อาณาจักรโคกูริว เพ็กเจ ซิลลา และญี่ปุนในยุคนั้นถูกกําหนดใหเปนรัฐบรรณาการของจีน จริงอยูที่ในยุคตนนี้ ระบบรัฐบรรณาการยังไมไดพัฒนาใหเปนระบบ แตรัฐเล็กๆ เหลานี้ตางตองพึ่งพาและลอกเลียนแบบแผนทางวัฒนธรรมและอารยธรรมของจีนตลอดเวลา

ตอมาในยุคราชวงศหมิง (ค.ศ. 1368 – 1643 ) มีการตั้งระบบสูงต่ําของความ สัมพันธกับตางประเทศ โดยจีนเปนผูนําหรือรัฐพี่ ดังนั้น เกาหลี หมูเกาะริวกิว เวียตนาม สยาม พมา และประเทศบริวารอ่ืนๆ ในเอเชียใต และเอเชียกลางจึงมีสถานภาพเปนรัฐในระดับรองหรือรัฐนอง (the status of junior members) โดยจีนเปนศูนยกลางของสมาคมประชาชาติทั้ งหลายในเอเชีย นักวิชาการชาวยุโรปเรียกระบบการแบงระดับความสัมพันธของจีนนี้วา ครอบครัวของกลุมประเทศ (family of nations)

Page 57: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

57

คนเกาหลีเรียกความสัมพันธกับจีนวา Sadae หมายความวา รับใชผูยิ่งใหญ (serving the great) ในขณะที่คนญี่ปุนเรียกความสัมพันธกับจีนวา Kyorin หมายความวา ความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน (neighborly intercourse) นั่นหมายความวา เกาหลีจะยอมรับอิทธิพลของจีนวามีอยูเหนือประเทศของตน สวนญี่ปุนจะยึดถือวา จีนกับญี่ปุนมีศักดิ์ศรีเทาเทียมกันโดยเฉพาะอยางยิ่งนับตั้งแตตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 9 เปนตนมา ความสัมพันธของจีนกับประเทศรอบขางนั้นมีลักษณะเปนสถานภาพที่ไมเทาเทียมกัน เราจึงเรียกวา เปนระบบรัฐบรรณาการ (tributary system) หมายถึง จักรพรรดิจีนจะใหการยอมรับและปกปองเจาเมือง (feudal lord และ vassal) ทั้งที่ปกครองดินแดนที่อยูในและนอกประเทศจีน และรับของขวัญที่เปนผลิตภัณฑพ้ืนเมืองเปนบรรณาการ ซึ่งเปนเสมือนการสงสวยหรือการจายภาษีใหกับจีนนั่นเอง ในยุคราชวงศหมิงและราชวงศชิง ความสัมพันธดังกลาวจะเปนความสัมพันธแบบพิธีกรรม (ritualistic) อยางเครงคัด โดยพระเจากรุงจีนจะรักษาแบบแผนความสัมพันธนี้อยางเปนทางการ

ของบรรณาการที่สงใหจีนนั้นจะกระทําเปนระยะๆ ที่กําหนดในปฏิทินของจีน มีการจดบันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละรัฐ/ประเทศเปนรายวัน เดือน ป เพื่อใหรับรูทั้งในจีนและในประเทศราช การสงบรรณาการ ข้ึนอยูกับขนาดของรัฐ และระยะทาง เชน เกาหลี - 4 ครั้งตอป โดยสงทั้งหมดในตอนสิ้นป ริวกิว (Lui – ch’iu) - 2 ครั้งในทุกๆ 3 ป เวียตนาม (Annam) - 1 ครั้งในทุกๆ 2 ป สยาม - ทุกๆ 3 ป พมา – ลาว - ทุกๆ 10 ป ทุกครั้งที่คณะทูตนําสงบรรณาการ ก็จะติดตามดวยพอคานําสินคาสิ่งของมากมายเขาจีนโดยปลอดภาษี การเดินทางของคนกลุมนี้ทางรัฐบาลจีนจะจัดใหคณะทูตพักที่เรือนรับรอง (Common Residence for Tributary Envoys) พอถึงวันฤกษงามยามดี คณะทูตจะนําของพื้นเมืองถวายจักรพรรดิจีน โดยจะมีพิธีกรรมที่เปนทางการในการรับ

Page 58: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

58

ของ คือ คุกเขาตอหนาจักรพรรดิ 3 ครั้ง และโขกหนาผากลงบนพื้น 9 ครั้ง เปนอันเสร็จสิ้นพิธี ตอจากนั้น ทูตและพอคาที่ติดตามจะเปดตลาดขายของที่บริเวณโดยรอบของบานพักรับรอง 2 – 5 วัน เพื่อจําหนายสินคาที่นํามา (อาจเรียกวา เปนรูปแบบหนึ่งของการคาระหวางประเทศของจีนในยุคนั้น) การซื้อขายจะสรางผลกําไรมากมายใหกับคณะทูต/พอคาจากตางแดน ตอมา จักรพรรดิจะมอบของที่ระลึกที่มีมูลคาจํานวนมากใหแกทูตเพื่อนํากลับไปยังประเทศของตน และทุกคนที่รวมคณะจะไดรับของกํานัลไปดวย การสรางความสัมพันธที่เกี่ยวของกับการมอบบรรณาการนี้ มีคาใชจายสูงมาก ปกกิ่งไดจัดลําดับรัฐบรรณาการเปน 3 ระดับ เกาหลี หมูเกาะริวกิว และเวียตนามเปนเมืองบรรณาการชั้นเอก ในกรณีของเกาหลี ตองใชคนถึง 200 – 300 คนไปในกลุมราชทูต โดยเดินทาง 750 ไมล ไปยังนครปกกิ่ง ซึ่งใชเวลาราว 40 – 60 วัน ตัวอยางเชน ในป ค.ศ.1808 มีเครื่องบรรณาการประกอบดวยทองแดง 1 แสนตําลึง (taels) และของมีคาอื่นๆ มากมาย สวนการตอนรับทูตเหลานี้ ตองใชคนตอนรับราว 400 – 500 คน โดยจีนตองเสียคาใชจายถึง 230,000 ตําลึง คณะทูตจะอาศัยอยูกรุงปกกิ่งที่บานพักรับรองราว 5 เดือน ตลอดระยะเวลาที่อยู ก็จะเขาเฝาจักรพรรดิ รับ/ใหของขวัญของกํานัลกันตลอด แตที่ตองกระทําทุกครั้งที่เขาเฝาก็คือ โขกหนาผากคํานับลงบนพื้นในขณะที่ถวายความเคารพ ระบบรัฐบรรณาการของจีนไดเริ่มเสื่อมลงเรื่อยๆ เมื่อจีนติดตอกับชาติตะวันตก และญี่ปุนมีอิทธิพลเพิ่มสูงขึ้นในเอเชียตะวันออก จีนจึงคอยๆ สูญเสียรัฐบรรณาการไป เชน อาณาบริเวณ East and North of Amur and Ussuri แกรัสเซียอันเปนผลมาจากสนธิสัญญา Treaties of Tientsin and Peking (ค.ศ. 1860) ที่บังคับใหทาเรือตะวันออกเก็บภาษีคงที่ และเปดทาเรือใหแกชาวตางชาติมากขึ้น ตอมา รัสเซียบุกและยึดบริเวณอีหลีไดอีกในป ค.ศ. 1870 และสูญเสียหมูเกาะริวกิวใหญี่ปุน (ค.ศ. 1880) เวียตนามใหแกฝรั่งเศส (ค.ศ. 1885) พมาใหแกอังกฤษ (ค.ศ. 1886) ตอมาเมื่อเกิดสงครามระหวางจีนกับญี่ปุน (Sino – Japanese War ค.ศ. 1894 – 1895) จีนจึงหมดอํานาจเหนือเกาหลีตั้งแตนั้นมา

Page 59: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

59

(2) การยึดครองเปนอาณานิคม ภายหลังจีนไดรวมตัวเปนปกแผนในราชวงศฉินไดแลว อีกทั้งไดปองกันการ

รุกรานของพวกนอกดานดวยการสรางกําแพงใหญขวางกั้น แตอาณาจักรฉินก็ครอบครองอํานาจเพียงระยะเวลาอันสั้น (ป 221 – 210 กอนคริสตศักราช) และไดสูญเสียอํานาจใหแกราชวงศฮ่ันไป เมื่อจักรพรรดิของอาณาจักรฮ่ันเสร็จสิ้นภารกิจปราบปรามศัตรูภายในเสร็จสิ้นลง ก็เริ่มสงทหารโจมตีชนเผาอนารยชนทางตอนเหนือที่คอยลักลอบโจมตีเมืองในดานอยางตอเนื่องตลอดมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในยามที่รัฐในดานตอสูระหวางกันและกัน การโจมตีดวยกองทหารและกําลังรบทั้งทางบกและทางทะเล ทําใหรัฐเล็กๆ ที่ตั้งอยูทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือพายแพ รวมทั้งอาณาจักรโคกูริว จีนจึงยึดดินแดนสวนบนของคาบสมุทรเกาหลีเปนของจีน และเรียกวา มณฑลโลลาง เปนเวลาราว 1 ศตวรรษกอนคริสตศักราช การยึดครองนี้เองทําใหจีนถือเปนหลักฐานกลาวอางวา อาณาจักรโคกูริวเปนสวนหนึ่งของประวัติศาสตรจีน การแข็งขอของอาณาจักรโคกูริวเพื่อตอตานอํานาจของราชวงศฮ่ันไดเกิดขึ้นเปนระยะๆ เมื่ออาณาจักรฮั่นออนแอลงอันเปนผลมาจากการแยงชิงอํานาจของกลุมตางๆ ในราชสํานัก แตอาณาจักรโคกูริวก็ยังคงสงบรรณาการไปยังเมืองหลวงของจีนอยูเสมอๆ ซึ่งก็เปนเชนเดียวกับอาณาจักรเพ็กเจ และอาณาจักรซิลลา ของเกาหลีที่ไดสวามิภักดิ์ตอพระเจากรุงจีนไมเสื่อมคลาย ตอมา เมื่ออาณาจักรฮ่ันลมสลายในราว ป ค.ศ. 220 อาณาจักรเว ซึ่งเปนหนึ่งในสามของยุคสามอาณาจักรของจีน (อาณาจักรฉู และอาณาจักรอู) ก็ยังคงขีดแผนที่ของตนไปเหนือมณฑลโลลางจนถึงป ค.ศ. 265 จากนั้น แผนที่ของจีนก็ไมปรากฏการยึดครองดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีจนกระทั่งถึงยุคราชวงศหยวนและยุคราชวงศชิง

อยางไรก็ตาม การขีดแผนที่ของนักประวัติศาสตรจีนบนคาบสมุทรเกาหลีนั้นคงเปนเพียงความเชื่อของตนวา ไดครอบครองเกาหลีในแตละชวงดังที่กลาวแลวขางตน ในขณะที่นักประวัติศาสตรเกาหลีจะมีความคิดเห็นวา เกาหลีเปนประเทศอิสระที่ไมไดถูกยึดครองจากจีน ยกเวนในระหวางป ค.ศ. 1910 – 1945 ที่ถูกญี่ปุนยึดครองเปนอาณานิคมอยางเปนทางการเทานั้น แตเกาหลีก็ยอมรับวาไดผูกพันดวยการสงบรรณาการไปใหราชสํานักจีนเปนประจําเสมือนเปนบานพี่เมืองนอง มากกวาที่จะอยูในสถานภาพเปนประเทศราช หรือรัฐบรรณาการตามแนวคิดของจีน

Page 60: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

60

(3) ลัทธิความเชื่อ ชวงรอยตอของคริสตศักราชนับตั้งแตยุคราชวงศโจวตะวันออก (ป 770 กอน

คริสตศักราช) มาจนถึงสิ้นสุดราชวงศฮ่ันตะวันออก (ป ค.ศ. 220) นั้น สังคมจีนไดเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม และการเมือง อาจกลาวโดยยอดังนี้

ประการแรก โฉมหนาของสังคมทาสไดเปลี่ยนมาเปนสังคมศักดินา ระบบการผลิตในสังคมทาสไดเสื่อมสลายลงเพราะมีการประดิษฐคิดคนเครื่องมือในการทําไรทํานา เชน ขวาน เสียม และเครื่องมือที่ทําดวยเหล็ก รวมทั้งมีการใชวัวมาชวยไถพรวนดินกันอยางแพรหลาย ทําใหภาวะเศรษฐกิจดีข้ึน แรงงานทาสจึงไดทําการตอสูเพื่อใหหลุดพนจากการถูกกดขี่จากเจานายหรือเหลานายทาส การตอสูไดทวีความดุเดือดเพิ่มขึ้นเปนลําดับ เมื่อนายทาสตางเผชิญหนากับกบฏทาสบอยครั้ง ความสัมพันธทางสังคมจึงเปลี่ยนไป โดยพวกเจาของที่ดินเขามาแทนที่ชนชั้นนายทาสเดิม สถานภาพของทาสก็ดีข้ึนเพราะทํางานบนที่ดินของเจาของที่ดินและไดรับสวนแบงของผลผลิตที่เปนธรรมขึ้นเมื่อเทียบกับการที่ตองมอบผลผลิตทั้งหมดใหกับนายทาสเพื่อแลกเฉพาะอาหารและที่อยูอาศัยเทานั้น ประการที่สอง กฎเกณฑทางสังคมแนวใหมไดรับการกําหนดขึ้นโดยนักปรัชญาและผูรูมากหนาหลายตา ดังเชน ขงจื้อ เมงจื้อ มอจ้ือ เลาจื้อ (ลัทธิเตา) และหันเฟย (ลัทธินิติธรรมนิยม) คนเหลานี้ตางตั้งสํานักของตนเพื่อการเผยแพร อนึ่ง มีการตั้งมหาวิทยาลัยแหงชาติเพื่ออบรมสั่งสอนขุนนางเขารับราชการเปนครั้งแรกในป 84 กอนคริสตศักราช ซึ่งมีนักศึกษาเพียง 50 คน และอีก 250 ปตอมามีนักศึกษาถึง 30,000 คน ในชวงเวลาดังกลาว มีการเขียนหนังสือและเอกสารในสาขาวิชาตางๆ เชน การแพทย กวีนิพนธ โหราศาสตร ดาราศาสตร การทหาร และปรัชญา โดยเขียนบนแผนไมและผืนผา กลาวกันวามีจํานวนรวมกันมาถึง 2,000 เลมเกวียนทีเดียว ประการที่สาม การขยายตัวทางการคาไปยังแถบอินโดจีน อินเดียโดยทางเรือและทางบกยังดินแดนตะวันตกจากเนปาล อินเดียตอนเหนือ ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ซีเรีย อิรัก ไปจนถึงอิหราน และยุโรป ทําใหจีนไดรับอารยธรรมจากตางชาติเขาประเทศ ในขณะที่ในเมืองจีนเองก็สามารถรวมเปนประเทศเดียวกันเปนครั้งแรกในสมัยราชวงศฉิน

Page 61: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

61

อนึ่ง การรับเอาพุทธศาสนาเขามาในประเทศจีน ถือไดวาเปนการรับเอาลัทธิความเชื่อภายนอกเขามาประพฤติปฏิบัติตาม จึงเปนเรื่องที่นาอัศจรรยยิ่ง ทั้งนี้เพราะจีนเปนประเทศเกาแกและมีลัทธิความเชื่อมากมายที่คิดขึ้นโดยนักปรัชญาของจีนเอง อนึ่ง ความคิดความเชื่อเหลานี้ตางเขาผูกติดกับบริบทและสงเสริมสนับสนุนสังคมวัฒนธรรมจีนอยางแนนแฟน ดวยเหตุนี้จึงเปนเรื่องที่นาสนใจศึกษาบทบาทและอิทธิพลของพุทธศาสนาซึ่งเปนศาสนาตางดาวที่มีตอจีน รวมทั้งการแผขยายของพุทธศาสนาผานไปยังประเทศเกาหลีและญี่ปุนอกีดวย ตอไปนี้จะกลาวถึงลัทธิความเชื่อและศาสนาในจีน และการสงตอไปยังเกาหลีและญี่ปุนอีกทอดหนึ่ง - ลัทธิขงจื้อ ขงจื้อ (Confucius) มีชีวิตอยูในชวงป 551-479 กอนคริสตศักราช เขามีชื่อจริงวา ขงชู (Kong Qiu or Kong Zhongni) เกิดที่เมือง โจวอี้ (Souyi ซึ่งตั้งอยูในมณฑลชานตุงปจจุบัน) แหงรัฐลู บิดาของขงจื้อเสียชีวิตตั้งแตเขายังเยาววัย จึงไดรับการเลี้ยงดูจากมารดาที่ยากจน ดังนั้นพื้นฐานของครอบครัวของเขาจึงยากไรและกลายเปนประสบการณสําคัญในวัยเด็ก ขงจื้อไดใชเวลาในการศึกษาคนควาเพื่อหาแนวทางที่จะแกไขปญหาทางสังคมตลอดชวงวัยหนุมขณะที่เขามีอายุ 15-30 ป ในชวงเวลาดังกลาว กษัตริยราชวงศโจวออนแอและมีความสําคัญลดลงเปนอันมาก อํานาจที่แทจริงตกอยูในมือของเหลาขุนนางและขาราชการชั้นผูใหญ มีการทําสงครามระหวางรัฐตลอดเวลา ทําใหรัฐเล็กๆ ตกอยูใตอิทธิพลของรัฐใหญ ในขณะเดียวกัน ภายในรัฐเดียวกันก็มีการแยงชิงอํานาจระหวางกลุมผูนําทางการเมืองอยางดุเดือดและเขมขน ในรัฐลูบานเกิดของขงจื้อก็มีสภาพยุงเหยิงและวุนวายเชนเดียวกัน แมวาจะมีความพยายามในการยุติสงครามดวยการทําสนธิสัญญาหรือขอตกลงสันติ แตก็ไมไดผลเพราะมีการละเมิดขอตกลงกันอยูเสมอ เหตุการณเหลานี้เปนบทเรียนแกขงจื้อมากเพราะเขาสนใจศึกษาเรื่องการเมืองอยูแลว ดังนั้น เขาจึงทุมเทใหกับการศึกษาเรื่องราวของอดีตที่ปรากฏในบทกวี ประวัติศาสตร กฎหมาย ประเพณี และพิธีกรรมเพื่อดูวา จะสามารถนํามาใชในการแกไขปญหาสังคมไดมากนอยเพียงใด

Page 62: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

62

ภายหลังที่เขามุงมั่นศึกษาหาความรูอยางจริงจัง เขาก็คนพบหลักการพื้นฐานที่จะจัดระบบชีวิตทุกขั้นตอนของคน จัดระบบการเมืองและสังคมภายใตครอบครัวและสําหรับแตละบุคคล อนึ่ง ตัวขงจื้อเองก็มีความประสงคที่จะดํารงตําแหนงทางราชการ ดังนั้น การศึกษาคนควาของขงจื้อก็เปนการตระเตรียมตนเองเพื่อที่จะกาวเขาไปรับราชการ อยางไรก็ตาม เมื่อวันเวลาผานพนไป ขงจื้อก็มิไดมีโอกาสเขารับราชการในตําแหนงที่สูงและมีอํานาจอยางจริงจัง แมวาเขาจะมั่นใจวา รัฐบาลที่ดีคือ รัฐบาลที่บริหารตามหลักการที่เขาศึกษาและคนพบ ทั้งนี้เพราะตําแหนงดังกลาวสงวนไวสําหรับขุนนางและสุภาพบุรุษตามสายเลือดเทานั้น ตอมา ขงจื้อออกเดินทางจากรัฐลูไปยังรัฐตางๆ เพื่อสั่งสมประสบการณ ภายหลังเมื่อกลับมายังรัฐลูอีกครั้ง เขาก็เริ่มตนชีวิตดวยการเปนครูสั่งสอนศิษย ลูกศิษยสวนใหญของขงจื้อเปนลูกหลานของตระกูลขุนนางที่มุงหวังฝกฝนหาความรูเพื่อเขารับราชการ อยางไรก็ตาม เปาหมายหลักของขงจื้อมิไดหวังที่จะใหลูกศิษยเตรียมตัวเขารับราชการเทานั้น แตเขาประสงคที่จะใหลูกศิษยทั้งหลายเปนสุภาพบุรุษที่เพรียบพรอมไปดวยคุณธรรม เพื่อจะเปนประชาชนและขาราชการที่มีคุณธรรมประจํากาย เพราะหากขาราชการเปนผูกอปรดวยศีลธรรมที่ดียอมจะสงผลใหมีรัฐบาลที่ดี ดังนั้น จะเห็นไดวา ขงจื้อไดเชื่อมโยงระบบการศึกษาเขากับอุดมการณทางการเมืองที่เขาคิดขึ้น ดวยเหตุนี้ เขาจึงไดขยายการรับลูกศิษยใหกวางขวางออกไป มิใชขีดวงแคบๆ เฉพาะลูกขุนนางเทานั้น แมแตคนที่มีฐานะยากจนที่สุดก็สามารถเปนลูกศิษยของขงจื้อได ศิษยของขงจื้อจะไดรับการอบรมสั่งสอนทั้งดานความรูและคุณธรรม เพื่อใหไดชื่อวา สุภาพบุรุษ (gentleman) คําวาสุภาพบุรุษมิไดหมายความถึงการเปนขุนนาง ลูกขุนนาง หรือผูที่มีเชื้อสายขุนนางเทานั้น แตหมายถึงบุคคลที่ไดรับการอบรมและฝกฝนใหเปนผูมีความรูควบคูกับคุณธรรมเปนอยางดี ชื่อเสียงของขงจื้อไดขจรกระจายออกไปเรื่อยๆ และเริ่มมีอิทธิพลตอรัฐบาลแหงรัฐลูมากขึ้น อยางไรก็ตาม ตําแหนงทางราชการที่ขงจื้อไดรับมิไดสูงนัก เพราะตําแหนงที่สูงขึ้นมักตกเปนของลูกศิษยของขงจื้อเอง ทั้งนี้เพราะพวกเขาเปนเชื้อสายของขุนนาง แมขงจื้อประสงคที่จะดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษากิจการสําคัญของรัฐบาลแหงรัฐลู แตเขาก็ไมสมปรารถนาเพราะถูกมองขามไปเสมอ ตอมา ขงจื้อไดเดินทางออกจาก

Page 63: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

63

รัฐลูอีกครั้งเพื่อสืบเสาะหาความคิดของระบบการบริหาร โดยเขาตั้งใจวา หากระบบใหมนี้ไดรับการยอมรับ ก็ยอมจะสามารถทําใหจีนทั้งหมดรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายใตผูนําสูงสุดคนเดียว ในที่สุดเขาก็สามารถจัดระบบความคิดนี้ไดและนําแนวคิดออกเผยแพรไปยังรัฐตางๆ อยางไรก็ตาม ในชวงสุดทายของชีวิตขงจื้อนั้น เขาก็ตองประสบกับความผิดหวังอีกเชนเคย ทั้งนี้เพราะไมมีผูปกครองคนใดที่จะนําแนวความคิดของเขาไปปฏิบัติไดอยางจริงจัง ขงจื้อจึงเดินทางกลับรัฐลูดวยความสิ้นหวังจนกระทั่งถึงวาระสุดทายของชีวิตที่บานเกิด ขงจื้อไดพยายามเรียนรูจากอดีตและมีความเชื่อมั่นวา หากนําคุณธรรมกลับมาใชอยางจริงจัง ยอมสามารถทําใหสังคมเกิดสันติสุขขึ้นมาได คุณธรรมจึงกลายเปนหลักพ้ืนฐานของปรัชญาศีลธรรมของขงจื้อ ในทัศนะของขงจื้อ คุณธรรมที่สําคัญมีดังนี้ ก. เยิ้น เยิ้นเปนคุณธรรมที่สําคัญที่สุดและเปนเอกลักษณของปรัชญาของขงจื้อ ตามรูปศัพทแลว เยิ้นอาจแปลไดหลายอยาง เชน ความรัก ความเมตตา เปนตน แตเมื่อสรุปความหมายของคํานี้แลว เยิ้นเปนคุณธรรมทางสังคม เปนกิจกรรมทางสังคมที่เปนธรรมชาติ หาใชถูกปรุงแตงหรือประดิษฐข้ึนมาไม ตัวอยางเชน กิจกรรมระหวางมารดา-ทารก เมื่อทารกตองการน้ํานมของมารดา ซึ่งมารดาในฐานะเปนหนวยผลิตอาหารของทารก ก็จะทําการปลดปลอยน้ํานมใหทารกดื่ม ในทัศนะของขงจื้อ การรวมมือกันเปนเรื่องธรรมชาติที่ตางฝายตางชวยเหลือเกื้อกูลกันโดยไมมีการบังคับ ถากิจกรรมทางสังคมของมนุษยดําเนินไปในลักษณะที่ชวยเหลือกันและกันโดยธรรมชาติ นั่นยอมแสดงวา เยิ้นเปนสิ่งที่แฝงในวิถีทางดังกลาว เยิ้นจึงมีความหมายรวมถึงความเห็นอกเห็นใจและความเต็มใจที่จะปฏิบัติตอกันและเพื่อผลประโยชนรวมกัน ขงจื้อไดอธิบายขยายวงของเยิ้นวา วิถีของเยิ้นมิไดจํากัดเฉพาะความสัมพันธระหวางมารดากับทารกเทานั้น แตเปนวิถีความสัมพันธระหวางบุคคล 5 แบบ คือ - ความสัมพันธระหวางบิดามารดากับบุตรธิดา - ความสัมพันธระหวางสามีกับภริยา - ความสัมพันธระหวางพี่กับนอง - ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน

Page 64: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

64

- ความสัมพันธระหวางมิตรกับมิตร ความปรารถนาดีตอผูอ่ืนตองแฝงไวดวยความจริงใจดวย หากความปรารถนาดีอยางเสแสรงก็จะไดรับผลตอบแทนเชนเดียวกันจากคนอื่น หากลงทุนดวยความหลอกลวงก็ยอมจะไดรับการหลอกลวงเปนการตอบแทน ดังนั้น ตามคําสอนของขงจื้อ เยิ้นเปนคุณธรรมที่สําคัญที่สุด แตการที่จะไดคุณธรรมเยิ้นมาตองผานการฝกฝนการทําความดี รูจักเอาใจเขามาใสใจเรา และยังแฝงดวยความจริงใจอีกดวย ปรัชญาเยิ้นนี้เปนคุณธรรมที่มนุษยทุกคนมีอยูในตัว เพราะทุกคนมีความรักและความปรารถนาดีตอคนอื่นโดยธรรมชาติ การเติบโตของเยิ้นเปนไปอยางอิสระ ซึ่งเติบโตจากบุคคลคนนั้นเอง มิไดถูกบังคับจากภายนอก ดังนั้นการอบรมสั่งสอนจะเนนการปฏิบัติคุณธรรม คือ การลงมือปฏิบัติในชีวิตจริง มิใชเนนทฤษฎีจริยศาสตรเทานั้น ข. อ้ี อ้ี หมายถึงความถูกตอง หรือความเหมาะสม หรือวิธีที่ดีที่สุดที่จะกระทําสิ่งตางๆ ขงจื้อมีความเห็นวามนุษยทุกคนมีความสามารถในการจําแนกความผิดและความถูกไดในแตละชวงของชีวิต แตเขาก็มิไดเนนถึงกฎเกณฑของความถูกตองถาวร เพราะความถูกตองเหมาะสมในโอกาสหนึ่งอาจจะไมเหมาะสมในอีกโอกาสหนึ่งก็ได อยางไรก็ตาม วิถีแหงความถูกตองอาจศึกษาไดจากอดีต นั่นหมายถึง การเรียนรูถึงความถูกตองที่เคยปฏิบัติกันมาแลวในอดีต ขงจื้อมีความเห็นวา สุภาพบุรุษยอมยกยองความถูกตองและความชอบธรรมไวเหนือสิ่งอื่นใด จากสิ่งที่เขาประสบในยุคนั้นก็คือ ขาราชการสวนใหญมุงแสวงหาความร่ํารวยและตําแหนงหนาที่การงานโดยไมคํานึงถึงความชอบธรรมใดๆ ขาราชการเหลานี้พรอมที่จะใชวิถีทางทุกอยางเพื่อใหไดมาในสิ่งที่ตองการ ขงจื้อจึงเตือนใหทุกคนตระหนักกอนที่จะไดสิ่งนั้นมาวา ชอบธรรมหรือถูกตองหรือไม ขงจื้อมิไดรังเกียจในตําแหนงหรือเงินตรา แตสิ่งที่เขารังเกียจคือความไมชอบธรรมหรือความไมถูกตองของวิถีทางที่ไดมาซึ่งสิ่งเหลานี้ ค. ความรักพอแม (filial piety) และความรักตอพ่ีนอง (brotherly love) ในครอบครัวจีน บิดามีหนาที่รับผิดชอบตอทุกคนในครอบครัว หัวหนาครอบครัวจึงมีความสําคัญที่สุด สามารถออกคําสั่งใหสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติตาม รวมทั้งตัดสินขอพิพาทที่เกิดขึ้นในครอบครัวได บุตรชายคนโตจะไดรับการเอาใจใสจากบิดามากที่สุด

Page 65: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

65

เพราะเขาจะกลายเปนผูรับผิดชอบตอครอบครัวแทนบิดาตอไป อยางไรก็ตาม สมาชิกทุกคนในครอบครัวจะตองชวยเหลือกันและกัน ตามทัศนะของขงจื้อนั้น ครอบครัวเปนหนวยแรกที่เอื้อใหคนฝกคุณธรรมเยิ้น หรือความรักไดเปนอยางดี โดยเริ่มจากการรูจักรักบิดามารดา ซึ่งเปนความรักที่บริสุทธิ์ตามธรรมชาติ และรักพี่นองรวมครอบครัวเดียวกัน เมื่อบุคคลมีความรักดังกลาวแลว เขาผูนั้นยอมสามารถรักเพื่อนมนุษยคนอื่นไดเปนลําดับตอไป ง. ความรักตอคนอื่น การรูจักรักคนอื่นเปนสวนของความรักที่ขยายออกมาจากความรักตอบิดามารดาและพี่นอง เพราะความรักตอบิดามารดาและพี่นองนั้นเปนคุณธรรมสําคัญในครอบครัว สวนความรักตอผูอ่ืนเปนคุณธรรมสําคัญสําหรับสังคม ดวยเหตุนี้ ขงจื้อจึงมีความเห็นวา คุณธรรมแหงความรักพอแมพ่ีนองจะโยงใยไปสูการมีรัฐบาลที่ดี ทั้งนี้เพราะผูมีคุณธรรมความรักดังกลาวยอมสามารถนําความรักไปใชในการปกครองประชาชนดวยการแผความรักไปยังประชาชนทุกคน หรือแมแตประชาชนทุกคนมีคุณธรรมความรักก็ยอมจะทําใหสังคมเกิดความสงบสุขได อันเปนเสมือนการรับใชรัฐโดยทางออม ความรักตอคนอื่นสามารถแสดงออกได 2 ลักษณะ คือ (1) ความซื่อสัตย (loyalty หรือ chung) และ (2) การเอาใจเขามาใสใจเรา (consideration หรือ shu) ความซื่อสัตย หมายถึง ความพรอมที่จะอุทิศตนเพื่อผลประโยชนของบุคคลอื่น มิใชขีดวงเฉพาะความจงรักภักดีตอขุนนางหรือผูปกครองเทานั้น จะตองขยายวงการชวยเหลือที่บุคคลพึงมีตอเพื่อนมนุษยคนอื่นๆ นี่เปนคุณธรรมเยิ้นนั่นเอง การเอาใจเขามาใสใจเรา หมายถึง ความพรอมที่จะนําตัวไปแทนที่คนอื่นและพิจารณาวา ถาตนเองตองตกอยูในสภาพเชนนั้นจะมีความปรารถนาในสิ่งใด จากผลการพิจารณาดังกลาวยอมทําใหสามารถปฏิบัติตอคนอื่นไดอยางเห็นอกเห็นใจมากยิ่งขึ้น (จ) มารยาทและพิธีกรรม ขงจื้อมีความเห็นวา บุคคลที่สมบูรณตองมีมารยาทที่งดงามอยูในตน ดังนั้น การศึกษากฎเกณฑของการปฏิบัติตนที่ถูกตองในโอกาสตางๆ ทางสังคมจึงเปนเรื่องจําเปนสําหรับสุภาพชน คําวา ลิ จึงเปนคําของกริยามารยาทภายนอกที่สุภาพชนควรมี ซึ่งจะกอใหเกิดความเปนสุภาพชนที่กอปรดวยคุณธรรมเยิ้นที่เนนความเทาเทียมกันและคุณธรรมลิ เพราะฉะนั้น แตละบุคคลพึงกระทําตอบุคคลอื่นอยางเคารพในความเปนมนุษยที่เทาเทียมกันดวยการปฏิบัติตอกันและกันอยางเหมาะสม

Page 66: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

66

และเคารพซึ่งกันและกัน เมื่อมีความเคารพดังกลาว มนุษยก็ยอมสามารถอยูรวมกันอยางสันติสุขปราศจากความขัดแยง ขงจื้อยังไดย้ําถึงความสําคัญของมารยาทภายในพรอมๆ กับการแสดงออกกริยามารยาทภายนอก เพราะกริยามารยาทภายนอกยอมเปนกระจกเงาของภายในดวย มิฉะนั้น สิ่งที่แสดงออกภายนอกจะเปนการหลอกลวงผูอ่ืน ดังนั้น ตองสอนใหคนเขาใจถึงคุณธรรมภายในดวย จะทําใหการเรียนรูถึงกริยามารยาทที่เหมาะสมภายนอกไดดีเปนธรรมชาติ มิใชเปนการเสแสรง กลาวโดยยอ วิถีแหงสวรรคหรือวิถีแหงมนุษยที่ขงจื้อเชื่อถือ ก็คือ วิถีแหงคุณธรรมสําคัญ ไดแก ความรัก ความชอบธรรม ความเหมาะสม และความฉลาด ซึ่งเปนวิถีทางที่มนุษยผูมีความสมบูรณพึงแสวงหา สวรรคมิไดมอบวิถีเหลานี้ใหมนุษย แตประทานธรรมชาติใหมนุษยสามารถฝกดําเนินตามวิถีดังกลาว ดวยเหตุนี้ ขงจื้อจึงเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาตนเองดวยการพัฒนาคุณธรรม ขงจื้อเสียชีวิตเมื่อป 479 กอนคริสตศักราช โดยมีอายุได 73 ป

อิทธิพลของลัทธิขงจื้อตอราชสํานักจีนมีมากมาย ทั้งนี้เปนเพราะ ลัทธินี้กําหนดแนวทางการปฏิบัติในการดํารงชีวิตของคนเพื่อใหเกิดความสงบสุข รมเย็น และมีความเปนปกแผน รวมทั้งมีความมั่นคงในชีวิตครอบครัวและสังคม อนึ่ง ขุนนางจีนในยุคนั้นลวนเปนลูกศิษย และ/หรือเปนผูนําแนวคิดของขงจื้อมาใชในชีวิตประจําวัน เมื่อคนเกาหลีตองเกี่ยวของกับราชสํานักและสังคมจีน ไมวาจะเดินทางไปสงเครื่องบรรณาการ ไปศึกษาหาความรูวิทยาการ ไปคาขาย และไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อในประเทศจีน พวกเขาจึงตองเรียนรูลัทธิขงจื้อ และนํากลับไปตั้งสํานักเพื่อเผยแพรในสังคมเกาหลีนับตั้งแตยุคสามอาณาจักร ไดแก ซิลลา เพ็กเจ และโคกูริว ซึ่งอาณาจักรทั้งสามตางก็เปนรัฐบรรณาการของจีนทั้งสิ้น ตอมาในระหวางคริสตศตวรรษที่ 14 – 19 ซึ่งเปนยุคอาณาจักรโชซอน ก็ไดประกาศใหลัทธิขงจื้อเปนศาสนาประจําชาติแทนพุทธศาสนา นั่นหมายความวา อิทธิพลของวัฒนธรรมความเชื่อของลัทธิขงจื้อมีตอวิถีทางการดํารงชีวิตของชาวเกาหลีอยางแนบแนนและลึกซึ้ง กลาวโดยสรุป ลัทธิขงจื้อเปนวัฒนธรรมที่คิดสรางขึ้นโดยคนจีนและในบริบทของจีน ไดสงผานไปยังเกาหลีทั้งทางตรงและทางออม จากนั้นไดกลายเปนความเชื่อที่

Page 67: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

67

หยั่งรากฝงลึกในดานความคิดความเชื่อ และเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของคนเกาหลีนับตั้งแตอดีตกาลมาจนถึงปจจุบัน - พุทธศาสนา

พุทธศาสนาเฟองฟูในจีนนับตั้งแตตนคริสตกาล ตอมาไดกลายเปนศูนยกลางแหงภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งตอมองโกเลีย เกาหลี และญี่ปุน ในที่นี้จะขอกลาวถึงพุทธศาสนาในประเทศจีนอยางละเอียด โดยจะเปนการแปลความหมายของศาสนานี้จากผูรูชาวจีนและในบริบทของจีน ดังนี้ ศาสนาพุทธถือไดวาเปนศาสนาตางดาวที่เขาไปยังจีนมานานนับตั้งแตตนคริสตศักราช โดยมีการกลาวกันวา พุทธศาสนาไดเขาไปยังจีนครั้งแรกในป ค.ศ.65 แตการติดตอกับชมพูทวีปมีมานานกวานั้นซึ่งความสนใจทางศาสนานี้ก็ไดเกิดขึ้นกับคนที่มีความสัมพันธโดยตรงบางแลว ในที่นี้ขอนําหลักการสําคัญๆ และแนวความคิดของพุทธศาสนามากลาวพอสังเขปเพื่อจะใชเปนแนวทางใหเกิดความเขาใจถึงพุทธศาสนาที่สามารถเขารวมกับลัทธิพ้ืนเมืองของจีน นั่นคือ ลัทธิขงจื้อและลัทธิเตา และกลายเปนศาสนาหนึ่งที่มีอิทธิพลตอคนจีนในยุคนั้น ในสมัยที่พุทธศาสนาไดเขาไปสูประเทศจีนนั้น ประเทศจีนไดมีอารยธรรมของตนเองเกาแกมากแลว มีคัมภีรเกาๆ มีประเพณีที่ปฏิบัติติดตอกันมาเปนเวลานาน และมีความเชื่อมั่นวา สังคมจีนเทานั้นเปนสังคมที่มีอารยธรรมมากที่สุดแหงเดียวในโลก ดังนั้นเมื่อพุทธศาสนาไดเปนดุจพาหนะที่นําเอา ศาสนา ศิลปะ ตัวหนังสือ วรรณกรรม ปรัชญา ฯลฯ เขาไปสูประเทศตางๆ นักเผยแผพุทธศาสนาไดพบวา ประเทศจีนเปนประเทศที่มีสิ่งเหลานี้อยูในขั้นที่พัฒนาไปอยางสูงยิ่งพรอมแลว พุทธศาสนาพอใจที่จะแขงขันกับระบบปรัชญาและลัทธิพ้ืนเมืองเพื่อเอาชนะจิตใจชาวจีน และสําหรับฝายชาวจีนเองก็ถูกความเขาใจเดิมๆ ที่ตั้งอยูบนฐานแหงระบบปรัชญาพื้นบานพื้นเมืองปดบังไมใหเขาใจในปรัชญาทางพุทธศาสนา แมวาไมมีใครที่จะสามารถบอกจริงๆ ไดวา ชาวจีนไดมีการติดตอสัมพันธกับพุทธศาสนาตั้งแตเมื่อใดและในแบบไหน แตจากการคาดเดาและจากหลักฐานทางเอกสารที่พอมีอยูบาง ทําใหพอจะสันนิษฐานไดวา ความสัมพันธติดตอกันนี้ก็คือ การพบพระพุทธรูปของพระพุทธเจาที่พวกชาวเอเชียกลางนําเขามาสูประเทศจีนเพื่อเคารพบูชานั่นเอง ชาวจีนสมัยนั้นไดรับเอาพระพุทธเจาไวในฐานะกึ่งเทพเจาในฐานะเดียวกับฮ

Page 68: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

68

วงตี่ผูลึกลับ และปรัชญาเมธีเลาจื้อซึ่งพวกเขาเขาใจวาเปนผูไดบรรลุถึงอมฤตภาพ แตประวัติศาสตรพุทธศาสนาในประเทศจีนนั้นไดมี ข้ึนมาพรอมกับการแปลคัมภีรพระไตรปฎกทางพุทธศาสนาเปนภาษาจีนนั่นเอง

ขอเนนในที่นี้วา พุทธศาสนามิไดเปนหนึ่งเดียว แตมีการแตกแยกออกเปนนิกายตางๆ เมื่อครั้งยังอยูในชมพูทวีปแลว โดยมีการเขียนคัมภีร (หรือพระไตรปฎก) ที่แตกตางกันออกไป ซึ่งมีการแปลความหมายของพุทธพจนตามความคิดความเชื่อของแตละสํานักหรือวัด อยางนอยที่สุดเราก็รูวามีการแบงออกเปนนิกายหินยานและนิกายมหายาน การแตกแยกเปนนิกายดังกลาวมิไดเปนผลสืบเนื่องมาจากการแตกแยกของสังฆมณฑล การปฏิวัติคัดคาน หรือเปนการเอาเรื่องสวนตัวมาอางเพื่อจะไดสรางลัทธิหรือศาสนาใหมข้ึนมา แตเปนความเจริญงอกงามตามธรรมชาติที่มีการแปลความหมายของคําภีรที่แตกตางกัน ในเบื้องแรก คนจีนไมรูอะไรเกี่ยวกับการแบงนิกายออกมากมายในชมพูทวีปเลย และไมรูวาคัมภีรที่นําเขามาในจีนเปนผลมาจากขอแตกตางระหวางนิกายซึ่งแตละวัด (สํานัก) เลือกแปลคัมภีรตางๆ ออกมา สําหรับคนจีนทั่วไปแลวถือวาคัมภีรทางพุทธศาสนาที่แปลเปนภาษาจีนนั้นเปนพุทธพจนทั้งสิ้น ตอมา เมื่อศึกษาดูอยางละเอียดก็เริ่มพบความขัดแยงและกลายเปนความแตกตางของนิกายตางๆ รวมทั้งมีการจัดตั้งนิกายใหมๆ เพิ่มขึ้นในประเทศจีน ตอมา พุทธศาสนาไดจําแนกออกเปน 10 สํานัก แตโดยรวมที่อาจแบงตามความเชื่อ คือ สํานักที่ถือวามีภาวะกับสํานักที่ถือวามีอภาวะ ทั้งนี้ข้ึนอยูกับวาสํานักนั้นๆ ยืนยันหรือคัดคานธรรมชาติที่เปนตัวตนของธรรมะทั้งหลาย ตัวอยางเชน นิกายเฉิงชือ นิกายจิ่วเช และนิกายวินัย ซึ่งเปนนิกายฝายหินยาน แตก็มีจุดเนนที่แตกตางกัน สวนนิกายฝายมหายาน ไดแก นิกายซันหลุน และนิกายวิชญาณวาท เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อกาลเวลาผานไป ไดมีนิกายตางๆ เพิ่มขึ้นอีกมากมาย

เมื่อจีนรับเอาพุทธศาสนาเขามาปฏิบัติใช และเฟองฟูนับตั้งแตตนคริสตกาลเปนตนมา ในที่สุดไดกลายเปนศูนยกลางเผยแพรพุทธศาสนาในเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อคนเกาหลีเดินทางเขาไปยังราชสํานักและเมืองจีน ไดเล็งเห็นวา เปนลัทธิทางเลือกที่แตกตางจากลัทธิขงจื้อแตก็เขากันกับลัทธิขงจื้อไดดี จึงไดนําพุทธศาสนาเขามาเผยแพรในอาณาจักรโคกูริว ซิลลา และเพ็กเจของเกาหลี โดยไดยกยองใหเปนศาสนา

Page 69: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

69

ประจําชาติ และไดเฟองฟูตอมาในยุคอาณาจักรโคริว ตอมา แมวาจะไมไดเปนศาสนาประจําชาติในยุคอาณาจักรโชซอน แตความเชื่อในพุทธศาสนาก็ไมเสื่อมถอยลง เพราะผูคนยังใหการนับถือและบูชาเรื่อยมาจนถึงสังคมยุคใหมในปจจุบัน พุทธศาสนามิไดจํากัดเปนเฉพาะลัทธิความเชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีและแนวทางการดําเนินชีวิตเทานั้น แตยังรวมไปถึงพระไตรปฎก สถาปตยกรรม และวัฒนธรรมทางวัตถุที่เกี่ยวของ รวมทั้งการปกครองและสังคมของพระสงฆ ฆารวาส และแนวทางการปฏิสัมพันธระหวางพุทธมามกะทั้งหลาย ดังนั้น เกาหลีรับเอาพุทธศาสนาจากจีนไป วัฒนธรรมดังกลาวขางตนก็มีอิทธิพลเหนือสังคมเกาหลี อยางไรก็ตาม มีขอมูลที่ชี้ชัดวา การเผยแพรพุทธศาสนามิใชเปนแบบทางเดียว คือจากจีนไปสูเกาหลีเทานั้น แตมีหลักฐานที่พิสูจนไดวา พระเกาหลีไดกลับเขาไปเผยแพรพุทธศาสนาในจีนอีกดวย นอกจากลัทธิขงจื้อและพุทธศาสนาแลว อิทธิพลของลัทธิความเชื่ออ่ืนๆ เชน ลัทธิเตา ลัทธิเนติธรรม รวมทั้ง ความเชื่อเรื่องบรรพบุรุษ ตลอดจนพิธีกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวของกับความเชื่อที่คนจีนบางกลุมยอมรับและประพฤติปฏิบัติตามนั้น ก็ไดสงผานไปยังเกาหลีเชนกัน

4. การคาขาย การคาขายระหวางจีนกับสังคมบนคาบสมุทรเกาหลีไดกระทํากันนับตั้งแตมีการ

กอตั้งอาณาจักรกันขึ้นกอนคริสตกาล แมวาในยุคนั้นการแลกเปลี่ยนแบบสิ่งของตอสิ่งของ (barter system) ไดปรากฏเปนรูปแบบที่เดนชัดกวา ทั้งนี้เพราะ ดินแดนคาบสมุทรเกาหลีนั้น ผูคนทํามาหากินดวยการหาของปา ลาสัตว และทําการเกษตร ผลผลิตที่ผลิตขึ้นจะคลายคลึงกัน หากมีความจําเปนก็จะใชการแลกเปลี่ยนผลผลิตที่แตกตางกัน เมื่อคณะทูตชาวเกาหลีในแตละอาณาจักรนําของไปบรรณาการ ณ.เมืองหลวงของจีน ก็จะมีกลุมพอคาวาณิชที่รวมขบวนนําของและสินคาไปขาย สินคาที่นําไปจากชนเผาตางๆ เพื่อจําหนายยังเมืองจีน ไดแก ของปา (น้ําผ้ึง งาชาง พันธุไมพ้ืนเมือง) เนื้อสัตว เขากวาง แรธาตุ และสินคาพื้นเมืองซึ่งมีราคาต่ําเพราะเปนสินคาที่มีคุณภาพไมไดมาตรฐาน แตหายาก โดยจีนไดเปดโอกาสให “คนเถื่อน” นําสินคาของตนเขาไปขายในเมืองหลวง สินคาเหลานั้นจะไดราคาสูง สรางผลกําไรใหแกเหลาพอคาวาณิช

Page 70: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

70

ผูติดตาม อันเปนเสมือนการใหรางวัลแกผูแทนที่มาจากอาณาจักรคนเถื่อน (อนารยชน) เหลานั้น อยางไรก็ตาม โอกาสที่จะกระทําไดอยางนี้มีอยูอยางจํากัด เชน ปละครั้ง หรือตามวาระที่ตองนําเครื่องบรรณาการไปยังเมืองหลวงของจีน ในหนังสือประวัติศาสตรของสามอาณาจักร (Samguk Sagi – History of the Three Kingdoms) ไดระบุวา… ในปที่ 3 ของการปกครองของกษัตริยซองดกแหงอาณาจักรสหพันธรัฐซิลลาไดสงเห็ดสนไปเปนบรรณาการแกพระเจากรุงจีนเพื่อใชในการปรุงยา เห็ดที่วานี้เปนของมีคามากเพราะอรอยและมีคุณคาทางอาหารสูง (เปนสินคาที่มีราคาแพงมากแมในยุคปจจุบัน ราวกิโลกรัมละ 333 – 500 เหรียญสหรัฐทีเดียว เห็ดสนนี้ใชปรุงเปนอาหารและเปนยานับแตครั้งโบราณกาล) ในยุคแรกของการคาขายระหวางจีน – เกาหลี มีปริมาณและมูลคานอยมากตอป ทั้งนี้เปนเพราะการคมนาคมขนสงไมสะดวก ระยะทางจากคาบสมุทรเกาหลีไปยังกรุงปกกิ่งก็ยาวไกล คนเถื่อนชาวเกาหลีก็ไมมีเงินตราของจีนที่จะซื้อสินคาจากจีน สวนใหญจะเอาของปา สินคาพื้นเมือง และแรธาตุไปแลกกับสินคาจากจีน ในยุคราชวงศเซี๊ยและราชวงศชาง จีนมีความเจริญรุงเรืองและเปนศูนยกลางการคาของโลกตะวันออก ทั้งนี้เพราะจีนสามารถผลิตสินคาทางการเกษตร ผาไหม ภาชนะ และเครื่องใชที่ทําจากโลหะสัมฤทธิ์ (ทองแดงผสมดีบุก) อาวุธ ฯลฯ และมีการใชเหรียญกษาปณข้ึนในยุคราชวงศฮ่ัน ดวยความรุงเรืองดังกลาวทําใหพอคาบางคนหาซื้อของและเครื่องมือเครื่องใชเอาไปขายในอาณาจักรทั้งสามของเกาหลี

จีนสงสินคาไปขายใหแกเกาหลีโดยขนสงไปทั้งทางบกและทางทะเล การขนสงทางบกจะตองสงผานไปยังแหลมเหลียวตุงขามไปยังเกาหลี ซึ่งมีหนทางยาวไกลมากเพราะตองออมขึ้นไปทางทิศเหนือกอนที่จะขามเทือกเขาเพ็กดูเขาไปยังเกาหลี ในขณะที่เสนทางเดินเรือผานทะเลเหลืองมีความยาวเพียง 180 กม. การคาระหวางจีน – เกาหลีดําเนินเรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 อยางไรก็ตามปริมาณและมูลคานั้นไมไดเพิ่มมากนัก ทั้งนี้อาจเปนเพราะจีนมักจะตอสูกันเองภายในเพื่อแยงชิงความเปนใหญ ทําใหจีนออนแอ แตหากเปนชวงที่จีนมีความเขมแข็งข้ึน พอคาชาวจีนก็จะออกไปซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากับเกาหลีมากขึ้น

เกาหลียังคงมีความสัมพันธกับจีนเปนปกติแมวาจีนจะพายแพตออังกฤษในสงครามฝนเมื่อ ค.ศ. 1841 แตตอมาในป ค.ศ. 1895 ก็ไดยุติความสัมพันธในฐานะเปนรัฐ

Page 71: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

71

บรรณาการตอกรุงปกกิ่งเมื่อจีนพายแพสงครามกับญี่ปุน โดยจีนตองเซ็นสนธิสัญญาชิโมโนเซกิกับญี่ปุนที่ใหจีนรับรองเอกราชของเกาหลี และยกเลิกการเรียกบรรณาการ จากนั้น ญี่ปุนก็มีอิทธิพลเหนือเกาหลีมากขึ้นจนกระทั่งเกาหลีตกเปนอาณานิคมของญี่ปุนในป ค.ศ. 1910

ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุน สังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุนมีรูปแบบและลักษณะไมสลับซับซอนในยุคแรกเริ่มกอตั้งเปนประเทศ ตอมา เมื่อไดรับอิทธิพลจากจีนโดยผานทางเกาหลี ซึ่งเปนเสมือนการไหลบาของวัฒนธรรมที่สูงเดนไปสูดินแดนที่ดอยความเจริญ กอใหเกิดการรับเอาวัฒนธรรมจีนมาใชในชีวิตประจําวันอยางกวางขวางและรับเอาวัฒนธรรมจีนมาใชในชีวิตประจําวันอยางกวางขวางจนทําใหนักวิชาการชาวตะวันตกเขาใจไปวา วัฒนธรรมจีนและวัฒนธรรมญี่ปุนมีคุณลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (14) อยางไรก็ตาม เมื่อเวลาผานไป สังคมญี่ปุนมีความสลับซับซอนมากขึ้น อัตลักษณของสังคมและวัฒนธรรมญี่ปุนก็ไดกอตัวและโดดเดนขึ้น และแตกตางไปจากของจีน ของเกาหลี และของสังคมเอเชียอ่ืนๆ จนกลายเปน “ญี่ปุน” อยางชัดเจน ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากการที่ญี่ปุนเปนเกาะ แยกตัวออกจากแผนดินใหญ ทําใหกระแสของการถายเททางวัฒนธรรมเปนไปไมสะดวกงายดายนักดังประเทศที่มีพรมแดนติดตอกันทางบก อีกทั้งในบางชวง รัฐบาลของประเทศนี้ไดประกาศนโยบายแยกตัวออกจากสังคมโลกอยางโดดเดี่ยว ก็ยิ่งทําใหเกิดความเปนญี่ปุนมากยิ่งขึ้น ในที่นี้จะขอกลาวถึงอิทธิพลของอารยธรรมจีนที่มีตอสังคมญี่ปุนในชวงตนคริสตกาลไปจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 ดังมีรายละเอียดตอไปนี้ จากหลักฐานทางประวัติศาสตรไดระบุวา ประชากรที่อาศัยอยูในญี่ปุนบางสวนเปนผูอพยพไปจากผืนแผนดินใหญในเอเชียตะวันออก นั่นคือ พวกชนเผาที่อาศัยอยูทางตอนเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนไดเรรอนออกไปคนหาดินแดนที่อุดมสมบูรณบนคาบสมุทรเกาหลี และมีคนบางกลุมเดินทางตอไปโดยทางเรือขามชองแคบไปยังหมูเกาะญี่ปุน การอพยพเปนไปอยางตอเนื่องตลอดชวงเวลา 50,000 ปที่ผานมา นอกจากนี้ ผูอพยพอีกกลุมหนึ่งลองเรือเล็กๆ ไปยังหมูเกาะริวกิวทางตอนใต คนเหลานี้ไดนําแบบแผนการดํารงชีวิตและวัฒนธรรมของชนเผาของตน ผสมผสานกับของจีนในแถบที่ราบลุมภาคกลางหรือเขตจงหยวนไปใชในบริบทของญี่ปุน

Page 72: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

72

ในชวงตนของคริสตกาล คนจีนไดบันทึกวา ในยุคราชวงศฮ่ัน (ตรงกับครึ่งหลังของยุคยาโยยของญี่ปุน) นั้นจีนเรียกญี่ปุนวา เปนดินแดนของพวกวา (คําวา วา แปลวาคนแคระ) อีกทั้งไดบรรยายตอไปวา ผูคนพวกนี้อาศัยกระจัดกระจายกันกวา 300 แหง นั่นแสดงใหเห็นวา มีการอยูรวมกันเปนกกเปนเหลาทั่วไปบนเกาะญี่ปุน อนึ่ง ในป ค.ศ. 57 มีชาวญี่ปุนกลุมหนึ่งเดินทางไปเฝาพระเจากวางวู ผูกอตั้งราชวงศฮ่ันตะวันออก (ค.ศ. 25 – 220) พระองคทรงมอบตราพระราชลัญจกรทองคําใหเปนที่ระลึก (ซึ่งในป ค.ศ. 1784 ไดมีการขุดคนพบตราพระราชลัญจกรในทุงนาใกลกับเมืองฮากาตะทางตอนเหนือของเกาะคิวชู ทําใหเชื่อกันวาบันทึกนี้เปนความจริง) บันทึกของจีนไดกลาวตอไปอีกวา ในคริสตศตวรรษที่ 2 ไดเกิดการจลาจลขึ้นในดินแดนแหงพวกวา จึงอาจตีความไดวา มีการตอสูเพื่อแยงชิงความเปนใหญข้ึน เพราะในศตวรรษที่ 3 พวกวามีอยูเพียง 30 กกเทานั้น และตางรวมตัวกันอยางหลวมๆ ภายใตการนําของพระนางพิมิโกะหรือฮิมิโกะ ทําใหเรารูวัฒนธรรมของพวกวานี้วา เปนพวกชอบกินผักสด เดินทางดวยเทา ขุดหลุมฝงศพเปนเนินดินแลวตกแตง ตบมือแสดงความเคารพตอคามิ (เทพเจา) ซึ่งเปนการสงขาวสาร และการหมอบหรือคุกเขาลงโดยใชสองมือวางอยูบนพื้นเพื่อแสดงความเคารพ จึงกลายเปนขนบประเพณีดั้งเดิมของญี่ปุน (15)

ในยุคยาโยย ชนเผาตังกัสจากที่ราบทางเหนือของแผนดินใหญไดนําเอารูปแบบของหลุมฝงศพที่มีลักษณะเปนรูปรูกุญแจเขาในญี่ปุน ทําใหคนญี่ปุนไดนํามาใช ดังตัวอยางเชน หลุมฝงศพของนินโตกุ (tomb of Nintoku) ซึ่งปรากฏมีหลักฐานที่สามารถตรวจสอบได วัฒนธรรมหลุมฝงศพรูปกุญแจมีความเกี่ยวของกันระหวางจีนและญี่ปุน โดยชนเผาตังกัสไดนํารูปแบบหลุมฝงศพนี้เขามาในญี่ปุนโดยผานทางเกาหลีนับตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 3 เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 7 ลัทธิขงจื้อไดเขาไปในญี่ปุนและกลายเปนแบบแผนการดํารงชีวิตของชาวอาทิตยอุทัยตั้งแตเริ่มตนคริสตกาล ตอมา เมื่อพุทธศาสนาเขาสูจีนโดยผานทางเอเชียกลางเมื่อราวคริสตศตวรรษที่ 1 ในสมัยราชวงศฮ่ันและไดแพรกระจายเขาไปยังเกาหลีในยุคสามอาณาจักร จนกระทั่งในป พ.ศ. 552 กษัตริยจากอาณาจักรเพ็กเจ ไดสงพระพุทธรูปและสิ่งของที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาไปใหเปนของกํานัลเพื่อแลกเปลี่ยนขอเสนอขอหนึ่งวา วันหนึ่งญี่ปุนจะสงกองทหารไปชวยรบตอสูกับศัตรู นั่นคือ อาณาจักรซิลลา

Page 73: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

73

ยุคนั้นเรียกวา ยุคอาสุกะ (ค.ศ. 552 – 710) ซึ่งมีตระกูล 3 ตระกูลที่รวมกันครอบครองความเปนใหญ คนในตระกูลโซกะ (Soga) ไดยอมรับพุทธศาสนา แตตระกูลโมโนโนเบะ (Mononobe) และตระกูลนากาโตมิ (Nagatomi) คัดคานเพราะยังคงยึดถือศาสนาชินโตวาเปนศาสนาประจําชาติ ดังนั้นจึงมีการตกลงกันใหตระกูลโซกะทดลองนําพุทธศาสนาไปปฏิบัติใช ตอมาเมื่อลูกของตระกูลโซกะมีชัยในการตอสูกับตระกูลอ่ืนในการรบที่เมืองชิกิเซนเมื่อป ค.ศ. 587 พุทธศาสนาจึงไดรับการยกยองและนําไปใชอยางกวางขวางในราชสํานัก ตอมาเจาชายโชโตกุ (Shotoku) วัย 21 ปและในเวลาตอมาไดรับการสถาปนาเปนกษัตริย ชื่อ พระเจาโชโตกุไทชิ (Shotoku Taishi ค.ศ. 572 – 622) ผูซึ่งไดรับความนิยมยกยองวามีชื่อเสียงพระองคหนึ่งของประวัติศาสตรญี่ปุน ทรงเปนผูเลื่อมใสในพุทธศาสนาและทรงศึกษาคําสอนจากพระที่มาจากเกาหลี อีกทั้งพระองคมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับราชวงศสุยของจีน ทําใหพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองในญี่ปุนนับแตนั้นมา และพระองคไดสรางวัดโฮริวจิในป ค.ศ. 607 ซึ่งถือวาเปนการลอกแบบสถาปตยกรรมของจีนไปไวในญี่ปุนเปนครั้งแรก วัดนี้มีชื่อเสียงยิ่งแมในยุคปจจุบัน ในขณะเดียวกัน พระองคทรงศึกษาคําสอนของลัทธิขงจื้อ ทําใหลัทธิขงจื้อมีอิทธิพลตอญี่ปุนมากเชนกัน อนึ่ง พระองคทรงนําเอาระบบการเมือง ศาสนา และศิลปะจากจีนเขาไปเปนแมแบบ ดวยการกระทําภารกิจเสร็จสิ้น 3 อยางคือ (1) เขียนรัฐธรรมนูญ 17 มาตรา (ตามหลักคําสอนของขงจื้อ) (2) นําระบบตําแหนง (cap ranks) มาใชในราชสํานัก และ (3) สงคณะทูตกลุมแรกไปยังจีนในนามประเทศญี่ปุนเมื่อป ค.ศ. 607 โดยใหนายโอโนโน อิโมโกะ นําพระราชสาสนไปถวายแกจักรพรรดิแหงราชวงศสุย ความวา …The emperor of the sunrise country writes to the emperor of the sunset country……..และทูตไดนําจดหมายและหนังสือของจีนกลับไปถวายจักรพรรดิญี่ปุน นั่นหมายความวา ญี่ปุนยุคอาสุกะไดตั้งตนเปนประเทศที่เปนอิสระ มีฐานะเทียบเทากับกษัตริยของจีน มิใชเปนรัฐบรรณาการของจีนดังเชนอดีตตอไป

อาจสรุปไดวา ในชวงแรกญี่ปุนไดรับเอาพุทธศาสนาจากจีนผานเขามาทางเกาหลี ตอมา เมื่อติดตอกับจีนได ก็นําความรูทางศาสนาและนิกายซึ่งมีอยูมากมายมาจากจีนโดยตรง สวนอิทธิพลของลัทธิขงจื้อที่ไดมา แมจะไมเดนชัดเทากับพุทธศาสนา แตก็มีผลตอแนวความคิดทางการเมืองและสถาบันการเมืองของญี่ปุนอยางตอเนื่องมาจนตราบเทาทุกวันนี้

Page 74: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

74

สําหรับการนําระบบการปกครองของจีนมาใชนั้น มีขอแตกตางระหวาง 2 สังคมนี้คือ ระบบการสอบเขารับราชการของจีนนั้น เปดใหสิทธิ์แกทุกคนอยางเทาเทียมกันในการเขาสอบคัดเลือก แตของญี่ปุนและเกาหลีอนุญาตใหเฉพาะลูกหลานของขุนนางเทานั้นที่มีสิทธิ์สอบ อนึ่ง ในชวงตนคริสตศักราช ความรูทางดานการแพทย ยารักษาโรค วรรณคดี ศิลปวัฒนธรรมของจีนเขาไปสูญี่ปุนมากมาย ทําใหสมาชิกในราชสํานักญี่ปุนจําเปนตองมีความรูในภาษาจีนอยางแตกฉาน เพราะภาษาเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรูศิลปวิทยาการและศิลปวัฒนธรรมของจีน ดวยเหตุนี้ภาษาจีนจึงกลายเปนภาษาเขียนของคนญี่ปุนไป ทั้งนี้เพราะญี่ปุนในยุคนั้นยังไมมีตัวอักษรที่เปนของตนเอง ความเฟองฟูของพุทธศาสนาในญี่ปุนยุคนารา (ค.ศ. 710 – 794) ทําใหกลายเปนศาสนาประจําชาติ ตอมาเมื่อวัดโฮริวจิถูกไฟไหม จึงมีการสรางขึ้นมาใหม พรอมกับสรางวัดอีก 2 แหง คือ วัดโทไดจิ และวัดโกฟูกูจิในป ค.ศ. 708 อนึ่ง ในสมัยจักรพรรดิโชมู มีพระจีนชื่อ กันจิน (Gunjin) ไดเดินทางมายังเมืองนารา และไดสรางนิกายริทสุ (Ritsu) ข้ึน ตอมาไดเปน “นิกายนารา” ไปในที่สุด ในสมัยเฮอัน (ค.ศ. 794 – 857) พุทธศาสนาไดรับการพัฒนาตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อจักรพรรดิกัมมู (Kammu) ข้ึนครองราชย มีพระญี่ปุน 2 รูป ชื่อ ไซโช และกูไก เดินทางกลับจากจีนในป ค.ศ. 805 หลังจากไดไปศึกษาพุทธศาสนาในประเทศจีน พระไซโชไดสรางนิกายชื่อ เทนโด (หมายถึง heavenly platform) สวนพระกูไกสรางนิกายชื่อ ชินกอน (หมายถึง true word) ข้ึนในญี่ปุน ในขณะเดียวกันมีการสงทูตไปยังจีนดวย ในกลุมทูตนี้มีพระชื่อ เอนนิน (Ennin) ซึ่งเปนพระที่มีชื่อเสียงมากไดเดินทางไปดวย พระเอนนินไดข้ึนไปบนภูเขาทรูใตเพื่อศึกษาพุทธศาสนา และศึกษาพระธรรมจากพระจนีและพระอินเดียในเมืองฉางอัน เมืองหลวงของพระราชวงศถังเปนเวลานานหลายป ตอมาพุทธศาสนาในจีนประสบกับปญหาในระหวางป ค.ศ. 841 – 845 ในสมัยของจักรพรรดิวูชอง พระเอนนินไดนําเอาพระไตรปฎกและวัตถุล้ําคาในการบูชาเขาไปเผยแพรในญี่ปุน รวมทั้งไดตั้งนิกายใหมชื่อ ไดชี (Daishi หมายถึง great teacher) ข้ึน ในสมัยเฮอันนี้พุทธศาสนาและภาษาจีนรุงเรืองสูงสุด เมื่อมีการประดิษฐตัวอักษรญี่ปุน หรือที่เรียกวา อักษรคานะ (kana) ข้ึนในตอนกลางคริสตศตวรรษที่ 9 คนญี่ปุนก็เริ่มใชอักษรของตนเองในการเขียนรวมกับอักษร

Page 75: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

75

จีน (kanji) นําไปสูการเขียนนิยายที่มีชื่อเสียง ชื่อ Tales of Genji ในป ค.ศ. 1008 ทําใหญี่ปุนไดพัฒนาภาษาของตนเองขึ้นเพื่อใชในการเขียนสื่อสารในสังคมอยางกวางขวาง จากนั้นอิทธิพลทางวัฒนธรรมของจีนตอญี่ปุนก็เริ่มลดนอยลงเปนลําดับ ทั้งนี้เปนผลมาจากการผสมผสานวัฒนธรรมของจีนเขากับวัฒนธรรมทองถิ่น และกลายเปนวัฒนธรรมของญี่ปุน ในขณะเดียวกันญี่ปุนก็เริ่มติดตอกับอินเดียไดโดยตรงเมื่อประสงคที่จะเรียนรูพุทธศาสนา เมื่อชาวมองโกลสามารถยึดอํานาจและกอตั้งราชวงศหยวนขึ้น กษัตริยมองโกลไดเรียกรองใหญี่ปุนสงบรรณาการเพื่อแสดงความจงรักษภักดีในฐานะรัฐบรรณาการตอจีนดังเชนอดีต แตญี่ปุนปฏิเสธ จึงไดใชกําลังรุกรานญี่ปุน 2 ครั้ง เมื่อการบุกญี่ปุนไมไดรับความสําเร็จ อีกทั้งเหลานักรบมองโกลไดใหความสนใจในการรุกรบดินแดนทางทิศตะวันตกจนถึงยุโรปมากกวา ทําใหสถานภาพของญี่ปุนโดดเดนขึ้น และกลายเปนชาติมีความเขมแข็งชาติหนึ่งในซีกโลกตะวันออก ญี่ปุนธํารงความเปนอิสระและความยิ่งใหญเมื่อโชกุนฮิเดโยชิสามารถรวบรวมแวนแควนตางๆ เขาเปนอาณาจักรหนึ่งเดียวกันไดในคริสตศตวรรษที่ 16 หลังจากนั้นก็ดําเนินนโยบายแยกตัวเองออกเปนอิสระในยุคโชกุนโตกุกาวา จนกระทั่งเมื่อมีการเปดประเทศในยุคเมจิ ญี่ปุนก็เริ่มเสริมสรางพลังอํานาจ และเริ่มขยายดินแดนออกไปนอกเกาะญี่ปุน ในที่สุดก็ทําสงครามกับจีนในป ค.ศ. 1895 ดังจะไดกลาวอยางละเอียดในตอนตอไป สําหรับการคาขายระหวางจีนกับญี่ปุนนั้นไดกระทํากันมาชานาน โดยในยุคตน พอคาจีนนําสินคาสงไปขายโดยทางเรือ สวนใหญจะเปนอาวุธที่ทําดวยโลหะและเหล็กที่ไดรับการพัฒนาในจีนจนเปนอาวุธที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพสูง ในยามสันติ สินคาที่นําไปขายไดแก เครื่องมือทางการเกษตร สินคาฟุมเฟอย ดังเชน เสื้อผา ผลิตภัณฑที่ทําดวยแล็คเกอร หัตถกรรม ทองแดงที่ใชทําเปนเงิน-เหรียญกษาปณ เหล็ก ผา ยา หนังสือ และรูปภาพ เปนตน สวนเงินตราที่ใชเปนสื่อกลางการซื้อขายจะใชเงินสกุลของจีน สินคาออกของญี่ปุนไปยังจีน ไดแก ทองแดง กํามะถันเพื่อใชเปนวัตถุดิบ และพัด เปนตน การคาขายระหวางจีนกับญี่ปุนไดกระทํากันเปนล่ําเปนสันในยุคราชวงศซองและราชวงศหมิง สวนในยุคโตกุกาวาที่ญี่ปุนไดยึดถือนโยบายปดประเทศนั้น การคาขาย

Page 76: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

76

กับจีนในยุคราชวงศชิงมีเพียงเล็กนอยที่เกาะเดจิมาในอาวนางาซากิ เพราะญี่ปุนไมตอนรับคนตางชาติ

มังกรสิ้นฤทธิ์ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ: จุดพลิกผันทางประวัติศาสตร

ขอกลาวอีกครั้งหนึ่งวา ที่ราบลุมบนฝงแมน้ําเหลือง (แมน้ําฮวงโห) เปนที่อยูอาศัยของผูคนมานานหลายพันปแลว จนกระทั่งป 221 กอนคริสตศักราช กษัตริยแหงราชวงศฉินไดรวบรวมแวนแควนเปนอาณาจักรจีนขึ้นเปนครั้งแรก แตก็ธํารงความเปนปกแผนไดจนถึงป 206 หรือราว 15 ป ก็ลมสลาย ตอมา ราชวงศฮ่ันไดยึดอํานาจและเขาครอบครองดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณแหงนี้เปนเวลายาวนานกวา 400 ป (ป 202 กอนคริสตศักราช – ค.ศ. 220) จะเห็นไดวาอาณาจักรเหลานี้ไดขีดเสนกั้นอาณาเขตเปนประเทศของตน อันเปนที่ยอมรับกันทั่วไปนับตั้งแตป 221 กอนคริสตศักราชมาแลว ในขณะที่ดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีและญี่ปุนเพิ่งจะเริ่มกอตัวเปนรูปเปนรางขึ้นในชวงรอยตอแหงคริสตกาลนี้เอง เหตุการณทางประวัติศาสตรที่เริ่มตนตั้งแตยุคนี้เรื่อยมาจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 เปนหวงเวลาที่นาสนใจยิ่ง เพราะทั้งจีน เกาหลี และญี่ปุนตางไดสรางความเปนชาติของตนเองขึ้นและสรางสรรควัฒนธรรมและอารยธรรมของแตละชาติอยางรวดเร็ว ยิ่งในตอนปลายของชวงเวลาดังกลาว หรือนับตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 16 เปนตนมา สถานการณของเอเชียตะวันออกไดแปรเปลี่ยนไปแทบพลิกหนามือเปนหลังมือเมื่อโลกตะวันตกไดแผอิทธิพลครอบคลุมโลกตะวันออก ภาพความโดดเดนของอารยธรรมของซีกโลกนี้ถูกบดบังและวัฒนธรรมบางอยางถูกลบทิ้ง ยังผลใหเกิดการตอสูระหวางคนผิวเหลืองดวยกันเองกลายเปนการประหัตประหารกันและกันเพราะตางอิงกับอารยธรรมภายนอก และตองตอสูกับชนผิวขาวผูซึ่งมีอาวุธและวัฒนธรรมที่เหนือกวา กอใหเกิดการลมสลายของจักรวรรดิจีน ในทางตรงขาม การปรับตัวของญี่ปุนไดพลิกฟนกลายเปนผูชนะโดยใชแรงผลักจากภายในผนวกกับการผูกมิตรกับชาติตะวันตกแทนการเปนเบี้ยลางของชนผิวขาวอยางไรศักดิ์ศรีเฉกเชนประเทศตางๆ ในเอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา ทําใหอาณาจักรอาทิตยอุทัยกลายเปนมหาอํานาจของโลกตะวันออก ในขณะที่

Page 77: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

77

เกาหลีซึ่งตั้งอยูทามกลางชาติมหาอํานาจจีน – ญี่ปุน – รัสเซีย ไดถูกบดบังและถูกยึดครองจากชาติที่แข็งแกรงกวาสลับกันไปมาอยางหลีกเลี่ยงไมพน

จุดพลิกผันทางประวัติศาสตรนี้เองที่มีความจําเปนที่จะตองศึกษาอยางใกลชิดเพื่อจะทําใหเกิดการเชื่อมตอขององคความรูระหวางยุคคริสตศตวรรษที่ 1 – 19 และยุคกอน-หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อนึ่ง ในยุคนี้หนวยของการวิเคราะหจะไมขีดวงเฉพาะประเทศที่ตั้งอยูในบริเวณเอเชียตะวันออก ทั้งนี้ เพราะมีตัวแปรสําคัญ ไดแก ชาติตะวันตกที่เขามาแสวงหาประโยชนในดินแดนดอยพัฒนาในชวงเริ่มแรก และตอมาไดกลายเปนความขัดแยงในหมูชนชาวยุโรปดวยกันเอง จนนําไปสูการประหัตประหารกันในสงครามโลกถึง 2 ครั้ง ตอมาในยุคใหม ไดมีการนําโลกตะวันออกไปสูความเปนสากล การวิพากษสังคมตนเองของชาวจีนและการรับอารยธรรมตะวนัตก

ความผันผวนของสังคมการเมืองในจีนนับเปนเวลากวา 100 ป (ในชวงคริสตศตวรรษที่ 19) กอใหเกิดการวิพากษวิจารณถึงสถานภาพของชาติจีนที่เคยยิ่งใหญมานานหลายพันปดวยความขมขื่น ดังเชนเฝงไกวเฝนไดเขียนบทความวา

...เมื่อถือตามภูมิศาสตรทั่วไปที่ชาวอังกฤษคนหนึ่งเปนผูรวบรวมขึ้นแลว อาณาเขตของจีนใหญกวารัสเซียถึง 8 เทา ใหญกวาสหรัฐอเมริกา 10 เทา ใหญกวาฝรั่งเศส 100 เทา และใหญกวาบริเตนใหญ (สหราชอาณาจักร) 200 เทา แตเราก็ยังถูกชาติตาง ๆ 4 ชาตินี้ลบหลูอยางนาละอาย ทั้งนี้ ไมใชเพราะวาภูมิอากาศ ปุย หรือแหลงทรัพยากรของเราดอยกวาของเขาเลย แตเปนเพราะคนของเราดอยกวาคนของเขาตางหาก... ทีนี้ความดอยของเรานี้มิใชสิ่งที่ฟาทรงประทานใหแกเราเลย มันเนื่องมาจากตัวเราเองมากกวา ถาหากวาฟาทรงประทานความดอยนี้มาใหเราละก็ นับวาเปนสิ่งที่นาละอายมาก เพราะมิใชเปนสิ่งที่เราจะแกไขไดเลย โดยเหตุที่ความดอยนี้เราทําใหแกตัวเราเอง จึงเปนสิ่งที่เราควรจะละอายใหมากยิ่งขึ้นไปอีก แตก็เปนสิ่งที่เราอาจจะแกไขได ถาหากวาเรารูสึกละอาย ก็ไมมีอะไรที่จะดีไปกวาการทําตัวเราใหเขมแข็ง...

Page 78: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

78

ทําไมชาติตางๆ ทางตะวันตกซึ่งเปนชาติเล็กๆ จึงเขมแข็งเลา? ทําไมเราซึ่งเปนประเทศใหญจึงออนแอเลา? เราจะตองแสวงหาวิธีที่จะทําใหเสมอภาคกับชาติตางๆ ทางตะวันตกเหลานั้น และขอนั้นก็ข้ึนอยูกับความพยายามของมนุษยนี่เอง เมื่อคํานึงถึงสถานการณปจจุบันแลว เราก็อาจตั้งขอสังเกตไดหลายอยาง: เพราะการไมเอาความเฉียบแหลมตางๆ ของมนุษยมาใชนั่นเองจึงทําใหเราดอยกวาพวกปาเถื่อนทั้งหลาย เพราะเราไมเอาแหลงทรัพยากรธรรมชาติของเรามาใชใหเปนประโยชน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อนทั้งหลาย เพราะเราไมยอมใหมีเขตกั้นระหวางกษัตริยกับประชาชน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อน และเพราะการพูดกับการกระทําของเรายังไมสมกัน เราจึงดอยกวาพวกปาเถื่อน การรักษาเยียวยาจุดตางๆ ทั้ง 4 เหลานี้ ก็คือการแสวงหาสาเหตุในตัวเราเอง เราอาจทําใหความดอยนี้เปลี่ยนแปลงไดในทันทีทันใด ถาหากองคจักรพรรดิจะทรงนําเราในวิถีทางที่ถูกตองในเรื่องเหลานี้ ไมจําเปนจะตองศึกษาจากพวกปาเถื่อนเลย...

ลุถึงตนคริสตศตวรรษที่ 20 อาณาจักรที่กวางใหญไพศาลซึ่งมีอารยธรรมสูงสง เปนเสาหลักของโลกตะวันออกไกลที่เคยมีความเขมแข็ง มีความหยิ่งผยองในความยิ่งใหญและเกียรติภูมิของชนชาติของตนไดประสบกับหายนะ เกิดวิกฤตการณและความสับสนไปทั่ว ดังมีรายละเอียดโดยยอตอไปนี้ การสิ้นสุดของราชวงศชิงในป ค.ศ. 1911 เปนผลมาจากความออนแอของราชสํานัก การแยงชิงอํานาจทางการเมือง และการแทรกแซงจากชาติมหาอํานาจตะวันตกและญี่ปุน กอใหเกิดกระแสความคิดมากมายหลายกลุม และตางฝายตางชวงชิงผลประโยชนเพื่อกลุมและพรรคพวกของตนเองเปนสําคัญ โดยแทจริงแลว ความแตกแยกทางความคิดไดเกิดขึ้นมานานนับตั้งแตจีนไดเผชิญหนากับชาวตะวันตกในตนคริสตศตวรรษที่ 16 เมื่อปอรตุเกสเขามาโจมตีเมืองทาตางๆ ในแถบกวางตุงในป ค.ศ. 1511 แลว จากนั้น การหลั่งไหลของพวกมิชชันนารีไปยังจีนนับแตนั้นมาก็มีข้ึนอยางไมขาดสาย นอกจากนี้การเผยแพรลัทธิคําสอนคริสตศาสนาและการเขาไปติดตอทางการคาก็เปนการจุดชนวนที่ทําใหคนจีนบางกลุมเกิดความคิดแตกแยกที่ผิดแปลกไปจากความคิดความเชื่อตามประเพณีของชาวตะวันออกไกล สิ่งที่ปรากฏอยางเห็นไดชัดก็คือ ความเสื่อมสลายเกิดขึ้นจากการรุกรานจากตางชาติทั้งทางตรง (การเขาโจมตีและการยึด

Page 79: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

79

ครองดินแดนบางสวน) และทางออม (การลักลอบนําฝนเขาไปขาย) เปนปจจัยหลัก สวนการแตกแยกทางความคิดและผลประโยชนภายในประเทศเปนความสําคัญลําดับที่สอง

ในกรณีของจีน เมื่อเกิดความลมเหลวในการปกปองประเทศในยุคราชวงศชิงเพราะกระแสการตอสูแขงขันระหวางมหาอํานาจตะวันตกในการหาประโยชนจากประเทศจีน และระหวางกลุมที่ยึดถือระบบศักดินากับมวลชนที่ยากไร ไดมีการจลาจลลุกฮือข้ึนหลายครั้งในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 เชน การลุกฮือของขบวนการอี้เหอตวน หรือกบฎนักมวย (Yihetuan) ในระหวางป ค.ศ.1899-1900 การเคลื่อนไหวของสมาคมตงเหม็งหุยหรือสันนิบาตจีนเพื่อการปฏิวัติ (China Revolutionary League) ในป ค.ศ.1905 และการลุกฮือของขบวนการวูชาง (Wuchang uprising) ในระหวางป ค.ศ.1909-1911 เปนตน มีผูกลาววา มีการจลาจลลุกฮือถึง 100 ครั้ง ทําใหคลื่นแหงการปฏิวัติพุงขึ้นสูงและระเบิดในชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 20 ในชวงแรกนั้นการปฏิวัติที่นําโดยชนชั้นกลางภายใตการบัญชาการของ ดร.ซุน ยัดเซน (Sun Yat-sen: 1866-1925) ซุน ยัดเซน เกิดในครอบครัวชาวนาที่หมูบานซี่เหง อําเภอเซียงชานในจังหวัดกวางตุง เมื่ออายุได 14 ป เขาไดไปศึกษาที่นครฮอนโนลูลูและฮองกง ทําใหเขาเรียนรูทฤษฎีทางการเมืองและสังคมของชนชั้นกลาง ในป ค.ศ.1892 เขาไดรับปริญญาแพทยศาสตรจากมหาวิทยาลัยในฮองกง จากนั้น เขาเดินทางไปมาเกาและกวางโจวเพื่อปลุกระดมประชาชนตอตานระบอบศักดินาและตางชาติ แตดูภายนอกนั้นคนทั่วไปจะรูจักเขาในฐานะเปนหมอรักษาคนไข พอถึงตนป ค.ศ.1895 เขาไดสรางกองบัญชาการที่ฮองกงเพื่อวางแผนกอการจลาจลลุกฮือของมวลชนที่เมืองกวางเจา แตแผนการนี้ไดถูกคนพบในเดือนตุลาคม ทําใหการลุกฮือตองลมเลิกไปและตัวเขาเองก็ตองหนีไปลี้ภัยยังตางประเทศ อยางไรก็ตาม เขาก็ยังคงดําเนินการเพื่อใหเกิดการเดินขบวนและการกอการรายในเมืองจีนตอไปอยางตอเนื่อง ในชวงนี้ นักศึกษาจีนที่เรียนอยูในญี่ปุน ยุโรป และอเมริกา ไดรวมตัวกันปลุกระดมใหจีนเปลี่ยนการปกครองโดยใหจักรพรรดิอยูภายใตอํานาจรัฐธรรมนูญ แตมิใชการปฏิวัติลมลางอํานาจกษัตริย ในขณะที่อีกกลุมหนึ่งตองการตั้งประเทศจีนใหเปนสาธารณรัฐดวยการยกเลิกระบอบกษัตริย ทั้งนี้เพราะเห็นวา ราชวงศชิงเปนรัฐบาลหุนเชิดของตางชาติ จึงเรียกรองใหมวลชนทําการปฏิวัติ

Page 80: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

80

ประชาชนจีนใหการสนับสนุนเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและปกปองชาติบานเมืองของตนอยูแลว จึงไดรวมมือกันสมัครเปนสมาชิกของขบวนการที่ผูนําแตละกลุมกอตั้งขึ้นเพื่อลุกฮือทําการปฏิวัติสังคม ทุกกลุมมี เปาหมายใกล เคียงกันแมรายละเอียดจะแตกตางกันไปบาง แตก็ไมทําใหการรวมตัวเพื่อการปฏิวัติเกิดอุปสรรคในยุคแรกเริ่มตัวอยางเชน กลุมของ ดร.ซุน ยัดเซนตั้งเปาหมายหลัก 4 ขอ คือ การขับไลราชวงศแมนจูออกไป กอตั้งประเทศเปนสาธารณรัฐ กอบกูและสรางประเทศใหเปนปกแผน และการแจกจายที่ดินอยางเปนธรรมแกทุกคน ดังนั้น ทุกกลุมจึงพากันนําประชาชนลุกฮือกอการจลาจลขึ้นทั่วประเทศ ในวันที่ 27 เมษายน ค.ศ.1911 และไดสถาปนารัฐบาลชั่วคราวของสาธารณรัฐจีนขึ้นที่เมืองนานกิงเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1912 โดยไดเลือก ดร.ซุน ยัดเซนขึ้นเปนผูนํา ตอมา จักรพรรดิชิงก็ทรงประกาศสละราชยสมบัติในเดือนกุมภาพันธ และในเดือนมีนาคม สาธารณรัฐจีนไดประกาศใชรัฐธรรมนูญขึ้นเปนครั้งแรกโดยไดนับปนั้นเปนปที่หนึ่งแหงสาธารณรัฐใหม ภายหลังที่จักรพรรดิสละราชยสมบัติ อํานาจของราชสํานักและกลุมขุนศึกผูนิยมระบอบกษัตริยไดตกอยูในมือของหยวน ชีไข (Yuan Shikai) ผูซึ่งไดนํากําลังเขาโจมตีสาธารณรัฐจีน ทําให ดร.ซุน ยัดเซนตองลาออกจากตําแหนงประธานาธิบดีในป ค.ศ.1912 หยวน ชีไขจึงทําหนาที่เปนประมุขของประเทศและดํารงตําแหนงเสมือนหนึ่งเปนจักรพรรดิ ดังนั้น จีนจึงเขาสูยุคของการปกครองโดยเหลาขุนศึกทางเหนือในระหวางป ค.ศ.1912-1927 อยางก็ไรตาม กลุมปฏิวัติโดยชนชั้นกลางและชนชั้นกรรมาชีพในแถบยูนนาน กุยโจว และกวางสีก็ประกาศเอกราชและรวบรวมกําลังตอตานหยวน ชีไข ตอมา หยวน ชีไขไดเสียชีวิตลง เตา ฉีริ (Duan Qirui) จึงทําหนาที่สืบทอดอํานาจ โดยไดประกาศยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและยุบรัฐสภาในป ค.ศ.1917 อยางไรก็ตาม ดร.ซุน ยัดเซนไดดําเนินการสานตอขบวนการแนวรวมชนชั้นกลาง และไดกอตั้งพรรคกกมินตั๋งขึ้นจนกระทั่งเขาเสียชีวิตในป ค.ศ. 1925 อนึ่ง พรรคคอมมิวนิสตจีนไดกอตั้งขึ้นในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ.1921 ภายหลังจากที่เกิดความคิดนี้มานานเมื่อกรรมกรจีนทําการตอสูกับการกดขี่ขมเหงและการเอารัดเอาเปรียบจากนายทุนตางชาติ อํานาจศักดินา พอคาและชนชั้นกลางในจีน เมื่อรัสเซียประสบความสําเร็จในการปฏิวัติในเดือนตุลาคม ค.ศ.1917 ภายใตการนําของเลนิน ทําใหแนวความคิดการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพและชาวนาไดแพรหลายไปยังคนจีนหัว

Page 81: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

81

รุนแรง จึงเกิดขบวนการสี่พฤษภาคม จนกระทั่งไดเปลี่ยนรูปเปนพรรคคอมมิวนิสต ซึ่งมีผูนําคือ เหมา เจอตุง ตง บืออู เฉิน ตันชิว เหอ ชูเฮง หวาง จินเมย เตง เอินหมิง และผูนําคนอื่นๆ อีกมากมาย พรรคคอมมิวนิสตกับพรรคกกมินตั๋งไดรวมมือกันกวาดลางศัตรูทางเหนือ (หมายถึง ญี่ปุน) และพยายามเอาชนะกองทัพขุนศึกทางเหนือ รวมทั้งไดรับการสนับสนุนจากกลุมที่อยูภาคกลางและภาคใตของจีน ทําใหสามารถไดรับชัยชนะและมีกําลังเขมแข็งขึ้นอยางรวดเร็วไปทั่วประเทศจีน ในชวงเวลาเดียวกันนี้ กลุมประเทศจักรวรรดินิยมตะวันตกไดสนับสนุนใหเจียง ไคเชค (Chiang Kai-shek) ผูซึ่งดํารงตําแหนงเปนผูบัญชากองทัพปฏิวัติแหงชาติและกําลังทําการสูรบกับขุนศึกฝายเหนืออยูนั้น ทํารัฐประหารตอตานพวกปฏิวัติและมุงทําลายพรรคคอมมิวนิสตจีน ทาํใหกองกําลังปฏิวัติสายคอมมิวนิสตซึ่งไมมีอาวุธที่ทันสมัยตองพบกับความปราชัยอยางยอยยับ นับเปนการหักหลังของเหลาชนชั้นกลาง พอคาและเจาของที่ดินตอเหลากรรมกรชาวนา ทําใหการปฏิวัติในครั้งนั้นประสบความลมเหลว อยางไรก็ตาม ในชวงป ค.ศ.1927-1937 กองทัพปฏิวัติของเหมา เจอตุงไดสองสุมและกอการจลาจลตอตานกองทหารของเจียง ไคเชค ผูซึ่งไดรับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาที่มอบอาวุธที่ทันสมัยให แตก็ไมอาจเอาชนะไดโดยงาย จึงเปลี่ยนยุทธวิธีตั้งฐานในชนบทลอมเมืองเอาไว วิกฤติการณทางเศรษฐกิจและการเมืองของจีนไดเปดชองใหญี่ปุนฉวยโอกาสขยายเขตยึดครองของตนในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อยึดครองภาคเหนือของจีนทั้งหมด ในขณะที่กองกําลังปฏิวัติคอมมิวนิสตไดระดมกําลังเพื่อตอสูกับกองทัพกกมินตั๋ง แตก็พบกับความพายแพเพราะดําเนินงานการรบผิดพลาด จําตองเคลื่อนยายกองบัญชาการ ทําใหเกิดการเดินทัพทางไกล (The Long March) จากมณฑลเจียงสีไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเปนระยะทางถึง 25,000 ลี้ใน ค.ศ.1934 และไดทําลายการปดลอมของกองทัพเจียง ไคเชคไดในป ค.ศ.1935 จากนั้นไดตั้งฐานบัญชาการที่เมืองหยางอันทางตอนเหนือของมณฑลชานสีข้ึน

Page 82: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

82

สงครามตอตานญี่ปุน (ค.ศ.1937-1945) ญี่ปุนไดสรางสถานการณที่ชื่อ ลูโกวเชียวหรือเรียกวา เหตุการณที่สะพานมารโคโปโล (Lugouqiao) ข้ึนเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1937 โดยคนจีนที่ถูกญี่ปุนทํารายไดทําการโตตอบ ญี่ปุนจึงใชเปนชนวนบุกเขาโจมตีจีนอยางขนานใหญ คนจีนจึงพากันรวบรวมพลังเขาตอสู และกองกําลังปฏิวัติไดสงคนไปเจรจาใหเจียง ไคเชครวมมือตอสูกับญี่ปุนผูรุกราน เมื่อญี่ปุนโจมตีเมืองเซียงไฮ ไดสังหารทุกคนไมวาเด็ก ผูหญิง หรือคนแก และขูวาจะตีเมืองนานกิงเปนเมืองตอไป พรรคกกมินตั๋งกับพรรคคอมมิวนิสตไดรวมมือกันตอตานผูรุกราน อยางไรก็ตาม เจียง ไคเชคกลับยกเลิกขอตกลงความรวมมือกับพรรคคอมมิวนิสตโดยคาดการณวา ตองการใหญี่ปุนทําลายลางพรรคคอมมิวนิสตใหหมดสิ้น ดังนั้น ญี่ปุนจึงสามารถยึดเมืองปกกิ่ง เมืองเทียนสิน เมืองเซียงไฮ เมืองนานกิงและเมืองวูหานไดในป ค.ศ.1937-1938 โดยเฉพาะที่เมืองนานกิงเมืองเดียว ญี่ปุนไดสังหารชาวจีนกวา 300,000 คนภายในเวลาเพียงหนึ่งเดือนและเผาบานเรือนของประชาชนเสียหายอยางยอยยับ นักประวัติศาสตรไดเรียกเหตุการณนี้วา Rape of Nanjing กองทัพคอมมิวนิสตตองตอสูกับศึกสองดาน คือ ญี่ปุนดานหนึ่งกับกองทัพกก มินตั๋งของเจียง ไคเชคอีกดานหนึ่ง ทําใหตองพบกับความลําบากและสูญเสียกําลังพลมากมาย ถึงกระนั้นก็ตาม กองทัพประชาชนก็มุงมั่นที่จะตอสูเพ่ือชาติเพื่อแผนดิน จึงไดเรงการผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงปากทอง และเอาชนะตอความยากลําบากดวยตัวเอง พรอมทั้งขยายกําลังกองทัพประชาชนทําการตอสูกับศัตรูและสามารถทําลายกองทัพญี่ปุนผูรุกรานไดอยางมีประสิทธิภาพ จนเอาชนะญี่ปุนไดในเดือนสิงหาคม ค.ศ.1945 ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1946 เจียง ไคเชคไดประกาศแนวรบโจมตีบริเวณเขตปลดปลอยของพรรคคอมมิวนิสต กองทัพคอมมิวนิสตไดใชเวลา 3 ปก็สามารถทําลายลางกองทัพกกมินตั๋งของเจียง ไคเชคไดสําเร็จ และไดสถาปนาเปนประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (The People's Republic of China) ข้ึนในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ.1949 โดยมีเหมา เจอตุงเปนประธานของรัฐบาลกลางแหงประชาชน (Central People's Government) เจียง ไคเชคไดพาพรรคพวกชนชั้นกลางและสมาชิกพรรคกกมินตั๋งหนีไปตั้งประเทศที่ เกาะไตหวันและเกาะเล็กๆ ที่ตั้งเรียงรายลอมรอบ อยางไรก็ตาม จีน

Page 83: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

83

แผนดินใหญก็ยังคงถือวา ไตหวันเปนดินแดนสวนหนึ่งของจีน เชนเดียวกับฮองกงที่อังกฤษไดตกลงเซ็นสัญญาเชาเปนเวลา 99 ป และเกาะมาเกาที่ปอรตุเกสไดทําสัญญาเชาจากจีน ซึ่งจีนถือวาตนเองมีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนเหลานี้ทั้งหมด และเฝารอวันเวลาที่จะผนวกเขาเปนดินแดนของจีนเมื่อถึงเวลาอันควร

จีนในยุคหลังมานไมไผ

ภายหลังที่พรรคคอมมิวนิสตไดยึดอํานาจและทําการปกครองประเทศจีนตั้งแตเดือนตุลาคม ค.ศ. 1949 เปนตนมานั้น จีนไดเขาสูยุคแหงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญหลวงและเปนกรณี (showcase) ที่ผูคนทั่วโลกใหความสนใจ อยางไรก็ตาม คนภายนอกไมอาจลวงรูถึงความเปนไปของจีนมากนัก เพราะจีนไดปดประเทศระหวางป ค.ศ. 1949 – 1972 จึงมีการขนานนามวา ประเทศหลังมานไมไผ ที่ปดสนิท (ซึ่งแตกตางจากอดีตที่ใครๆสามารถเขาถึงขอมูลของจีนไดโดยงายเพราะเปนสังคมเปด) เมื่อเหตุการณเปนเชนนี้ นักวิชาการและผูสังเกตการณจากทั่วโลกจึงตองเก็บขอมูลผานทางผูหลบหนีออกนอกประเทศ จากคําประกาศของรัฐบาล หนังสือพิมพ รวมทั้งเอกสารที่ทางการพิมพเผยแพร และจากเจาหนาที่ทางการทูตตางประเทศที่ประจําอยูในประเทศจีน ดังนั้น ขอมูลที่ไดรับจึงเปนภาพของสังคมจีนที่รัฐบาลประสงคจะใหคนทั่วโลกไดรับรูเฉพาะจากมุมมองนั้นๆ เปนสําคัญ อีกทั้งเปนการเสนอขอมูลเพียงดานเดียว ซึ่งอาจจะเปนจริงหรือไมเปนจริงก็ได หรืออาจเปนสิ่งที่ชนชั้นปกครองเห็นวาเปนสิ่งดีงามสําหรับสังคม แตคนภายนอกไมอาจรับรูถึงสภาพและความตองการที่แทจริงของคนสวนใหญของสังคมได ตอมา เมื่อนักวิชาการและสื่อมวลชนสามารถตรวจสอบขอมูลจากมุมมองที่หลากหลายข้ึนภายหลังที่จีนเริ่มเปดประเทศในป ค.ศ. 1972 โดยประธานาธิบดีริชารด นิกสัน แหงสหรัฐอเมริกาเดินทางไปเยี่ยมเยือนจีนอยางเปนทางการ ซึ่งถือวาเปนครั้งแรกที่ผูนําชาติตะวันตกไดเขาไปในเมืองจีนนับตั้งแตเปลี่ยนแปลงการปกครอง หรือเปนเวลานานถึง 24 ป ทีเดียว ความรูเกี่ยวกับประเทศจีนจึงแพรหลายออกไปสูสายตาของคนทั่วโลก

Page 84: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

84

นโยบายการทําใหกลายเปนสังคมคอมมิวนิสต (Socialist transformation) ก. ความพยายามเบื้องตน (ค.ศ. 1949 – 1966) ในหวงเวลาเริ่มแรก มีเหตุการณที่เกิดขึ้นบนผืนแผนดินมังกรมากมายที่มีการ

ดําเนินงานใหสังคมประชาธิปไตยเปลี่ยนเปนสังคมคอมมิวนิสตตามแนวคิดของมารกซ – เลนิน กระบวนการทําใหกลายเปนคอมมิวนิสตนี้ตองอาศัยอุดมการณทางการเมืองที่แข็งแกรงของเหลาผูนํา อีกทั้งสังคมตองผานการสูญเสียเลือดเนื้อและน้ําตาของผูคนนับรอยลาน โดยตองมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของคนในสังคม เปลี่ยนคานิยม และแนวความคิดความเชื่อ รวมทั้งแบบแผนทางเศรษฐกิจและการเมืองจากรูปแบบเกาไปสูรูปแบบใหมอยางถอนรากถอนโคน นับเปนเหตุการณที่โหดเหี้ยม นาสะพรึงกลัว แตเปนสิ่งที่นาสนใจยิ่งที่สังคมในขั้นสุดทายจะเปนไปดังที่เหลาผูนําคาดหวังหรือไมเพียงใด หรือผูคนในประเทศจะมีชีวิตอยูในสังคมชนิดใหมนี้ไดอยางมีความสุขเพียงใด เนื่องจากในหวงเวลาดังกลาว จีนไดใชความสามารถในการจัดระเบียบทางสังคมใหมในทุกระดับ และทําการติดตอกับญี่ปุนและเกาหลีอยางจํากัด ยกเวนในชวงสงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953) ที่จีนใหการสนับสนุนแกเกาหลีเหนือในการทําสงครามกับชาติพันธมิตรที่นําโดยสหรัฐอเมริกา อาจกลาวไดวา ในชวงเวลานี้ จีนไดยึดนโยบายแยกตัวเองอยูอยางโดดเดี่ยวเพื่อ “จัดการ” กับกิจกรรมภายในประเทศใหบรรลุเปาหมายของการเปนสังคมใหมที่ประสงคจะใหบังเกิดขึ้น ในที่นี้ จักกลาวถึงแนวทางการดําเนินงาน การจัดการในกระบวนการกลายเปนคอมมิวนิสตของจีนพอสังเขป ดังนี้ (1) โครงสรางทางการเมือง มีผูกลาววา สาธารณรัฐประชาชนจีนมีโครงสรางทางการเมืองเปนแบบ เผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพ (Dictatorship of the Proletariat) ที่คลายคลึงกับของสหภาพโซเวียต แตนักวิชาการจีนชื่อ อิมานูเอล ซู (Immanuel C.Y. Hsu) แยงวา นาจะเรียกเปน เผด็จการประชาธิปไตย (Democratic Dictatorship) เพราะมีการเลือกตัวแทนจากประชากรกลุมตางๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย แตเปนเผด็จการในความหมายของการปฎิวัติตอตานลัทธิทุนนิยม

โครงการของกระบวนการสรางสังคมคอมมิวนิสต เริ่มตนขึ้นในป ค.ศ. 1953 ภายหลังที่ จีนใหความชวยเหลือเกาหลี เหนือทําสงครามเกาหลีตอสูกับกองทัพสหประชาชาติไดเสร็จสิ้นลงดวยการกําหนดโครงสรางทางการเมืองเพื่อใหสอดรับกับการปฏิวัติเพื่อใหบรรลุเปาหมายของการเปนคอมมิวนิสตแบบจีน ดังนี้

Page 85: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

85

สภาประชาชนกลางสูงสุด (Central People’s Government Council) เปนองคกรหลักที่มีอํานาจในดานนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ องคกรนี้จัดการใหมีการประชุมเดือนละสองครั้งเพื่อกําหนดนโยบายของรัฐ สมาชิกของสภาประกอบดวยประธานเหมา เจอตุง รองประธาน 6 คน และสมาชิกอีก 56 คนที่ไดรับการเลือกตั้งโดยคณะกรรมการที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชน (People’s Political Consultative Council) ในกรณีที่สภาประชาชนกลางสูงสุดไมไดจัดใหมีการประชุมขึ้นก็จะมอบอํานาจใหสภาบริหารของรัฐ (State Administrative Council) ประกอบดวยสมาชิกราว 20 คนทําหนาที่คลายกับคณะรัฐมนตรีทําหนาที่แทนโดยใหอยูภายใตการดูแลของประธานเหมา สภาบริหารของรัฐนี้มีนายโจว เอินไหลเปนหัวหนา โดยดํารงตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรี และมีรองนายกรัฐมนตรีหลายคนทําหนาที่ในการบริหารคณะกรรมการจํานวน 4 ชุด คือ การเมืองและกฎหมาย การเงินและเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการศึกษา และกิจการของประชาชน ในขณะที่คณะกรรมการทั้ง 4 ชุดนี้จะทําหนาที่ควบคุมดูแลกระทรวงตางๆ 30 กระทรวง และคณะผูบริหารขององคกรตางๆ นอกเหนือจากสภาบริหารของรัฐแลว ยังมีองคกรสําคัญอีก 3 องคกร คือสภาทหารเพื่อการปฏิวัติประชาชน ศาลฎีกาประชาชน และสํานักอัยการสูงสุด (Procurator – general Office) ในระดับที่ต่ําลงมา มีองคกรระดับจังหวัด และระดับอําเภอครอบคลุมไปทั่วประเทศ ในป ค.ศ. 1954 ไดมีการจัดใหมีการเลือกตั้งตัวแทนระดับหมูบานและเมืองเพื่อสงไปเปนกรรมการระดับอําเภอ และเลือกตัวแทนของอําเภอไปสูการเปนกรรมการระดับจังหวัด จากนั้นก็เลือกจากระดับจังหวัดเพื่อเปนตัวแทนสภาประชาชนในระดับชาติ (2) การพัฒนาเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของจีนปนปวนยิ่งในป ค.ศ. 1949 โดยเงินเฟอพุงสูงขึ้นเกินกวาที่จะควบคุมได อีกทั้งไดเกิดน้ําทวมใหญทําใหเรือกสวนไรนาเสียหายกวา 30 – 40 เปอรเซ็นต ทําใหผลผลิตอาหารลดลงกวารอยละ 70 – 75 ในขณะที่ผลผลิตทางอุตสาหกรรมลดลงเหลือเพียงรอยละ 56 เมื่อเทียบกับระดับที่เปนอยูกอนหนาที่จะเกิดสงครามกลางเมือง ดังนั้น เพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจใหไดผล รัฐบาลจึงสรางเงินตราใหมข้ึนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1949 และประกาศหามใชเงินสกุล

Page 86: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

86

ตางประเทศทั้งหมด รวมทั้งสรางมาตรการตางๆ เพื่อใหภาวะตกต่ําทางเศรษฐกิจกลับสูสภาพเดิม และในที่สุดก็ไดรับความสําเร็จระดับหนึ่งเมื่อป ค.ศ. 1950 รัฐบาลไดทําการปฏิรูปที่ดินและสรางระบบคอมมูนในการผลิตพืชผลทางการเกษตร อีกทั้งขยายการผลิตดานอุตสาหกรรม ตอมาในป ค.ศ. 1951 ไดสรางแผนพัฒนาประเทศหาปฉบับที่หนึ่งข้ึนเพื่อจะประกาศใชในป ค.ศ. 1953 แตก็ไมอาจดําเนินการไดตามกําหนดจนกระทั่งถึงเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1955 ทําใหการดําเนินงานของแผนที่หนึ่งทําไดเพียงสองปครึ่ง จากนั้นก็ประกาศใชแผนพัฒนาหาปฉบับที่สอง (ค.ศ. 1958 – 1962) ตามแนวนโยบายการพัฒนาของประธานเหมา เจอตุงที่เรียกวา ธงแดงสามผืน กลาวคือ ผืนแรกเปนแนวทางในการสรางสรรคสังคมนิยม ผืนที่สองเปนนโยบายกาวกระโดด และผืนที่สามเปนการสรางคอมมูนประชาชนใหเปนหนวยพ้ืนฐานดานการผลิต จากการใชแผนพัฒนาดังกลาวทําใหผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นมากและรายไดประชาชาติเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 50 ในป ค.ศ. 1962 ในเดือนกุมภาพันธ ค.ศ. 1958 สภาประชาชนสูงสุดไดประกาศใช ขบวนการกาวกระโดด (Great Leap Forward Movement) ควบคูไปกับการใชแผนพัฒนาฉบับที่สอง ดวยการเนนการสรางคอมมูน และนําประชาชนทุกหมูเหลาทั้งที่เปนขาราชการ ครูอาจารย นักศึกษา กรรมกร และชาวนา มารวมกันทํางานโดยไมถือชั้นวรรณะ ทําใหเศรษฐกิจจีนไดรับความสําเร็จเปนที่นาพอใจ กลาวคือ ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติเพิ่มจาก 73.8 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1952 เปน 123.4 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1959 และเปน 171.4 พันลานหยวนใน ค.ศ. 1970

ข. การปฏิวัติทางวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966 – 1976) ความพยายามที่จะใหจีนกลายเปนสังคมคอมมิวนิสตไมบรรลุผลสัมฤทธิ์ตาม

เปาหมายในชวงแรก ทั้งนี้เปนเพราะมแีรงตอตานทั้งจากภายในกลุมผูนําและจาก ประชาชนทั่วไป กลาวคือ เมื่อมีการดําเนินงานตามนโยบายกําจัดระบบทุนนิยมออกไป นโยบายขจัดคอรรัปชั่น นโยบายใหประชาชนเขามามีสวนรวมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง และนโยบายสรางระบบคอมมูนนั้น นโยบายเหลานี้หากจะใหไดรับผลสําเร็จก็ตองใชมาตรการรุนแรงเพื่อยึดทรัพยสินสวนบุคคลมาเปนของรัฐ ทําใหมีผูคนจํานวนมากไดรับความทุกขระทม บางก็ถูกสังหาร และไดรับความทรมานทั้งกายและจิตใจ อีกทั้งบานแตกสาแหรกขาด ในขณะเดียวกัน มีเจาหนาที่ของรัฐจํานวนหลายคนที่รับอามิส

Page 87: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

87

สินจางจากบุคคลบางคนใหละเวนการปฏิบัติตามนโยบายตอพวกเขา ขาราชการบางคนไดเบียดบังของที่ริบไดไปเปนของตนเอง จึงถูกลงโทษอยางรุนแรง นอกจากนี้ การเรียกรองใหมีการสรางระบบคอมมูนกอใหเกิดการฝนความรูสึกของคนบางกลุมที่ไมประสงคจะเขารวม แตก็ตองจํายอมกระทําตาม เพราะหากไมยอมกระทําตามก็จะถูกวิพากษวิจารณหรือถูกลงโทษดวยกระบวนการทางสังคม เปนตน สภาพเชนนี้มีปรากฏใหเห็นอยางดาษดื่น สรางความหดหูใจแกผูพบเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่งแกผูนําพรรคคอมมิวนิสตบางคนที่มองเห็นวาสังคมเกิดความแตกแยกจนเกินขอบเขต ไรมนุษยธรรม และขาดเสรีภาพพื้นฐานของความเปนมนุษย จึงแสดงความไมเห็นดวย และในบางโอกาส อาจคัดคานการกระทําบางอยางที่ฝนความรูสึก เปนตน นอกจากนี้ เหลาผูนําบางคนไดตั้งกลุมที่มีความคิดเห็นไมสอดคลองเพื่อขัดขวางนโยบายบางขอ อันอาจนําไปสูการแบงพรรคแบงพวก และในที่สุดอาจทําใหกระบวนการกลายเปนสังคมคอมมิวนิสตลมเหลวลงได ดังนั้น ประธานเหมา เจอตุงจึงรวมมือกับนายหลิน เปยว (Lin Piao – close comrade – in – arms) ของโปลิสบิวโรที่เคยรวมรบเคียงบาเคียงไหลมาดวยกันจัดตั้งหลักการตามกรอบแนวคิดของชาติคอมมิวนิสต ตอมาในป ค.ศ. 1965 ไดจัดตั้งขบวนการเรดการด (Red Guards) หรือเยาวชนผูพิทักษแดงที่มีสมาชิกเปนเด็กวัยรุนในระดับชั้นมัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และมหาวิทยาลัยนับจํานวนหลายลานคนทั่วประเทศใหผละจากการศึกษาเลาเรียนในสถาบันการศึกษามารวมกันสังคายนาสังคมใหเปนไปตามหลักการของเหมา เจอตุง หรือตามสมุดปกขาวของเขา เยาวชนเหลานี้ไดปกหลัก

รายชื่อผูดํารงตําแหนงเปนประธานและสมาชิกโปลิสบูโรของพรรคคอมมวินิสตจีน พฤษภาคม ประธาน Chen Tu-hsiu 1927 สมาชิก Chang Kuo-fao, Chou En–lai, Chu Chiu–pal, Li Li–san,

Li Wei-han, Su Chao-cheng,Tan Ping-shan, Tsai Ho-sen. มกราคม ประธาน Chin Pang-hsien

Page 88: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

88

1934 สมาชิก Chen Shao-yu, Chou En-Lai, Chu The, Hsiang Ying, Liang Po-tai, Liu Shao-chi, Mao Tse-tung, Wang Chia-hsiang, Wu Liang-ping.

ตุลาคม ประธาน Mao Tse-tung 1949 สมาชิก Chang Wen-tien, Chen Yun, Chou En-lai, Chu The, Jen

Pi-shih, Kang Sheng, Kao Kang, Lin Tsu-han, Liu Shao-chi, Tung Pi-wu.

ตุลาคม ประธาน Mao Tse-tung 1956 สมาชิก Chen Yi, Chen Yun, Chou En-lai, Chu Teh, Ho Lung,

Li Fu-cheng, Liu Shao-chi, Li Hsien-nien, Lin Piao, Lin Tsu-han, Liu Po-cheng, Lo Jung-huan, Peng Chen, Peng The-huai, Teng Tsiao-ping, Tung Pi-wu.

สิงหาคม ประธาน Mao Tse-tung 1966 สมาชิก Chen Po-ta, Chen Yi, Chen Yun, Chou En-lai, Chu The,

Ho Lung, Hsu Hsiang-chien, Kang Sheng, Li Ching-chuan, Li Fu-chen, Li Hsien-nien, Lin Piao, Liu Po-cheng, Liu Shao-chi, Nieh Jung-chen, Tan Chen-lin, Teng Hsiao-ping, Tung Pi-wu, Yeh Chien-ying.

หมายเหตุ: คัดลอกมาเปนตัวอยางในบางชวงเวลา สวนชื่อที่ขีดเสนใตนั้นเปนชื่อของบุคคลที่

ไดระบุถึงในเนื้อหา เชน โจว เอินไหล หลิว เฉาฉี เหมา เจอตุง หลิน เปยว และ เติ้ง เสี่ยวผิง เปนตน

ที่มา: Jerome Chen, Mao: Great Lives Observed. New Jersey: Prentice – Hall, Inc., 1969, pp. 58 –

60.

ดําเนินการตามแหลงสาธารณะทุกหนทุกแหงทั่วประเทศ โดยแทจริงแลว ขบวนการนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อทําการตอสูกับกลุมที่ตอตานเหมา เจอตุง (anti – Maoists) (2) ทั้งนี้เพราะเหมามีคูแขงทางการเมืองหลายคน

ดังจะเห็นไดจากรายชื่อผูดํารงตําแหนงประธานและสมาชิกโปลิสบูโรของพรรคคอมมิวนิสตจีนที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเนืองๆ

Page 89: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

89

ตัวอยางของการตอสูทางการเมืองเพื่อแยงชิงอํานาจที่เดนชัด ก็คือในกรณีที่นายหลิน เปยว ไดรับขอมูลในป ค.ศ. 1962 วา นายหลิว เฉาฉี (Liu Shao-chi) ผูซึ่งดํารงตําแหนงเปนรองประธานคณะกรรมการพรรคและพรรคพวก วางแผนการลับเพื่อยึดอํานาจจากเหมา เจอตุง แตเหมาก็ไมอาจทําอะไรไดมากนักนอกจากพยายามควบคุมอํานาจการเปนผูนําพรรคไว จนกระทั่งป ค.ศ. 1964 ก็มีการออกขาวโดยผานทางพรรคคอมมิวนิสตจีนวา นายหลิว เฉาฉีจะเปนทายาททางการเมืองตอจากเหมา แตกลุมผูสนับสนุนเหมากลับย้ําวา ไมมีทางที่หลิวจะไดรับอํานาจสูงสุดได และพากันคัดคานในที่ประชุมของพรรคที่จัดขึ้นในวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1965 และใหสัญญาณวา หลิวจะตองถูกปลดออกจากการเปนสมาชิกโปลิสบูโร นั่นหมายความวา หลิวจะตองหลุดออกจากขั้วอํานาจทางการเมืองสูงสุดของจีนไป และเหมาก็จะไดรับอํานาจสูงสุดมาครอบครองอยางเปนเอกภาพอีกครั้งเสมือนกับชวงตนของการกอตั้งเปนรัฐสังคมนิยมในป ค.ศ. 1949 ตอมา เมื่อเหมามีอายุครบ 71 ป ใน ค.ศ. 1964 และปวยเปนโรคพาคินสัน เขาไดใหสัมภาษณสื่อมวลชนตางประเทศวา “อีกไมนานผมคงจะไปพบกับพระเจาแลวแหละ” ขาวนี้แพรออกไปก็ยิ่งทําใหเหลาผูสนับสนุนหลิวไดใจ คิดวาอํานาจสูงสุดคงจะตกอยูในมือของกลุมพวกเขาในเร็วๆ นี้ จึงไดเขาควบคุมนครปกกิ่งไวอยางเหนียวแนน สวนเหมาไดใชนครเซี่ยงไฮดําเนินการเพื่อรักษาอํานาจรวมกับกลุมที่สนับสนุนตนเอง อยางไรก็ตาม ยุทธการทางทหารระหวางกลุมผูนําทั้งสองฝายไมไดเกิดขึ้น ทั้งนี้เพราะกลุมของเหมา – หลิน เปยวไดใชวิธีการทางการเมืองจํากัดการเคลื่อนไหวของหลิวและพรรคพวกอยางไดผลดวยการชู “บุคลิกภาพการเปนผูนําการปฏิวัติ” ของเหมาตอสาธารณชน อีกทั้งหลิน เปยวก็มีอํานาจควบคุมกองทัพอีกดวย หลิวจึงไมอาจกระทําการแข็งขออยางชัดแจงในความพยายามสรางตนใหเปนใหญเหนือเหมา เจอตุงได ดังนั้น เหมาสามารถธํารงความเปนผูนําสูงสุดเพราะอิงอํานาจทางการทหารที่หลิน เปยวทําหนาที่ควบคุมดูแลกองทัพแหงชาติ ในขณะที่หลิวมีอิทธิพลเหนือพรรค อนึ่ง ในชวงเวลาเดียวกันนี้ เมื่อจีนและโซเวียตไดใหความชวยเหลือแกเวียตนามเหนือในการทําสงครามกับสหรัฐอเมริกาและเวียตนามใต การสรางขบวนการเรดการดจึงกระทําไดโดยงายดวยการชักจูงเยาวชนทั่วทั้งประเทศเทิดทูนตัวเหมาและลัทธิของเขาที่ตอตานการรุกรานของประเทศทุนนิยมตะวันตกที่ประสงคจะกลับเขามาครอบครองเอเชียอีก

Page 90: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

90

ครั้งในตอนกลางคริสตศตวรรษที่ 20 ขบวนการเรดการดจึงเปนเสมือนการสรางกองทัพปลดแอกประชาชน (People’s Liberation Army) ใหแกโลกคอมมิวนิสตจีนโดยเหมาไดใชขบวนการเยาวชนนี้ทําลายฝายตรงกันขามหรือศัตรูทางการเมืองของตน

ตอมา หลิน เปยวไดรวมมือกับนางเจียง ชิง (ภรรยานอยของเหมา เจอตุง) และพรรคพวกจนไดรับการขนานนามวา Gang of Four (ผูรวมแกง 4 คนไดแก นางเจียง ชิง นายเหยา เหวิน หยวน นายจาง ชุนเฉียว และนายหวาง หงเหวิน) ดําเนินกิจกรรมทางการเมืองดังนี้

(1) ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1966 เหลาผูนําพรรค ไดแก นายเผิง เจิน นายหลอ ยุยชิง นายลุ ติ้งอี้ และนายหยาง ชางคุน คนเหลานี้ลวนเปนผูปฏิบัติงานที่รับผิดชอบดานใดดานหนึ่งของรัฐบาลกลาง ถูกใสรายวา ทําการจัดตั้งกลุมฝายคานในพรรค หรือตั้งตนเปนหัวหนาของกองบัญชาการชนชั้นนายทุน จึงถูกบริภาษและถอดออกจากตําแหนง โดยถูกกลาวหาวาพวกเขาเปนปรปกษกับกองบัญชาการชนชั้นกรรมาชีพของประธานเหมา

ตอมา นายหลิว เฉาฉี และนายเติ้ง เสี่ยวผิงก็ถูกขับใหลงจากเวทีการเมืองดวยเชนกัน

(2) ไดมีการกอตั้งคณะกรรมการปฏิวัติ (Revolutionary Committee) ข้ึนและ แตงตั้งใหนางเจียง ชิงทําหนาที่เปนรองประธานหัวหนาหนวยคนที่ 1 เธอจึงกาวออกจากหลังฉากมาอยูหนาฉาก ทั้งๆ ที่เธอไมไดมีตําแหนงใดๆ ในคณะกรรมการกลางพรรคเลย แตตอนนี้ไดออกมาชี้นิ้วออกคําสั่งตางๆ

(3) เนื่องจากคณะกรรมการปฏิวัติรับผิดชอบตอกรรมการบริหารของกรมการ เมืองโดยตรง ทําใหนางเจียง ชิงกับกลุมของเธอสามารถทํางานโดยไมตองผานสํานักเลขาธิการของพรรคและกรมการเมือง และสามารถทําอะไรไดตามอําเภอใจ

(4) พวกเรดการดไดเขาแทรกแซงกระแสหลักแหงชีวิตทางการเมือง ทําให กลายเปนปจจัยที่กอใหเกิดความไมสงบและมีลักษณะของการทําลาย เพราะพวกเขาไมคํานึงถึงกฎหมายและกฎระเบียบใดๆ สมาชิกเรดการดสวนใหญเปนเยาวชนอายุเพียงสิบกวาป ที่เต็มเปยมไปดวยพลังกายและพลังใจ แตบริสุทธิ์ไรเดียงสา พวกเขาซื่อสัตยตอภารกิจสังคมนิยมในจิตใจ โดย

Page 91: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

91

นางเจียง ชิงเรียกพวกเขาวา “นายพลนอย” แตสมรรถนะในการวินิจฉัยทางการเมืองต่ํามาก ดวยเหตุนี้ จึงถูกใชใหกลายเปนหนวยจูโจมของหลินเปยวและเจียงชิง การจัดตั้งเรดการด เปนการปฏิบัติตามคําเรียกรองของเหมาที่ใหเปนการ “กอกบฏอยางมีเหตุผล” และไดพัฒนาขยายตัวไปอยางรวดเร็วในชวงเวลาสั้นๆ เพียงไมกี่เดือนก็มีจํานวนกวาสิบลานคน ในชวงแรกเยาวชนเหลานี้ไดกอกบฏกับโรงเรียนและครูอาจารย จากนั้นก็ออกไปทําลายสถาบันทางสังคมและการเมืองของชาติ เยาวชนเรดการดไดเดินทางเขามายังเขตเมืองจากทุกสวนของประเทศเพื่อจัดตั้งเปนกองพลที่สนับสนุนเหมา ทางการจึงตองจัดพาหนะการเดินทาง ที่อยูอาศัย อาหาร และเสื้อผา ขอเพียงบนแขนเสื้อติดปลอกแขนสีแดงปกตัวอักษรวา เรดการด เทานั้น ก็เทากับวาเปนเอกสารสําคัญที่จะเดินทางไปไหนมาไหนไดอยางปราศจากการขัดขวาง คนที่ติดปลอกแขนชนิดนี้ลวนถือวาตนเองเปนแขกที่ประธานเหมาเชิญมา และทําการ “กอกบฏตอพวกปฏิกริยาอยางมีเหตุผล” โดยจะเขาทําลายคนเหลานั้นทันที อยางไรก็ตาม การกําหนดวาคนอยางไรหรือเหตุการณใดที่เปนพวกปฏิกิริยานั้นไมมีมาตรฐานที่ชัดเจน การตัดสินใจวาใคร/ผูใดเปนนั้นลวนแตยึดถือความคิดเห็นสวนตัวเปนหลัก โดยมากมักขึ้นอยูกับการตัดสินของหลินเปยว และเจียงชิงเปนผูกําหนดมากกวา

ตามรายงานการคนควาฉบับหนึ่งระบุวา นับตั้งแตชวงหลังเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1966 จนถึงเดือนกันยายนปเดียวกัน หรือภายในเวลาเพียง 40 วัน เฉพาะในกรุงปกกิ่งแหงเดียวมีประชาชน 1,700 คนถูกทุบตีถึงตาย 33,600 ครอบครัวถูกรื้อคนบานอยางผิดกฎหมาย และอีก 84,000 คนถูกจัดใหอยูในกลุมบุคคลหาประการที่ไมพึงปรารถนา นั่นคือเจาของที่ดิน คนที่ร่ํารวย พวกที่ เปนปฏิปกษตอการปฏิวัติ พวกฝายขวา และนักวิชาการ คนเหลานี้ไดถูกขับออกจากกรุงปกกิ่งใหไปทํางานในสถานที่ที่ใชแรงงานและในไรนา หลิว เฉาฉีถูกกลาวหาวาเปนหัวหนากองบัญชาการชนชั้นนายทุน จึงถูกกลาวโทษจากพวกเรดการดมากกวา 100 ขอหา และไดกลาวหานางหวาง กวงเหมย ภรรยาของหลิวดวยวาใชชีวิตอยางฟุงเฟอ ดังนั้นเขาจึงถูกปลดออกจากตําแหนงและจําขังจนถึงเดือนตุลาคม ค .ศ . 1968 ตอมา คณะกรรมการกลางชุดที่ 8 ของพรรคคอมมิวนิสตจีนไดผานมติในการประณามเขาวาเปน “คนทรยศ เปนไสศึก และผูทอดทิ้งกรรมกร” ตองถูกขับออกจากจงหนานไห เขากับภรรยาถูกแยกกันไปคุมขัง 2 แหง ใน

Page 92: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

92

ขณะเดียวกันก็ถูกวิพากษอยางหนักใน “ที่ประชุมการวิจารณของนักตอสูเคลื่อนไหว” โดยเจาตัวไมมีโอกาสไดเขารวมฟงดวย ตอมา ในวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1969 เขาถูกควบคุมตัวไปยังเมืองไคฟงในมณฑล เหอหนันโดยทางเครื่องบินอยางลับๆ และถูกขังอยูตามลําพังในบานหลังหนึ่งซึ่งตัดขาดออกจากโลกภายนอก เขาเปนโรคเบาหวานและลมปวยลงดวยโรคปอดอักเสบ จากนั้นวันที่ 12 พฤศจิกายน ของปเดียวกัน เขาก็เสียชีวิตในตอนเชาตรูเวลา 6.45 น. อดีตหนึ่งในประมุขของประเทศไดถึงแกกรรมโดยมีแตผูควบคุมเขาเทานั้นที่อยูขางกาย สวนภรรยาและบุตรสาวมิไดรับแจงขาวคราวของเขาเลย

ภายหลังที่เขาลาโลกไปแลวเปนเวลาถึง 11 ป ชื่อเสียงของหลิวไดรับการประกาศกองอีกครั้งและไดจัดใหมีพิธีไวอาลัยแกเขาอยางสมเกียรติและใหญโต

สวนอีกตัวอยางหนึ่ง คือ เติ้ง เสี่ยวผิง ถูกปลดออกจากตําแหนงและตองไปใชแรงงานในมณฑลกวางสี โดยขับรถแทรกเตอร ปลูกผักปลูกหญา และเสิรฟอาหารในระหวาง ค.ศ. 1966 – 1969 จนกระทั่งถึงป ค.ศ. 1974 นายโจว เอินไหลจึงแตงตั้งเขาใหกลับไปเปนรองนายกรัฐมนตรี รวมเวลาที่เขาหลุดจากวงการเมืองอันเปนผลมาจากการกระทําของพวกเร็ดการดนานถึง 8 ป กลาวกันวา การขจัดอดีตสหาย โดยเฉพาะอยางยิ่งสหายที่ดํารงตําแหนงระดับสูงเปนจํานวนมากนี้ก็เพื่อกวาดหนทางแหงการแยงยึดอํานาจของตน นั่นคือ ของนายหลิน เปยว นางเจียง ชิง และพรรคพวก ซึ่งกลาวอางวาไดกระทําในนามของเหมา เจอตุง เปาหมายในชวงแรก มีผูถูกตรวจสอบมากถึง 1,040 คนโดยถูกใสรายปายสีดวยการระบุชื่อโดยตรง ในจํานวนนี้เปนผูนําของพรรคและรัฐ 33 คน และผูปฏิบัติงานชั้นสูงในกองทัพปลดแอกประชาชน 210 คน คนเหลานี้เปนผูปฏิบัติงานรับผิดชอบในตําแหนงสําคัญในแผนกตางๆ ของศูนยกลางระดับมณฑล นครและเขตปกครองตนเอง รวมผูนําที่ถูกไตสวนและถูกประทุษรายถึงตายมีจํานวนกวา 34,000 คนในชวง 10 ปแหงการปฏิวัติทางวัฒนธรรม เหตุการณรายไดลุกลามไปทั่วประเทศอันเปนผลจากการออกอาละวาดของพวกเร็ดการดโดยที่ประธานเหมาไมทราบเรื่องราวรายละเอียดมากนัก ทําใหสังคมจีนในชวงนั้นเกิดความปนปวนวุนวายทางดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองเปนเวลาหลายปตลอดชวงตอนปลายทศวรรษที่ 1960 ตอมาหลิน เปยวไดกลายเปนผูมีความทะเยอทะยานสูงคิดจะแยงชิงอํานาจทั้งหมดไวในมือ จึงคิดแผนการใหญข้ึน แตหลังจากแผนการรายที่จะ

Page 93: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

93

ลอบสังหารประธานเหมา เจอตุงประสบกับความลมเหลวและถูกเปดโปงเมื่อวันที่ 13 กันยายน ค.ศ. 1971 หลินจึงนําครอบครัวพรอมกับสมุนคนสนิทหลบหนีออกนอกประเทศ แตเครื่องบินที่เขาโดยสารไปนั้นตกที่เมืองอุนดูรฮาน ประเทศมองโกเลีย ทุกคนเสียชีวิตหมด สวนเหมา เจอตุงเองก็รูสึกเสียใจที่ เปนตนคิดขบวนการปฏิวัติทางวัฒนธรรมที่ยังผลใหพวกพองที่เคยรวมอุดมการณและรวมรบเคียงบาเคียงไหลกันมาแตครั้งในอดีตกาลตองประสบชะตากรรม ทุกขระทมและหลายคนตองจบชีวิตลงไปเพราะความมักใหญใฝสูงของหลิน เปยวและพรรคพวก

ในป ค.ศ. 1975 นายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลปวยหนัก นายเติ้ง เสี่ยวผิงไดรับหนาที่เปนผูรักษาการแทนนายกรัฐมนตรี สวนนางเจียง ชิงและพรรคพวกก็คิดหาทางที่จะจัดการขจัดเติ้งใหลงจากเวทีทางการเมืองอีกครั้ง แตเติ้งก็ตีโตเพื่อรักษาตําแหนงไวได จนกระทั่งนายกรัฐมนตรีโจวเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในตอนเชาเวลา 9.57 น. ของวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1976 ทามกลางกระแสโจมตีนายกโจวจากกลุมนางเจียง ชิง ตอมาประธานเหมา เจอตุงไดเสียชีวิตลงในวันที่ 9 กันยายน ปเดียวกัน จากนั้นอีกเพียงหนึ่งเดือนตอมา ไดมีการจับกุมนางเจียง ชิง และสมุนของแกง 4 คน ทําใหอิทธิพลของฝายที่อิงอยูกับบารมีเฉพาะตัวของเหมาหมดสิ้นลงไปดวย และจีนก็ไดเขาสูยุคใหมภายใตการนําของเติ้ง เสี่ยวผิง ผูพลิกจีนใหกาวไปสูความเปนประเทศทันสมัยตอไป ในตอนปลาย ค.ศ. 1980 ไดมีการพิจารณาความผิดของแกง 4 คนและสมุนของหลิน เปยวอีก 6 คน รวมเปน 10 คน ซึ่งศาลประชาชนสูงสุดไดตัดสินในเดือนมกราคม ค.ศ. 1981 วา จําเลยทั้งหมดมีความผิดตามที่ถูกกลาวหาโดยตองโทษจําคุกตั้งแต 15 ปไปจนถึงตลอดชีวิต

จีนกับการเปดประเทศในทศวรรษ 1970 ประธานาธิบดีริชารด นิกสันแหงสหรัฐอเมริกาไดประกาศถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในดานความสัมพันธกับจีนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 โดยระบุวา นายเฮนรี คิสซิงเจอร ที่ปรึกษากิจการตางประเทศของตนไดเจรจาอยางลับๆ ที่กรุงปกกิ่งในระหวางวันที่ 9 – 11 กรกฎาคม และจีนไดเชิญตัวเขาไปเยี่ยมเยือนจีนแผนดินใหญ อยางเปนทางการซึ่งเขาก็ไดตอบตกลงรับคําเชิญนั้น โดยจะเดินทางในชวงกอนเดือนพฤษภาคมของป ค.ศ. 1972 ขาวนี้ไดแพรสะพัดออกไปทั่วโลกและสรางความประหลาด

Page 94: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

94

ใจใหกับทุกฝาย ซึ่งถือไดวาเปน Nixon shock ที่สหรัฐอเมริกาไดปรับเปลี่ยนนโยบายอยางฉับพลัน จากการเปนศัตรูมาเปนมิตร อันเปนขาวที่สรางความตื่นตระหนกโดยเฉพาะตอญี่ปุนที่เคยไดรับอิทธิพลจากสหรัฐอเมริกามิใหทําตัวใกลชิดกับจีนในอดีต และตอมิตรประเทศตางๆ ของสหรัฐฯในเอเชีย ขอมูลตามประวัติศาสตรระบุวา เมื่อจีนเปลี่ยนการปกครองเปนแบบคอมมิวนิสตใน ค.ศ. 1949 ประธานาธิบดีทรูแมนแหงสหรัฐอเมริกาไดเตรียมที่จะใหการรับรองรัฐบาลจีนที่กรุงปกกิ่ง แมวาจะไมคอยพอใจที่ฝายเจียง ไคเช็คที่อเมริกาหนุนหลังเปนฝายพายแพและตองหนีไปอยูที่เกาะไตหวันก็ตาม แตเมื่อเกิดสงครามเกาหลีข้ึนใน ค.ศ. 1950 จีนไดใหการสนับสนุนเกาหลีเหนือ อันมีเปาหมายที่จะทําลายระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยของเกาหลีใต อันหมายถึงการทําลายระบบที่ประเทศตะวันตกยึดถือ โดยหาใชเปนเพียงการเอาชนะในสงครามกลางเมือง ดังเชน ในจีนในชวงทศวรรษที่ 1940 เทานั้น ดังนั้น เพื่อปองกันมิใหลัทธิคอมมิวนิสตเขาไปครอบงําในประเทศอื่นๆ ในทวีปเอเชีย สหรัฐอเมริกาจึงไมไดรับรองรัฐบาลปกกิ่ง ในทางตรงกันขามไดสงกองทัพเรือที่เจ็ดเขาขวางกั้นชองแคบไตหวันระหวางจีนแผนดินใหญกับไตหวัน เพื่อมิใหจีนยึดไตหวัน จึงกลายเปนสงครามเย็นที่สหรัฐอเมริกามีตอจีน อนึ่ง สหรัฐอเมริกาไดพยายามหามิตรประเทศเพื่อจํากัดการแพรกระจายลัทธิคอมมิวนิสตดวยการไปตั้งฐานทัพในเกาหลีใต ญี่ปุน โอกินาวา ไตหวัน เวียตนามใต พมา และไทย รวมทั้งทําสนธิสัญญาเปนพันธมิตรกับเกาหลีใต ไทย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ในป ค.ศ. 1954 และกับไตหวันซึ่งเปนสนธิสัญญาความรวมมือและปกปองทางการทหารหากถูกรุกราน นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังกีดกันมิใหจีนแผนดินใหญเขาเปนสมาชิกขององคการสหประชาชาติ ตอมา สหรัฐอเมริกาภายใตการนําของประธานาธิบดีไอเซนฮาวรและของประธานาธิบดีเคเนดีไดยึดนโยบายแข็งกราวตอจีน โดยพยายามใชนโยบายแยกจีนใหอยูอยางโดดเดี่ยว อนึ่ง เมื่อเกิดปญหาการปะทะกันระหวางจีน – อินเดีย และขอขัดแยงระหวางจีน – รัสเซียในทศวรรษที่ 1960 โดยจีนเปนฝายไดเปรียบ สหรัฐฯ ก็ยิ่งเพิ่มความหวาดระแวงไปวา จีนจะสามารถขยายอิทธิพลของตนออกไปเรื่อยๆ ตอมาในยุคของประธานาธิบดีจอหนสันที่สหรัฐอเมริกาเขาไปมีบทบาทสําคัญทางการทหารในเวียตนาม ก็ยิ่งทําใหความสัมพันธกับจีนในชวงตนของสงครามเวียตนามกระทบกระทั่งกันมากขึ้น

Page 95: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

95

เพราะจีนใหการสนับสนุนเวียตนามเหนือทําการตอสูกับกองทัพสหรัฐอเมริกา ในขณะที่สหรัฐอเมริกาไดรับการสนับสนุนจากชาติพันธมิตร คือ เกาหลีใต ไทย และญี่ปุนสงทหารเขาไปรวมรบกับอเมริกันในสงครามเวียตนาม ทําใหความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลีใตและญี่ปุนตลอดชวงทศวรรษ 1960 อยูคนละขั้ว อันเปนผลมาจากนโยบายตางประเทศของสหรัฐอเมริกานั่นเอง อยางไรก็ตาม เมื่อประธานาธิบดีจอหนสันไดประกาศปรับเปลี่ยนทาทีเปน “ความรวมมือและไมเปนศัตรู” กับจีนเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1966 โดยประกาศใหอิสรภาพในการติดตอทางดานความคิด ประชาชนและสินคาตอกัน ทั้งนี้เพื่อปูทางไปสูการยุติสงครามเวียตนามและสรางสันติภาพข้ึนในเอเชีย ในขณะที่สหรัฐอเมริกาไดเพิ่มความไมไววางใจตอรัสเซียที่บุกยึดเช็คโกสโลวาเกียในป ค.ศ. 1968 ตอมาในป ค .ศ . 1969 เมื่อนิกสันได เขารับตําแหนงเปนประธานาธิบดี สถานการณของโลกและเอเชียไดเปลี่ยนไปอีกกาวหนึ่ง นั่นคือ มีการยอมรับกันวาจีนเปนหนึ่งของกลุมประเทศที่เปนมหาอํานาจทางนิวเคลียร สวนญี่ปุนกลายเปนชาติที่มีเศรษฐกิจแข็งแกรงและกลายเปนคูแขงสําคัญของสหรัฐอเมริกา อีกทั้งความสัมพันธระหวางจีน – โซเวียตรัสเซียไดแยกออกจากกันมากยิ่งขึ้น ตลอดจนไดเกิดขบวนการตอตานสงครามเวียตนามขึ้นทั่วไปในสหรัฐอเมริกา ทําใหรัฐบาลนิกสันตัดสินใจที่จะถอนกําลังทหารออกจากเอเชีย และประกาศนโยบายยกเลิกการตีกรอบจีนใหมีอิทธิพลอยูในวงจํากัด อันเปนการสรางนโยบายดุลยภาพระหวางจีน โซเวียตและสหรัฐอเมริกา พรอมๆ กับการยึดนโยบายสรางความสัมพันธอันดีกับญี่ปุนและยุโรปตะวันตก ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อใหเกิดความสมดุลของอํานาจของโลก แทนการเปน “ตํารวจโลก” ของสหรัฐอเมริกาดังเชนที่ผานมา พลังศูนยอํานาจ 5 ศูนยในระบบโลกยุคนั้น คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต จีน ญี่ปุน และยุโรปตะวันตก จะมีก็เพียงแตจีนที่ยังคงอยูอยางโดดเดี่ยว ดวยเหตุนี้จึงเปนภาระหนาที่ของนิกสันที่จะตองไป “เปดประตู” เพื่อใหจีนกาวออกสูเวทีของโลก และนิกสันก็เริ่มประกาศนโยบาย “จากการเผชิญหนามาสูการเจรจา” ในป ค.ศ. 1969 โดยใหนายเฮนรี คิส ซิงเจอรทําหนาที่เปนผูประสานงานในการเจรจาเพื่อใหนโยบายนั้นบรรลุผล และในที่สุดประวัติศาสตรก็ไดจารึกถึงการแหวกทะลุทางการทูตที่จีน – สหรัฐอเมริกา หันกลับมาเปนมิตรประเทศตอกันภายหลังการใชนโยบายเปนศัตรูตอกัน

Page 96: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

96

ยาวนานถึง 22 ป เมื่อประธานาธิบดีนิกสันเดินทางมาถึงนครปกกิ่งในวันที่ 22 กุมภาพันธ ค.ศ. 1972 ไดรับการตอนรับอยางอบอุนยิ่งจากนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลและคณะที่สนามบิน ในการเจรจาระหวางตัวแทนของสหรัฐอเมริกาและจีนที่เกี่ยวของกับญี่ปุน เกาหลีและเวียตนามนั้น จีนคัดคานการฟนฟูและการขยายกองกําลังทหารของญี่ปุน แตสนับสนุนใหคนญี่ปุนบรรลุเปาหมายในการสรางชาติที่เปนอิสระ ประชาธิปไตย สันติสุขและเปนกลาง ในขณะที่สหรัฐอเมริกายึดมั่นความสัมพันธอันดีกับญี่ปุนวาเปนมิตรที่มีความสําคัญสูงสุดและจะรวมกันใหความรวมมือมีอยูอยางมั่นคงและยาวนาน สําหรับกรณีของเกาหลีนั้น จีนใหการสนับสนุนแผนสันติภาพและการรวมชาติ 8 ขอที่เกาหลีเหนือไดประกาศไวเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1971 ในขณะที่สหรัฐอเมริกาจะรักษาความสัมพันธอยางใกลชิดและสนับสนุนเกาหลีใต (สวนกรณีของเวียตนามนั้น จะละไวไมกลาวในที่นี้) คําประกาศของจีนดังที่เพิ่งกลาวถึงนี้สรางความไมพอใจใหกับญี่ปุนที่กลาวหาวา จีนแทรกแซงกิจการภายในของตน โดยแทจริงแลว สื่อมวลชนญี่ปุนไดเรียกรองใหรัฐบาลสรางความสัมพันธกับจีนใหใกลชิดขึ้นในชวง 2 – 3 ปกอนที่นิกสันจะเดินทางไปยังจีนเสียอีก โดยแนะนําวาไมควรใหความสนใจวาสหรัฐอเมริกาจะมีจุดยืนอยางไร ทั้งนี้สื่อมวลชนชาวอาทิตยอุทัยไดประเมินสถานการณของโลกในชวงนั้นแลววา นาจะสรางความรวมมือทางเศรษฐกิจตอจีนใหใกลชิดมากขึ้น จากนั้น รัฐบาลก็อนุญาตใหธนาคารสงออก – นาํเขาของญี่ปุนขยายเครดิตใหแกนักลงทุนที่จะไปลงทุนในจีน ตอมานักธุรกิจญี่ปุนจํานวนมากไดยอมรับเงื่อนไขทางการคา 4 ขอหลักที่รัฐบาลปกกิ่งประกาศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1971 คือ (1) บริษัทที่ทําการคากับจีนจะตองไมทําการคากับไตหวันและเกาหลีใต (2) บริษัทเหลานั้นจะตองไมลงทุนในสองประเทศนั้น (3) จะตองไมขายอาวุธใหทหารอเมริกันเพื่อใชทําสงครามในอินโดจีน และ (4) จะตองไมเปนบริษัทที่รวมทุนกับชาวอเมริกันในญี่ปุน เมื่อเวลาผานไปที่สหรัฐอเมริกากับจีนมีความสัมพันธกันดีข้ึน ความสัมพันธระหวางจีน – ญี่ปุนก็ยิ่งกระชับมากยิ่งขึ้นเปนลําดับเชนกัน ชาวญี่ปุนที่นิยมคอมมิวนิสตและพรรคสังคมนิยมของชาวบูชิโดไดเรียกรองใหสรางความสัมพันธทางการทูตกับจีนอยางเรงดวน รวมทั้งเรียกรองใหรัฐบาลกลาวคําขอโทษตอการกระทําในอดีตของกองทัพญี่ปุนตอจีน จากนั้นตอมา นายทาเกโอ ฟูกูดะ

Page 97: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

97

รัฐมนตรีวาการกระทรวงตางประเทศไดประกาศเมื่อตนเดือนมีนาคม ค.ศ. 1972 วา “เราจะทําการวิพากษตนเองและขอโทษตอจีน” ในขอผิดพลาดที่ไดกระทําขึ้นในเหตุการณที่แมนจูเรียเมื่อ ค.ศ. 1931 และในสงครามจีน – ญี่ปุนในระหวาง ค.ศ. 1937 – 1945 แตไดรับการคัดคานจากนายกรัฐมนตรีซาโตะ ผูซึ่งเคยเปนนักเรียนรวมรุนกับเจียง ไคเช็ค เมื่อนายซาโตะลาออก นายคากูอิ ทานากะไดรับเลือกใหเปนผูนําญี่ปุนแทน จึงไดเดินทางไปเยือนจีนอยางเปนทางการในวันที่ 25 กันยายน ค.ศ. 1972 และไดเซ็นสนธิสัญญาความรวมมือกับจีน โดยตัดความสัมพันธกับไตหวัน ใหคงเหลือไวแตตัวแทนการคาทําหนาที่ในดานเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว มรดกของความขัดแยง: กรณีหมูเกาะตี้ยวยวี๋ หมู เกาะเตี้ยวยว๋ี (Diaoyu) หรือที่ เรียกในภาษาญี่ปุนวา หมู เกาะเซนกากุ (Senkaku) ประกอบดวยเกาะขนาดเล็กจํานวน 8 เกาะ มีพ้ืนที่รวมกันราว 6.3 ตารางกิโลเมตร ไมมีผูคนอาศัยอยู ตั้งอยูในบริเวณทะเลจีนตะวันออก หางจากทิศตะวันตกเฉียงใตของเกาะโอกินาวาประมาณ 300 กิโลเมตร และหางจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไตหวันราว 200 กิโลเมตร ในอดีต ไมเปนที่สนใจทั้งของจีน ไตหวัน และญี่ปุนเพราะเปนเกาะราง ตอมา เมื่อคณะกรรมการสํารวจทรัพยากรแรธาตุในบริเวณชายฝงเอเชีย ที่ตั้งขึ้นโดยคณะกรรมการทางเศรษฐกิจสําหรับภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกล (ECAFE หรือปจจุบันเรียกวา ESCAP – Economic and Social Commission for Asia and Pacific) ไดประกาศเมี่อป ค.ศ. 1969 วา บริเวณนี้เปนแหลงที่มีสัตวน้ําชุกชุม และมีปริมาณน้ํามันอยูราวหลักแสนถึงหนึ่งลานบาเรล อนึ่ง ประมาณกันวาชาวประมงไตหวันสามารถจับสัตวน้ําในบริเวณนี้คิดเปนเงินราวปละ 65 ลานดอลลารสหรัฐ ทําใหทั้ง 3 ประเทศตางอางสิทธิเปนเจาของหมูเกาะเตี้ยวยว๋ี จีนไดอางกรรมสิทธิ์อยางเปนทางการเหนือหมูเกาะเมื่อตนทศวรรษ 1970 โดยยกประวัติศาสตรวา ไดครอบครองและควบคุมหมูเกาะแหงนี้นับตั้งแตสมัยราชวงศหมิง ในราว ค.ศ. 1403 แตถูกบังคับจําตองยกหมู เกาะนี้พรอมทั้งไตหวันใหแกญี่ปุนตามสนธิสัญญาชิโมโนเซกิในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1895 ภายหลังที่จีนแพสงครามกับญี่ปุน ตอมาเมื่อญี่ปุนยอมจํานนตอกองทัพสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง จึงจําเปนตองกระทําตามปฏิญญาปอตสดัมและปฏิญญาไคโรที่บังคับใหญี่ปุนตองคืน

Page 98: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

98

ดินแดนที่ยึดมาไดจากการรุกราน ไตหวันจึงกลับคืนเปนของจีน และหมูเกาะเตี้ยวยว๋ีซึ่งเปนสวนหนึ่งของไตหวันก็ตองตกเปนของจีนดวยสนธิสัญญาสันติภาพที่ลงนาม ณ.กรุงซานฟรานซิสโก (San Francisco Peace Treaty) เมื่อป ค.ศ. 1951 ที่ใหญี่ปุนคืนสิทธิในการครอบครองไตหวัน เกาหลี เกาะสักกาลินตอนใต และหมูเกาะสแปรตลี่ และพาราเซลใหแกเจาของเดิม อยางไรก็ตาม ญี่ปุนอางวา ชาวญี่ปุนไดคนพบหมูเกาะเตี้ยวยว๋ีมานานแลว และในตอนนั้นก็ไมพบวามีผูใดอาศัยอยู อีกทั้งไมพบรองรอยวาจีนเขาครอบครองหมูเกาะนี้มากอน รัฐบาลญี่ปุนจึงไดผนวกเขาเปนดินแดนของญี่ปุนในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของหมูเกาะริวกิวเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1895 กอนที่ญี่ปุนจะไดยึดไตหวันมาครอบครองตามสนธิสัญญาชิโมโนเซกิดวยการปกเสาธงวามีอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนเกาะเหลานี้ อนึ่ง มีชาวญี่ปุนชื่อทสึซิโร โคกะไดเดินทางไปยังเกาะเหลานี้เปนประจําเปนเวลาหลายป ตอมา ภายหลังที่สหรัฐอเมริกาถอนตัวจากการยึดครองญี่ปุนในป ค.ศ. 1952 แตก็ยังคงปกครองหมูเกาะริวกิว (ซึ่งเปนจังหวัดโอกินาวาในปจจุบัน) จนกระทั่งป ค.ศ. 1971 จากนั้นจึงไดคืนใหแกญี่ปุนพรอมกับมอบหมูเกาะเซนกากุใหอยูในการควบคุมการบริหารของญี่ปุน ทําใหไตหวันและจีนประทวง แตสหรัฐอเมริกากลาววา การโอนการควบคุมการบริหารไมเกี่ยวกับเรื่องการมีอธิปไตยเหนือหมูเกาะ (5) อยางไรก็ตาม การอางสิทธิ์ของจีนเหนือดินแดนเกาะเหลานี้ยังไมรุนแรงในชวงตนทั้งนี้เพราะจีนมีปญหาการชวงชิงอํานาจกันเองภายในประเทศ อีกทั้งจีนก็ยังตองพึ่งพาทุนและเทคโนโลยีจากญี่ปุนเพื่อนําไปใชในการพัฒนาประเทศ ดังเชน เมื่อจีนและญี่ปุนลงนามสนธิสัญญาสันติภาพตอกันในป ค.ศ. 1978 เติ้ง เสี่ยวผิง ผูนําจีนไดใหคํามั่นวา จะไมใหกรณีพิพาทเรื่องหมูเกาะเหลานี้เปนอุปสรรคตอความสัมพันธระหวางประเทศทั้งสอง ทําใหปญหานี้ไดรับการปลอยไวไมใหลุกลามเปนเรื่องใหญโตในชวงทศวรรษ 1970 และ 1980 ขอขัดแยงในการอางกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะดังกลาวไดทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยมาและกลายเปนประเด็นเผ็ดรอนขึ้นนับตั้งแตตอนตนทศวรรษที่ 1990 เมื่อประธานาธิบดีเจียง เจอหมิน ของจีนไดย้ําถึงสิทธิในการครอบครองในคําปราศรัยหลายครั้งในขณะที่เขาเดินทางไปเยือนญี่ปุนอยางเปนทางการในเดือนเมษายน ค.ศ. 1992 อยางไรก็ตาม ญี่ปุนไดย้ําเสมอวา หมูเกาะดังกลาวไดรวมเขาอยูในราชอาณาจักรญี่ปุนมาตั้งแต ค.ศ. 1895 และไดรับการยืนยันสิทธิการครอบครองอีกครั้งในสนธิสัญญาซานฟรานซิสโก ค.ศ. 1951 มาตรา

Page 99: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

99

3 (ที่ระบุวา Diaoyu islands, another uninhabited island to the south of the Daito islands was added to the Daito group as Okino Daitojima in 1900) แตจีนไมยอมรับ ดวยเหตุนี้ขอขัดแยงในการมีสิทธิ์เหนือหมูเกาะเตี้ยวยว๋ีจึงยังไมไดรับการแกไข และยังคงเปนปญหาระหวางประเทศทั้งสองมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เศรษฐกิจและการเมืองในยุคเต้ิง เสี่ยวผิง

นายเติ้ง เสี่ยวผิงเปนผูนําของจีนในชวงป ค.ศ. 1977 – 1992 แมเขาจะไมไดดํารงตําแหนงเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต หรือเปนนายกรัฐมนตรี แตชายรางเล็กที่มีความสูงเพียง 150 เซนติเมตรไดยึดอํานาจในพรรคเมื่อนายฮวา กวอเฟงถูกกดดันใหลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรี นายจาว จ่ือ หยาง คนสนิทของเติ้งก็ไดข้ึนเปนนายกรัฐมนตรีแทน ทําใหเติ้งไดครอบครองอํานาจเปนผูนําประเทศโดยพฤตินัยอยางแทจริง

เติ้งไดลดบทบาทของอุดมการณและแนวความคิดของเหมา เจอตุง โดยวิจารณวาประธานเหมาดําเนินนโยบายถูกตองเพียงรอยละ 70 แตผิดพลาดถึงรอยละ 30 อีกทั้งเขาตองการสรางผูนํารุนใหมใหมีลักษณะเปนผูนํารวม (collective leadership) ข้ึนมาดําเนินนโยบายสี่ทันสมัย นั่นคือ การพัฒนาจีนใหเปนประเทศสังคมทันสมัยสี่ดาน ไดแก เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การทหาร และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อีกทั้งไดเปดประเทศติดตอกับตางประเทศมากขึ้น มีการซื้อเครื่องจักร และเทคโนโลยีใหมๆ จากประเทศตะวันตกและจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ึนที่ เซินเจิ้น ซัวเถา จูไห และเซียะเหมินเพื่อดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศ เพื่อการถายทอดเทคโนโลยี ขยายการสงออก และลดการวางงาน เมื่อเปดโอกาสเชนนี้ นักลงทุนจากญี่ปุนและจากประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากฮองกงและไตหวันยอมไมละโอกาสทอง ตางพากันเขาไปลงทุนในเขตพิเศษเหลานี้เปนจํานวนมาก

เติ้งมีปรัชญาที่จะสรางสรรคจีนใหเปน “สังคมนิยมที่เจริญรุงเรืองและทันสมัย” เขาย้ําวา ความยากจนมิใชเปาหมายของการเปนสังคมคอมมิวนิสต ดังนั้น จึงตองพัฒนาพลังการผลิตของทั้งสังคม นั่นคือ การกลับคืนไปสูเศรษฐกิจของเอกชน และย้ําวาทะที่วา “ไมวาแมวจะสีดําหรือสีขาว ขอใหจับหนูไดเปนพอ”

Page 100: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

100

ตอมา ผูนําจีนไดเปดเมืองทา 14 เมืองตลอดชายฝงตะวันออกใหเปนเขตอุตสาหกรรมพิเศษสําหรับการลงทุนของตางชาติ และไดพัฒนาพื้นที่บริเวณปากแมน้ําแยงซีเกียงและบริเวณปากแมน้ําจูเจียงใหเปนเขตอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก

ในดานการเกษตรนั้น มีการลงทุนดานเครื่องจักรกลทางการเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิต ประกาศยุบคอมมูนหรือนารวม โดยใหชาวนาเชาทําและสรางแรงจูงใจตอเกษตรกรดวยการใหรางวัลหรือยกที่ดินบางสวนใหแตละครอบครัวรับผิดชอบ โดยมีเงื่อนไขวาจะตองผลิตพืชผลขายใหกับทางการในจํานวนที่แนนอนจํานวนหนึ่ง หากผลผลิตไดเกินจํานวนนั้นก็ถือวาเปนของสวนตัวสามารถนําไปขายในตลาดนัดในชนบทหรือขายใหกับทางการในราคาที่ตอรองกันได ระบบนี้เรียกวา ระบบความรับผิดชอบ (responsibility system) ในป ค.ศ. 1984 พรรคคอมมิวนิสตไดมีมติขยายระยะเวลาการเชาที่ดินจาก 3.5 ปเปน 15 ป เพื่อสรางความมั่นใจวาการเชาที่ดินสามารถทําไดตอไปแมจะมีการเปลี่ยนตัวผูนํา พรรคคอมมิวนิสตไดเรงปฏิรูปภาคเกษตรกรรม โดยเปลี่ยนจากระบบการผลิตเพื่อยังชีพมาเปนการผลิตเพื่อขาย สงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ และสนับสนุนใหครัวเรือนเกษตรกรประกอบธุรกิจอยางอื่นดวย ทั้งที่เปนหัตถกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือน และการบริการ อีกทั้งสงเสริมใหหมูบานเปดโรงงานตามคําขวัญที่วา “หนึ่งโรงงานหนึ่งหมูบาน” ใน ค.ศ. 1985 อุตสาหกรรมในชนบทวาจางแรงงานราว 60 ลานคน และเพิ่มเปน 136 ลานคนใน ค.ศ. 1996 อยางไรก็ตาม ก็มีปญหาตางๆ ตามมาเชนกัน ไดแก เกิดความตึงเครียดในชนบท มีความเหลื่อมล้ําทางดานรายได ความสามัคคีในชุมชนลดลง และมีการชุมนุมประทวงเจาหนาที่ของรัฐในการกําหนดภาษีอากรที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เปนตน ในดานการปฏิรูปอุตสาหกรรมนั้น ไดมีการลดอํานาจของสวนกลางในการตัดสินใจและการบริหารไปยังผูจัดการวิสาหกิจของรัฐมากขึ้นแทนการวางแผนและควบคุมจากพรรคคอมมิวนิสต สวนอุตสาหกรรมที่มวลชนเปนเจาของ เชน ตําบลหรือหมูบาน ก็ใหดําเนินการเปนรูปของบริษัท วิสาหกิจทั้งหมดที่ตองรับผิดชอบตอกําไรและขาดทุนเองหากมีกําไรก็อาจนําผลกําไรสวนหนึ่งมาลงทุนตอ หรือจายเปนโบนัสอันเปนการเพิ่มแรงจูงใจแกคนงาน แตหากขาดทุนติตตอกันหลายป ก็อาจจะปด อนึ่ง มีการ

Page 101: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

101

สนับสนุนใหเอกชนเปนเจาของอุตสาหกรรมในการปฏิรูปในกลางทศวรรษ 1980 ทําใหภาคเอกชนตางริเริ่มประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม ในยุคเติ้งนี้ การเมืองของจีนก็เปลี่ยนแปลงไปเชนกัน กลาวคือ ตําแหนงประธานาธิบดีหรือประธานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเปนประมุขของประเทศนั้น ในชวงแรก ไดแก เหมา เจอตุง ดํารงตําแหนงในระหวาง ค.ศ. 1949 – 1959 หลิว เฉาฉีเปนคนตอมาโดยดํารงอยูในตําแหนงระหวางป ค.ศ. 1959 – 1966 จากนั้น ก็ยุบตําแหนงนี้ไป จนกระทั่งเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1982 สภาประชาชนแหงชาติไดลงมติรับรองรัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึ่งรื้อฟนตําแหนงประธานหรือประธานาธิบดีข้ึนมาใหม โดยนายหลี่ เซียนเนี่ยมไดรับเลือกใหดํารงตําแหนง (ระหวางป ค.ศ. 1983 – 1988) นายหยาง ซางคุนไดเปนประธานาธิบดีคนที่ 4 (ระหวาง ป ค.ศ. 1988 – 1992) และนายเจียง เจอ หมินเปนคนที่ 5 (ระหวางป ค.ศ. 1992 – 2002) ปจจุบัน นายหู จินเทาไดดํารงตําแหนงนี้นับตั้งแต ค.ศ. 2002 เปนตนมา ทั้งนี้ทั้งนั้น ผูนําประเทศดังกลาวมาขางตนตางเปนบุคคลที่เติ้ง เสี่ยวผิงใหการหนุนหลังใหไดรับตําแหนงแทบทั้งสิ้น ยกเวนนายหู จินเทา ผูซึ่งมีบทบาทโดดเดนทางการเมืองในยุคหลังการเสียชีวิตของเติ้งในป ค.ศ. 1997 อยางไรก็ตาม จุดดางในชวงการเปนผูนําในยุคเติ้งก็คือ เหตุการณนองเลือดที่เกิดจากการปราบปรามนักศึกษาจีนโดยกองทัพปลดแอกประชาชนที่จตุรัสเทียนอันเหมินระหวางวันที่ 3 – 8 มิถุนายน ค.ศ. 1989 โดยประธานาธิบดีหยาง ซางคุนไดสั่งทหารเขาจับกุมนักศึกษาที่ชุมนุมประทวง เกิดการปะทะกันขึ้น ทําใหนักศึกษาและประชาชนเสียชีวิตหลายพันคน สวนทหารเสียชีวิตหลายรอยคน มีการจับกุมผูนํานักศึกษามากมายและที่เหลือก็หนีหัวซุกหัวซุน เหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นเปนผลมาจากการที่เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต คือนายหู เยาปง มีความเห็นวา จีนไดพัฒนาใหทันสมัยอยางรวดเร็วและตอเนื่อง จึงตองเปดโอกาสใหมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น อีกทั้งเขาไดสนับสนุนใหปญญาชนและอาจารยมหาวิทยาลัยจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางเสรีใน ค.ศ. 1986 แตการแสดงความคิดเห็นอยางเสรีนําไปสูการเรียกรองเสรีภาพทางการเมืองและประชาธิปไตย ทางการไดเขาจับกุม แตก็ปลอยตัวออกมาหลายตอหลายครั้ง จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1989 นักศึกษาไดทําการเดินขบวนเรียกรองประชาธิปไตย และเสรีภาพมากขึ้นภายหลังการอาสัญกรรมของนายหยาง ซางคุนในตอนตนปและมีนักศึกษาจากเมืองใหญหลายเมืองไดรวมเดินขบวนเรียกรองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และในที่สุดก็

Page 102: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

102

มารวมพลปกหลักอยูที่จัตุรัสเทียนอันเหมินในนครปกกิ่ง รวมทั้งปฏิเสธคําสั่งของทางการใหสลายตัวในที่สุดการนองเลือดก็มาถึง ซึ่งเหตุการณดังกลาวไดสรางความตกตะลึงใหแกชาวโลก ดังนั้น สหรัฐอเมริกาและประเทศตะวันตกไดลงมติคว่ําบาตร และระงับการติดตออยางเปนทางการในระดับสูงกับรัฐบาลจีน รวมทั้งประณามจีนในรูปแบบตางๆ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นในชวงทศวรรษที่ 1980 – 1990 สงผลใหเกิดขอขัดแยงในดานทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม และจริยธรรม ทั้งนี้ การพัฒนาประเทศตามนโยบายสี่ทันสมัย ทําใหเศรษฐกิจของจีนเจริญเติบโตและขยายตัวไปกวาเดิมมาก มีความกาวหนาทางวัตถุเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ผูคนมีวิถีการดําเนินชีวิตเปลี่ยนไป และสังคมเปดกวางขึ้นตอวัฒนธรรมตางชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งวัฒนธรรมตะวันตก รวมทั้งการแพรเขามาของคานิยมทางวัตถุและเงินตรา นอกจากนี้ กลุมพอคาและผูประกอบการรายยอยมีลูทางและโอกาสในการแสวงหาเงินและความมั่งคั่ง ผูที่ทํางานในบริษัททั้งของรัฐและเอกชน รวมทั้งในบริษัทที่รวมทุนกับตางชาติ ชางฝมือ ผูใชแรงงาน และผูประกอบอาชีพอิสระตางมีรายไดเพิ่มมากขึ้น ในทางตรงกันขาม ขาราชการ อาจารยมหาวิทยาลัย และนักวิชาการ ซึ่งเคยมีสถานภาพสูงทางเศรษฐกิจและสังคมกลับมีสถานภาพต่ําลง และมีรายไดไมพอเลี้ยงชีพ ในขณะที่ราคาขาวของก็แพงขึ้นอันเปนผลมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไดทรงแปลนวนิยายชื่อ เมฆเหินน้ําไหล ซึ่งเปนผลงานการเขียนของฟงฟง ที่สะทอนใหเห็นถึงความขัดแยงดังกลาวและการปรับตัวของชาวจีนรุนเกาใหเขากับกระแสความเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีทั้งผูที่ปรับตัวไดและผูที่ลมเหลว จุดเนนของนวนิยายเรื่องนี้อยูที่สังคมปญญาชน โดยปญญาชนรุนเกากับรุนใหมมีอุดมคติและระบบคุณคา (คานิยม) ที่แตกตางกัน คุณคาเดิมเนนความรูและคุณธรรม อันเปนคุณสมบัติของนักปราชญ คุณคานี้ถูกทาทายจากวัฒนธรรมใหมที่มีความพึงพอใจทางวัตถุเปนอุดมคติสูงสุด

กลาวโดยสรุป ภายหลังที่จีนเปลี่ยนการปกครองเปนแบบคอมมิวนิสตในป ค.ศ. 1949 จีนไดกาวไปสูการเปลี่ยนผานครั้งสําคัญ โดยไดประกาศใชนโยบายโดดเดี่ยว กลาวคือตัดขาดการติดตอกับโลกตะวันตกที่เนนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบทุนนิยมอยางสิ้นเชิง เพื่อทําการฟนฟูการผลิตใหเขาสูระบบสังคมนิยม อันไดแก

Page 103: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

103

การออกกฎหมายการปฏิรูปที่ดิน และเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ปจจัยการผลิตที่เปนของธุรกิจเอกชนมาเปนของรัฐ จากนั้น ไดประกาศใชแผนพัฒนาหาปฉบับแรก (ค.ศ. 1953 – 1957) ซึ่งไดเลียนแบบของสหภาพโซเวียต แตการดําเนินงานตามแผนพัฒนาไมคอยบรรลุผล ตอมาประธานเหมา เจอตุงจึงไดเสนอนโยบายเศรษฐกิจที่เรียกวา ธงแดง 3 ผืน ทําใหภาวะเศรษฐกิจกระเตื้องขึ้นบาง แตเหลาผูนําบางคนก็กลาววา นโยบายกาวกระโดดประสบความลมเหลว กอใหเกิดความทุกขยากและขาดอาหารในระหวางป ค.ศ. 1960 – 1962 ดังนั้น หลิว เสาฉีและเติ้ง เสี่ยวผิงจึงไดเขามาแกไขดวยการกระตุนใหมีการผลิตมากขึ้น กลาวคือ ไดคืนที่ดินขนาดเล็กบางสวนใหแกเอกชน เปดตลาดนัดในชนบท ฯลฯ รวมทั้งวิพากษวิจารณเหมา เจอตุง ทําใหประธานเหมาไมพอใจเพราะเปนการรื้อฟน “ทุนนิยม” และ ลัทธิแก (Revisionism) ข้ึนมาอีก จึงไดรวมมือกับหลิน เปยว รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมจัดตั้งนักศึกษาและเยาวชนเปน ผูพิทักษแดงหรือขบวนการเร็ดการด นําชาติไปสูการปฏิวัติทางวัฒนธรรมดวยการวิพากษวิจารณกลุมผูนําและกลุมคนที่เปน “เศษเสี้ยวของทุนนิยม” ทุกระดับ รวมทั้งไดปลดหลิว เสาฉี และเติ้ง เสี่ยวผิงออกจากตําแหนง

ตอมา มีการจัดตั้งคณะกรรมการปฏิวัติ ที่เปนตัวแทนของพรรคคอมมิวนิสตจีน ผูแทนจากกองทัพและผูแทนจากมวลชน ตอมา ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1969 ไดมีการตั้งนายพลหลิน เปยวเปนทายาททางการเมืองของประธานเหมาในที่ประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตจีนครั้งที่ 9 สวนสมาชิกที่สนับสนุนเหมาที่เรียกวา “แกง 4 คน” ก็ไดรับแตงตั้งเปนสมาชิกของคณะกรรมการการเมืองของพรรคอีกดวย

ความขัดแยงระหวางผูนําไดเกิดขึ้นอีกครั้งเมื่อฝายทหารภายใตการนําของหลิน เปยวพยายามเขาครอบงําอํานาจทางการเมือง ในขณะที่ผูนําฝายพลเรือน โดยเฉพาะอยางยิ่งเหมา เจอตุงและนายกรัฐมนตรีโจว เอินไหลตองการลดบทบาททางการเมืองของทหารตามหลักการ “พรรคตองควบคุมปากกระบอกปน” ทําใหหลิน เปยวและพวกวางแผนยึดอํานาจดวยการเตรียมการลอบสังหารเหมา เจอตุง เมื่อไมสําเร็จก็หนีไปทางเครื่องบิน แตเครื่องบินไปตกในมองโกเลียและเสียชีวิตทั้งหมดในเดือนกันยายน ค.ศ. 1971

โจว เอินไหลไดดึงเติ้ง เสี่ยวผิงกลับมาชวยบริหารประเทศในตําแหนงรองนายกรัฐมนตรี ตอมาโจว เอินไหลถึงแกกรรมในตนป ค.ศ. 1976 ความขัดแยงระหวาง

Page 104: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

104

เหลาผูนําก็ปะทุข้ึนอีกครั้ง โดยประชาชนไดนําพวงหรีดไปไวอาลัยอดีตนายกรัฐมนตรีที่อนุสาวรียวีรชนในกลางจัตุรัสเทียนอันเหมิน แตพวงหรีดเหลานั้นถูกเก็บ ประชาชนไดทําการประทวง จึงมีการจับกุมประชาชนขึ้น และมีการกลาวหาวาเติ้ง เสี่ยวผิงอยูเบื้องหลังเหตุการณเหลานี้ เขาจึงถูกปลดออกจากทุกตําแหนง นายฮวา กวอเฟงจึงเขาทําหนาที่ในการประนีประนอมและไดรับตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรีสืบแทนตอจากโจว เอินไหล

เมื่อประธานเหมาถึงแกกรรมในเดือนกันยายน ค.ศ. 1976 นายกรัฐมนตรีไดสั่งจับกุมแกง 4 คนไดทั้งหมดในเดือนตุลาคม และในที่สุด ฮวา กวอเฟงก็ไดเขาดํารงตําแหนงประธานพรรคคอมมิวนิสตจีนอีกตําแหนงหนึ่ง เขาจึงไดนําเติ้ง เสี่ยวผิงกลับมาเปนรองนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง

ในด านกิจการต างประ เทศนั้น ได เกิดการ เปลี่ ยนแปลงครั้ ง ใหญ เมื่ อประธานาธิบดีริชารด นิกสันไดเดินทางมาเยือนจีนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1971 ติดตามดวยการเยี่ยมเยือนของนายกรัฐมนตรีญี่ปุนชื่อนายทานากะในปลายป ค.ศ. 1972 ซึ่งเปนจุดเปลี่ยนผานครั้งสําคัญที่จีนไดเปดประเทศตอนรับผูนําชาติตะวันตกและญี่ปุน และในที่สุดจีนก็ปรับใชนโยบายสังคมนิยมแบบจีนเมื่อเติ้ง เสี่ยวผิงไดประกาศใชนโยบาย 4 ทันสมัย ดังที่กลาวอยางละเอียดแลวขางตน ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนในยุคเต้ิง เสี่ยวผิงและยุคเจียง เจอหมิน นายกรัฐมนตรีทานากะของญี่ปุนไดเดินทางไปเยือนจีนอยางเปนทางการใน ป ค.ศ. 1972 และไดตัดความสัมพันธทางการทูตกับไตหวัน แตยังคงรักษาความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับไตหวัน โดยไดเปลี่ยนสถานทูตและสถานกงสุลญี่ปุนในไตหวันใหมีสถานภาพเปนกึ่งเอกชนภายใตชื่อวา Japanese Interchange Association ทําหนาที่ประสานงานในเรื่องความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคา สวนสถานทูตไตหวันในญี่ปุนไดเปลี่ยนสถานะเปน East Asia Relations Association ทําหนาที่ดูแลเรื่องความสัมพันธทางการคางระหวางกัน จากนั้น จีนและญี่ปุนก็สถาปนาทางการทูตโดยทันที ภายหลังการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตแลว มูลคาทางการคาระหวางสองประเทศเพิ่มขึ้นจาก 1.2 พันลานเหรียญใน ค.ศ. 1972 เปน 3.8 พันลานเหรียญใน ค.ศ.

Page 105: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

105

1975 ญี่ปุนเปนประเทศคูคารายใหญกับจีนเปนอันดับสองรองจากฮองกง อยางไรก็ตาม กิจกรรมทางดานการคาและการลงทุนของญี่ปุนในจีนชะลอตัวลงเนื่องมาจากความไรเสถียรภาพทางดานการเมืองเพราะเหลาผูนําของจีนตางชวงชิงแยงอํานาจกันตลอดเวลา และการขาดเงินทุนที่จะตองใชในโครงการพัฒนาขนาดใหญ รวมทั้งความสามารถอันจํากัดที่จะดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศของจีนในขณะนั้น จนกระทั่งถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1978 จีนและญี่ปุนก็บรรลุขอตกลงและลงนามสนธิสัญญาสันติภาพ ดังมีสาระสรุปได คือ (1) การอยูรวมกันอยางสันติดวยหลักหาประการ คือ เคารพอธิปไตยบูรณาการแหงดินแดน การไมรุกราน การไมแทรกแซงกิจการภายใน ความเสมอภาคและผลประโยชนของกันและกัน และการเคารพซึ่งกันและกัน (2) ไมแสวงหาความเปนเจา (hegemony) ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟค (3) สงเสริมความสัมพันธทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนประชากรระหวางกัน (การไปมาหาสูกัน) ในขณะเดียวกัน ทั้งสองประเทศลงนามขอตกลงทางการคาระยะยาว หรือเปนเวลา 8 ป โดยไดกําหนดเปาหมายใหมูลคาทางการคาในชวงป ค.ศ. 1978 – 1985 บรรลุถึงสองหมื่นลานเหรียญสหรัฐฯ อีกทั้งระบุดวยวา ญี่ปุนจะตั้งโรงงานและสงเทคโนโลยีไปยังจีนดวยมูลคาราว 7 – 8 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และวัสดุกอสรางและเครื่องจักรอีกราว 2 – 3 พันลานเหรียญ สวนจีนจะสงถานหิน 8 – 9 พันลานตัน และน้ํามันดิบราว 47.1 ลานตันไปยังญี่ปุน ขอตกลงนี้เปนผลใหแนวความคิดเกี่ยวกับการมีผลประโยชนรวมกันเปนที่ยอมรับอยางเปนทางการเปนครั้งแรก

ขอตกลงทั้งสองฉบับดังกลาวชวยใหเกิดการขยายความสัมพันธระหวางกันในยุคที่จีนดําเนินการตามนโยบายสี่ทันสมัยและไดกระตุนใหมีการทําขอตกลงทางเศรษฐกิจในดานตางๆ ทั้งในดานเงินทุน ความชวยเหลือทางดานเทคนิค และการเปนหุนสวนรวมลงทุนสงผลใหปริมาณการคาระหวางกันเพิ่มขึ้น 10 เทาตัว มีมูลคากวาหนึ่งหมื่นลานเหรียญ และจํานวนคนจีนและญี่ปุนเดินทางไปมาหาสูกันเพิ่มขึ้นเปน 20 เทาในรอบ 10 ป นับไดวา ความสัมพันธทางเศรษฐกิจในชวงนี้ไดรับผลสําเร็จตรงตามเปาหมายที่ทั้งสองประเทศไดตั้งไว

อยางไรก็ตาม ความสัมพันธทางการเมืองกลับเสื่อมทรามลงในตอนกลางทศวรรษ 1980 ทั้งนี้เปนเพราะกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุนไดเตรียมการแกไขตําราประวัติศาสตรระดับชั้นมัธยม โดยเปลี่ยนคําวา “การรุกราน” เปน “การเขาไป” ของ

Page 106: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

106

ทหารญี่ปุนในยุคที่ทําสงครามกับจีนเพื่อลดพฤติกรรมที่รุกรานและโหดรายใหเบาบางลงไป อันจะทําใหเด็กญี่ปุนรุนใหมเห็นวา การกระทําของจักรวรรดินิยมญี่ปุนไมไดสรางความเจ็บปวดใหชาติเพื่อนบาน เมื่อขาวเรื่องนี้เผยแพรในป ค.ศ. 1982 ตอมา ในป ค.ศ. 1986 สื่อมวลชนของจีนไดประโคมขาว รวมทั้งทําการรณรงคตอตาน ในขณะที่ผูนําจีนก็ไดวิพากษวิจารณวาญี่ปุนกําลังบิดเบือนขอมูลประวัติศาสตรความโหดรายของตนเอง

สถานการณไดเลวรายลงไปอีกเมื่อนายกรัฐมนตรีญี่ปุน นายยาสุฮิโร นากาโซเน ไดเดินทางไปคารวะที่ศาลเจายาสุคุนิ (Yasukuni shrine) อยางเปนทางการในวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1985 ทําใหคนจีนโกรธแคนยิ่งขึ้น เพราะเชื่อวาญี่ปุนอาจรื้อฟนลัทธิทหารนิยมขึ้นมาอีกครั้ง สวนทางดานเศรษฐกิจในชวงกลางทศวรรษที่ 1980 ก็ไมราบรื่นเพราะจีนประสบกับการขาดดุลการคากับญี่ปุนจํานวนมหาศาล กลาวคือ ในป ค.ศ. 1984 ขาดดุลคิดเปนมูลคา 12,500 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และเพิ่มเปน 28,400 ลานเหรียญในชวงหกเดือนแรกของป ค.ศ. 1985 เหตุการณเหลานี้ไดสงผลใหนักศึกษาจีนออกมาเดินขบวนประทวงญี่ปุนตามเมืองใหญๆ ทั่วประเทศ แมสถานการณไมบานปลายแตความรูสึกเปนปฏิปกษตอญี่ปุนยังคงคุกรุนเรื่อยมา จนกระทั่งนายกรัฐมนตรีโนโบรุ ทาเกะชิตะเดินทางไปเยือนจีนในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1988 เพื่อรวมงานเฉลิมฉลองครบรอบ 10 ปของการลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพ อีกทั้งรัฐบาลญี่ปุนไดเสนอใหเงินกูราว 6,000 ลานเหรียญสหรัฐ (ราว 8.1 ลานลานเยน) ในชวง ค.ศ. 1990 – 1995 ซึ่งเปนเงินกูกอนใหญครั้งที่ 3 (ครั้งแรกเปนเงินกูในชวงป ค.ศ. 1979 – 1983 และครั้งที่สองในชวง ค.ศ. 1984 – 1990 จํานวนเงิน 3.3 และ 4.7 ลานลานเยน) ทําใหผูนําจีน นายเติ้ง เสี่ยวผิงไดกลาวตอนายกรัฐมนตรีญี่ปุนวา “ความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ญี่ปุนนํามาครั้งนี้มิใชสิ่งเล็กนอยเลยและเราขอแสดงการตอนรับและขอบคุณจากใจ” ในขณะที่เสียงวิพากษวิจารณญี่ปุนวา ญี่ปุนเนนแตขายสินคาบริโภคใหแกจีนมากเกินไป แตซื้อสินคาและลงทุนในจีนนอยเกินไปนั้นเริ่มแผวลงไปเรื่อยๆ

ปฏิกริยาของญี่ปุนตอเหตุการณเทียนอันเหมินเมื่อป ค.ศ. 1989 ไมรุนแรงเทากับของประเทศตะวันตก โดยญี่ปุนไดดําเนินการบางสวนตามขอตกลง G-7 เชน ระงับโครงการเงินกูครั้งที่ 3 แตไมไดคว่ําบาตรการติดตอทางการคาและการลงทุนในจีน เมื่อเหตุการณผานไป นักธุรกิจญี่ปุนก็เขาไปลงทุนในจีนมากยิ่งขึ้นและนายกรัฐมนตรีไคฟูก็เดินทางไปเยือนจีนใน ค.ศ. 1991 ทําใหจีนพอใจในทาทีและการจัดการเกี่ยวกับ

Page 107: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

107

เหตุการณเทียนอันเหมินของญี่ปุน อนึ่ง จีนยิ่งใกลชิดกับญี่ปุนมากขึ้นเมื่อจักรพรรดิและจักรพรรดินีเสด็จเยือนจีนอยางเปนทางการ ในการเยือนครั้งนี้ พระองคไดตําหนิพฤติกรรมทารุณโหดรายของทหารญี่ปุนตอจีนในชวงกอนและระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง ดวยการระบุวา พระองคเสียใจอยางลึกซึ้งตอเหตุการณที่เกิดขึ้นกับชาวจีน และมุงหวังจะสถาปนาความสัมพันธใกลชิดเพื่อสันติภาพและความรุงเรืองของประเทศทั้งสอง

ตอมา นายกรัฐมนตรีโฮโซคาวาไดเดินทางไปเยือนจีนในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1994 และไดกลาวคําขอโทษอยางเปนทางการสําหรับการรุกรานของญี่ปุนที่กระทําตอประเทศจีนในอดีต แตเขาก็ไดแสดงความกังวลในเรื่องที่จีนสรางแสนยานุภาพทางการทหารใหทันสมัย และนายกรัฐมนตรีญี่ปุนคนถัดๆ มาตางก็กลาวกันไปในทิศทางเดียวกัน ในขณะที่จีนไดตอบโตวา ญี่ปุนรวมมือกับสหรัฐอเมริกาสงเสริมทฤษฎีภัยคุกคามจากจีน (Chinese Threat) ที่มุงเปาในการวิพากษวิจารณจีน ความตึงเครียดทางการเมืองระหวางจีน - ญี่ปุนไดเพิ่มมากขึ้นอีกครั้งเมื่อหนังสือพิมพจีนตีพิมพขอมูลทางประวัติศาสตรเกี่ยวกับพฤติกรรมอันปาเถื่อนในเรื่องหองทดลองสงครามทางชีวภาพของญี่ปุนเมื่อป ค.ศ. 1994 โดยระบุวา หนวยบีโอ 8609 (Unit BO 8609) และหนวยลับ 731 ในแมนจูเรียของญี่ปุนไดทําใหเหยื่อชาวจีนหลายพันคนตองเสียชีวิตหลังจากถูกฉีดยาดวยเชื้อจุลินทรียชนิดตางๆ และเชื้อโรคที่ติดตอไดจากจากทดลองอยางลับๆ ในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหคนจีนกวารอยละ 56 มองญี่ปุนวามีบุคลิกที่โหดราย แตนักการเมืองฝายขวาจัดของญี่ปุนที่เปนฝายขวาจัดก็ตอบโตวา ความโหดรายตางๆ ที่ปรากฏในสื่อมวลชน รวมทั้งกรณี Rape of Nanging เปนเรื่องที่กุข้ึนมาทั้งสิ้น อีกทั้ง บางคนยังกลาววา การทําสงครามของญี่ปุนนั้นไมไดเปนการรุกราน แตเปนการชวยปลดปลอยประเทศในเอเชียใหหลุดพนจากการเปนอาณานิคมของชาติตะวันตกและยังชวยใหประเทศเหลานั้นสามารถพัฒนาประเทศไดในภายหลัง คํากลาวดังกลาวเปนการเพิ่มความไมพอใจใหกับจีนและเกาหลีเปนอยางยิ่ง ความบาดหมางใจระหวางประเทศทั้งสองเกิดขึ้นอีกเรื่องหนึ่งก็คือ ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1996 มีชาวญี่ปุนชาตินิยมกลุมหนึ่งไดไปสรางประภาคารและอนุสาวรียข้ึนที่เกาะเตี้ยวยว๋ี จีนและไตหวันจึงทําการประทวง โดยจีนไดเตือนญี่ปุนวาจะกอใหเกิดผลเสียหายอันรายแรงตอความสัมพันธระหวางกัน แตรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ

Page 108: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

108

ตางประเทศ ญี่ปุนอางวา รัฐบาลไมมีสวนรูเห็นกับการกระทําของคนกลุมดังกลาว ซึ่งเปนเยาวชนที่เดินทางไปยังหมูเกาะนั้น ตอมาป ค.ศ. 1978 ทั้งสองประเทศไดลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพ โดยเติ้ง เสี่ยวผิงไดใหคํามั่นวา จะมิใหกรณีพิพาทเรื่องหมูเกาะเปนอุปสรรคตอความสัมพันธระหวางกัน อยางไรก็ตาม ในวันที่ 25 กุมภาพันธ ค.ศ. 1992 สภานิติบัญญัติของจีนไดระบุวา หมูเกาะเหลานี้เปนของจีนตามกฎหมายเกี่ยวกับอาณาเขตนานน้ําของจีน ญี่ปุนไดยื่นประทวงทันที อีกทั้งไดประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะซึ่งกินอาณาเขตรวมถึงหมูเกาะดังกลาวเชนกัน ตอมา ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1997 จีนและญี่ปุนสามารถทําขอตกลงโดยใหเก็บเรื่องที่วาประเทศใดควรเปนเจาของเกาะเอาไวกอน และใหสถาปนาเขตจัดการรวมกัน (Joint management zone) ที่กินพื้นที่กวาง 200 ไมล ซึ่งอนุญาตใหทั้งสองประเทศสามารถทําการประมงไดและรวมมือกันในการใชทรัพยากรในบริเวณดังกลาว ประการสุดทายเกี่ยวกับเรื่องไตหวัน โดยญี่ปุนยังคงติดตอและใหการยกยองผูนําไตหวันแมวาจะตัดความสัมพันธทางการทูตกับไตหวันมานานแลวก็ตาม ทั้งนี้เพราะไตหวันเคยตกเปนอาณานิคมของญี่ปุนในระหวาง ค.ศ. 1895 – 1945 คนไตหวันรุนเกาจํานวนมากที่ไดรับการศึกษาจากญี่ปุน สามารถพูดภาษาญี่ปุนได ดังเชน อดีตประธานาธิบดีไตหวัน นายลี เต็งฮุย อีกทั้งวัฒนธรรมญี่ปุนไดรับความนิยมในไตหวันมาก เชน หนังสือ นิตยสาร ฯลฯ อยางไรก็ตาม ปญหาที่เกิดขึ้นก็คือ จีนพยายามเตือนญี่ปุนมิใหใกลชิดกับนักการเมืองของไตหวันที่มักใชประโยชนจากความสัมพันธที่ใกลชิดกับญี่ปุนสรางลัทธิชาตินิยมและการแยกตัวออกเปนประเทศอิสระจากจีน ในขณะที่ความสัมพันธกับไตหวันเกี่ยวพันกับสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย อีกดวย ทําใหจีนไมคอยไววางใจญี่ปุนวาจะสนับสนุนนโยบายจีนเดียวของตนหรือไมเพียงใด ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี จีนและเกาหลีในยุคนี้มีความสัมพันธตอกันแตกตางจากอดีตกาล ทั้งนี้เพราะมี สถานการณและตัวแปรที่มาเกี่ยวของมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งการแยกคาบสมุทรออกเปนเกาหลีเหนือและเกาหลีใตภายหลังการไดรับเอกราชจากญี่ปุนอันเปนผลมาจากความแตกตางกันทางดานอุดมการณทางการเมือง การใหความชวยเหลือเกาหลีเหนือจาก

Page 109: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

109

จีนและสหภาพโซเวียต และเกาหลีใตจากสหรัฐอเมริกาและญี่ปุนซึ่งกอใหเกิดการแบงข้ัวการเมืองระหวางประเทศออกเปนสองขั้วในยุคสงครามเย็น และการเกิดสงครามเกาหลีในชวงป ค.ศ. 1950 – 1953 อันเปนการประลองยุทธกันระหวางประเทศโลกเสรีกับโลกคอมมิวนิสต ดวยเหตุนี้จึงจําเปนที่จะตองอธิบายความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลีเหนือ และจีนกับเกาหลีใตพอสังเขป ดังตอไปนี้

ก. จีนกับเกาหลีเหนือ (1) ความผูกพันทางประวัติศาสตร ทัศนคติของจีนตอเกาหลีเหนือเปนผลมาจาก

ความสัมพันธของจีน – เกาหลีนับตั้งแตครั้งโบราณกาลที่เกาหลีเปนรัฐบรรณาการของจีน กลาวโดยยอ รัฐบรรณาการเปนความสัมพันธที่เต็มไปดวยสิทธิและหนาที่โดยจีนจะเปนผูคุมครองดูแลและใหคําปรึกษาเสมือนหนึ่งพอแมหรือพ่ีชายใหแกนอง ในขณะที่เกาหลีจะใหการยอมรับ ความเคารพและเชื่อฟงเสมือนเปนพอแมหรือพ่ี เนื่องจากความสัมพันธเปนไปในลักษณะนี้ จีนจึงเรียกเกาหลีวา shupang ซึ่งหมายถึงรัฐพึ่งพาหรือรัฐใตอาณัติหรือเมืองนอง สวนเกาหลีจะเรียกจีนวา daeguk หมายถึงรัฐพี่หรือเมืองพี่ โดยกระทรวงการตางประเทศของราชวงศชิงไดอธิบายถึงสถานภาพของเกาหลีวา Korea, though a dependency of China, is completely autonomous in her politics, religions, and orders, China has never interfered it. ในอดีต จีนเปนชาติที่เกาหลีพ่ึงพาไดตลอดเวลา ดังตัวอยางเชน ในตอนที่โชกุนฮิเดโยชิ ของญี่ปุนยกกองทัพบุกเกาหลี เกาหลีไดขอรองใหจีนชวยเหลือ ซึ่งก็ไดรับการตอบรับเปนอยางดี จนมีการกลาวขวัญกันวา จีนและเกาหลีเปนครอบครัวเดียวกัน (China and Korea actually belong to the same family) ความรูสึกของการเปนบานพี่เมืองนองระหวางจีน - เกาหลียังคงมีปรากฏอยางเดนชัดในยุคตนของคริสตศตวรรษที่ 20 หรือในชวงที่คาบสมุทรเกาหลีตกอยูภายใตการเปนอาณานิคมของญี่ปุน และความสัมพันธไดกระชับมากยิ่งขึ้นในยุคสงครามเย็นเมื่อจีนและเกาหลีเหนือตางยึดมั่นในระบบการปกครองแบบเดียวกัน ซึ่งเปนคนละพวกกับเกาหลีใต ญี่ปุน สหรัฐฯ และประเทศตะวันตกที่ยึดถือระบบประชาธิปไตยแบบทุนนิยม ตอมา ในยุคหลังสงครามเย็น เกาหลีเหนือก็ยิ่งมีความใกลชิดกับจีนมากขึ้น ทั้งนี้เพราะจีนยังคงทําหนาที่เปนเสมือนพี่ใหญที่คอยปกปองเกาหลีเหนือเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน

Page 110: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

110

ในทางตรงกันขาม แมเกาหลีใตซึ่งรวมประวัติศาสตรเดียวกันกับเกาหลีเหนือและมีทัศนคติเปนบานพี่ – เมืองนองกับจีนในอดีต แตพอถึงตอนกลางคริสตศตวรรษที่ 20 เมื่อเกาหลีใตไดปรับใชระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทําใหความสัมพันธกับจีนเหินหางกันขึ้นในชวงแรกของการกอตั้งประเทศตั้งแตป ค.ศ. 1948 ตอมา ความสัมพันธไดเลวรายลงเมื่อจีนใหการสนับสนุนเกาหลีเหนือในการทําสงครามกับเกาหลีใตในสงครามเกาหลีระหวาง ค.ศ. 1950 – 1953 เมื่อสงครามสิ้นสุดลง จีน – เกาหลีใตตางเปนศัตรูกัน ทั้งนี้เพราะรัฐบาลเกาหลีใตสั่งหามพลเมืองของตน “เปนมิตร” กับประเทศในกลุมคอมมิวนิสตทั้งหมด ทั้งสองประเทศจึงไมมีความสัมพันธทางการทูตตอกันจนกระทั่งถึงตนทศวรรษที่ 1990 เมื่อสถานการณทางการเมืองระหวางประเทศไดแปรเปลี่ยนไป ดังรายละเอียดที่จะไดกลาวในบทตอไป (2) การรวมมือกันตอสูกับญี่ปุนผูรุกราน ในชวงตนของคริสตศตวรรษที่ 20 ที่ญี่ปุนยึดครองคาบสมุทรเกาหลีเปนอาณานิคม ชาวเกาหลีชาตินิยมกลุมตางๆ ทั้งที่เปนฝายอนุรักษนิยมและฝายเสรีนิยมหัวกาวหนาตางอพยพหนีไปสองสุมกําลังรอคอยการแกแคนญี่ปุนภายหลังที่ถูกกองทหารองคจักรพรรดิปราบปรามในกรณีการเดินขบวนเรียกรองเอกราชครั้งใหญเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1919 คนเกาหลีบางสวนไดหนีตายเขาไปในจีน โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริเวณแถบแมนจูเรียของจีนและไซบีเรียในดินแดนของรัสเซีย เพื่อสมทบกับคนเกาหลีอพยพที่หนีภัยจากการยึดครองเปนอาณานิคมกอนหนานั้นแลว คนเกาหลีไดใชดินแดนจีนเปนฐานในการตอตานจักรวรรดินิยมญี่ปุน ดังเชน ดร.ซิงมัน รีและนายปก ยองนําที่ไดหลบหนีไปยังสหรัฐอเมริกา และไดจัดตั้งองคการกูชาติชื่อ ตองจีโฮ อีกทั้งสามารถประสานความรวมมือกับกลุมกูชาติเกาหลีอ่ืนๆ โดยรวมมือกับกลุมนิยมคอมมิวนิสตเกาหลีจัดตั้งรัฐบาลเกาหลีพลัดถิ่นขึ้นในกรุงเซี่ยงไฮ มีการจัดตั้งโรงเรียนฝกหัดทหารกูชาติ และพิมพหนังสือพิมพปลุกพลังรักชาติ เปนตน อีกสองปตอมาแมวารัฐบาลพลัดถิ่นลมสลายเพราะอนุรักษนิยมแตกแยกกับกลุมคอมมิวนิสต แตการตอสูเพื่อเอกราชก็คงดําเนินตอไป และไดยายตามรัฐบาลจีนคณะชาติที่ถูกญี่ปุนรุกรานไปยังเมืองนานกิงและเมืองจุงกิง เปนตน ความเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองเอกราชจากญี่ปุนไดกระทํากันอยางตอเนื่องทั้งบนเวทีการเมืองระหวางประเทศและแนวรบกูชาติใตดิน โดยไมมีชาติมหาอํานาจใดกลาใหความชวยเหลือเกาหลีอยางจริงจัง ยกเวนจีนและโซเวียตซึ่งมีญี่ปุนเปนศัตรูรวม

Page 111: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

111

เชนเดียวกับชาวเกาหลี ดังนั้น การตอสูและแหลงสองสุมกําลังของฝายศัตรูจึงไดมีการกระทํากันในดินแดนของจีนและไซบีเรียของโซเวียตเปนสวนใหญ จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง อนึ่ง มีหลักฐานทางประวัติศาสตรที่ชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธอยางใกลชิดระหวางจีนกับเกาหลีเหนือก็คือ เอกสารของทางการเกาหลีเหนือที่เลาถึงประวัติของตระกูลคิมที่ใชจีนเปนฐานในการตอสูกับญี่ปุนนับตั้งแตนายคิม เฮียงจิก ผูซึ่งเปนบิดาของนายคิม อิลซุง ที่ไดหลบหนีเขาไปอาศัยอยูในแมนจูเรียทําการตอตานญี่ปุนในระหวางตอนปลายทศวรรษที่ 1910 จนถึงตอนกลางของทศวรรษ 1920 ตอมาเมื่อเขาเสียชีวิต บุตรชายคือนายคิม อิลซุงก็ไดยึดมั่นปณิธานของบิดาทําการกูชาติจนกระทั่งไดรับความสําเร็จ คนและผูนําเกาหลีเหนือจึงติดหนี้บุญคุณจีนมากมาย และยึดสายสัมพันธอยางใกลชิดเปนบานพี่เมืองนองกันตลอดมา

(3) สงครามเกาหลี สงครามเกาหลีเปนอีกสถานการณหนึ่งที่จีน – เกาหลีเหนือ ไดสรางความผูกพันตอกันอยางเหนียวแนน โดยมีการรวมเลือดเนื้อของคนทั้งสองประเทศใหหลอหลอมกันเปนหนึ่ง เดียวทําการตอสูกับ “ศัตรู ผูรุกราน” นั่นคือ สหรัฐอเมริกา ประเทศพันธมิตร และรัฐบาลหุนเกาหลีใต สงครามเกิดขึ้นในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1950 โดยกองทหารเกาหลีเหนือไดรุกขามเสนขนานที่ 38 องศาเหนือลงมาและยึดกรุงโซลได ตอมากองทัพสัมพันธมิตรขององคการสหประชาชาติไดรุกกลับ สามารถยึดกรุงโซลคืนและยึดกรุงเปยงยางเมืองหลวงของเกาหลีเหนือไวได รัฐบาลคอมมิวนิสตของคิม อิลซุงตองอพยพไปอยูที่เมืองซินอุยจู ตอมาก็ถูกตีแตกพาย ตองอพยพหนีเขาไปในแมนจูเรียของจีนและเทือกเขาที่กันดารในเขตของประเทศโซเวียต ฝายทหารสัมพันธมิตรไดรุกตอขามแมน้ํายาลูเขาไปในดินแดนของจีน รัฐบาลจีนซึ่งเพิ่งสถาปนาประเทศขึ้นใหมในระบอบคอมมิวนิสตไดเพียงปเดียว ไดถือเปนการจงใจรุกรานดินแดนของจีนจากกองกําลังตางชาติ จึงไดสงกองทหารอาสาสมัครประชาชนจีนที่มีนายพลเผิง เตอะหวยนับแสนคนเขาชวยกองทหารเกาหลีเหนือเพื่อยึดดินแดนคืน และรุกรบตอจนสามารถยึดกรุงโซลไดอีกครั้ง หลังจากนั้นก็สามารถยึดเมืองสําคัญทางตอนกลางของเกาหลีไดอีกหลายเมือง ในการรุกรบระหวางกองทัพคอมมิวนิสตของจีนและเกาหลีเหนือ กับกองทัพขององคการสหประชาชาติและ

Page 112: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

112

เกาหลีใตเปนไปอยางดุเดือด ทําใหทั้งสองฝายสูญเสียกําลังไปมากมาย จนอาจกลาวไดวา เลือดของทหารและประชาชนไดรินไหลนองทวมทั่วทั้งคาบสมุทรเกาหลีทีเดียว ในการรบเพื่อยึดดินแดนทางตอนเหนือคืนมาจากกองทัพอเมริกันและสัมพันธมิตรนั้น เกาหลีเหนือไดระดมกองกําลังราว 15 กองพล มีทหารประจําการราว 150,000 คน สวนกองกําลังของจีนที่เขารวมรบมี 28 กองพล มีกําลังพลกวา 280,000 คน นั่นหมายความวา จีนไดใหการชวยเหลือเกาหลีเหนืออยางเต็มที่เพื่อมิใหฝายโลกเสรีเขาไปรุกล้ําเขตแดนของฝายคอมมิวนิสตได ตอมากองทัพสหประชาชาติสามารถยึดกรุงโซลกลับคืนมาไดอีกครั้ง และขับไลกองทหารคอมมิวนิสตใหถอยรนขึ้นไปเหนือเสนขนานที่ 38 จากนั้นจึงมีการเจรจาสงบศึกที่หมูบานปนมุมจอมในวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1953 โดยมีผูลงนาม 3 คน คือ นายพลเผิง เตอะหวย ผูบัญชาการกองกําลังอาสาสมัครประชาชนจีน คิม อิลซุง ผูบัญชาการทหารสูงสุดกองทัพประชาชนเกาหลี และนายพลมารค ดับบลิว คลารค ผูบัญชาการทหารสูงสุดกองทัพสหประชาชาติ สงครามเกาหลีจึงสงบลงภายหลังที่การตอสูอยางดุเดือดกินเวลานานราว 3 ป สงครามไดสรางความสูญเสียอยางมากมายมหาศาลแกทั้งสองฝาย โดยมีผูเสียชีวิตราวสองลานคน ชาวเกาหลีนับลานตองพลัดพรากจากกันโดยคนเกาหลีเหนือบางคนหนีไปเกาหลีใตในขณะที่คนเกาหลีใตบางสวนหนีตายไปยังเกาหลีเหนือ ทรัพยสินที่เปนที่อยูอาศัยและสิ่งปลูกสรางถูกทําลายอยางสิ้นเชิง และคาใชจายที่ใชในการทําสงครามคิดเปนมูลคาราว 2 – 3 แสนลานเหรียญสหรัฐฯ ภายหลังสงคราม เกาหลีเหนือตองเผชิญกับปญหามากมายที่เปนผลกระทบจากสงคราม จึงตองรีบเรงในการฟนฟูบูรณะประเทศขึ้น มิตรประเทศของเกาหลีเหนือ คือ จีน โซเวียตและประเทศในยุโรปตะวันออกในยุคนั้นไดใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและทางเทคนิคจํานวนมหาศาล โดยในป ค.ศ. 1953 จีนใหความชวยเหลือราว 325.5 ลานเหรียญและยกเลิกหนี้สินเดิมที่เกาหลีเหนือกอข้ึนในระหวางสงครามอีก 72 ลานเหรียญ ในขณะที่โซเวียตใหความชวยเหลือคิดเปนมูลคา 250 ลานเหรียญ ตอมาจีนไดใหความชวยเหลือเพิ่มขึ้นอีก 517 ลานเหรียญ หรือคิดเปนรอยละ 38 ของเงินชวยเหลือจากตางประเทศทั้งหมด สวนที่เหลือเปนการชวยเหลือจากมิตรประเทศคอมมิวนิสตอ่ืนๆ การชวยเหลือของจีนตอเกาหลีเหนือดังที่กลาวมาขางตนนี้ เปนความชวยเหลือที่ยิ่งใหญที่สรางความผูกพันและมัดใจใหผูนําและประชากรเกาหลีเหนือสํานึกถึงบุญคุณ

Page 113: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

113

ของจีนอยางมิรูลืม ทั้งนี้เพราะจีนไดทุมเททั้งเลือดเนื้อและทรัพยสินชวยเหลือแบบสุดตัว ดวยเหตุนี้ ความสัมพันธระหวางประเทศทั้งสองจึงมีมากกวาความเปนเพื่อนและสูงเดนกวาการรวมมือทางเศรษฐกิจและการเมืองเทานั้น

ข. จีนกับเกาหลีใต ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลีใตเปนไปอยางจํากัดในชวงตอนกลางของคริสตศตวรรษที่ 20 เพราะประเทศทั้งสองตั้งตัวเปนปรปกษตอกันในยุคสงครามเย็น ดังนั้นจะขอนําเรื่องราวความสัมพันธของทั้งสองประเทศไปกลาวในตอนทายของบทที่เกี่ยวกับเกาหลี

จีน: มังกรผงาด

ในหวง 15 – 20 ปที่ผานมา (ค.ศ. 1985 – 2006) ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือไดมีการเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวง โดยที่ผลการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกในภูมิภาคนี้ไดบรรลุความสําเร็จเกินเปาหมายที่ไดตั้งไว ไดแก เกาหลีใตที่เริ่มการพัฒนาประเทศอยางจริงจังตั้งแต ค.ศ. 1962 นับแตนั้นมา อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไดพุงพรวดเปนรอยละ 8 – 11 ตอป ทําใหกลายเปนสังคมอุตสาหกรรมใหมในตอนกลางทศวรรษที่ 1980 สามารถจัดการแขงขันกีฬาเอเชียนเกมส (ค.ศ. 1986) และกีฬาโอลิมปกฤดูรอน (ค.ศ. 1988) เปนประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญเปนอันดับที่ 11 ของโลก (ค.ศ. 1996) และกาวล้ํานําหนาในอุตสาหกรรมตอเรือ รถยนต และไอที ตลอดจนอุตสาหกรรมบันเทิงจนเปนที่รูกันทั่วไปในเรื่อง กระแสเกาหลี (Korean wave) ที่ลือลั่นไปทั่วเอเชียในตอนตนของสหัสวรรษที่ 21

สวนจีนไดรับความสําเร็จในการพัฒนาสูงสุดภายหลังที่เปดเขตเศรษฐกิจเสรีในตอนปลายทศวรรษ 1970 ทําใหกลายเปนประเทศที่มีอัตราความเจริญเติบโตสูงที่สุดในโลกในตอนปลายทศวรรษ 1990 มาจนถึงปจจุบัน (ค.ศ. 2006) จีนประสงคที่จะกลับมาเปนชาติที่ยิ่งใหญหรือมหาอํานาจของโลกอีกครั้ง จึงพยายามใชกลยุทธทุกทางเพื่อใหบรรลุเปาหมาย

ในทางตรงกันขาม ญี่ปุนเปนประเทศชั้นแนวหนาของภูมิภาคนี้นับแตปลายคริสตศตวรรษที่ 19 และเจริญรุงเรืองสูงสุดในคริสตศตวรรษที่ 20 ไดประสบกับปญหา

Page 114: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

114

ความชะงักงันทางเศรษฐกิจในชวงทศวรรษที่ 1990 และยังคงเปนปญหาเรื้อรังมาจนถึงทุกวันนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวกอใหเกิดความสึกกรอนของโครงสรางทางสังคมวัฒนธรรมที่เคยเปนเสาหลักผลักดันใหความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจในอดีต เชน การลมสลายของการจางงานตลอดชีพ เปนตน

ควมผันผวนของภาคเศรษฐกิจญี่ปุนเกิดขึ้นทามกลางการปะทุที่เรารอนของเศรษฐกิจเกาหลีใตและจีน รวมไปถึงไตหวัน กอใหเกิดการทาทายจากสังคมที่เคยตกอยูภายใตอิทธิพลของญี่ปุนดวยการเพิ่มกระแสขอเรียกรอง “ความรับผิดชอบ” ที่ญี่ปุนเคยกระทําตอพวกเขาในอดีต รวมทั้งการเรียกรองสิทธิ์ความเปนเจาของเหนือเกาะที่ไรผูอยูอาศัย ลักษณะของการเรียกรองบงบอกถึงการแสดงออกถึงความสําคัญของแตละรัฐที่มีอํานาจทางเศรษฐกิจและการเมืองเทาเทียมกัน และบงบอกถึงระบบความสัมพันธระหวางประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก

สถานการณดังกลาวยังกอใหเกิดมิติใหมทางการเมืองระหวางประเทศที่เกิดการเกาะกลุมของขั้วการเมืองที่เหนียวแนนมากขึ้น ไดแก จีน – เกาหลีเหนือ – รัสเซีย และสหรัฐฯ – เกาหลีใต –ญี่ปุน ในขณะเดียวกัน ผลประโยชนทางเศรษฐกิจกอใหเกิดการแยงชิงพวกพองกับประเทศในภูมิภาคอื่น โดยเฉพาะอยางยิ่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต ดังเชน การกําเนิดกลุมที่เรียกวา ASEAN Plus Three และกอใหเกิดเปนรูปแบบ “การรวมมือในเชิงแขงขัน” (competitive cooperation) ในกลุมเศรษฐกิจตะเกียบ (Chopstick economics) ข้ึน อนึ่ง มีความเกี่ยวพันระหวางประเทศทั่วทุกภาคของโลกอยางเหนียวแนนในยุคปจจุบัน ที่ตัวแสดงจากซีกโลกอื่น ดังเชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย ฯลฯ เขามามีสวนรวม และมีอิทธิพลในความสัมพันธระหวางรัฐตางๆ ในเอเชียตะวันออกอยางใกลชิดกวาชวงเวลาใดๆ ในประวัติศาสตร ทั้งนี้ทั้งนั้นสวนหนึ่งเปนผลมาจากการพัฒนาโลกไซเบอรของยุคโลกาภิวัฒน และอีกสวนหนึ่งเปนผลมาจากสถานภาพการครองความเปนหนึ่ง (monolithic) ของสหรัฐฯ ถูกทาทายจากพลังสวนอื่นอยางตอเนื่อง เชน จากโลกมุสลิม จีน เปนตน

จะเห็นไดวา นับตั้งแตตอนกลางของทศวรรษ 1980 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน สถานการณของโลกไดเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในทุกแงทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก มีตัวแปรมากมายเขามาเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ทําใหบางสถานการณที่เกิดขึ้นเปนเสมือนปรากฏการณที่เกิดขึ้นใหม ไรซึ่งความตอเนื่องทางประวัติศาสตร

Page 115: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

115

ดังเชนสนธิสัญญาทวิภาคี และพหุภาคีทางดานเศรษฐกิจและการเมือง ในขณะที่บางสถานการณกลับเกี่ยวพันกับอดีตอยางแนนแฟน ดังเชนกรณีการอางสิทธิ์เหนือเกาะโดกโด Dokdo หนังสือเรียนชั้นมัธยมของญี่ปุน และการอางสิทธิ์เหนือหลุมฝงศพในยุคอาณาจักรโคกูริว อีกทั้งทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและตลอดเวลา ทําใหมีความลําบากยากยิ่งในการอธิบายถึงแบบแผนความสัมพันธของประเทศทั้งสามไดอยางเห็นไดอยางชัดเจน

ดังนั้น ในตอนนี้จะเนนการอธิบายโดยยึดหลักที่ทั้งสามประเทศเปาหมายคลายคลึงกัน นั่นคือ ความเปนเจาทางเศรษฐกิจ (economic hegemony) ที่ตัวแสดงทั้งสามประสงคที่จะใหบรรลุผล สวนตัวแปรอื่นจะใชอธิบายในสวนที่เกี่ยวของของกรอบดังกลาว วิธีการนี้จะนําไปสูการวิเคราะหที่จะใหเกิดผลลัพธจากมุมมองหนึ่ง ซึ่งอาจจะไดรับผลลัพธที่คลายคลึงหรือแตกตางกันหากใชวิธีการอื่น

นับตั้งแตจีนเปดประเทศในตอนปลายยุคของกลุมผูนํารุนที่หนึ่ง คือ เหมา เจอตุง และโจว เอินไหล ประเทศนี้ไดมีการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 4 (ค.ศ. 1971 – 1975) ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อสงเสริมการเกษตร อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก และการคาระหวางประเทศทางดานการเกษตร ตอมาไดเนนย้ําการทําใหเกิดความทันสมัยทางดานการเกษตร อุตสาหกรรม การปองกันประเทศ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในแผนพัฒนาฉบับที่ 5 (ค.ศ. 1976 – 1980) อยางไรก็ตาม เมื่อผูนําทั้งสองไดถึงแกอสัญกรรมใน ค.ศ. 1976 ผูนํารุนที่สอง นั่นคือ เติ้ง เสี่ยวผิง (ค.ศ. 1977 – 1992) ก็ไดสานงานตอ แตไดมองเห็นจุดออนของการวางแผนเศรษฐกิจแบบศูนยรวมและยุทธศาสตรการพัฒนาที่เนนแตความเทาเทียมกัน กอใหเกิดการผูกขาดการตัดสินใจจากหนวยงานสวนกลาง และการยึดเปาหมายความเทาเทียมกันมากเกินไปนั้นกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ชาเกินไป ดังนั้น “การพัฒนา 4 ทันสมัย” ในแผนพัฒนาฉบับที่ 6 (ค.ศ. 1981 – 1985) จึงเนนการปฏิรูปเศรษฐกิจจีนใหเปนสังคมนิยมที่ทันสมัยโดยใชกลไกลตลาดของระบบทุนนิยม รวมทั้งเปดประเทศเพื่อรับการลงทุนจากตางชาติ เศรษฐกิจของจีนจึงพุงพรวด โดยมีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยูในระดับสูงยิ่ง นั่นคือ เฉลี่ยในระดับรอยละ 9.38 ตอปตลอดชวงทศวรรษ 1980 และเปนรอยละ 9.86 ตอปในทศวรรษ 1990

Page 116: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

116

กลุมผูนํารุนที่สาม ภายใตการนําของนายเจียง เจอหมิน (ค.ศ. 1992 – 2002) ไดดําเนินการผลักดันประเทศใหกาวไปสูการเปนชาติสังคมนิยมที่มีความรุงโรจนทางเศรษฐกิจตอไปตามแนวคิดของนายเติ้ง เสี่ยวผิง โดยไดลดคาเงินหยวนลงรอยละ 10 ใน ค.ศ. 1994 ทําใหจีนสามารถสงสินคาออกไดมากขึ้น อีกทั้งไดดึงดูดนักลงทุนตางชาติเขามาลงทุนในประเทศไดมากจากทุกสารทิศในแผนพัฒนาฉบับที่ 8 และ 9 (ค.ศ. 1991 – 2000) รวมทั้งลดการควบคุมอยางเขมงวดจากสวนกลางลง

วิกฤตการณทางการเงินในเอเชียในป ค.ศ. 1997 ไดสงผลกระทบตอจีนนอยมาก โดยทําใหอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจลดลงเหลือเพียงรอยละ 8.8 7.8 และ 7.1 ในป ค.ศ.1997 1998 และ 1999 ตามลําดับ ซึ่งก็ยังถือวาอยูในระดับสูงมากเมื่อเทียบกับประเทศในเอเชียอ่ืนๆ ที่มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจติดลบติดตอกันหลายป อนึ่ง จีนไดเขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (World Trade Organization – WTO) เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 2001 ทําใหจีนสามารถสงสินคาออกไปยังประเทศสมาชิกขององคการคาโลกไดมากขึ้นโดยไมถูกกีดกันดานภาษีศุลกากร ในขณะเดียวกัน การลงทุนจากตางประเทศไดหลั่งไหลเขามาในจีนอยางมหาศาลเพื่อผลิตสินคาปอนตลาดที่ใหญที่สุดในโลกราว 1,300 ลานคน และใชคาแรงราคาถูกของจีนที่มีอยูอยางเหลือเฟอ

เจียง เจอหมิน เคยเปนนักการเมืองระดับทองถิ่นจากนครเซี่ยงไฮ ไดเลือกบุคคลเดนๆ จาก “เซี่ยงไฮแกง” คือ นายจู หลงจี้ ผูที่ไดรับฉายาวา “ซารแหงเศรษฐกิจ” แหงสาธารณรัฐประชาชนจีนมาเปนรองนายกรัฐมนตรี และเปนนายกรัฐมนตรีในเวลาตอมา ผูนํากลุมนี้ไดสานตองานปฏิรูปเศรษฐกิจของเติ้ง เสี่ยวผิงใหเปนรูปแบบที่เสรีและเปดกวางมากขึ้น อนึ่ง นายเจียงไดเสนอแนวคิด “สามตัวแทน” (Three Representatives) หมายความวา พรรคคอมมิวนิสตจีนตองเปนตัวแทนของพลังการผลิตที่กาวหนา (advanced productive forces) เปนตัวแทนของวัฒนธรรมที่กาวหนา (advanced culture) และเปนตัวแทนของผลประโยชนของมวลชนจีน (interests of the majority of the people) แนวคิดสามตัวแทนนี้ เปดโอกาสใหพรรคคอมมิวนิสต จีนรับนักธุรกิจภาคเอกชน ผูประกอบการ และพนักงานระดับสูงของบริษัทเขามาเปนสมาชิกพรรค ทําใหฐานของพรรคกวางขึ้น

ในการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสตจีนครั้งที่ 16 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2002 ไดเลือกผูนํารุนที่สี่ข้ึนเปนผูนําพรรค ตอมาในเดือนมีนาคมของปถัดมา สภาประชาชน

Page 117: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

117

แหงชาติเลือกนายหู จินเทาเปนประธานาธิบดี และนายเหวิน เจียเปาเปนนายกรัฐมนตรี นายหูไดควบตําแหนงในพรรค (เปนเลขาธิการพรรค) รัฐบาล (เปนประธานาธิบดี) และกองทัพ (เปนประธานคณะกรรมมาธิการทหาร) ผูนํากลุมนี้ไดดําเนินการใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับที่ 10 และ 11 (ค.ศ. 2001 – 2010) โดยกระจายการลงทุนและรายไดไปทางภาคตะวันตกใหเจริญทัดเทียมกับภาคตะวันออก โดยมีพ้ืนที่เปาหมาย 5 มณฑล คือซิงไฮ กานสู ซือฉวน หูหนัน กุยโจว และ 3 เขตปกครองตนเอง ไดแก ซินเจียง ธิเบต หนิงเซี้ยฮุย และ 1 เมืองใหญ คือ ฉงชิ่ง การพัฒนาจะเนนโครงสรางพื้นฐาน ไดแก ทางรถไฟ ถนนเชื่อมมณฑล และเขื่อนชลประทาน

อัตราความเจริญเติบโตของผลผลิตรวมภายในของจีน

ป รอยละ

ทศวรรษ 1980 (เฉลี่ยตอป) 9.8 ทศวรรษ 1990 (เฉลี่ยตอป) 9.7

2000 8.0 2001 8.3 2002 9.1 2003 10.0 2004 10.1 2005 9.9

ที่มา Chinability. www.chinability.com/GDP.htm. May 21, 2006.

ในชวงตนของทศวรรษแรกของสหัสวรรษที่ 21 นี้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ

อยางรวดเร็วไดทําใหจีนกลายเปนชาติที่มีศักยภาพทะยานขึ้นเปนมหาอํานาจในทางเศรษฐกิจของเอเชีย และเปนที่จับตามองของประเทศชั้นนําของโลก อีกทั้งจีนไดเปดเจรจาการคาเสรีกับกลุมประเทศ ASEAN สงผลใหจีนมีอิทธิพลและสภาพเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

Page 118: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

118

ตอไปนี้ จะกลาวรายละเอียดเกี่ยวกับผูนํารุนที่สี่และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้น ดังนี้

ผูนําทางการเมืองและนโยบาย

1. นายหู จินเทา ปจจุบัน นายหู จินเทาดํารงตําแหนงเปนเลขาธิการใหญพรรคคอมมิวนิสต และ

เปนประธานาธิบดีของสาธารณรัฐประชาชนจีน อนึ่ง เขาเปนผูนําประเทศที่มีอายุนอยที่สุด คือ มีอายุเพียง 59 ปเมื่อตอนเขารับตําแหนงเปนผูนําประเทศ

ตามประวัติ นายหูเกิดที่เมืองไตโจว มณฑลเจียงสู เมื่อป ค.ศ. 1942 เขาเรียนหนังสือชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ณ. เมืองแหงนี้ ตอมาสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมพลังน้ํา จากมหาวิทยาลัยชิงหัวในป ค.ศ.1965 พรอมกับภรรยา ซึ่งเปนนักเรียนรวมรุน ชื่อ นางหลิว ยองชิง ปจจุบัน มีบุตรและธิดา 2 คน

นายหูเริ่มตนทํางานในระดับรากหญาในมณฑลกานสู ซึ่งตั้งอยูทางภาคตะวันตกตั้งแตป ค.ศ.1968 และไดพํานักอาศัยอยู ณ.ที่แหงนั้นเปนเวลานานถึง 14 ป ในป ค.ศ. 1985 เขาไดรับเลือกใหเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตของมณฑลกุยโจวและมลฑลธิเบต โดยไดดํารงตําแหนงนั้นเปนเวลา 8 ป ในชวงเวลานั้นเองที่เขาไดออกตระเวณเยี่ยมเยือนชาวบานที่อาศัยอยูในทองที่หางไกล ไดติดตอกับชนกลุมนอยกลุมตางๆ มากมายหลายกลุม ไดทําการศึกษาคนควาในเชิงลึก และไดสรางยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคลองกับสภาวะแวดลอมหรือบริบทของแตละทองถิ่นดวย นอกจากนี้ เขาไดทําคุณประโยชนดวยการสรางเครือขายระหวางผูนําชุมชน สมาชิกพรรค และชนกลุมนอยเพื่อรวมกันพัฒนาดินแดนดอยพัฒนาของมณฑลทั้งสองใหสอดคลองกับแผนพัฒนาของประเทศ

นายหูมีความรอบรูทั้งแนวลึกและแนวกวางในการนําพลังทองถิ่นที่อยูหางไกลมาทําการปฏิรูปและเรงรัดใหเกิดการพัฒนาเพื่อเปดชนบทไปสูโลกกวาง ดวยอัจฉริยะดังกลาว จึงยังผลใหเขายืนหยัดรวมทุกขรวมสุขและสรางสรรคงานการพัฒนาที่เปนรูปธรรมมากมายใหแกประชาชนในระดับรากหญาไดโดยแท

ใน ค.ศ.1994 เขาไดรับเลือกใหเปนกรรมการในคณะกรรมการกรมการเมืองจากที่ประชุมใหญพรรคคอมมิวนิสตแหงชาติ ครั้งที่ 14 ซึ่งถือเปนครั้งแรกที่เขาไดแสดง

Page 119: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

119

บทบาทในพรรคระดับประเทศ ตอมา ก็ไดรับเลือกอีกเปนครั้งที่สองในป ค.ศ. 1997 จากที่ประชุมพรรคใหญ ครั้งที่ 15 ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1998 เขาไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงเปนรองประธานาธิบดี และรองประธานคณะกรรมาธิการทหาร ในชวงเวลานั้น เขาไดมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติใหแกพรรคและประเทศ โดยเขามีบทบาทสําคัญยิ่งในการประสานงานระหวางพรรค-รัฐบาลกลาง-กองทัพ-การทูตและกิจการตางประเทศ

นายหูไดศึกษางานเขียนของคารล มารกซ เลนิน เหมา เจอตุง และทฤษฎีของเติ้ง เสี่ยวผิง รวมทั้งแนวคิดตัวแทนสามกลุมของเจียง เจอหมิน แนวคิดทฤษฎีเหลานี้ไดรับการสังเคราะหและจัดวางใหเปนพื้นฐานสําคัญของแนวคิดทางการเมืองของเขา และเขาไดนําไปเปนคําบรรยายใหแกตัวแทนผูนําของพรรคที่เขารับการอบรมในโรงเรียนของพรรคคอมมิวนิสตในระหวาง ค.ศ. 1993-2002 เสมอมา ในขณะเดียวกันนั้น เขาไดรับเลือกใหเปนเลขาธิการยุวชนพรรคคอมมิวนิสตแหงชาติ และในตําแหนงสําคัญๆ อีกมากดวย

ในป ค.ศ. 2001 นายหูเดินทางเยี่ยมเยือนประเทศแถบยุโรป 5 ประเทศ และไปเยือนสหรัฐอเมริกาในป ค.ศ. 2002 การเดินทางดังกลาวเปนการเปดตัวผูนําคนใหมตอโลกตะวันตก อีกทั้งเปนการเพิ่มพูนประสบการณในงานดานตางประเทศของเขามาก

จากผลงานมากมายที่นายหูไดเก็บเกี่ยวประสบการณและทํางานในหนาที่ตางๆ มา ยังผลใหเขาไดรับการเลือกใหเปนผูนําประเทศในที่สุด

2. นโยบายของนายหู จินเทา ประวัติศาสตรจีนไดชี้ชัดวา ในยุคของเหมา เจอตุง เขาไดทําการปฏิวัติสังคมจีน

ใหกลายเปนสังคมคอมมิวนิสต แมจะไดรวมปรึกษาหารือกับนักวิชาการและคณะผูบริหาร แตในที่สุด แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาสังคมกลับกลายเปนสิ่งที่เขาคิดขึ้นเอง และกลายเปนอุดมการณที่เปนแนวทางหลักตอเปาหมายและการดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามวิสัยทัศนของเขา

ตอมา เมื่อเติ้ง เสี่ยวผิงทําการปฏิรูปสังคมจีน เขาไดนําหลักเศรษฐศาสตรการตลาดเขามาใช เติ้งไดปรึกษาหารือกับผูเชี่ยวชาญดานการผลิตและเทคโนโลยีเปนประจํา ซึ่งก็เปนเชนเดียวกับนายเจียง เจอหมินที่เคยทํางานรวมกับนักวิชาการและคณะที่

Page 120: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

120

ปรึกษาหลายกลุม อยางไรก็ตาม การพบกันระหวางผูนํากับนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญมีลักษณะเปนการปดบังเปนความลับ ไมเปดเผยสูสาธารณชนทั่วไป

สําหรับนายหู จินเทานั้น เขาไดเปดประชุมรวมกับเหลาผูรูเปนเวลาครั้งละ 60-90 นาที รวมกับเหลาคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการประจํากรมการเมืองอยางเปดเผยเพื่อถาม-ตอบปญหาที่ประเทศจีนกําลังเผชิญอยู และไดกระทํามาอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีข้ึนเปนประจําทุกเดือน ปญหาที่ไดนํามาพิจารณารวมกัน ไดแก การเกิดและการลมสลายของชาติมหาอํานาจ เศรษฐกิจโลก กฎหมายรัฐธรรมนูญ วิกฤติการณดานการจัดการ การเปลี่ยนแปลงกองกําลังทหารของโลก และความมั่นคงในภูมิภาค เปนตน

อนึ่ง นายหูยังไดรับฟงขอถกเถียงและการอภิปรายจากกลุมตางๆ ดวย เชน เขาไดเขารวมประชุมกับกลุมชาวนา กลุมกรรมกรเหมืองแร กลุมผูติดเชื้อเอชไอวี กลุมผูที่ประสบกับปญหาเฉพาะเรื่อง กลุมผูยากไร เปนอาทิ เพื่อใหกลุมเหลานี้มีสวนรวมในการจัดการเกี่ยวกับประเทศชาติ ลักษณะดังนี้เปนการเปดสังคมใหกวางขึ้นเพื่อใหเกิดการผสานความคิดจากกลุมหลากหลายในสังคม แทนที่จะเปนเพียงแนวความคิดเฉพาะกลุมผูนําของพรรคดังเชนในอดีต

ในวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 2004 นายหูไดประกาศที่กรุงปกกิ่งวา “จีนจะตองสรางแผนพัฒนาที่เนนการปองกันประเทศควบคูไปกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เพื่อนําชาติไปสูความทันสมัย”

3. การครองความเปนเจา นายเหวิน เจียเปา นายกรัฐมนตรี ไดกลาวเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.2004 วา

“จีนจะไมคุกคามประเทศใด จะไมขยายอาณาเขตและจะไมแสวงหาความเปนเอก (hegemony) หรือแสวงหาความเปนผูนําในการครอบครองโลก แตรัฐบาลจีนเนนการพัฒนาเปนงานหลักที่จะตองกระทําใหบรรลุผล ทั้งนี้เปนเพราะความสําเร็จในการพัฒนาและการปกครองในประเทศจีนจะเปนการสรางคุณประโยชนตอสันติภาพและการพัฒนาของมวลมนุษยชาติทั้งมวล อนึ่ง จีนจะดําเนินนโยบายตางประเทศอยางเปนอิสระที่เนนใหเกิดสันติภาพ และจะอุทิศตนในการสรางมิตรภาพและความรวมมือกับทุกประเทศ….

Page 121: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

121

จีนจะยึดมั่นในอธิปไตยและศักดิ์ศรีในดินแดนของประเทศของตน โดยจะไมยินยอมใหประเทศใดเขาไปแทรกแซงกิจการภายใน ในขณะเดียวกัน จีนจะเคารพในอธิปไตยและศักดิ์ศรีของประเทศอื่นๆ เชนกัน…” นายกรัฐมนตรีจีนยังไดกลาวตอไปอีกวา จีนจะยังคงเปดกวางและสรางสรรคบน

พ้ืนฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนรวมกันดวยการรวมมือกับประเทศตาง ๆ ทางดานเศรษฐกิจและเทคโนโลยีทั้งแนวกวางและแนวลึก อีกทั้งจีนจะปรับปรุงและเพิ่มพูนความสัมพันธกับประเทศกําลังพัฒนาเพื่อผนึกกําลังกันสรางสรรคสังคม โดยเนนใหเกิดกลุมความรวมมือที่รวมตัวกันอยางเหนียวแนนและมีประสิทธิภาพระหวางชาติดอยพัฒนาดวยกัน (South-South Cooperation) สวนกับประเทศที่พัฒนาแลวนั้น จีนจะปรับปรุงและใหความรวมมือกับประเทศเหลานี้เพื่อผลประโยชนที่เปนธรรมและมีผลประโยชนรวมกัน อีกทั้งจะขยายขอบเขตของความสนใจที่คลายคลึงกัน และลดความแตกตางระหวางกันและกันใหมาก

คํากลาวของนายเหวิน เจียเปาเปนการประกาศนโยบายตางประเทศตอที่ประชุมนานาชาติ ที่จัดขึ้นในเรื่อง Five Principles of Peaceful Coexistence เปนปที่ 50 โดยองคการสหประชาชาติ ที่นครปกกิ่ง จากคําปราศรัยดังกลาว เราอาจจะตั้งคําถามขึ้นในใจวา นโยบายที่วานี้ไดนํามาปรับใชในสภาพที่เปนจริงหรือไมเพียงใด หรือเปนเพียงการสรางภาพของจีนตอเวทีการเมืองระหวางประเทศเทานั้น ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนคํากลาวที่แตกตางไปจากคําพูดของนายหู จินเทา ประธานาธิบดีที่ย้ําใหจีนกาวไปสูการเปนชาติมหาอํานาจบนเวทีการเมืองระหวางประเทศ อนึ่ง มีหลักฐานชี้ชัดวา รัฐบาลจีนไดสงคนระดับผูชวยรัฐมนตรีไปยังประเทศตางๆ เพื่อเรียกรองใหประเทศกําลังพัฒนาปฏิเสธความเปนผูนําเพียงชาติเดียวของสหรัฐอเมริกา ในขณะเดียวกัน จีนก็พยายามสรางความเปนหนึ่งดวยการสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในชวงยี่สิบปที่ผานมา และคาดการณกันวา ในป ค.ศ. 2020 ขนาดของเศรษฐกิจจะล้ําหนาญี่ปุน และอาจจะกาวไปสูชาติที่มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดในโลกในป ค.ศ. 2050 ดังนั้น จึงเปนเรื่องที่นาจับตามองอยางใกลชิดถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และที่สําคัญ คนไทยจําเปนตองรวมกันวางแผนเพื่อรุกและรับกับนโยบายของจีนใหเกิดประโยชนแกประเทศของเราใหมากที่สุดเชนกัน

Page 122: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

122

จีน: บทบาทในเอเชียและในโลก ดวยความที่จีนเปนประเทศที่ใหญและเคยเปนประเทศผูนําในเอเชีย รวมทั้งเปน

แหลงอารยธรรมที่เปนหลักของโลกตะวันออก ในขณะเดียวกัน จีนในยุคปจจุบันไดเปดประเทศและพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจการตลาด หรือที่เรียกวาเปนคอมมิวนิสตแบบจีนดวยการสงเสริมการลงทนุทั้งจากภายในและตางประเทศ มุงมั่นในการผลติและการขายสินคาไปยังตลาดทั่วโลก อีกทั้งมีแผนในการนําจีนกาวไปสูความเปนผูนําทั้งทางเศรษฐกิจและการเมืองระหวางประเทศตามแนวคิดของนายหู จินเทา ดังนั้น จีนจึงเปนที่จับตามองทั้งจากนักวิชาการ และผูนําของประเทศตางๆ ทั่วโลกเสมอมา

ในบทความเรื่อง “อิทธิพลของจีนเพิ่มสูงขึ้นในเอเชีย” ที่เขียนโดยแบรด โกลสเซอรแมน ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย Pacific Forum CSIS ซึ่งตั้งอยูที่นครฮอนโนลูล ู มลรฐัฮาวาย สหรัฐอเมริกา ไดกลาววา จีนกําลังกาวขึ้นสูการเปนผูนําในเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งในทางเศรษฐกิจที่มีขอมูลตัวเลขปรากฏใหเห็นอยางเดนชัด คือ จีนเปนประเทศที่นําเขาสินคาจากประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตคิดเปนมูลคามากกวา 413 พันลานเหรียญสหรฐัฯ จีนมีบทบาทสําคัญที่เปนผูนําเขาสินคาจากเกาหลีใต และจีนมีสวนแบงในมูลคาทางการคาของญี่ปุนถึงรอยละ 80 ในป ค.ศ. 2003 มูลคาทางการคาของจีนตอประเทศเหลานี้ มีแนวโนมจะเพิ่มสูงยิ่งขึ้นในป ค.ศ.2004 และในอนาคต

ผูเขียนบทความไดกลาวตอไปอีกวา คนเอเชียในปจจุบันจะไมรูสึกเหมือนกับในอดีตที่เคยมองวา จีนเปนภัยคุกคามหรือเปนศัตรู หรือตัวกอปญหา ในทางตรงกันขาม คนทั่วไปจะมองจีนเปนโอกาส ทั้งที่เปนโอกาสทางดานการคา การลงทุน ความรวมมือทางดานเทคนิค และการพัฒนาในการแกปญหาความยากจน สิ่งแวดลอม พลังงาน และโรคเอดส อนึ่ง ในชวงสองสามปที่ผานมา จีนไดมีบทบาทในกลุมอาเซี่ยนดวยการเขารวมประชุม ASEAN-Plus-Three ที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย จีนไดสรางบทบาทสําคัญในการประชุม APEC ที่กรุงเทพฯ และเปนเจาภาพการปะชุม 6 ฝาย (จีน รัสเซยี ญี่ปุน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต และสหรัฐฯ) ในเรื่องวิกฤตนิวเคลียรของเกาหลีเหนือ ในขณะเดียวกัน จีนไดดําเนินกิจกรรมในการสรางความสัมพันธพหุภาคีกับประเทศที่ตั้งอยูในภูมิภาคอื่นของโลก และไดรวมกอต้ัง Shianghai Cooperation Organization กับรัสเซีย โดยมีสํานักงานใหญข้ึนที่กรุงปกกิ่ง

Page 123: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

123

การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม

1. สภาพสังคมและเศรษฐกิจ เปนที่ประจักษแลววา นับตั้งแตจีนไดทําการปฏิรูปเขาสูระบบเศรษฐกิจแบบตลาด

นับตั้งแตป ค.ศ. 1979 เปนตนมานั้นไดมีการเชื้อเชิญนักธุรกิจอุตสาหกรรมตางชาติเขาไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรม และไดเปดประตูสรางความรวมมือกับประเทศตางๆ ทั่วโลก ปจจุบัน จีนมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะตามแถบบริเวณฝงตะวันออก ซึ่งเปนจุดเริ่มแรกในการเปดการลงทุนเปนเขตเศรษฐกิจเสรี ยังผลใหรายไดของประชากรเพิ่มสูงขึ้น มีอํานาจในการซื้อสูง และผูคนตางมีชีวิตความเปนอยูดีข้ึน สวนเมืองในภูมิภาคอ่ืนๆ ก็มีความทันสมัยเชนเดียวกัน กลาวโดยสรุป ภาพของเมืองใหญในจีนของยุคนี้มีความเจริญทันสมัยทัดเทียมกับเมืองใหญๆ ในเอเชีย อีกทั้งบางเมืองมีความเจริญกาวล้ํานําหนาไปไกล เชน เมืองเซี่ยงไฮ ปกกิ่ง เปนตน

ในขณะเดียวกัน รัฐบาลไดปรับปรุงระบบเกษตรกรรมของประเทศ ในโครงการปฏิรูปชนบทที่ไดลดบทบาทของระบบนารวมลงมาเปนการใหครอบครัวชาวนาแตละครอบครัวเชาที่ดินทํากิน ลักษณะดังนี้ ทําใหการรวมตัวกันเปนคอมมูนไดเปลี่ยนไป กลายเปนการเนนการผลิตของแตละครัวเรือน ระบบดังกลาวยังผลใหผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ทําใหรายไดตอครัวเรือนเพิ่มขึ้น ดังนั้น รัฐบาลจีนจึงไดแสดงความพอใจและมักประกาศวา โครงการปฏิรูปไดรับความสําเร็จอยางสูง

ใน ค.ศ. 2004 รัฐบาลไดประกาศนโยบายปฏิรูปทางการเกษตรดวยมาตรการลดการเก็บภาษีอากรชนบทลง และยกเลิกการกําหนดสถานภาพของถิ่นที่อยูอาศัย โดยคาดวาจะเปนการแกปญหาชนบทใหถูกจุด ทําให ป ค.ศ. 2004 เปนป Second Spring สําหรับชนบทของจีน

ในการลดการเก็บภาษีนั้น เปนโครงการพัฒนาชนบทที่เปนรูปธรรม กลาวคือ เปนการลดการเก็บภาษีทางการเกษตรลงไปเรื่อยๆ เปนเวลา 3 ป จากนั้นก็จะยกเลิกการเก็บภาษีประเภทนี้ทั้งหมดภายใน 5 ป ในขณะเดียวกัน ก็ไดจัดสรรเงินชวยเหลือเพื่อฟนฟูชนบทไมต่ํากวา 2,000 พันลานหยวน และใหเงินอุดหนุนการเกษตรอีกหลายพันลานหยวน เพื่อใหประชากรราว 900 ลานคนมีรายไดเพิ่มขึ้นเฉลี่ยไมต่ํากวา 300 หยวนตอคนตอป

Page 124: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

124

อนึ่ง มีสถิติที่นาสนใจเกี่ยวกับชนบทของจีน คือ ประชากรในชนบทไดเพิ่มจํานวนสูงขึ้นอยางรวดเร็ว กลาวคือ ในชวง 50 ปที่ผานมา มีอัตราการเพิ่มถึง 250 เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 2004 มีประชากรอยูในวัยทํางาน 600 ลานคน แตมีงานรองรับในชนบทเพียง 270 ลานคน แยกเปนงานในภาคเกษตรกรรม 150 ลานคน และธุรกิจในชนบทอีก 120 ลานคน ทําใหแรงงานในชนบทที่เหลือตองออกไปหางานทํานอกพื้นที่และในเมือง นอกจากนี้ ขนาดที่ดินเฉลี่ยตอครัวเรือนก็ลดลงเปน 9.2 มู (1 มู เทากับ 1/15 เฮกเตอร) ปญหาเหลานี้เปนสิ่งที่ตองไดรับการแกไขอยางรวดเร็ว ดวยเหตุนี้ โครงการปฏิรูปทางการเกษตรจึงเปนโครงการที่จะชวยลดและแกปญหาในชนบทไดเปนอยางดี

ในชวงปลายเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2004 กระทรวงพาณิชยของจีนไดประกาศวา ไดอนุญาตใหบริษัทตางชาติเขาไปดําเนินธุรกิจดานสินคาทางการเกษตร ทั้งที่เปนการขายสงและการขายปลีกโดยไมจํากัดเขตบริเวณ นั่นหมายความวา เปนอีกกาวหนึ่งที่รัฐบาลจีนไดปฏิบัติตามขอตกลงที่ไดทําไวกับองคการการคาโลก (WTO) ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน ที่ใหจีนขยายการเปดเสรีการลงทุนของตางชาติโดยไมจํากัดบริเวณ และในกิจการของธุรกิจ ทั้งนี้ จีนไดทําสัญญาวา ไดยกเลิกขอบังคับในเรื่องกิจการรวมทุน การจํากัดการลงทุนในบางทองที่ และจํานวนรานขายสงและขายปลีกอยางสิ้นเชิงภายในวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 2004

ในอดีต รัฐบาลไดกําหนดใหบริษัทตางชาติสามารถเขารวมลงทุนไดในสัดสวนไมเกิน รอยละ 65 ของเงินลงทุนทั้งหมด และไดจํากัดเขตการคาในการดําเนินกิจการคาสงและคาปลีกไดเพียงบางแหงบางบริเวณเทานั้น แตเมื่อประกาศการคาเสรีกับองคการการคาโลกแลว ก็ตองยกเลิกขอบังคับดังกลาวขางตน อันจะเปนผลดีแกชาวนา ทั้งนี้ รัฐบาลจีนสามารถสนับสนุนใหมีการเพิ่มการขายผลผลิตทางการเกษตรใหมากขึ้นได เพราะสภาพทางการคาผลผลิตทางการเกษตรของประเทศนี้ยังอยูในขั้นดอยพัฒนา ทําใหชาวนาในอดีตขายผลผลิตไดนอย เมื่อเพิ่มจํานวนรานซุปเปอรมารเก็ตและรานสะดวกซื้อในเมืองและตามที่ตางๆ มากขึ้น ก็จะสงผลดีตอการกระจายผลผลิตจากชนบทเขาสูเมืองไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

อนึ่ง รัฐบาลไดตั้งเปาหมายวา ปริมาณการบริโภคของคนชนบทจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อพวกเขามีรายไดจากการขายผลผลิต และจะสามารถใชเงินจับจายซื้อสินคาอุปโภคบริโภค เชน ตูเย็น เครื่องซักผา โทรทัศน ไดมากขึ้น อันจะทําใหกระแสเงินหมุนเวียน

Page 125: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

125

โดยรวมของประเทศมีความคลองตัว และนําไปสูการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับมหภาคเพิ่มขึ้น

อยางไรก็ตาม มีการวิพากษวิจารณกันทั่วไปวา แนวนโยบายการพัฒนาเขตเมืองและเขตชนบทที่ไดกระทํามามักจะเนนคนละสวนกัน และไมคอยไดรับความสําเร็จตามที่คาดหวังเสมอไป ทั้งนี้สิ่งที่เกิดขึ้นจริงก็คือ มีชาวนานับลานๆ คนเดินทางเขาออกเมืองตางๆ เพื่อแสวงหางานในโรงงานอุตสาหกรรมและหาโอกาสของชีวิตที่ “กาวหนา” ในเมือง นอกจากนี้ คนรุนหนุมสาวที่อยูในระบบโรงเรียนก็อพยพเขามาศึกษาตอในระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในเมือง อันเปนการเพิ่มพูนความรูเพื่อใชเปนฐานในการกาวกระโดดไปสูอาชีพที่ดีกวาและมีชีวิตที่สุขสบายกวา ดังนั้น จะเห็นไดวา ในเมืองใหญๆ ของจีนมี “ประชากรลองลอย” (floating population) ไมนอยกวารอยละ 20 ของประชากรในเมืองนั้นๆ จากสถิติของกระทรวงเกษตรระบุวา ในป ค.ศ. 2004 จํานวนชาวนาที่ทํางานในเมืองมีราว 100 ลานคน มีอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 8.5 ตอป คาดกันวาในอีก 15 ปขางหนา จะมีชาวนาหลั่งไหลเขาไปทํางานในเมืองไมนอยกวา 150 ลานคนทีเดียว

คนเหลานี้มักพบกับความยากลําบากในการดํารงชีวิตในเมือง ทั้งในดานความมั่นคงในอาชีพ ที่อยูอาศัย การศึกษา และความมั่นคงทางสังคม โดยพวกเขามักไดงานชั่วคราว ไดรับคาจางแรงงานต่ํา มีสภาพชีวิตที่ต่ํากวามาตรฐาน ขาดสุขลักษณะอนามัยที่ดี และไมมีโอกาสในการฝกทักษะในการทํางาน

ความยากจนของประชากรลองลอยเปนผลมาจากการที่พวกเขามีชื่อในทะเบียนของคนที่ทํางานดานการเกษตร แตเมื่อตองเขามาอาศัยอยูในเมือง ก็ไมมีใบทะเบียนของคนทํางานภาคนอกเกษตรกรรม จึงไมมีสิทธิ์และโอกาสในการทํางานถาวรในเมืองไดเทียบเทากับคนในเมือง พวกเขาจะตองทํางานในงานเทาที่จะหาไดเพื่อหาเงินเลี้ยงชีพไปวันๆ หนึ่ง แตถึงกระนั้นก็ตาม ก็ตองพยายามหาทางเก็บสะสมเงินอันมีอยูนอยนิดสงกลับไปเลี้ยงดูครอบครัวในชนบท ดังนั้น หากมีการยกเลิกสถานภาพถิ่นที่อยูอาศัย ก็อาจจะเปนหนทางหนึ่งที่ชาวชนบทจะไดรับความเปนธรรมในสังคมมากขึ้น

ตัวอยางตอไปนี้แสดงใหเห็นถึงภาพชีวิตจริงของคนจีนในยุคสหัสวรรษใหม ซึ่งเปนตัวอยางที่ไดรับความสําเร็จในชีวิตระดับหนึ่ง (อยางไรก็ตาม มีกรณีอีกจํานวนไมนอยที่ไมไดเปนไปอยางที่หวังตั้งใจเอาไว) ตัวอยางนี้เปนครอบครัวของคนหนุมสาวที่

Page 126: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

126

เดินทางออกจากชนบทเขาไปศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัยในเมือง ภายหลังที่จบการศึกษาแลว ก็แตงงานกัน ในชวงแรกของการกอตั้งครอบครัว ทั้งคูไมมีทรัพยสมบัติอันใดเลย บานตองเชาขาวตองซื้อ จนกระทั่งภรรยาคลอดบุตรชาย ก็ยิ่งเพิ่มคาใชจายมากข้ึน ในขณะเดียวกัน ครอบครัวพอแมของสามีก็มีหนี้สินมากมายที่สามีตองรับภาระสงเงินกูคืนที่ทางบานของเขากอข้ึน

ทั้งคูตองทํางานอยางหนักเปนเวลานานหลายป ในขณะที่หนาที่การงานก็ไดรับการเลื่อนใหสูงขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถซื้ออพารทเมนทเล็กๆ ไดหองหนึ่ง และอาศัยอยูกันตามอัตภาพ พวกเขามักจะเดินทางไป-กลับชนบทเพื่อเยี่ยมเยือนครอบครัวของพอแม แตความใฝฝนที่จะเดินทางทองเที่ยวตามมณฑลตางๆ ของจีนยังไมอาจจะทําไดเพราะฐานะทางการเงินไมเอื้ออํานวย

ฝายภรรยากลาววา บิดาของเธอเปนบุคคลที่นายกยองมาก เพราะใหการสนับสนุนเธอทุกอยางตลอดมา เมื่อเธอมีการงานทําแลวก็ตองการจะซื้อเสื้อผาดีๆ ใหทานสวมใส แตบิดากลับปฏิเสธและบอกวา เขาคงไมมีโอกาสที่จะแตงตัวดวยเสื้อผาราคาแพง และยังกลาวตอเธออีกวา ควรเก็บเงินทองไวใชจายในครอบครัวจะดีกวา

ภรรยาไดเคยบอกกับสามีวา เธอใฝฝนที่จะเปนเจาของบานสองชั้นหลังใหญ ทํางานสี่วันตออาทิตย มีวันหยุดประจําป และมีรถยนตขับไปตามชนบทกับครอบครัวในชวงฤดูใบไมผลิเพื่อเฝามองพระอาทิตยอัศดงทามกลางกลิ่นไอของพงหญา สามีมองหนาพรอมกับเขามากอดและกระซิบเบาๆ วา เมื่อเราเปนเด็ก ไมเคยคิดฝนเลยวาจะเขาเรียนในมหาวิทยาลัย แตเราก็ทําได เมื่อเราเรียนหนังสืออยูในมหาวิทยาลัยก็ไมเคยนึกฝนวาจะเขาทํางานในสวนราชการในเมืองใหญ ซึ่งถือกันวาเปนที่ดีมีเกียรติในสายตาของคนทั่วไป แตเราก็ทําไดและสามารถเลื่อนตําแหนงขึ้นสูระดับสูงอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ก็เปนเพราะความพยายามของเราทั้งคูที่สรางสมกันมาโดยปราศจากการอุมชูชวยเหลือจากครอบครัวเลย สิ่งที่เราควรทําก็คือ การทํางานใหหนักและทําความฝนใหเปนจริง เขาเชื่อวา สิ่งที่ฝนจะตองปรากฏขึ้นแมอาจตองใชเวลานานหนอยก็ตาม จงเชื่อเถอะวาตองทํา ได

2. เศรษฐกิจระดับมหภาค นับตั้งแตทศวรรษที่ 1990 แหงคริสตศักราชเปนตนมา เศรษฐกิจของจีนได

Page 127: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

127

ขยายตัวอยางรวดเร็วและกลายเปนประเทศที่มีอิทธิพลตอการคาของเอเชียและของโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งในเอเชียดวยกันเองนั้น ปริมาณการคาระหวางจีนกับประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้ไดขยายตัวกวารอยละ 15 ตอปตลอดชวงสิบปที่ผานมา และมีแนวโนมที่จะขยายตัวมากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ ดังมีขอมูลสนับสนุนคํากลาวดังนี้ ในเอเชียตะวันออก (จีน เกาหลีใต ญี่ปุน และไตหวัน) จีนมีบทบาทเดนในดานการคาและการลงทุน กลาวคือ ภายหลังที่เกาหลีใตและจีนไดสถาปนาความสัมพันธระหวางกัน ขนาดและมูลคาทางการคาระหวางกันไดเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยจีนกลายเปนตลาดใหญอันดับที่สองของสินคาสงออกของเกาหลีใตในชวงตอนปลายของคริสตศตวรรษ 1990 และจีนเปนคูคาอันดับที่หนึ่งของเกาหลีใตในตอนตนสหัสวรรษใหมแทนประเทศสหรัฐอเมริกาที่เคยครองความเปนคูคาอันดับที่หนึ่งของเกาหลีใตในชวงสามทศวรรษที่ผานมา สวนกรณีกับประเทศญี่ปุนนั้น จีนเปนประเทศที่ซื้อสินคามากเปนอันดับที่สอง หรือเปนตลาดใหญที่นําเขาสินคาจากญี่ปุนแทนที่ตลาดสหรัฐฯ ไตหวันก็เปนอีกประเทศหนึ่งที่สงสินคาไปขายยังตลาดจีน โดยจีนเปนตลาดที่ใหญที่สุดของสินคาจากไตหวัน ในกรณีของประเทศในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ ปริมาณการคากับจีนไดเพิ่มขึ้นรอยละ 20 จริงอยูที่มูลคาทางการคากับกลุมอาเซียนจะมีไมมากเทากับประเทศในเอเชียตะวันออก แตอัตราการขยายตัวก็เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เปนผลมาจากการทําขอตกลงทางการคาในกรอบ ASEAN Plus Three, APEC และการทําขอตกลงเปนเขตการคาเสรี (Free Trade Area - FTA) ซึ่งไดกระทําขึ้นในตอนตนของคริสตศตวรรษที่ 21 อันจะทําใหจีนกลายเปนประเทศคูคาสําคัญของอาเซียนตอไป

ในแงของการลงทุน จีนเปนประเทศกําลังพัฒนาที่มีบริษัทตางชาติจากทั่วโลกเขาไปลงทุนมากที่สุดในชวงทศวรรษ 1990 บริษัทเหลานี้สวนใหญไปจากไตหวัน ฮองกง ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐฯ และยุโรป มีขอมูลชี้ชัดวา การลงทุนจากตางประเทศในจีนมีราว 300 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป ค.ศ. 1985 เพิ่มเปน 133 พันลานเหรียญในป 2001 ทําใหสินคาที่ผลิตในจีนไดสงออกไปขายยังตลาดในสหรัฐฯ และประเทศตางๆ ทั่วโลกจํานวนมาก สินคาจากจีน เชน รองเทา ตุกตา เกมส อุปกรณกีฬา และสินคาประเภทไอที (information technology) ไดแก คอมพิวเตอรสวนบุคคล คอมพิวเตอรกระเปาหิ้ว จอภาพ สแกนเนอร ไดตีคูแขงในสินคาประเภทเดียวกันที่เคยครองตลาดในสหรัฐฯ จาก

Page 128: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

128

ประเทศเกาหลีใต ฮองกง ไตหวัน ไทย และมาเลเซีย การขยายตัวสินคาประเภทไอทีของจีนไดปรากฏขึ้นอยางเห็นไดชัดนับตั้งแตปลายทศวรรษที่ 1990 เปนตนมา โดยคณะกรรมาธิการการวางแผนเพื่อการพัฒนาประเทศของจีน (State Development Planning Commission) ไดประกาศในงานแสดงสินคาไฮเทคเมื่อป ค.ศ. 2002 ที่นครเซินเจิ้นวา “รัฐบาลไดสงเสริมและเขารวมโครงการในธุรกิจผลิตสินคาไฮเทคกวา 1,000 โครงการกับบริษัทตาง ๆ ในชวง 4-5 ปที่ผานมา ปจจุบัน บริษัทเหลานี้ทําการผลิตสินคาประเภท telecommunication, electronics, communication, medicine, environment protection, new materials and biotechnology โดยหวังวา จะสามารถผลิตสินคาคิดเปนมูลคามากกวา 200 พันลานหยวน (24 พันลานเหรียญ) ซึ่งจะกอใหเกิดผลกําไรราว 38 พันลานหยวน (4.6 พันลานเหรียญ)”

อนึ่ง บริษัทกวา 15 แหงของจีนลงทุนผลิตโทรทัศนและโทรศัพทมือถือใหแกลูกคาตางประเทศคิดเปนมูลคา 9.2 พันลานหยวน (1.1 พันลานเหรียญ) และบริษัทโซยีเทคโนโลยีของจีนไดเซ็นสัญญาผลิตโทรทัศนกับลูกคาในฮองกง เปนมูลคา 120 ลานหยวนในป ค.ศ. 2002 นี่เปนเพียงบางตัวอยางที่บริษัทในจีนกําลังสรางอิทธิพลในการผลิตสินคาไฮเทคเพื่อการสงออกไปยังตลาดตางประเทศ อีกทั้งคาดการณกันวา ในอนาคตอันใกลนี้ สินคาประเภทนี้จะมีฐานการผลิตขนาดใหญในประเทศแถบเอเชีย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือ แหลงผลิตทางซีกโลกตะวันออกจะแทนที่แหลงผลิตจากโลกตะวันตก

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนที่มีตอเอเชียและตอโลก สวนหนึ่งไดสรางความยินดีใหแกประเทศตางๆ ทั่วโลกที่มองเห็นวา จีนจะไมเปนภัยคุกคามทางดานการทหาร เพราะจีนไดมุงเนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมมากกวา ตลอดจนตองแกไขปญหาที่เกิดขึ้นอันเปนผลขางเคียงของการขยายตัวของเศรษฐกิจระบบตลาด อยางไรก็ตาม ประเทศบางกลุม เชน ญี่ปุน สหรัฐฯ และประเทศอื่นๆ อีกหลายประเทศตางมองจีนดวยความสะพึงกลัว ทั้งนี้ เพราะศักยภาพของจีนในการกาวเปนหนึ่งในทางเศรษฐกิจของโลก จะมีการเพิ่มการใชพลังงานของโลกในการผลิต การสรางความทันสมัย การแยงชิงตลาดที่สําคัญๆ ของโลก เพราะการมีแรงงานราคาถูกและมีแรงงานเหลือเฝอของจีน ตลอดจนนโยบายที่ตองการเปนหนึ่งของจีนในเวทีการเมืองและเศรษฐกิจของโลก อันเปนการทาทายสถานภาพของการเปนเจาของประเทศเหลานั้น

Page 129: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

129

ทั้งนี้ทั้งนั้น เปนเพราะผูนําของจีนไดประกาศย้ําเตือนอยางตอเนื่องและเปดเผยถึงการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ดังตัวอยางเชน เมื่อนายหู จินเทาเดินทางไปนครเซี่ยงไฮในระหวางวันที่ 26-29 กรกฎาคม ค.ศ.2004 เขาไดประกาศตอประชาชนของเมืองนี้วา “ขอใหทุกคนทํางานอยางหนักและมุงมั่นนําพาเมืองเซี่ยงไฮใหมีความเจริญรุงเรืองและเปนเสาหลักในการพัฒนาของประเทศ” นั่นหมายความวา จีนพยายามเดินหนาไปสูความเปนประเทศที่มั่งคั่งและมั่นคงทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกัน ก็ทาทายประเทศชั้นแนวหนาที่ครอบครองความเปนหนึ่งของโลกในปจจุบันนั่นเอง

3. พัฒนาการทางสังคมของจีน: บททาทาย ในป ค.ศ. 2002 นายหลี่ ลุยหวน อดีตผูนําคนสําคัญหมายเลข 4 กลาวในที่ประชุม

ประจําปของคณะที่ปรึกษาทางการเมืองประชาชน (Chinese People’s Political Consultation Conference) วา “ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดของจีนไดสงผลใหอาชีพและสถานภาพทางสังคมของประเทศเรายุคปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป และกอใหเกิดความแตกตางและความขัดแยงระหวางชุมชน ระหวางชนิดของอุตสาหกรรม และระหวางภูมิภาคตางๆ ข้ึน” จากคํากลาวนี้ อาจถือไดวา เปนเรื่องปกติและไมนาจะเปนอันตรายใดๆ แตก็เปนการสะทอนใหเห็นถึงผลพวงที่เกิดขึ้นจากหนทางอันยาวไกลที่พรรคคอมมิวนิสตจีนไดเดินมาถึง ณ. จุดนี้

นายหลี่ไดอธิบายตอไปอีกวา สิ่งที่เรามองเห็นถึงขอขัดแยงทางสังคมในชวงนี้ ก็คือ ประเภทของขอขัดแยงในหมูประชาชนที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความในใจของแตละกลุม หนทางในการแกไขขอขัดแยงนี้ ไดแก การรวมมือกันในการทํางาน และการมีความรักใครกลมเกลียวกันในหมูประชาชน

ตามทฤษฎีนั้น ขอขัดแยงที่นําไปสูการประหัตประหารกัน คือ ขอขัดแยงระหวางตัวตน (oneself) กับ “ศัตรู” (enemy) ซึ่งจําเปนตองขจัด “ศัตรู”ใหออกไป จึงจะแกปญหาขอขัดแยงได ดังตัวอยางที่เกิดขึ้นในสังคมจีนในยุคประธานเหมา เจอตุง ก็คือ การตอสูกับ “ชนชั้นศัตรู” (class enemy) นั่นคือ ชนชั้นที่เปนเจาของที่ดินและชนชั้นที่ร่ํารวย สวนยุคการปฏิวัติวัฒนธรรม (Cultural Revolution) นั้น รัฐธรรมนูญของพรรคไดระบุวา เปน “พรรคของชนชั้นกรรมาชีพ” โดยเหมา เจอตุงย้ําถึงความจําเปนที่จะตองตอสูกับศัตรูอยางไมมีวันสิ้นสุด เพราะชนชั้นสูงจะตองถูกขจัดออกไปเพื่อไมใหเอารัดเอาเปรียบชนชั้นกรรมาชีพ

Page 130: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

130

สวนในยุคของนายเจียง เจอหมิน ไดเสนอ “ทฤษฎีสามตัวแทน” นายเจียงไดยึดมั่นวา พรรคคอมมิวนิสตเปนพรรคของมวลชนทั้งมวล โดยเขาไมไดใหความสนใจตอการตอสูทางชนชั้นอีก ทั้งนี้เพราะชนชั้นศัตรูไดถูกลบออกไปจากสังคมจีนจนหมดสิ้นแลวในยุคกอนหนา ดังนั้น การเปลี่ยนรูปจากการเปนตัวแทนของชนชั้นกรรมาชีพมาเปนพลังการผลิตที่กาวหนาเพื่อเขาสู “วัฒนธรรมที่กาวหนา” หมายถึง การนําสังคมเขาสูสังคมที่ร่ํารวยและมีพลัง มิใชเปนสังคมของคนยากจนและไรศักดิ์ศรี

ปจจุบัน สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศจีนไดจําแนกชนชั้นออกเปน 10 ชนชั้น โดยมีกลุมหัวหนาพรรคอยูในชนชั้นสูงสุด คนไรงานทําอยูในชั้นต่ําสุด อนึ่ง สมาชิกพรรคสวนใหญในยุคนี้ ไดแก กลุมผูจัดการ ผูประกอบการอิสระ และนักวิชาชีพ ในขณะที่ชาวนาและกรรมกร ผูซึ่งเคยเปนผูสนับสนุนหลักของพรรคในอดีตกลับมีจํานวนสมาชิกลดลงมาก ดังตัวอยางของการศึกษาที่เมืองเซินเจิ้นที่เปนเขตติดตอกับฮองกง พบวา สมาชิกพรรคที่เปนผูจัดการมีจํานวนรอยละ 35.7 ผูประกอบวิชาชีพอิสระ รอยละ 22.2 นักวิชาชีพ รอยละ 27.3 ในขณะที่กรรมกรในโรงงานอุตสาหกรรมมีเพียงรอยละ 10.4 ขอมูลดังกลาวมีลักษณะคลายคลึงกับการศึกษาในบริเวณอื่นๆ ของประเทศ จะเห็นไดวา คนกลุมแรกไดเขามาเปนสมาชิกพรรคและมีบทบาทในพรรคมากขึ้น สวนชาวนาและกรรมกรมีจํานวนลดนอยลงไป ทําใหโครงสรางของพรรคเปลี่ยนแปลงไป

ตอมา ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2004 สมาคมดังกลาวไดเสนอรายงานอีกชิ้นหนึ่ง ชื่อ Flow in Contemporary Chinese Society โดยไดย้ําวา ในอีก 8-10 ปตอไป จีนจะกาวไปสูสังคมที่นักวิชาชีพมีความสําคัญขึ้น ชนชั้นกลางจะเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ในขณะที่ชาวนาจะมีจํานวนลดลงอยางเห็นไดชัด ลักษณะดังนี้จะทําใหโครงสรางของชนชั้นยิ่งเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญ

ในปจจุบัน ชาวนามีจํานวนรอยละ 44 ชนชั้นกลางมีรอยละ 15 อุปสรรคสําคัญที่ขัดขวางมิใหมีการขยับสถานภาพของชาวนาก็คือ มีขอบังคับของรัฐที่กําหนดในเรื่องถิ่นที่อยูอาศัย อาชีพ บุคลากร และความมั่นคงทางสังคมที่มีอยูอยางเครงครัดนับแตอดีตและยังคงมีผลบังคับใช ทําใหการเลื่อนสถานภาพทางสังคมใหสูงขึ้น ความยุติธรรม และแบบแผนของการเขาสูความทันสมัยและเปดโอกาสใหเกิดการเคลื่อนไหวทางสังคมขึ้นจึงเปนไปไดยาก ดังนั้น จําเปนตองยกเลิกขอกําหนดเหลานี้ออกไปใหหมด เพื่อ

Page 131: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

131

ประชากรจะสามารถเลื่อนชั้น (moving up) ทางสังคมไดตามความสามารถของพวก เขา

อยางไรก็ตาม เมื่อไดเปดตัวสูโลกกวางในยุคปจจุบัน จึงสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวงขึ้น กลาวคือ ประชากรจีนไดกาวไปสูโลกกวางโดยผานทางอินเตอรเนต ปจจุบันมีผูใชอินเตอรเนตในจีนราว 75.5 ลานคนจากจํานวนประชากรทั้งสิ้น 1,300 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 6 ของประชากรทั้งหมด ในขณะที่ญี่ปุนมีผูใชจํานวน 56 ลานคน จากจํานวนประชากรทั้งสิ้น 127 ลานคน สวนสหรัฐฯ มีผูใชอินเตอรเนต 165.5 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 57 ของประชากรทั้งหมด 290.3 ลานคน จึงมีการพยากรณวา ในอนาคตจํานวนผูใชอินเตอรเนตในจีนจะเพิ่มปริมาณขึ้นอีกหลายเทาตัว อันจะทําใหคนสวนใหญกาวขึ้นไปสูชนชั้นกลางและผูใชวิชาชีพขยับฐานะของตนใหสูงขึ้นอยางรวดเร็ว

ในแงปญหาทางดานสังคมในยุคปจจุบันนั้น ไดเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งก็คลายคลึงกับของประเทศอื่นๆ ที่อยูในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดทั่วโลก เชน ปญหาการวางงาน สิ่งแวดลอมเปนพิษ อาชญากรรม โสเภณี ความแตกตางกันทางดานรายได ฯลฯ ตัวอยางเรื่องการวางงานเปนหัวขอที่ไดรับความสนใจยิ่ง เพราะมีผูเชี่ยวชาญของจีนไดแนะนําวา รัฐบาลจีนควรสรางอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานมากและควรสนับสนุนใหเกิดกลุมอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กเพราะเปนหนทางที่จะจางแรงงานคนไดเปนจํานวนมาก รัฐบาลไมควรเนนเปาหมายดานการเพิ่มมูลคาของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เชน ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้ มิใชเปาหมายสูงสุด แตควรสรางความสมดุลระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจและการจางงานควบคูกันไป

ผูเชี่ยวชาญยังไดอางถึงตัวเลขของการวางงานในป ค.ศ. 2001 วา อัตราการวางงานอยูในระดับรอยละ 3.6 หรือมีจํานวนผูวางงานทั้งสิ้น 6.81 ลานคน ในป ค.ศ. 2004 มีคนวางงานราว 10 ลานคน ดังนั้น แมวาอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะสูงมากกวารอยละ 7 ตอปในชวงสิบกวาปที่ผานมาก็ตาม แตในที่สุด การวางงานก็จะทําลายแนวโนมของอัตราความเจรญิเติบโตทางเศรษฐกิจเสียสิ้น

Page 132: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

132

ความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลี ในที่นี้จะแยกกลาวถึงความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลี ออกเปน 2 หัวขอ คือ จีน

กับเกาหลีเหนือ และจีนกับเกาหลีใต การอธิบายความสัมพันธดังกลาวจะไมขีดวงถึงจุดยืนของจีน (Chinese position) ที่มีตอแตละประเทศเทานั้น แตจะกลาวถึงจุดยืนของอีกฝายหนึ่ง และจุดยืนของประเทศที่สามที่มีตอสถานการณแตละสถานการณเพื่อผูอานจะไดเปรียบเทียบขอมูลและสามารถมองเห็นภาพไดอยางชัดเจนถึงการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรและพฤติกรรมของแตละรัฐ

1. จีนกับเกาหลีเหนือ: ความสัมพันธแบบพี่ใหญ (Big brother) ภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียตและการยุติสงครามเย็นในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 20 อิทธิพลของรัสเซียตอเกาหลีเหนือไดลดระดับลงต่ําสุด ทั้งนี้เพราะรัฐตางๆ ภายใตการปกครองของอดีตสหภาพโซเวียตไดแยกตัวต้ังตนเปนประเทศอิสระ จึงเหลือแตสวนที่เปนรัสเซียที่ยังคงรวมตัวเปนประเทศหนึ่ง อยางไรก็ตาม แมวารัสเซียจะมีอาณาเขตกวางใหญและมีประชากรเปนจํานวนมาก แตเนื่องจากยังคงยึดมั่นในระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต ในขณะที่ระบบการผลิตแบบทุนนิยมไดแพรกระจายเขาไปในทุกสวนของประเทศ ทําใหเกิดการปะทะกันระหวางระบบการผลิตแบบสังคมนิยมกับระบบทุนนิยม กอใหเกิดความสับสนในหมูประชาชนและความไรประสิทธิภาพในดานการผลิต ทําใหเศรษฐกิจของรัสเซียตกอยูในภาวะวิกฤต กลายเปนประเทศที่ประชากรมีรายไดต่ําอยูในระดับประเทศกําลังพัฒนา ขารัฐการและพนักงานบริษัทมีรายไดเดือนละไมกี่พันบาท และความยากจนมีปรากฏไปทั่วทุกสวนของประเทศ จากปรากฏการณดังกลาว ทําใหเกาหลีเหนือไมอาจพึ่งพาไดดังเชนในอดีต ดังนั้น จึงตองยึดจีนเปนพันธมิตรที่เนนแฟนที่สุด จีนเปนประเทศที่มีพรมแดนติดตอกับเกาหลีเหนือนับพันกิโลเมตร และตางยึดมั่นระบบเศรษฐกิจแบบเดียวกัน จีนแตกตางจากรัสเซียที่แมจะมีพรมแดนติดตอกับเกาหลีเหนือราว 16 กิโลเมตร แตเนื่องจากจีนไดรับความสําเร็จในการพัฒนาประเทศชวง 30 ปที่ผานมาดังที่กลาวแลวในตอนตน ทําใหจีนเปนแหลงที่สามารถเจือจุนเกาหลีเหนือทางดานเศรษฐกิจ และปกปองเกาหลีเหนือในทางการเมืองระหวางประเทศ เพราะมี “ประเทศผูพ่ี” (big brother) ใหการดูแลหากถูกขู หรือรุกรานจากประเทศเสรีนิยมใดๆ ดวยเหตุนี้ เมืองโสมแดงจึงทําตัวเปนเสมือน “รัฐบรรณาการ” ของจีนเฉกเชนในอดีต จน

Page 133: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

133

มีการกลาวขานกันวา เกาหลีเหนือเปนเสมือนมณฑลที่สี่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน (จีนมีมณฑลเฮอหลุงเจียง มลฑลจี้หลิน และมณฑลเหลียวหนิง) เพราะมีความสัมพันธพิเศษ (special relationship) ระหวางกัน ดังนี้

ก. การรวมมือทางเศรษฐกิจ (1) ความรวมมือทางเศรษฐกิจ ในทศวรรษที่ 1990 การคาระหวางสองประเทศมี

มูลคาเพียง 3 – 6 รอยลานเหรียญตอป หรือคิดเปนอัตราสวนเพียงรอยละไมถึง 30 ของมูลคาการคารวมกับตางประเทศทั้งหมดของเกาหลีเหนือ ตอมาในตอนตนสหัสวรรษใหมที่ 21 มูลคาทางการคาพุงสูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึง 1,580 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือมากกวารอยละ 50 ในป ค.ศ. 2005 ทีเดียว

(2) การลงทุนของจีนในเกาหลีเหนือ ชวงป ค.ศ. 2002 จีนไดเขาไปลงทุนใน เมืองโสมแดงเพียง 1 – 2 โครงการเทานั้น ตอมา เมื่อรัฐบาลของเกาหลีเหนือไดปรับแตงการจัดการดานเศรษฐกิจ บรรยากาศการลงทุนจึงเริ่มเฟองฟู จีนจึงไดทะยอยเซ็นขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจหลายฉบับในชวงที่นายคิม จองอิลเดินทางไปเยือนจีนในป ค.ศ. 2004 การลงทุนของจีนไดเพิ่มจาก 1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป ค.ศ. 2003 พุงขึ้นเปน 50 ลานเหรียญในป ค.ศ. 2004 และเพิ่มปริมาณและมูลคาาการลงทุนมากขึ้น ภายหลังการเซ็นสัญญา Investment Promotion and Protection Agreement ในเดือน มีนาคม ค.ศ. 2005

การคาระหวางเกาหลีเหนือกับจีน

1992 1995 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 มูลคา 69 54 3.7 4.8 7.4 7.4 10.1 13.9 15.8 (100 ลานเหรียญ) อัตราสวนตอการคา 27 26 25 25 33 33 43 48 50+ กับตางประเทศทั้งหมด

Page 134: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

134

จีนเนนการลงทุนในการขุดแรและประมงในระยะเริ่มแรก เพราะสามารถเก็บเกี่ยวผลประโยชนไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวยไดอยางชัดเจน สวนการลงทุนดานปจจัยพ้ืนฐานและอุตสาหกรรมยังอยูในระดับต่ํา ตอมา ประธานาธิบดีหู จินเทาเดินทางไปเยือนเกาหลีเหนือในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2005 และไดมองหาการขยายการลงทุนมากยิ่งขึ้น อนึ่ง จีนไดประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 11 ในป ค.ศ. 2006 โดยเนนการพัฒนาการลงทุนในมณฑลทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหมากขึ้น อาจสงผลใหเพิ่มการลงทุนดานการพัฒนาแหลง

ขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางเกาหลีเหนือกับจนี สิงหาคม 2002 ความรวมมือในดานมาตรฐานของสินคาและคุณภาพ มีนาคม 2005 ขอตกลงเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุนและ คณะกรรมการรวมความรวมมือทางเศรษฐกิจ กรกฎาคม 2005 ขอตกลงดานการตอรองเกี่ยวกับความรวมมือทางศุลกากร ตุลาคม 2005 ขอตกลง 4 ขอในดานความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา แบบทวิภาคี

ตุลาคม 2005 การลงนามขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจในแผนพัฒนา ฉบับที่ 11 (ค.ศ. 2006 – 2010)

วัตถุดิบในเกาหลีเหนือมากยิ่งขึ้นในขณะเดียวกัน จีนมองเห็นลูทางที่จะสงผานสินคา

จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนไปยังเมืองราจิน – ซองบอน ซึ่งเปนเขตเศรษฐกิจการลงทุนระหวางประเทศของเกาหลีเหนือเพื่อออกทะเล จะทําใหการลงทุนจากจีนเพิ่มมากขึ้นตอไป (3) ความชวยเหลือจากจีน จีนไดสงความชวยเหลือทางดานมนุษยชนใหแกเกาหลีเหนือนับตั้งแตป ค.ศ. 2000 เปนตนมามีมูลคาราวปละ 200 ลานเหรียญ สวนเงินกูที่ใหแกเมืองโสมแดงนั้นมักออกมาในรูปน้ํามันดิบ อาหาร และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งความชวยเหลือทางดานอาหารนั้น จีนเปนแหลงปอนอาหารแกเกาหลีเหนือถึงรอยละ 30

Page 135: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

135

– 40 ของความตองการทั้งประเทศในแตละป อนึ่ง เกาหลีเหนือพ่ึงพาวัสดุทางยุทธศาสตรจากจีนถึง 100 เปอรเซ็นต นอกจากนี้ จีนยังใหเงินชวยเหลือแบบใหเปลาราวครั้งละ 50 ถึง 100 ลานเหรียญเมื่อมีการเยี่ยมเยือนของเจาหนาที่ระดับสูงจากเกาหลีเหนือ

ข. มูลเหตุเบื้องตนหลังความรวมมือทางเศรษฐกิจแบบทวิภาคี จุดเปลี่ยนผานครั้งสําคัญของความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางสองประเทศนี้

เกิดขึ้นเมื่อป ค.ศ. 2000 ที่ขนาดการคาการลงทุนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ อีกทั้งไดมีการสรางองคกรเพื่อทําหนาที่นี้ข้ึน ทําใหเกิดความผูกพันอยางแนนแฟนตอกันและกัน ทั้งนี้ทั้งนั้น มูลเหตุสําคัญมาจากผลประโยชนที่แตละฝายมีรวมกันภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ

(1) จุดยืนของจีน จีนมีเหตุผลหลายประการที่จําเปนตองสรางควมสัมพันธกับเกาหลีเหนือ กลาวคือ ประการแรก จีนตองผูกมิตรกับเกาหลีเหนือ เพราะมีความรูสึกวาสหรัฐฯประสงคที่จะแยกจีนใหอยูโดดเดี่ยว โดยสหรัฐฯไดเพิ่มระดับความเปนพันธมิตรกับญี่ปุนใหสูงขึ้น อีกทั้งยังไดตั้งกองกําลังทหารประจําในเอเชียกลาง ทําใหจีนตองขยายมิตรภาพที่ดีตอเวียตนามเพื่อครอบครองภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหมีความแข็งแกรงยิ่งขึ้น ประการที่สอง จีนตองการรักษาความมั่นคงตามชายแดนไว จึงไดใหความชวยเหลือแกเกาหลีเหนือ อนึ่ง การผูกมิตรกับเมืองโสมแดงยังทําใหจีนมีแหลงทรัพยากรใชปอนอุตสาหกรรมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของตน นอกจากนี้ จีนคาดหวังวาจะใชทาเรือที่เมืองราจินระบายสินคาที่ผลิตจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือใหออกสูทะเลไดสะดวก อันจะทําใหเปนการลดคาใชจายในการสงออกสินคาไปสูญี่ปุน และเมืองอื่นๆ ไดมาก

ประการที่สาม จีนสามารถใชอิทธิพลเรียกรองใหเกาหลีเหนือยุติการผลิตอาวุธนิวเคลียรได อันจักทําใหจีนไดรับความนิยมจากประชาคมโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งจากสหรัฐฯ เกาหลีใต และญี่ปุนที่มองเห็นวาจีนไดแสดงบทบาทเปนกลางและใชเวทีในประเทศของตนจัดการประชุมหกฝายในเรื่องวิกฤตนิวเคลียร นอกจากนี้ มีการกลาววา จีนใชเกาหลีเหนือเปนรัฐกันชนกับเกาหลีใตและกองกําลังทหารสหรัฐฯ ที่ตั้งฐานทัพอยูในเกาหลีใตและญี่ปุน ดังนั้น เกาหลีเหนือจึงเปนจุดยุทธศาสตรที่จีนมองเห็นประโยชนเพื่อใชเปนปราการหากไดรับการโจมตีจากพันธมิตรโลกเสรีดวยกําลัง

Page 136: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

136

หากเกิดการลมสลายของรัฐบาลเกาหลีเหนือจะเปนภาระอันใหญหลวงตอจีน ดวยเหตุนี้ จึงเปนภาระหนาที่ที่จะตองสงเสริมใหสังคมโสมแดงมีสันติภาพและเจริญรุงเรือง ในทัศนะของจีนนั้น อิทธิพลของจีนตอเกาหลีเหนือจะลดถอยลงไปก็ตอเมื่อเกาหลีเหนือสามารถปรับปรุงความสัมพันธกับเกาหลีใตและสหรัฐฯ จากจุดนี้เอง จึงเปนเหตุผลที่ชัดเจนประการหนึ่งที่จีนเรงรัดในการแผอิทธิพลไปยังเกาหลีเหนือดวยการขยายความสัมพันธทางเศรษฐกิจใหมากยิ่งขึ้น

(2) จุดยืนของเกาเหลีเหนือ เกาหลีเหนือก็มีเหตุผลสําคัญดังนี้ ประการที่หนึ่ง เมื่อเกาหลีเหนือไดสูญเสียมิตรประเทศที่ใหการสนับสนุนหลักไป คือ รัสเซีย (สหภาพโซเวียตเดิม)ไป จีนจึงหลายเปนประเทศหนึ่งเดียวที่เมืองโสมขาวสามารถพึ่งพาได โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในชวงที่ราคาสินคาในประเทศไดพุงสูงขึ้นภายหลังที่รัฐบาลไดปลอยใหมีการปรับราคาสินคาใหเปนไปตามราคาที่แทจริงในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2002 เปนตนมา ทําใหเกาหลีเหนือตองพึ่งพาจีนในการตอสูกับภาวะเงินเฟอที่รุนแรง จากความชวยเหลือทางดานอาหารและเครื่องอุปโภคบริโภคจํานวนมหาศาลจากจีน ทําใหรัฐบาลเกาหลีเหนือรอดพนจากหายนะทางเศรษฐกิจ อันเปนเสมือนการตออายุการปกครองของประธานคิม จองอิลตอไปอีกระยะหนึ่ง จะเห็นไดวา เกาหลีเหนือจําเปนตองพึ่งพาจีนในแงเศรษฐกิจและการลงทุน รวมทั้งความรวมมือแบบทวิภาคีอยางแนนแฟน เพื่อใหประเทศรอดพนจากปญหาทางเศรษฐกิจที่รุมเรา

ประการที่สอง รัฐบาลเกาหลีเหนือแสวงหาการปกปองคุมครองจากจีนผานทางการชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการอุมชูทางการเมือง โดยใชประเด็นดานนิวเคลียรเปนเครื่องตอรองกับสหรัฐฯ และเกาหลีใต ในขณะเดียวกันก็พยายามหาทางเปดสัมพันธทางการทูตกับสหรัฐฯ ดวยการปรับแตงขอตกลงเพื่อสันติภาพทางดานอาวุธ จะเห็นไดวา เกาหลีเหนือมีความตองการใชจีนเปนหนทางในการสรางดุลยภาพกับสหรัฐฯ ญี่ปุน และเกาหลีใต อันเปนการเพิ่มความสมดลุในโครงสรางภายหลังยุคสงครามเย็น

จุดยืนของเกาหลีเหนือที่เพิ่งกลาวถึงเปนการวิเคราะหของนักวิชาการของเกาหลีใตและสหรัฐฯ ที่มักจะมองเห็นวา เกาหลีเหนือใชยุทธวิธีทางการทูตแยบยลสรางสถานการณข้ึน ทําใหไดรับการตอบสนอง คือ ความชวยเหลืออยางมากมาย ทั้งจากจีน และเกาหลีใต สหรัฐฯ และญี่ปุนเสมอมา

Page 137: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

137

โดยแทจริงแลวสหรัฐฯ ญี่ปุนและเกาหลีใตก็มีบทบาทตอนโยบายตางประเทศของจีนไมนอย เพราะเปนประเทศที่เขาไปลงทุนในจีน และเปนตลาดสินคาสงออกของจีนทั้งปริมาณและมูลคามหาศาลในแตละป ทําใหจีนตองประคับประคองความสัมพันธที่ดีกับประเทศเหลานี้ดวยเชนกัน ดังนั้น จีนจึงตองตระหนักมิใหเกาหลีเหนือใชประโยชนจากตนมากจนเกินไป ในขณะเดียวกัน จีนก็มีปญหากับเกาหลีเหนือเชนกัน โดยเฉพาะคนเกาหลีเหนือลักลอบขามเขตแดนเขาไปในจีนเพิ่มมากขึ้นในชวงเศรษฐกิจเกาหลีเกิดวิกฤตและขาดอาหารในการเลี้ยงดูประชาชน คนเหลานี้ไดสรางปญหาเพราะเขาไปแยงงานทําในจีนและลักลอบขนสินคาหนีภาษีไปยังประเทศของตน รวมทั้งไดหลบหนีเขาไปยังสถานทูตประเทศที่สามในจีนเพื่อขอลี้ภัยไปยังเกาหลีใต และประเทศที่สาม ทําใหจีนไดรับการติเตียนจากประชาคมโลกที่ใหความปลอดภัยแกสถานทูตตางชาติไมเพียงพอ ในดานเศรษฐกิจนั้น จีนไดพยายามเกลี้ยกลอมใหเกาหลีเหนือหันไปใชระบบตลาดเสรีที่ทําใหจีนเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว แตก็ไดรับการปฏิเสธจากเกาหลีเหนือที่เนนการปกครองแบบสังคมนิยมสุดขั้ว ในขณะที่ใชโครงการนิวเคลียรเพื่อการตอรองทางการเมืองระหวางประเทศ ทําใหนักวิชาการจีนหลายคนไมคอยพอใจและเขียนบทความวิพากษวิจารณเกาหลีเหนืออยางรุนแรงเรื่อยมา จนมีผูสังเกตการณหลายคนวิเคราะหวา ขอเขียนเหลานี้นาจะเปนหลักการในนโยบายของรัฐบาลจีนที่มีตอเกาหลีเหนือตอไปในอนาคต

2. จีนกับเกาหลีใต

นับตั้งแตหลังสงครามเย็นเปนตนมา ความสัมพันธระหวางจีนกับเกาหลีใตเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว แตเปนที่นาสังเกตวา การพัฒนาความสัมพันธของทั้งสองประเทศนี้มิไดเปนไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หรือเปนเสนตรงดังเชนความสัมพันธแบบทวิภาคีของประเทศอื่นๆ ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากเกาหลีใตมีลักษณะที่เปนเอกลักษณที่นโยบายตางประเทศมักจะรวมเปนหนึ่งเดียวกับกระแสสังคมภายในประเทศ ยังผลใหตางประเทศกลับไปกลับมาตามกระแสสังคมภายในที่มีความออนไหวยิ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่งตอจีน เกาหลีเหนือ และญี่ปุน รวมไปถึงสหรัฐฯ ในที่นี้ จะกลาวถึงจุดยืนของจีน

Page 138: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

138

ที่มีตอเมืองโสมขาวเปนหลักเพื่อใหเห็นภาพของบทบาทของจีนในการจัดการในดานความสัมพันธกับมิตรประเทศที่ใกลชิดประเทศนี้ (1) สถานการณทางการเมืองระหวางประเทศ จีนไดกาวขึ้นเปนชาติที่มีอิทธิพลในเอเชียและมีศักยภาพทางดานเศรษฐกิจนับตั้งแตทศวรรษที่ 1990 เปนตนมา ในขณะที่เกาหลีใตมีความสัมพันธที่เหินหางกับสหรัฐฯ ทําใหเกาหลีใตมีความเปนอิสระในการดําเนินการดานความสัมพันธกับประเทศอื่นมากกวาในอดีตที่เคยตองพึ่งพาสหรัฐฯ ในแทบทุกดาน ทําใหความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลีใต เปนไปในทิศทางที่ดีข้ึนเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน สาเหตุที่เปนเชนนี้เพราะเกาหลีใตมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

- คนเกาหลีไมพอใจตอความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันกับสหรัฐฯ และตอการตั้งฐานทัพในประเทศ

- คนเกาหลีไมพอใจตอการตัดสินใจของรัฐบาลสหรัฐฯ ในประเด็นสําคัญๆ หลายเรื่อง

- มีความไมลงรอยกันในนโยบายตอเกาหลีเหนือ โดยสหรัฐฯ ใชนโยบายแข็งกราว ในขณะที่เกาหลีใตตองการใชนโยบายผอนปรนเพื่อใหเกาหลีเหนือรวมสรางสันติภาพบนคาบสมุทร

การหันเหดวยการลดการพึ่งพาสหรัฐฯ มาดําเนินนโยบายที่เปนอิสระมากขึ้นนั้น ทําใหเกาหลีใตเปดกวางกรอบความสัมพันธกับตางประเทศของตน เมื่อจีนกาวขึ้นมาเปนมหาอํานาจและเกาหลีใตเล็งเห็นผลประโยชนของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนแหลงการคา การลงทุน การทองเที่ยว และรวมมือกับจีนในการติดตอในเรื่องการขจัดอาวุธนิวเคลียรใหหมดไปจากคาบสมุทรเกาหลีดวยการเจรจา ทําใหเกาหลีใตมีความโนมเอียงในการสรางความผูกพันที่ดีกับจีน โดยยุติการมองวา จีนเปนภัยคุกคามดังเชนในอดีต ในทางตรงกันขาม คนเกาหลีใตตางมองถึงโอกาสเพราะจํานวนประชากรกวา 1,300 ลานคนนั้นเปนความหวานหอมที่ตางคาดฝนวา จะยึดครองตลาดนี้มาเปนของตน จึงไดกระทําทุกทางที่จะไดมาซึ่งผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ดังนั้น ภาษาจีนจึงเปนที่นิยมเรียนในหมูนักศึกษาเกาหลีในยุคปจจุบัน เพื่อใชภาษาเปนเครื่องมือในการทําใหเปาหมายทางเศรษฐกิจบรรลุผล

ในขณะเดียวกัน ผูนําจีนย้ําเสมอถึงทาทีของประเทศของตนตอสังคมเพื่อนบานวา จะพยายามสรางสรรคใหเกิดสันติภาพและความรวมมือ ดังที่นายกรัฐมนตรีเหวิน เจีย

Page 139: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

139

เปาไดเนนย้ําถึงการสรางสันติภาพ (peaceful rise) ข้ึนในคําปราศรัยที่นครนิวยอรคเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 2003 วาจีนจะไดเขามามีสวนรวมในการเสริมสรางความสงบสุขในหมูประชาคมของเอเชียตะวันออกและของโลก และเปนตัวแสดงหลักในทางเศรษฐกิจ การเมือง และความมั่นคงของภูมิภาค ดังนั้น จีนจึงสามารถลบภาพ “อันตรายจากจีน” (Chinese threat) ใหหายไปจากความทรงจําที่แตละประเทศเคยมองจีนวาเปนภัยคุกคาม มาเปนประเทศที่เปดเผย รับการเขา – ออกของทุกชนชาติไดอยางเสรี และใหการสนับสนุน รวมทั้งความรวมมืออยางเปนมิตรภายใตของกฎกติกาสากล ผสมกับการใชมารยาททางสังคมของชาวเอเชียปฏิบัติตอประเทศเพื่อนบาน ในสหัสวรรษใหมนี้ จีนจึงมีความใกลชิดกับเกาหลีเหนือ เกาหลีใต ฮองกง เวียตนาม และเอเชียตะวันออกเฉียงใตเมื่อเทียบกับชวงทศวรรษ 1950 – 1970 เพราะในยุคนั้น ทุกประเทศที่กลาวถึงตางพูดเปนเสียงเดียวกันวา จีนเปนศัตรูตัวรายที่สุด

การสรางพันธมิตรของจีนเปนการทาทายความเปนเจาของสหรัฐฯ ที่กลายเปนมหาอํานาจหนึ่งเดียวภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียต โดยจีนไมตองการใหสหรัฐฯ – ญี่ปุนมีอํานาจเด็ดขาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ดังนั้น ความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลีใต จึงเปนไปในแนวถอยทีถอยอาศัยกัน กลาวคือ จีนไมไดเรงรัดหรือบังคับให เกาหลีใตตัดขาดจากสหรัฐฯ และญี่ปุน ในขณะที่ เกาหลีใตก็ยังคงยึดมั่นในสัมพันธภาพที่ดีกับทั้งสองประเทศ และกับจีนอยางสมดุล ศาสตราจารยโรเบิรท ซัทเตอร (Robert Sutter – School of Foreign Service, Georgetown University) ไดกลาววา รัฐบาลจีนไดปรับความสัมพันธโดยเนนการหาประโยชนทางเศรษฐกิจและโอกาสอื่นๆ จากเกาหลีใตในขณะที่ยึดมั่นในมิตรภาพกับเกาหลีเหนืออยางเหนียวแนน เมื่อโลกเผชิญหนากันเพราะปญหาทางดานนิวเคลียรและการถือครองขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ รวมถึงปญหาการกระถดถอยทางเศรษฐกิจอยางรุนแรงในเมืองโสมแดงภายหลังการอาสัญกรรมของนายคิม อิลซุง (อดีตประธานาธิบดี) ใน ค.ศ. 1994 จีนจึงเตรียมพรอมรับกับอนาคตที่ไมแนนอนบนคาบสมุทรเกาหลี โดยรัฐบาลจีนไดใหความชวยเหลือทางเศรษฐกิจและการแลกเปลี่ยนทางการทหารและการเมืองอยางตอเนื่องเพื่อสานตอความสัมพันธและสรางความมั่นคงกับเกาหลีเหนือ ในขณะเดียวกันก็ทํางานรวมกันกับเกาหลีใตและในบางครั้งกับสหรัฐฯ ในการแสวงหาหนทางลดความตึงเครียดบนคาบสมุทร ดังนั้น จีนไดตอบสนองวิกฤตินิวเคลียรที่เกาหลี

Page 140: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

140

เหนืออางวาไดดําเนินการคนควาและผลิตขึ้นในชวงป ค.ศ. 2002 – ปจจุบัน (2006) ดวยการแสดงบทบาทไกลเกลี่ยโดยรับเปนเจาภาพจัดประชุม 6 ฝาย (เกาหลีเหนือ เกาหลีใต สหรัฐฯ ญี่ปุน รัสเซีย และจีน) หลายครั้งเพื่อสงวนรักษาอิทธิพลและผลประโยชนของจีนบนคาบสมุทรเกาหลี (2) เศรษฐกิจและสังคม ศาสตราจารยซัทเตอรยังไดกลาวตอไปอีกวา ภายหลังที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง จีนมีความสนใจอยางจริงจังในการสรางความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับเกาหลีใตที่นับวันจะเจริญเติบโตทั้งปริมาณและมูลคา ความรวมมือแบบทวิภาคีในทุกแขนงของทั้งสองประเทศไดรับการแสวงหาและดําเนินการเพื่อปรับปรุงในดานการคาและการลงทุน ผูนํารัฐบาลไดเดินทางเยี่ยมเยือนกันและกันอยางเปนทางการเสมอมาและตางแสดงถึงมิตรภาพที่มีตอกัน กอใหเกิดแรงผลักดันตอการติดตอและสรางสัมพันธดวยเหตุผลทางเศรษฐกิจและสรางผลประโยชนรวมกันบนคาบสมุทร ในกรณีที่เกิดวิกฤตนิวเคลียรเกาหลีเหนือในป ค.ศ. 2002 จีนและเกาหลีใตก็มีจุดยืนรวมที่จะใชการเจรจาทางการทูตกับเกาหลีเหนือมากกวาการใชมาตรการที่กาวราวและการทหาร ในชวงเวลาที่ผานมา การแลกเปลี่ยนระหวางจีน – เกาหลีใตบรรลุถึงจุดที่มีนัยสําคัญยิ่ง กลาวคือ นักทองเที่ยวชาวเกาหลีเดินทางไปเยือนจีนถึง 1.7 ลานคนในป ค.ศ. 2002 และมีจํานวนเพิ่มขึ้นในปถัดมา สวนนักทองเที่ยวชาวจีนกวา 500,000 คน เดินทางไปเยือนเกาหลีใตในปเดียวกัน ใน ค.ศ. 2001 มีนักศึกษาเกาหลีใตกวา 16,000 คนมาศึกษาในสถาบันการศึกษาของจีน เพิ่มเปน 24,000 คนใน ค.ศ. 2002 และเปน 40,000 กวาคนใน ค.ศ. 2003 – 2004 อนึ่ง จํานวนเที่ยวบินที่บินระหวางจีนกับเกาหลีใตมีมากกวาจํานวนเที่ยวบินระหวางเกาหลีใตกับญี่ปุน โดยในป ค.ศ. 2004 มีกวา 200 เที่ยวตออาทิตยและมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ

การติดตอทางด านธุรกิจอุตสาหกรรมได เกิดมี ข้ึนพรอมกับการสร างความสัมพันธทางการเมืองกับจีนในระหวางการประชุมเอเปค (Asia – Pacific Economic Cooperation) ครั้งที่ 3 ที่จัดขึ้นที่กรุงโซลในป ค.ศ. 1991 ตอมาเมื่อมีการเปดความสัมพันธทางการทูตระหวางสองประเทศอยางเปนทางการในปถัดมา ทําใหความรวมมือเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว แมวาจะไดรับการคัดคานจากเกาหลีเหนือก็ตาม อนึ่ง ประธานาธิบดีคิม เดจุงแหงเกาหลีใตไดมีบทบาทสําคัญในการริเริ่มความรวมมือแบบ

Page 141: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

141

พหุภาคีของ ASEAN Plus Three โดยเขาไดเรียกรองใหจีนเขารวมในกลุม ซึ่งจีนก็ไดตอบสนองในตอนปลายทศวรรษ 1990 ในการเยี่ยมเยือนระหวางกันนั้น นายกรัฐมนตรีจู หลงจี้ของจีนพรอมดวยเจาหนาที่ระดับสูงของพรรคจํานวน 7 คนไดเดินทางไปเยือนกรุงโซลในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2000 ตอมา มีการเดินทางเยือนตอกันระหวางผูนํา และระหวางรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมหลายครั้ง จะเห็นไดวา ในหวงเวลาที่ผานมา การพัฒนาความสัมพันธระหวางกัน ไดกอใหเกิดการมองภาพจีนในสายตาของคนเกาหลีที่เปลี่ยนแปลงไป จากการสํารวจของรัฐบาลเกาหลีใตในป ค.ศ. 1996 พบวา คนเกาหลีรอยละ 47 บอกวา จะเลือกจีนเปนมิตรประเทศที่ใกลชิดที่สุด ในขณะที่รอยละ 24 เลือกสหรัฐอเมริกา สวนการสํารวจในป ค.ศ. 2000 จํานวนคนที่คาดวา จีนจะเปนชาติที่มีอิทธิพลในเอเชียมีรอยละ 52 ในขณะที่มีจํานวนไมมากนักที่คาดวาสหรัฐฯ จะมีบทบาทสําคัญในเอเชีย

ประธานาธิบดีโรห มูเฮียนไดเดินทางไปเยือนจีนเปนทางการในป ค.ศ. 2003 อันเปนการประกาศวา 10 ปของการสถาปนาทางการทูตขึ้นนั้น ประเทศทั้งสองไดบรรลุความรวมมือระหวางกันเปนอยางดี โดยในป ค.ศ. 2002 มูลคาทางการคาตอกันมีมูลคาถึง 110 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และในป ค.ศ. 2004 จีนเปนประเทศที่บริษัทเกาหลีใตไปลงทุนมากที่สุด โดยมีมูลคาการลงทุนถึง 4 พันลานเหรียญฯ ตอมาประธานาธิบดีหู จินเทาเดินทางไปรวมประชุมเอเปคที่เมืองปูซานของเกาหลีใตที่จัดขึ้นในระหวางวันที่ 18 – 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005 และประชุมสุดยอดกับผูนําเกาหลี กอใหเกิดความรวมมือแบบทวิภาคีในดานการทูต ความมั่นคง เศรษฐกิจและการคาแบบกาวกระโดดขึ้น โดยจีนกลายเปนตลาดสงออกที่ใหญที่สุดของเกาหลีใตแทนตลาดสหรัฐอเมริกา (3) อุปสรรคและการแกปญหา แมวาในภาพรวมความสัมพันธระหวางจีน – เกาหลีใตจะเปนไปดวยดีและพัฒนาไปในทิศทางที่เพิ่มขึ้นดังที่กลาวมาแลวก็ตาม แตปญหาการกระทบกระทั่งระหวางกันก็เกิดขึ้นเปนระยะๆ เชนเดียวกัน จนบางครั้งแทบจะมีการคาดหมายกันวา ความสัมพันธอาจสะดุดหยุดลงเพราะปญหาความบาดหมางไดหยั่งรากฝงลึกไปในกลุมคนทั่วประเทศเกาหลีใต ดังตัวอยางเชน ในตอนปลายทศวรรษ 1990 เกษตรกรจีนไดสงกระเทียมไปขายยังตลาดเกาหลี ผูคนนิยมบริโภคเพราะราคาถูกกวาของเกาหลี ทําใหชาวนาเกาหลีใตประทวงเพราะขายผลผลิตไมได โดยมีการ

Page 142: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

142

เดินขบวนใหรัฐบาลยุติการนําเขา การประทวงในครั้งนั้นเปนเสมือนนําชาติเขาสูสงครามกับจีน ทําใหจีนเตือนเกาหลีถึงพฤติกรรมที่กาวราวของผูเดินขบวน ซึ่งอาจจะกอใหเกิดผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศ

กรณีตอมาก็คือ สื่อมวลชนเกาหลีตีพิมพบทความกลาวหาวา ไดพบไขพยาธิในกิมจิหรือผักดอง 10 ตัวอยางที่สงจากจีนไปขายในเกาหลี และสมาชิกรัฐสภาคนหนึ่งอางวา ไดพบสารตะกั่วในกิมจิจากจีนดวย การประโคมขาวกอใหเกิดการประทวงจากรัฐบาลจีนที่เห็นวา เกาหลีพยายามสรางภาพทําลายความนาเชื่อถือในสินคาจากจีน ทั้งๆ ที่มีการพบไขพยาธิในกิมจิที่ผลิตขึ้นในเกาหลีเชนกัน

กรณีที่สาม ไดแก การที่จีนประกาศวา สุสานหรือหลุมฝงศพที่ตั้งอยูในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนซึ่งเกาหลีอางวาเปนของอาณาจักรโคกูริวนั้น นาจะเปนดินแดนสวนหนึ่งของจีนในอดีตตามหลักฐานที่คนพบในการวิจัยในโครงการภาคตะวันออกเฉียงเหนือเมื่อป ค.ศ. 2002 และจีนขอใหยูเนสโกประกาศเปนมรดกโลกในป ค.ศ. 2003 เหตุการณนี้ไดสรางความไมพอใจแกเกาหลีใตยิ่งเพราะถือวา เปนการบิดเบือนทางประวัติศาสตรที่ จีนทึกทักเอาวา อาณาจักรโคกูริวเปนสวนหนึ่งของอาณาจักรจีนในอดีต ในขณะที่เกาหลีถือวา เปนหนึ่งในอาณาจักรโบราณในยุคสามอาณาจักร (โคกูริว เพ็กเจ และซิลลาของเกาหลี) ทําใหเกิดการประทวงจีนไปทั่ว ประเทศ

จากการสํารวจความคิดเห็นของคนเกาหลีที่มีตอจีนในป ค.ศ. 2004 โดยสถานีโทรทัศน KBS พบวา คนเกาหลีคิดวาจีนเปนคูแขงขัน 79.8 เปอรเซ็นต เทคโนโลยีของจีนจะตามเกาหลีกันในทศวรรษหนา 87.1 เปอรเซ็นต

จีนไมไดแสดงบทบาททางสรางสรรคในการรวมชาติเกาหลี 74.1 เปอรเซ็นต จีนไมไดเปนมิตรกับเกาหลีเทาใดนัก 58.2 เปอรเซ็นต

แมวาจีน – เกาหลีใตเปดความสัมพันธทางการทูตระหวางกันมาแลว 12 ป และมีการแลกเปลี่ยนตอกันในทุกสาขา ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ซึ่งมีทั้งปริมาณและคุณภาพเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัด อันนําไปสูความรวมมืออยางแนนแฟน อยางไรก็ตาม คนเกาหลีเริ่มมีขอสงสัยและมีการมองเปนลบตอจีน ทั้งนี้อาจเปนผลมาจากการอาง

Page 143: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

143

สิทธิ์ทางประวัติศาสตรวา อาณาจักรโคกูริวเปนของจีน และสงผลใหคนเกาหลีตระหนักวา จีนกําลังดําเนินยุทธศาสตรของการกาวไปสูการเปนเจา (hegemony) และมุงใหจีนเปนศูนยกลาง (Sino-centrism) ของเอเชีย อันเปนแผนมุงรายตอเกาหลีตามทฤษฎีอันตรายจากจีน (Chinese Threat Theory)

นอกจากนี้ เกาหลีใตมีความไมแนใจที่จะยกยองจีนใหเปนพันธมิตรแทเพราะมีความแคลงใจที่ประธานคิม จองอิลแหงเกาหลีเหนือไดไปเยือนจีนอยางลับๆ ในระหวางวันที่ 10 – 18 มกราคม ค.ศ. 2006 โดยรัฐบาลจีนไมไดเปดเผยใหสถานทูตเกาหลีใตที่ประจําอยูในประเทศจีนไดรับรูอะไรเลย ที่รายไปกวานั้นก็คือ กระทรวงการตางประเทศของจีนไดย้ําตอเกาหลีใตตลอดมาวา “เรื่องราวของการเยือนของประธานคิมไมมีมูลความจริงแตประการใด” การเยือนครั้งนี้จึงเปนเหตุการณที่เกาหลีใตประจักษชัดวา จีนมีลับลมคมในในกิจการที่เกี่ยวกับเกาหลีเหนือตอประเทศของเขา ทําใหเกิดความไมมั่นใจวา จีนจะเปนเพื่อนแทจริงดังคําสัญญาของที่ประชุมสูงสุดของผูนําทั้งสองประเทศที่มีข้ึนหลายครั้งหลายคราหรือไมเพียงใด

ความสัมพันธระหวางจีน - ญ่ีปุน

จีนมีความหวาดระแวงญี่ปุนมาโดยตลอด ทั้งนี้เปนผลมาจากประวัติศาสตรอันขมขื่นที่ญี่ปุนกอสงครามกับจีนใน ค.ศ. 1895 และรุกรานจีนนับตั้งแต ค.ศ. 1931 ไปจนกระทั่งเขายึดครองภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนโดยทําหนาที่จัดตั้งและใหความคุมครองรัฐใหมแมนจูกัวบนแผนดินของจีนในระหวางปลายทศวรรษ 1930 ถึงกลางทศวรรษ 1940 ทําใหการขยับตัวทางการทหารของญี่ปุนในแตละครั้งในคริสตศตวรรษที่ 21 เชน การเพิ่มจํานวนกองกําลังปองกันตนเอง การแกไขรัฐธรรมนูญมาตราที่ 9 เปน “นโยบายการปองกันประเทศของญี่ปุนในยุคหลังสงคราม: เพื่อใหเปนที่รับรูกันวา ญี่ปุนมีกองทัพเพื่อการปกปองตนเอง” เปนอาทิ ไดสรางความกังวลใจใหกับจีน(และเกาหลี) เปนอยางยิ่ง เพราะเกรงวาญี่ปุนกําลังจะกาวไปสูรัฐทหารอีกครั้ง ในทางกลับกัน จีนไดลงทุนสรางแสนยานุภาพทางทหารขึ้นเมื่อภาวะเศรษฐกิจของดินแดนมังกรไดขยายตัวอยางรวดเร็วในตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 20 ทําใหญี่ปุนและสหรัฐฯ ตางแสดงความไมสบายใจและเกรงวา สถานการณจะเปนไปตามทฤษฎีภัยคุกคามจากจีน

Page 144: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

144

(Chinese Threat Theory) ที่จีนจะมีบทบาทสําคัญทางการทหารมากขึ้นในภาคพื้นแปซิฟก

ในขณะเดียวกัน มรดกแหงความขัดแยงระหวางจีน-ญี่ปุนในเรื่องการอางสิทธิเหนือหมูเกาะเตี้ยวยว๋ี อีกทั้งเนื้อความในหนังสือเรียนประวัติศาสตรของชั้นมัธยมศึกษาของญี่ปุนที่ถูกจีนและเกาหลีกลาวหาวาบิดเบือนขอเท็จจริงนั้น กอใหเกิดความสั่นคลอนในดานความสัมพันธ และสงผลใหเกิดความตึงเครียดระหวางประเทศทั้งสองเปนระยะๆ มาจนกระทั่งทุกวันนี้

อยางไรก็ตาม ทามกลางขอขัดแยงที่มีมากมายดังที่เพิ่งกลาวถึง ก็ไมทําใหจีนและญี่ปุนตองเผชิญหนากันและกันแตเพียงอยางเดียว ทั้งนี้เปนเพราะจีนตองพึ่งพาญี่ปุนในดานเงินทุน การลงทุน เทคโนโลยี และตลาดรองรับสินคาจากจีน ปจจุบัน ญี่ปุนยังคงเปนประเทศที่ทรงพลังอํานาจทางเศรษฐกิจเปนอันดับที่ 2 ของโลก เปนแหลงเงินทุน และมีเทคโนโลยีเปนเลิศในแทบทุกสาขา รวมทั้งเปนประเทศแรกที่เปดความสัมพันธทางการคาและเศรษฐกิจกับจีนภายหลังการปฏิวัติทางวัฒนธรรมสิ้นสุดลง ดังนั้น ญี่ปุนจึงมีบทบาทสําคัญตอจีนในหลายดานนับตั้งแตตนทศวรรษที่ 1970 เปนตนมา แตถึงกระนั้นก็ตาม จีนก็ถือวาญี่ปุนเปนคูแขงสําคัญทั้งทางดานการทหารและเศรษฐกิจ อีกทั้งยังฝงใจกับเหตุการณในอดีตที่ญี่ปุนกระทําการอยางโหดรายทารุณกับประเทศจีนในชวงกอนสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนมีความซับซอน มีทั้งรุกและรับสลับกันไป นอกจากนี้ เราไมอาจอธิบายไดอยางชัดเจนถึงความสัมพันธแบบทวิภาคีระหวางประเทศทั้งสอง เนื่องจากมีตัวแปรอื่น เชน สหรัฐอเมริกา ไตหวัน เกาหลีเหนือ เกาหลีใต และประเทศอื่นๆ ทั่วยุโรป ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนตัวละครที่สําคัญในการแสดงบทบาทเกี่ยวของกับความสัมพันธของจีน-ญี่ปุนในยุคปจจุบัน อยางไรก็ตาม ขอเขียนนี้ไมอาจกลาวครอบคลุมเนื้อหาสาระไดทั้งหมด เพราะมีเหตุการณมากมายเกิดขึ้นในหวง 10 ปที่ผานมา ดังนั้น จึงจะขอกลาวเฉพาะประเด็นหลักๆ ที่จีนมีเปาหมายในการมองและสรางความสัมพันธกับญี่ปุนอยางไร หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ จีนมีจุดยืนอยางไรตอญี่ปุน

ดังที่กลาวแลวในตอนตนวา ภาวะเศรษฐกิจของจีนไดเจริญเติบโตอยางรวดเร็วในชวง 25 ปที่ผานมา และคาดการณตอไปภายหนาวา จะมีขนาดเศรษฐกิจใหญกวาญี่ปุนภายในป ค .ศ . 2050 และอาจจะกาวล้ํานําหนาสหรัฐอเมริกาในตอนปลายของ

Page 145: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

145

คริสตศตวรรษที่ 21 นี้ อีกทั้งจํานวนประชากรที่มีมากกวา 1,300 ลานคนก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่เปนพื้นฐานที่ทําใหจีนมีความมั่นใจและแสดงออกถึงความเปนชาติมหาอํานาจใหญที่สุดประเทศหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอเอเชียและตอโลก

1. ดานการเมือง จีนอยูเคียงขางเกาหลีเหนือ และไดรับการสนับสนุนจากรัสเซียในการตอตานการครอบครองความเปนเจา (hegemony) ของสหรัฐฯ ซึ่งเปนประเทศพันธมิตรสําคัญของญี่ปุน ในขณะที่เกาหลีใตใชนโยบายโอนออนตอเกาหลีเหนือตามแนวทางของอดีตประธานาธิบดีคิม เดจุง ที่เรียกวา Sunshine policy อีกทั้งประธานาธิบดีโรห มูเฮียนไดยึดและปฏิบัติตอเกาหลีเหนือฉันทบานพี่เมืองนอง ในขณะเดียวกันก็ปฏิเสธนโยบายแข็งกราวตอเกาหลีเหนือเพราะเกรงวา หากเกาหลีเหนือถูกตอนใหจนตรอกแลว อาจใชกําลังทหารและอาวุธที่มีอานุภาพการทําลายลางสูง (weapons of mass destruction - WMD) โจมตีและรุกรานเกาหลีใตได ดังนั้น จะเห็นไดวา ข้ัวทางการเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ แบงออกเปน 2 ฝาย คือ ฝายหนึ่งไดแก จีน เกาหลีเหนือ และรัสเซีย สวนอีกฝายหนึ่งไดแก ญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา (รวมทั้งไตหวัน) สวนเกาหลีใตมีความโนมเอียงไปทางฝายญี่ปุนและสหรัฐฯ ในบางกรณี และโนมเอียงไปทางจีนในบางกรณี จีนกับเกาหลีเหนือไดรวมรบตอสูกับกองทัพพันธมิตรในสงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953) และจีนเปนประเทศหลักในการใหความชวยเหลือเกาหลีเหนือที่ทําการปกครองในระบบคอมมิวนิสตเดียวกันในการบูรณะฟนฟูประเทศหลังสงคราม และในการพัฒนาประเทศนับแตนั้นมาจนถึงปจจุบัน สวนจีนเองนั้นเมื่อเริ่มฟนฟูเศรษฐกิจและกาวหนาทัดเทียมประเทศอุตสาหกรรมไดบางแลว ก็ตองการกาวขึ้นเปนผูนําในทางการเมืองระหวางประเทศ ดังนั้น จีนจึงใชเกาหลีเหนือซึ่งเปนประเทศเล็กๆ ทําการทาทายสหรัฐฯ และญี่ปุนดวยการอางวา สามารถพัฒนาอาวุธนิวเคลียรข้ึนมาได ซึ่งก็เปนที่ประจักษแลววา เกาหลีเหนือสามารถผลิตระเบิดนิวเคลียรข้ึนมาไดจริงๆ โดยทําการทดลองเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2006 อีกทั้งไดทดลองยิงขีปนาวุธไดในป ค.ศ. 1998 และ ค.ศ. 2006 ไปตกในทะเลญี่ปุน อาวุธที่มีอานุภาพการทําลายลางสูงนี้ไดรับการชวยเหลือทางเทคโนโลยีสวนหนึ่งมาจากจีนและรัสเซีย ญี่ปุนไดทําการคัดคานอยางแข็งขันที่เกาหลีเหนือครอบครองอาวุธ WMD เพราะญี่ปุนถือวาเปนภัยคุกคามตอญี่ปุนโดยตรง และญี่ปุนก็ไมเชื่อใจวาเกาหลีเหนือจะกระทํา

Page 146: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

146

ตามสิ่งที่บอกแกประชาคมโลกภายหลังไดรับการประณามจากประเทศตางๆ และองคการสหประชาชาติเมื่อทําการทดลองอาวุธ WMD ในแตละครั้ง ดังตัวอยางเชน

31 สิงหาคม 1998: ทดลองยิงขีปนาวุธเตโปดอง 1 ขามเกาะญี่ปุนไปตกใน มหาสมุทรแปซิฟก

13 กันยายน 1999: เกาหลีเหนือประกาศหยุดการทดลองยิงขีปนาวุธพิสัยไกล กันยายน 2002: เกาหลีเหนือเจรจาตกลงขยายการเลิกทดลองยิงขีปนาวุธ

ตอไปจากป ค.ศ. 2003 ในการประชุมสุดยอดกับผูนําญี่ปุน

พฤษภาคม 2004: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธพิสัยใกลไปตกลงในทะเลญี่ปุน มีนาคม 2006: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธพิสัยใกลสองลูก 18 พฤษภาคม 2006: ญี่ปุนรายงานวาเกาหลีเหนือเคลื่อนยายขีปนาวุธไปยังฐาน

ยิง สื่อมวลชนระบุวาเปนขีปนาวุธเตโปดอง 2

5 กรกฎาคม 2006: เกาหลีเหนือยิงขีปนาวุธ 7 ลูก ไดแก สกั๊ด โรดอง และเต โปดอง 2

อาณุภาพของขีปนาวุธของเกาหลีเหนือ

ช่ือ พิสัย (กม.) เปาหมายยิงถึง

KN – 2 100 – 200 เกาหลีใต Hwasong – 5 300 เกาหลีใต Hwasong – 6 500 เกาหลีใต Scud – D 700 เกาหลีใต Rodong 1,300 เกาหลีใต Taepodong 2,500 – 4,000 ญ่ีปุน โอกินาวา กวม

Taepodong – 2 3,500 – 6,000 (ขั้นที่ 2) สหรัฐอเมริกา

3,500 – 15,000 (ขั้นที่ 3) สหรัฐอเมริกา

ที่มา Yonhap News.

Page 147: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

147

ปฎิทินการพฒันาอาวุธนิวเคลียรของเกาหลีเหนือ 1989 _ U.S. satellite pictures reveal a nuclear reprocessing plant at North Korea’s Yongbyon complex.

Oct. 21, 1994 _ North Korea and the United States sign an agreement in Geneva, ending a nuclear row that lasted 18 months. The “Agreed Framework” requires Pyongyang to freeze and eventually dismantle its nuclear facilities in return for two light-water nuclear reactors. It also states the two countries should move toward the normalization of political and economic relations.

2002

Oct. 3 _ James Kelly, assistant U.S. secretary of state for East Asian and Pacific affairs, visits North Korea.

Oct. 17 _ The United States claims Pyongyang has admitted to running a clandestine nuclear weapons program.

Nov. 15 _ The executive board of the Korea Peninsula Energy Development Organization (KEDO) decides to suspend its heavy oil supplies to North Korea from December unless the North abandons its nuclear weapons program.

Dec. 12 _ North Korea declares the lifting of nuclear freeze measures in a statement released by its Foreign Ministry.

Dec. 13 _ North Korea asks the United Nations' International Atomic Energy Agency (IAEA) to remove seals and surveillance equipment from its Yongbyon nuclear power plant.

Dec. 21 _ North Korea says it began removing IAEA seals and surveillance equipment from its nuclear facilities.

Dec. 27 _ North Korea says it is expelling two IAEA nuclear inspectors from the country.

2003

Jan. 10 _ North Korea announces its withdrawal from the Nuclear Nonproliferation Treaty (NPT).

Aug. 1 _ South Korea confirms that North Korea agrees to holding dialogue on its nuclear program with the United States, Japan, China, Russia and South Korea.

Aug. 27-29 _ The first round of six-party talks is held in Beijing to resolve the nuclear showdown. Washington and Pyongyang fail to iron out differences, but delegates agree to meet again.

Dec. 9 _ North Korea offers to "freeze" its nuclear program in exchange for concessions from the United States, saying it will boycott further talks unless Washington agrees.

Dec. 27 _ North Korea says it will attend a new round of six-party talks on its nuclear program in early 2004.

2004

Jan. 10 _ An unofficial U.S. team of experts visits North Korea's Yongbyon nuclear complex.

Feb. 3 _ North Korea says the next round of six-party talks on the nuclear crisis will be held on Feb. 25.

Feb. 25-28 _ The second round of six-way talks is held in Beijing, but ends without a major breakthrough.

Page 148: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

148

June 23 _ The third round of six-party talks is held in Beijing, with the United States offering North Korea fuel aid if it drops its nuclear program.

Aug. 16 _ North Korea says it will boycott a working-level meeting ahead of the next round of six-way talks, citing the Washington's lack of a "sincere attitude."

Sept. 28 _ North Korea announces it has completed processing 8,000 spent nuclear fuel rods.

2005

Jan. 14 _ North Korea expresses its willingness to restart the stalled talks on its nuclear ambitions.

Jan. 19 _ Condoleezza Rice, U.S. President George W. Bush's nominee for secretary of state, defines North Korea as one of six "outposts of tyranny."

Feb. 10 _ North Korea's Foreign Ministry announces the country possesses a nuclear arsenal and that it will indefinitely boycott six-way talks until Washington drops its "hostile" policy toward North Korea.

April 18 _ South Korea says the North has suspended its nuclear reactor in Yongbyon, enabling the country to extract fuel rods for more nuclear weapons.

May 11 _ North Korea claims it has completed extraction of spent fuel rods from the Yongbyon reactor.

June 17 _ Returning from a trip to Pyongyang, South Korean Unification Minister Chung Dong-young announces that North Korean leader Kim Jong-il said Pyongyang could rejoin six-way talks if it can reach an agreement with Washington.

July 26 _ The talks resume in Beijing.

Sept. 13 _ Delegates from the six countries resume the fourth round of the nuclear talks.

Sept. 19 _ The six nations issue a joint statement, the first of its kind at the talks, and agree to hold the fifth round in early November. In the six-point statement, North Korea agreed to dismantle its nuclear program. The five other countries involved in the talks agreed to provide a security guarantee and energy to the North and promote trade and economic exchanges.

Nov. 8 _ Nuclear envoys from six nations meet in Beijing. North Korea's chief nuclear envoy Kim Gye-kwan demands that financial sanctions on the North be lifted.

2006

Jan. 18 _ Chief nuclear envoys from North Korea, China and the United States meet in Beijing as part of efforts to revive the stalled nuclear talks, but the meeting ends without a breakthrough.

March. 7 _ The United States and North Korea hold a working-level meeting in Beijing to resolve the communist state's alleged counterfeiting of U.S. dollars. The two sides fail to find any breakthrough.

June 1 _ North Korea invites the chief U.S. nuclear envoy to Pyongyang, but Washington refuses to accept the invitation.

July 5 _ North Korea test-fires at least three missiles, including possibly one long-range missile, the "Taepodong-2."

Page 149: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

149

July 16 _ The U.N. Security Council unanimously adopts a resolution adopting limited sanctions on North Korea. The resolution also calls on the North to return to the nuclear talks, but Pyongyang condemns it.

Aug. 18 _ U.S.-based ABC News reports that North Koreans were spotted unloading large reels of cable near the suspected nuclear test site.

Sept. 14 _ South Korean President Roh Moo-hyun and U.S. President George W. Bush reaffirm the goal of finding a peaceful and diplomatic resolution to North Korea's nuclear issue. They agree to pursue a "new joint comprehensive approach" to resume the six-party talks.

Oct. 3 _ North Korea says it will conduct a nuclear test to prop up its self-defense against "growing U.S. hostility against the communist regime."

Oct. 6 _ The United Nations Security Council adopts a statement warning North Korea to refrain from conducting a nuclear test.

Oct. 9 _ North Korea says it has safely and successfully conducted its first-ever test of a nuclear bomb. South Korea says it detected a 3.58-3.7 magnitude tremor in the North's northeastern Hamkyong Province.

ที่มา: Korea times. October 9, 2006

ภายหลังการทดลองยิงขีปนาวุธของเกาหลีเหนือในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2006 ญี่ปุนไดประกาศมาตรการโตตอบการกระทําของเกาหลีเหนือ คือ การคว่ําบาตรทางเศรษฐกิจ ดวยการหามนําเขาสินคาทุกประเภทจากเกาหลีเหนือ หามเรือของเกาหลีเหนือเขาจอดที่เมืองทาใดๆ ของญี่ปุน หามคนเกาหลีเหนือเขาประเทศ หามการโอนเงินจากญี่ปุนไปยังเกาหลีเหนือ และหามทําการคาสินคา 15 ชนิดที่เกี่ยวกับอาวุธ WMD คําประกาศของญี่ปุนนี้ทําใหเกาหลีเหนือเตือนญี่ปุนวาจะไดรับการโตตอบอยางรุนแรงตอมาตรการเหลานี้ อยางไรก็ตาม นายโจเซฟ โคลแมนแหงสํานักขาวเอพี กลาววา เกาหลีเหนือยังคงสามารถลักลอบจําหนายอุปกรณและอาวุธนิวเคลียรไปยังกลุมผูซื้อในตลาดมืดได ในขณะที่ Andrei Lankov อาจารยชาวรัสเซีย คาดคะเนวา จีนอาจคาดหวังที่จะรวมดินแดนสวนหนึ่งของเกาหลีเหนือเขาเปนของจีนหากรัฐบาลประเทศนั้นลมสลาย ดินแดนสวนนี้หมายถึงบริเวณที่ตั้งอาณาจักรโคกูริว (37 BC. – 668) และอาณาจักรเพลเฮ (ค.ศ. 698 – 926) ที่อยูในจีนและเกาหลีเหนือในปจจุบัน ตามปกติแลว เกาหลีเหนือทําการคาขายกับจีนเปนหลัก โดยในป ค.ศ. 2000 มูลคาการคาระหวางกันเทากับ 488 ลานเหรียญและเพิ่มเปน 1,581 ลานเหรียญในป ค.ศ. 2005 หรือรอยละ 39 ของมูลคาการคากับตางประเทศทั้งหมด ตอมาภายหลังการทดลองระเบิดนิวเคลียร เกาหลีเหนือไดเรียกรองขอเงินชวยเหลือจากจีนเพิ่มขึ้นจาก 1.3 พันลาน

Page 150: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

150

เหรียญตอปเปน 3.5 พันลานเหรียญ ซึ่งจีนก็มิไดปฏิเสธ แตเกาหลีเหนือตองอยูในอํานาจการบงการของจีน

จากหลักฐานที่กลาวมานี้ ทําใหเชื่อไดวา จีนมีบทบาทสําคัญที่อยูเบื้องหลังการกระทําของเกาหลีเหนือ และพรอมที่จะปกปองเกาหลีเหนือหากถูกขมขู ดังเชนกรณี กระทรวงตางประเทศของจีนออกมาประกาศทันทีภายหลังที่เกาหลีเหนือทดลองระเบิดนิวเคลียรเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2006 วา จีนจะไมเปลี่ยนนโยบายความสัมพันธที่ดีตอเกาหลีเหนือ ไมวาอะไรจะเกิดขึ้น ดังนั้น ญี่ปุนจึงถือวา นี่เปนจุดยืนของจีนที่มีตอญี่ปุนกับสหรัฐอเมริกา ทั้งจีนและญี่ปุนตางถือวา อีกฝายหนึ่งเปนภัยคุกคามตอประเทศของตน โดยจีนรูสึกหวั่นวิตกตอแสนยานุภาพของกําลังทหารของญี่ปุน ดังที่ สํานักขาวซินหัวของจีนอางวา ตั้งแตกลางทศวรรษ 1990 ญี่ปุนมีเรือรบหลักประจําการ 160 ลํา มีรถถัง 1,200 คัน มีกําลังทหาร 13 กองพล ซึ่งเปนกองกําลังที่ไมมีลักษณะเปนเพียงเพื่อปองกันตนเองเทานั้น จีนจึงตระหนักวา นี่คงเปนการรื้อฟนลัทธิทหารนิยมของญี่ปุน และยิ่งมีปฏิญญารวมวาดวยความมั่นคงระหวางญี่ปุน – สหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 1996 และในตอนตนสหัสวรรษใหมนี้แลว จีนก็มั่นใจวาเปนแนวทางในเชิงรุกและอาจนําไปสูการสกัดกั้นจีน อันจักสงผลกระทบตอเสถียรภาพและการพัฒนาในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

2. หมูเกาะเตี้ยวยว๋ี ขอพิพาทเรื่องดินแดนที่จีนและญี่ปุนตางอางวามีกรรมสิทธิ์เหนือหมูเกาะเตี้ยวยว๋ี หรือที่ญี่ปุนเรียกวา เซนกากุ ซึ่งเปนหมูเกาะเล็กๆ จํานวน 8 เกาะ ไมมีผูอยูอาศัย มีพ้ืนที่รวมกันราว 6.3 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูในบริเวณทะเลจีนตะวันออก หางจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือของไตหวันราว 200 กม. และหางจากเกาะโอกินาวาทางทิศตะวันตกเฉียงใตราว 300 กม. โดยจีนไดอางกรรมสิทธิ์เหนือเกาะวา ไดครอบครองมาตั้งแตป ค.ศ. 1403 ในสมัยราชวงศชิง ในขณะที่ญี่ปุนอางวา ตอนที่ชาวญี่ปุนคนพบหมูเกาะเหลานี้นั้น นอกจากจะไมมีผูคนอาศัยอยูแลว ยังไมพบรองรอยของการควบคุมของจีน ดังนั้นรัฐบาลญี่ปุนจึงไดผนวกเขาเปนดินแดนของญี่ปุนในฐานะเปนสวนหนึ่งของหมูเกาะริวกิวหรือโอกินาวาในเดือนมกราคม ค.ศ. 1895 กอนที่ญี่ปุนจะไดไตหวันมาครอบครองตามสนธิสัญญาชิโมะโนะเซกิ

Page 151: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

151

ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1997 รัฐบาลญี่ปุนไดทําขอตกลงกับจีนวา ใหเก็บเรื่องใครควรเปนเจาของหมูเกาะนี้ไวกอน และไดสถาปนาเขตจัดการรวมกัน (joint management zone) ที่กินพื้นที่กวาง 200 ไมลโดยอนุญาตใหทําการประมงไดทั้งสองประเทศและรวมมือกันในการใชทรัพยากรในบริเวณดังกลาว ตอมา ในป ค.ศ. 2005 ขอพิพาทหมูเกาะเตี้ยวยวี๋ไมไดเปนประเด็นขัดแยงมากไปกวากรณีความขัดแยงในบริเวณทะเลจีนตะวันออก (East China sea) เพราะบริเวณดังกลาวเปนเสนแบงเขตแดนทางทะเลของทั้งสองประเทศ ซึ่งตางถือเปนเขตเศรษฐกิจเฉพาะของตน และเปนบริเวณที่เชื่อกันวา ใตกนทะเลนี้เปนแหลงแกสธรรมชาติและน้ํามัน ที่แตละฝายตางแขงขันกันเพื่อคนหาทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ โดยทั้งจีนและญี่ปุนตางกลาวหากันวา อีกฝายหนึ่งเขามาขุดเจาะน้ํามันและแกสในเขตนานน้ําของตน จึงเรียกรองใหฝายตรงขามหยุดการทํากิจกรรมนั้นเสีย ตอมา นายกรัฐมนตรีโคอิซูมิไดเสนอใหจีนและญี่ปุนแกไขขอพิพาทนี้เมื่อเดือน เมษายน ค.ศ. 2005 โดยหันหนามาเจรจากันเพื่อทําให “ทะเลแหงความขัดแยง” มาเปน “ทะเลแหงความรวมมือ” ทําใหสถานการณความตึงเครียดทุเลาเบาบางลงบาง อยางไรก็ตาม การโจมตีระหวางกันในเรื่องดังกลาวไดปรากฏผานสื่อสารมวลชนของทั้งสองประเทศอยางตอเนื่อง จึงสรางความไมพอใจใหแกสาธรณชนชาวจีนและชาวญี่ปุนเรื่อยมา

3. ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและสังคม อัตราสวนของการลงทุนโดยตรงของญี่ปุนในจีนมีจํานวนไมมากนักเมื่อเทียบกับของฮองกง เกาหลีใต ไตหวัน และสหรัฐฯ แตมูลคาการลงทุนมีมากกวาของเกาหลีใต ไตหวัน และสหรัฐฯ ยกเวนในป ค.ศ. 2004 ที่มูลคาการลงทุนของเกาหลีใตมีมากกวาของญี่ปุน กลาวคือ ญี่ปุนลงทุนโดยตรงในจีนราวปละ 5-6 พันลานเหรียญ สวนการคาระหวางจีน-ญี่ปุนกลับมีปริมาณและมูลคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เชน ค.ศ. 2003 เพิ่มขึ้นรอยละ 30.4 จากปกอน และเพิ่มอยางตอเนื่องเปนรอยละ 26.7 และ 12.9 ในป 2004 และ 2005 ตามลําดับ มูลคาทางการคาในป ค.ศ. 2005 มีดังนี้ ญี่ปุนสงออกไปยังจีน 80.3 พันลานเหรียญ นําเขาจากจีน 109 พันลานเหรียญ รวมมูลคาทางการคาทั้งสิ้น 189.3 พันลานเหรียญ ทําใหจีนกลายเปนประเทศคูคารายใหญที่สุดของญี่ปุน โดยญี่ปุนเปนฝายเสียเปรียบดุลการคา

Page 152: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

152

ในดานสังคมนั้น ความสัมพันธระหวางจีนกับญี่ปุนไดเสื่อมถอยลงไปนับตั้งแตนายโคอิซูมิไดรับเลือกเปนผูนําญี่ปุน ทั้งนี้เพราะขอขัดแยงที่จีนยังจําฝงใจก็คือ หนี้ทางประวัติศาสตรที่ถูกญี่ปุนย่ํายีตั้งแตป ค.ศ. 1895 เปนตนมา ตอมาในตอนตนป ค.ศ. 2005 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการญี่ปุนอนุมัติหนังสือแบบเรียนประวัติศาสตรระดับชั้นมัธยมตนที่มีเนื้อหาปกปดความโหดรายทารุณของทหารญี่ปุนในระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง ทางการจีนจึงเรียกทูตญี่ปุนในกรุงปกกิ่งเขาพบเพื่อประทวง อยางไรก็ตาม ผูนํารัฐบาลญี่ปุนคนดังกลาวยังคงเดินทางไปคารวะศาลเจายาสุคูมิเปนประจําทุกปโดยไมรับฟงการทัดทานจากจีนและเกาหลีใตเลย ทําใหความสัมพันธระหวางกันเสื่อมทรามลงอยางตอเนื่องในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 21 ความตึงเครียดไดปะทุถึงขั้นสูงสุดเมื่อชาวจีนนับหมื่นเดินขบวนในกลางกรุงปกกิ่งเมื่อวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 2005 จากยานไหเตียน ผานมหาวิทยาลัยปกกิ่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มุงตรงไปยังหนาสถานทูตญี่ปุน หลายคนถือธงชาติจีนและแผนปายขอความตอตานญี่ปุน และรองตะโกนกอง “ญี่ปุนจงพินาศ” “ตอตานสินคาญี่ปุน” และ “ชวยกันขัดขวางที่นั่งสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง” (ญี่ปุนพยายามขอสมัครเขาเปนสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงขององคการสหประชาชาติ) นับเปนการชุมนุมครั้งใหญที่สุดของชาวจีนนับตั้งแตครั้งการปดลอมทูตสหรัฐฯ ในกรุงปกกิ่ง หลังจากเกิดเหตุการณเครื่องบินรบขององคการนาโตทิ้งระเบิดถูกสถานทูตจีนในกรุงเบลเกรดในระหวางสงครามโคโซโว ตอมา การประทวงไดลุกลามไปยังเมืองตางๆ ของจีน เชน เซนหยาง เซี่ยงไฮ ซูไฮ และเฉินตู นับเปนเวลากวา 3 สัปดาห โดยผูประทวงไดบุกทําลายขาวของ อาคารสถานทูต และสินคาญี่ปุนเสียหายเปนจํานวนมาก

ปญหาความสัมพันธที่เลวรายระหวางประเทศทั้งสอง ทําใหประชากรชาวจีนจํานวนถึงรอยละ 62.9 รูสึกไมดีตอญี่ปุน (feel very bad) ในขณะที่คนจีนกวารอยละ 50 บอกวา ไมตองการเงินชวยเหลือ (ODA) จากญี่ปุน เพื่อมิใหญี่ปุนใชเปนเครื่องตอรองกับจีน สวนเจาหนาที่ระดับสูงของจีน ชื่อนายลี จาวชิงไดกลาววา ความสัมพันธของจีน-ญี่ปุนถึงจุดต่ําสุดในรอบ 30 ปหลังจากที่ทั้งสองประเทศเปดความสัมพันธอยางเปนทางการเมื่อป ค.ศ. 1972 เปนตนมา โดยตางฝายตางกลาวหากันวา มีการปลุกระดมใหเกิดความเกลียดชังในหมูประชาชนระหวางกันขึ้น อีกทั้งจีนยังกลาวหาวา ญี่ปุนกําลังจะ

Page 153: จีน ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจ

153

มุงกลับไปสูลัทธิขวาจัดหรือลัทธิทหารนิยม ดังนั้น การที่จะหยุดยั้งการกระทําของญี่ปุน จึงตองมีการประทวงมิใหญี่ปุนกาวล้ําเสนเขาไปสูการเปนชาติจักรวรรดินิยมดังเชนอดีต ความสัมพันธอันราวฉานที่กลาวถึงขางตนไดลดระดับความรุนแรงลงเมื่อ นายโคอิซูมิไดหมดวาระการดํารงตําแหนงเปนนายกรัฐมนตรีลง ----------------------------------------------------------- หมายเหตุ คัดลอกมาจาก เอกสารทางวิชาการของศูนยเกาหลีศึกษา ดังนี้ อันดับที่ 21 ดํารงค ฐานด,ี ความสัมพันธระหวาง จีน-เกาหลีใต-ญ่ีปุน: ตั้งแตตนคริสตศตวรรษที่ 20 - ปจจุบัน. รายงานการวิจัย ศูนยเกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2550. อันดับที่ 22 ดํารงค ฐานดี, เอเชยีตะวันออกเฉียงเหนือ: ความสัมพันธระหวางจีน เกาหลี และ ญ่ีปุน - ตั้งแตยุคโบราณจนถึงตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 19. เอกสารทางวิชาการ ศูนยเกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2551.