43
เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรระยะสั้นงานศิลปถิ่นกรุงเกา (ครั้งที่ ๑) ศาสตรศิลปภูมิปญญา จากตูพระธรรมลายรดน้ํา ฝกอบรมโดย อาจารยศุภชัย นัยผองศรี และอาจารยวันลี ตรีวุฒิ วันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

  • View
    220

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ชื่อหนังสือ: เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรระยะสั้นงานศิลป์ถิ่นกรุงเก่า เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ ปีที่พิมพ์: 2556 จำนวนหน้า(รวมปก): 43

Citation preview

Page 1: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

เอกสารประกอบการอบรม

หลักสูตรระยะส้ันงานศิลป�ถ่ินกรุงเก�า (คร้ังที่ ๑)

ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา

จากตู�พระธรรมลายรดน้ํา

ฝ�กอบรมโดย อาจารย�ศุภชัย นัยผ�องศรี

และอาจารย�วันลี ตรีวุฒิ

วันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา มหาวทิยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Page 2: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรระยะส้ันงานศิลปถ่ินกรุงเกา (ครั้งท่ี ๑)

“ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา จากตู�พระธรรมลายรดนํ้า”

วันท่ี ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

จัดพิมพโดย สถาบันอยุธยาศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ธันวาคม ๒๕๕๖ จํานวน ๘๐ เลม

๙๖ ถนนปรีดี พนมยงค อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗ โทรสาร ๐๓๕-๒๔๑-๔๐๗

ผูจัดทํา: ฝายวิชาการ

พัฑร แตงพันธ สาธิยา ลายพิกุน

คณะบรรณาธิการ: ฝายสงเสริม และเผยแพรวิชาการ

ปทพงษ ชื่นบุญ อายุวัฒน คาผล อรอุมา โพธ์ิจิ๋ว

ขอขอบคุณ หัวหนาพิพิธภัณฑสถานแหงชาติจันทรเกษม ผูอํานวยการพิพิธภัณฑสถานแหงชาติเจาสามพระยา

คุณ ธนิสร เพ็ชรถนอม และคุณชัชนันท์ิ ภักดี ท่ีเอ้ือเฟอสถานท่ี และภาพถาย

Page 3: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

สารบัญ

หนา

งานลายรดน้ํา วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ

ศิลปะลายรดน้ํา

และข้ันตอนการสรางสรรคลายลดน้ํา วันลี ตรีวุฒิ และศุภชัย นัยผองศรี

ศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา

วันลีย กระจางว ี

บรรณานุกรม

บันทึก

๑๑

๑๙

๓๕

๓๖

Page 4: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑

งานลายรดน้ํา 0* วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

งานเขียนภาพลายรดน้ําเปนงานประณีตศิลปประเภทหนึ่ง ซึ่งใชวิธีเขียนจิตรกรรมเปนภาพหรือลวดลายลงบนพ้ืนท่ีลงรักหรือทาชาด แลวจึงปดทองและรดน้ําหรือเช็ดดวยน้ําใหเหลือเพียงภาพและลายท่ีตองการ จึงเรียกกันวา ลายปดทองรดน้ํา ตอมาเรียกสั้นลงเปนลายรดน้ํา1

๑ หรือบางครั้งเรียกกันวา ลายทอง ก็มี

* บทความน้ีคัดจากเน้ือหาสวนหน่ึงของบทความเรื่อง งานชางรัก ในการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “งานชางหลวง” ของสํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร. ๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖),

๙๒๒.

Page 5: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒

ปจจัยสําคัญในการเขียนลายทองคือ “พื้น” ชนิดตาง ๆ ไดแกพื้นไม พื้นผนังปูน พื้นโลหะ พื้นหนังสัตว อยางไรก็ตาม วัสดุท่ีนิยมเขียนลายรดน้ํามากท่ีสุดดูเหมือนจะเปนไม ซึ่งคงจะมีสาเหตุมาจากท่ีรักมีคุณสมบัติรักษาเนื้อไมไดดี ทําใหไมคงทนแข็งแรง ไมผุงาย ชวยปองกันน้ํา ความช้ืน และแมลงท่ีจะกัดกินเนื้ อ ไม ไดอีกด วย 2

๒ ซึ่ ง ทํา เปน เครื่ อง ใช เครื่ องครุภัณฑ เครื่ องอุปโภค อาคารสถาน ท่ี และเครื่องประดับตกแตงท่ีมีขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ เชน เขียนลวดลายตกแตงพื้นตะลุม โตก พาน ใบประกับหนาคัมภีร หีบหนังสือ ฝาและบานประตู หนาตาง ฉากลับแล ตูพระธรรม ฯลฯ สวนวัสดุท่ีสําคัญในการทํางานเขียนลายรดน้ํา ไดแก ยางรัก หรือรักน้ําเกล้ียงสมุก น้ํายาหรดาน และทองคําเปลว และยังมีสวนประกอบอื่น ๆ อีก ไดแก ฝกสมปอย กาวยาวมะขวิด ดินสอพอง ฝุนถานไม ผงดินเผา กระดาษทราย

การเขียนลายรดน้ํามีข้ันตอนโดยสรุปคือ การเตรียมพื้นโดยลงสมุกหรือถมพื้นดวยสมุก ขัดใหเรียบแลวจึงทายางรัก หรือลงรักน้ําเกล้ียง กวดใหเรียบเกล้ียงถึงสามช้ัน และขัดฟอกหนารัก เช็ดรักขัดเงา ไดพื้นท่ีดีแลวจึงรางรูปภาพ โรยแบบเพื่อเขียนน้ํายา หรดาน ถมเสนหรือทับเสน และถมพื้น เขียนระบาย ในชองไฟระหวางลายหรือระหวางรูปภาพสวนท่ีตองการใหเปนพื้นสีดําตามแบบท่ีโรยไว ข้ันสุดทาย คือ การเช็ดรักปดทองคําเปลวใหเต็มพื้นท่ี เรียกวา ปดทองปูหนา และกวาดทองหรือกวดทองคําเปลว ใหแนบติดกับพื้นใหสนิทกอนจะรดน้ํา คือใชน้ําสะอาดรด ราดบนพื้นรัก จะปรากฏภาพท่ีเหลือเปนสีทองบนพื้นชองไฟสีดํา

หมอมเจายาใจ จิตรพงศ ไดสันนิษฐานไววา งานลายรดน้ําคงจะเปนการคิดคนสรางสรรค ข้ึนดวย ภูมิปญญาของชางไทยเอง เพราะแมในประเทศจีน และประเทศญี่ปุนจะมีการทําเครื่องรักสีดําแตงดวยทองมากอนแลว แตก็มีกรรมวิธีแตกตางไปจากวิธีการทําลายรดน้ําของไทย 3

ลายรดน้ําจะเริ่มทําข้ึนในสมัยใดไมมีหลักฐานแนชัด แตอาจเปนไปไดวา มีการทําแลวใน สมัยสุโขทัย เนื่องจากไดพบวาในสมัยนั้นมีการลงรักปดทองพระพุทธรูป และการปดทองลองชาด เครื่องจําหลักไมแลว ท้ังยังไดปรากฏขอความตอนหนึ่งจากจดหมายเหตุเรื่องพระราชไมตรีระหวาง กรุงสยามกับกรุงจีน กลาวถึงรัชสมัยของพอขุนรามคําแหง ในป พ.ศ. ๑๘๓๔ ความวา

“หลอฮกกกออง (หมายถึง ผูเปนใหญในหมูคนไทย) ใหนําราชทูตนําสาสนอักษรเขียนดวย ลายน้ําทอง กับเครื่องบรรณาการ .......... มาถวาย 4

อยางไรก็ตาม ไมพบหลักฐานช้ินงานตกแตงดวยลายรดน้ําในสมัยสุโขทัยหลงเหลือมาถึงปจจุบัน หลักฐานท่ีเกาแกท่ีสุดของงานลายรดน้ําจึงมีต้ังแตในสมัยอยุธยาเปนตนไป

๒ เรื่องเดียวกัน, ๓๙-๔๐.

๓ เรื่องเดียวกัน, ๕๐.

๔ จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ (กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย, ๒๕๑๖), ๖-๗.

Page 6: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓

ลายรดน้ําในสมัยอยุธยามีทํากันอยางแพรหลาย และเจริญสูงสุดในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ ถึงตอนกลางพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ 5

๕ โดยพบหลักฐานเกาท่ีสุดในสมัยอยุธยาตอนตน ไดแก ขอความจาก พระราชกําหนดในกฎมณเฑียรบาลท่ีตราข้ึนไปในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) ความวา

“กลด ตอดํ้าประกับมุข ใบทาชาดเขียนลายทอง” ซึ่งสันนิษฐานวาการเขียนลวดลายทองบน พื้นสีแดงชาดเพื่อตกแตงกลดใหสวยงามนี้ คงจะหมายถึงกระบวนการทําลายรดน้ํานั่นเอง 6

ลายรดน้ําในสมัยอยุธยามักเขียนระบายพื้นสีแดงชาด ตอมาภายหลังจึงนิยมทําพื้นสีดํา ท่ีเปนเชนนั้นสันนิษฐานวาชวงแรกเริ่มนั้น ชางหลวงเปนผูใชในการตกแตงเครื่องราชูปโภคถวายกษัตริย จึงใชสีแดงซึ่งเปนสีสัญลักษณของกษัตริย เมื่อการเขียนลายรดน้ําแพรขยายออกไปใชกับวัด และสามัญชนติดท่ีกฎขอหามเรื่องการใชสี จึงไดใชสีดําแทน ดังนั้นสีพื้นของลายรดน้ําจึงแตกตางกันไปตามผูเปนเจาของ7

๗ การตกแตงดวยลายรดน้ําในสมัยอยุธยานี้ มีหลักฐานวาทํากันอยางกวางขวางโดยท่ีโดดเดนอยางมาก ไดแก ลายรดน้ําบนตูพระไตรปฎกซึ่ งพบเปนจํานวนมาก และเปน ท่ีนิยมตอเนื่องไปจนถึงใน สมัยรัตนโกสินทร

เนื่องจากพระท่ีนั่งและพระมหาปราสาทตาง ๆ ในสมัยอยุธยาไดชํารุดเสียหายไปจนไมเหลือหลักฐานการตกแตงดวยลายรดน้ําไวใหไดศึกษา แตยังคงมีหลักฐานทางเอกสารท่ีกลาวถึงพระท่ีนั่งสรรเพชญปราสาทในรัชสมัยสมเด็จพระเจาปราสาททอง (พ.ศ.๒๑๗๓ – ๒๑๙๙) โดยปรากฏในจดหมายเหตุ เรื่องพระราชไมตรีในระหวางกรุงสยามกับกรุงจีนความวา

“กกออง (พระเจาแผนดิน) อยูในเมืองขางฝายทิศตะวันตกท่ีอยูสรางเปนเมืองรอบกําแพงประมาณ สามล้ีเศษ เตย (พระท่ีนั่ง) เขียนภาพลายทอง”

ตอมาในสมัยของสมเด็จพระเจาบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕ – ๒๓๐๑) ราชทูตจากลังกาท่ีเดินทางเขามาขอพระสงฆไทยใหไปชวยฟนฟูพุทธศาสนาไดพรรณนาถึงพระท่ีนั่งองคนี้ไวดวย ดังความวา

“เมื่อลวงประตูช้ันท่ี ๒ เขาไปก็ถึงพระท่ีนั่ง (สรรเพ็ชญปราสาท) สองขางฐานมุขเด็จพระท่ีนั่ง มีรูปภาพตาง ๆ ต้ังไว คือ รูปหมี รูปราชสีห รูปรากษส รูปโทวาริก รูปนาค รูปพิราวะยักษ รูปเหลานี้ลวน ปดทองต้ังอยางละคู ตรงหมูรูปข้ึนไป เปน (มุขเด็จ) ราชบัลลังกสูงประมาณ ๑๐ คืบ ต้ังเครื่องสูงรอบ (มุขเด็จ) ราชบัลลังกนั้นผูกมานปกทองงามนาพิศวง ฝาผนังพระท่ีนั่งก็ปดทอง”8

๕ ศิลป พีระศรี, เรื่องตูลายรดนํ้า (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๐๓), ๕.

๖ จุลทัศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ, ๗.

๗ เรื่องเดียวกัน, ๗ – ๘ .

๘ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, เรื่องประดิษฐานพระสงฆสยามวงศในลังกาทวีป (พระนคร: ม.

ป.ท., ๒๕๐๓), ๑๒๑-๑๒๒. (อนุสรณในงานพระเมรุพระศพ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๐๓).

Page 7: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๔

สวนพระตําหนักตาง ๆ นั้นพบวามีความนิยมตกแตงเสาและฝาผนังดวยลายรดน้ําเชนกัน ดังขอความในคําใหการขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม ความวา “ริมชาลามหาปราสาทสุริยามรินทรนั้น มีพระตําหนักใหญ ๕ หอง ฝากระดานหลังเจียด พื้นฝาทาแดงเขียนลายทอง ทรงขาวบิณฑเทพนมพรหมภักตร เปนพระตําหนักฝายในหลัง ๑”

“มีพระตกหนักหาหอง ฝาเขียนทองพื้นลงรักอยูในกลางสวนกระตาย ๑”

“ดานเหนือ (พระท่ีนั่งบัญญงครัตนาศน) นั้นมีพระตําหนักปลูกปกเสาลงในสระดานเหนือหลังหนึ่ง ๕ หอง ฝากระดานเขียนลายรดน้ํา ทองคําเปลวพื้นทารัก”9

พระตําหนักซึ่งเช่ือกันวาสรางข้ึนในสมัยอยุธยา และยังเหลืออยูจนถึงปจจุบันมีเพียง ๓ หลัง ซึ่งลวนมีการตกแตงดวยลายรดน้ําท้ังส้ิน พระตําหนักเหลานี้ตอมาไดกลายเปนเสนาสนะของวัด บางครั้งจึงถูกจัดวาเปนอาคารประเภทศาสนสถานก็มี10

๑๐ ไดแก

ตําหนักทองวัดไทร กรุงเทพฯ เดิมเปนพระตําหนักของสมเด็จพระเจาเสือ ซึงตอมาทรงพระราชอุทิศใหเปนกุฏิสงฆ ช่ือตําหนักทองมีท่ีมาจากฝาผนังลงรักเขียนลายน้ําอยางสวยงามท้ังหลัง 11

๑๑

www.gerryganttphotography.com

พระตําหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๑

๙ จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลอ, ๑๐

๑๐ เรื่องเดียวกัน, ๑๐ – ๑๑.

๑๑ วรรณิภา ณ สงขลา, จิตรกรรมสมัยอยุธยา (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๓๕), ๑๙๔.

Page 8: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๕

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ สันนิษฐานวาสรางข้ึนในสมัยสมเด็จพระนารายณ (พ.ศ.๒๑๙๙-๒๒๓๑) เดิมเปนตําหนักของเจานาย ต้ังอยูท่ีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แลวยายมาอยูท่ีวัดบานกล้ิงในจังหวัดเดียวกัน โดยมีคูกัน ๒ หลัง เปนหอไตรหลังหนึ่ง และหอเขียนอีกหลังหนึ่ง ตอมาไดบูรณะรวมกันเขาเปนหลังเดียว และในปพุทธศักราช ๒๕๐๑ ม.ร.ว. พันธุทิพย บริพัตร ไดซื้อแลวยายมาปลูกข้ึนใหมท่ีวังสวนผักกาด จนถึงปจจุบัน ผนังภายในของหอเขียนนี้ตกแตงดวยภาพลายรดน้ําเต็มทุกดาน เปนเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติและรามเกียรต์ิ12

๑๒

www.bareo-isyss.com/decor6.htm

www.thaiticketmajor.com www.thailandsworld.com

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ

๑๒

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๙๕ ; และดู หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล, “ประวัติหอเขียนวังสวนผักกาด” ใน หอเขียนวังสวนผักกาดฺ (กรุงเทพฯ : ม.ป.ท.,๒๕๐๒), ๓๗.

Page 9: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๖

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม (ตําหนักสมเด็จแตงโม) จังหวัดเพชรบุรี มีลวดลายรดน้ําประดับอยูท่ีตนเสาแตละตนงดงามมาก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ มีพระราชหัตถเลขาช่ืนชมไวเมื่อคราวเสด็จประพาสมณฑลราชบุรีในพุทธศักราช ๒๔๕๒ ความตอนหนึ่งวา

“หลังพระอุโบสถตรงกันแนวเดียว มีการเปรียญยาว เสาแปดเหล่ียม เขียนลายรดน้ํา ลายไมซ้ํากันทุกคู ฝากระดานปะกนขางนอกเขียนลายทอง ขางในเขียนน้ํากาว บานประตูสลักซับซอน ซุมเปนคูหางามเสียจริง ขอซึ่งคิดจะเอาอยางสรางการเปรียญวัดราชาธิวาสก็เพราะรักการเปรียญวัดใหญนี้”13

๑๓

http://2g.pantip.com/cafe/blueplanet/topic/E9895581/E9895581.html www.bloggang.com

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม

สําหรับงานรักประเภทลายรดน้ําในสมัยอยุธยายังนิยมประดับบนตูพระธรรม หีบพระธรรม ไมประกับคัมภีรใบลาน เครื่องอุปโภคตาง ๆ เชน ตะลุมโตก พานแวนฟา เตียบ เช่ียนหมาก เปนตน ดังคําใหการของขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม ความตอนหนึ่งวา

“ถนนยานปาเตียบ (ในเมือง) มีรานขายตะลุมมุก ตะลุมกระจก แลมุกแกมเบ้ือ ตะลุมเขียนทอง ภานกํามะลอ ภานเลว ภานหมาก ช่ือยานปาเตียบ ๑14

๑๔

หลักฐานทางดานศิลปกรรมท่ีมีการตกตางดวยลายรดน้ําสมัยอยุธยา แสดงใหเห็นวากระบวนการตกแตงส่ิงของเครื่องใชตาง ๆ ดวยวิธีปดทองเขียนลายรดน้ํานั้น เปนท่ีนิยมเจริญรุงเรืองมาแลว โดยเริ่มตนจากท่ีชางหลวงไดสรางเครื่องอุปโภคตาง ๆ เพื่อถวายสนองรับใชพระมหากษัตริย

๑๓

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อคราวเสด็จประพาสมณฑลราชบรุี พ.ศ.๒๕๕๒ (กรงุเทพฯ: ม.ป.ท., ๒๕๑๖), ๓ – ๔. ๑๔

จุลทรรศน พยาฆรานนท, ลายรดนํ้าและลายกํามะลด, ๑๓.

Page 10: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๗

จากนั้นจึงขยายไปถึงการสราง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ และแพรหลายสูชาวบานท่ีศรัทธาในพระพุทธศาสนา การสรางสืบทอดกรรมวิธีตอเนื่องกันมาถึงสมัยรัตนโกสินทร

ในสมัยรัตนโกสินทร ความนิยมในการตกแตงอาคารและเครื่องอุปโภคดวยกรรมวิธีปดทองรดน้ํา

เหมือนเชนสมัยอยุธยายังคงมีอยู ซึ่งคงไดรับการถายทอดความรูในเชิงชางสืบตอกันมา ซึ่งปรากฏในงานศิลปกรรมสําคัญ ๆ ไดแก พระมหาปราสาทราชมณเฑียร และพระอารามท่ีสรางสมัยรัตนโกสินทร ไดแก

พระอุโบสถของวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลท่ี ๑ โปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนใหมครั้งนั้นไดเขียนตกแตงลายปดทองรดน้ําบนพื้นสีแดงชาดลงบน ฝาผนัง ดานนอกรอบพระอุโบสถ ตอมาทรุดโทรมลงจึงไดมีการปฏิ สังขรณ เปล่ียนแปลงไปใน สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๓

www.bansansuk.com/travel/watprasiratana

http://bombik.com/node/404/ http://bombik.com/node/404/

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

พระพิมานดุสิดา เดิมเปนหอพระ ต้ังอยูกลางสระทางทิศตะวันตกของพระท่ีนั่งศิวโมกขพิมาน

ภายในพระราชฐานช้ันในพระราชวังบวรสถานมงคลสมเด็จพระบวรราชเจามหาสุรสิงหนาท (พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๔๖) โปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนแทนท่ีพระมหาปราสาท ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนเมื่อจุลศักราช ๑๑๔๔ (พ.ศ.๒๓๒๖) ปเถาะ เบญจศก เนื่องจากมีกบฏบัณฑิต ๒ คนลอบเขาพระราชวังหนา แอบจะทํารายสมเด็จฯ กรมพระราชวังบวรฯ และเกิดการจับกุมฆาฟนกันตายลงในท่ีสรางพระมหาปราสาทนั้นคน

Page 11: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๘

หนึ่ ง จึงทรงพระราชดําริวาพระราชวังบวรสถานมงคลครั้ งกรุงศรีอยุธยาไมมีธรรมเนียมสราง พระมหาปราสาท พระองคมาสรางปราสาทข้ึนในพระราชวังบวรกรุงเทพฯ นี้ เห็นจะเกินวาสนาไปจึงมีเหตุ

จึงไดรื้อพระมหาปราสาทมาทําพระมณฑปท่ีวัดมหาธาตุ สวนบริเวณท่ีสรางพระมหาปราสาทนั้นโปรดฯ ใหสรางพระวิมานถวายเปนพุทธบูชาเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ขนานนามวา “พระพิมานดุสิดา” ฝาผนังดานนอกปดทองประดับกระจก สวนดานในเขียนลายรดน้ําอยางประณีตงดงาม ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี ๒ พระพิมานดุสิดาคงชํารุด สมเด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษจึงโปรดเกลาฯ ใหรื้อสะพาน

พระวิมานกลาง และพระระเบียงออก นําเอาฝาตัวไมท่ียังใชไดถวายเปนฝาโรงธรรมวัดชนะสงคราม เมื่อคราวสงครามเอเชียมหาบูรพาไดถูกระเบิดทําลายพังเสียหายมาก ยังเหลือแตบางสวน เชน เสา ครั้นเมื่อวันท่ี ๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๑ พระครูวิสุทธิศิลาจารย (ฉันโท วง) เจาอาวาสวัดมะกอก เขตตล่ิงชัน ฝงธนบุรี มารับซื้อสวนท่ียังใชไดนําไปปรับปรุงสรางเปนหอสวดมนตและศาลาการเปรียญข้ึนไวท่ีวัดนั้น ปจจุบันคงเหลือเฉพาะบานประตูพระวิมานเก็บรักษาไว ณ วัดชนะสงคราม

พระพุทธมณเฑียรในสวนขวา ในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยรัชกาลท่ี ๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนโดยใชไมมีเสาเขียนลายทองบนพื้นแดง และฝาผนังเขียนลายรดน้ําเรื่องปฐมสมโพธิ

ฉายลายรดน้ําในพระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาทเปนฉากขนาดใหญ ใชงานเปนฝาประจันกั้นมุขดานทิศใต มีความยาว ๘.๔ เมตร สูง ๒.๒ เมตร ตัวฉากและกรอบลวนเปนไมจริง ฉากแบงออกเปน ๕ สวน แผนกวางท่ีสุดคือสวนท่ีอยูตรงกลาง กวาง ๓.๔๖ เมตร สวนอีก ๔ แผนท่ีอยูทางซายและขวากวางเทา ๆ

กัน ท้ังสองดานของฉากเขียนลายรดน้ําซึ่งผูกข้ึนจากเรื่องพระราชพิธีอินทราภิเษกเปนเรื่องหลักผสมผสานกับเรื่องเมืองสวรรค ภาพเทพชุมนุม เปนตน

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ลายรดน้ําของไทยถือไดวาเฟองฟูเต็มท่ี เพราะโปรดการทํานุบํารุงพระศาสนาเปนอยางยิ่ง จึงมีการปฏิสังขรณและสรางพระมหาปราสาทและวัดวาอารามใหมข้ึนเปนจํานวนมาก ซึ่งวัดท่ีสรางหรือบูรณะในรัชสมัยนี้นิยมตกแตงบานประตู บานหนาตาง

และองคประกอบท่ีเปนไมดวยลายรดน้ํา เชน

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีการตกแตงดวยลายรดน้ํา ดังนี้ “ในบานพระทวารขางในลวดลายรดน้ํา เปนเครือแยงทรงขาวบิณฑ ดอกในพื้นแดง สองขางผนังบานกบภายในพระทวารเขียนระบายเปนตนไมเทศพื้นขาว เพดานทับหลัง พระทวารขางในปดทองลายรดน้ํา เปนดอกจอกใหญ ดอกจอกนอย วงรอบพื้นชาด และในหองพระอุโบสถข่ือใหญลายรดน้ําเปนเครือแยงดอกในพื้นชาด มีกรวยเชิงสลับสี พื้นเขียว แดง มวง เปน ๓ ช้ัน”

พระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร หลังบานประตูเขียนลายรดน้ําเปนรูปพัดพระราชาคณะ ฐานานุกรมเปรียญท้ังฝายคามวาสีและอรัญวาสีของวัดในเมืองหลวงและในหัวเมือง ท่ีบานหนาตางดานในเขียนลายรดน้ําเปนรูปตราเจาคณะสงฆ กรอบเช็ดหนาเขียนลายทองเปนเครือเทศและบานประตูพระระเบียงช้ันนอกดานนอกเขียนลายรดน้ําเปนรูปกุมภัณฑ อสูรตาง ๆ เปนตน

Page 12: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๙

พระพุทธรูป ไดแก พระพุทธไสยาสนขนาดใหญท่ีวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสรางข้ึน โดยท่ีฝาพระบาทของพระพุทธรูปเขียนลวดลายรดน้ําเปนรูปกงจักรและมงคล ๑๐๘ ประการ

ตูพระธรรมในพระท่ีนั่งพุทไธสวรรย สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ (พ.ศ. ๒๓๖๗ –

๒๓๗๕) โปรดใหสรางสําหรับใสพระไตรปฎกจํานวน ๓ ใบ เปนตูสามตอน ๑ ใบ และตูสองตอน ๒ ใบ ใชกั้นเปนอยางฝาประจันหอง ประจําในพระท่ีนั่งพุทไธสวรรย สําหรับเก็บรักษาพระธรรมคัมภีรของพระราชวังหนา ท้ังนี้สันนิษฐานวาในสมัยพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ พระท่ีนั่งพุทไธสวรรยนอกจากใชเปน หอพระ ประกอบการพระราชพิธีแลวยังใชเปนท่ีบอกหนังสือ (เรียนหนังสือ) ของพระสงฆและสามเณรดวย

โดยทรงเลือกชางเขียนฝมือดีในขณะนั้นเปนผูเขียน ปรากฏช่ือมีเจากรมออน (หลวงพรหมปกาสิต) คนหนึ่ง

ทานผูนี้เปนผูทําบานประดับมุกประตูพระอุโบสถวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม นอกจากนี้ยังมีคนอื่นเขียนถวายอีก

ตูพระธรรมและหีบพระธรรม รวมท้ังไมประกับคัมภีร ยังมีการทําสืบทอดกันมาในสมัยรัตนโกสินทรจนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๔ จึงเริ่มเส่ือมความนิยมลงไป แตยังคงมีการตกแตงดวยลายรดน้ําบนเครื่องอุปโภคอื่นๆ เชน เขียนแผงขางอานมา หนาฆอง ใบพาย เปนตน

งานลายรดน้ําฝมือของชางหลวงจึงไดแกงานศิลปกรรมตางๆ ท่ีคิดประดิษฐข้ึนในราชสํานัก เชน เครื่องราชูปโภคหรือเครื่องใชตางๆ ของพระมหากษัตริยและเจานายช้ันสูง ซึ่งพระมหากษัตริยทรงเปนองคอุปถัมภพระศาสนา ไดถวายส่ิงของเครื่องใชตางๆ ใหวัดท่ีสําคัญ ตอมาพอคาคหบดีผูมีจิตศรัทธาเล่ือมใสในพระพุทธศาสนาก็สรางถวายเอาไวเปนพุทธบูชาตามอยางบาง ส่ิงของเครื่องใชท้ังหลายท่ีไดรับพระราชทานและไดรับบริจาคโดยพระมหากษัตริยและเจานายช้ันสูงเหลานี้ ยังคงเก็บรักษาอยูตาม วัดตางๆ ท่ัวประเทศไทย โดยสวนใหญแลวงานลายรดน้ําและกํามะลอท่ีทําโดยกลุมชางหลวงมักจะสรางข้ึนจากสวนกลางคือ เมืองหลวง หรือปริมณฑล ซึ่งมักจะเปนแหลงรวมชางฝมือดี เมื่อบานเมืองขยายตัวออกไป หัวเมืองตางๆ ก็พัฒนาเจริญกาวหนามากข้ึน งานชางบางสวนก็ขยับขยายเคล่ือนยายออกไปตามแหลงตางๆ ดังท่ีสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงบันทึกไววา

“.....ไดพบหีบหนังสือใหญ อยางกนสอบปากผาย มีฐานรองท่ีพัทลุงใบหนึ่ง เขียนลายรดน้ํา เปนฝมือรุนครูวัดเชิงหวาย ดานหนาเปนรูปภาพแกมกระหนก มีรูปพระแผลง รูปหนุมาน รูปกินนรคูหนึ่ง

นกอินทรีคูหนึ่ง สิงโตคูหนึ่ง ราชสีหคูหนึ่ง คชสีหคูหนึ่ง กวางคูหนึ่ง ดานขางเขียนกระหนกพะเนียง เบ้ืองลางมีรูปฤษีกับสัตวปา ดานหลังเขียนลายนกไม... เห็นจะเปนการทําปลอยหัวเมือง”

จากลายพระหัตถของสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ขางตน เปนหลักฐานท่ีแสดงใหเห็นวามีการเคล่ือนยายตูหรือส่ิงของเครื่องใชท่ีเปนฝมือชางหลวงออกไปตามหัวเมืองตาง ๆ มีหลักฐานวาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๔ มีการสรางตูพระไตรปฏกถวายวัดต างๆ ไดแก จังหวัดเพชรบุรี ๓ วัด คือ วัด จันทราวาส วัดลาด วัดพระทรง และภาคตะวันออกอีก ๓ วัด คือ วัดมะกอกลาง จังหวัดระยอง วัดพลับ จังหวัดจันทบุรี และวัดบุปผาราม

จังหวัดตราด นอกจากนี้ยังมีการใหชางหลวงไปปฏิบัติงานตามหัวเมืองท่ีเปนพระราชดําริอีกดวย

Page 13: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๐

ตอมาภายหลัง สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ไดทรงรวบรวมส่ิงของเครื่องใชท่ีงดงามดวยฝมือของชางหลวงในอดีตเหลานั้น กลับเขามาเก็บรักษาไวในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร

ดังพระราชปรารภของพระองควา “ถามีผูหวงแหนรักษาไวกับท่ีไดก็ดี แตถาจะรักษาไวไมไดก็ควรเก็บเขาเสียท่ีพิพิธภัณฑ กรุงเทพฯ” ๏

Page 14: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๑

ศิลปะลายรดน้ํา และขั้นตอนการสร�างสรรค�ลายรดนํ้า

วันลี ตรีวุฒิ ศุภชัย นัยผองศรี

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

งานศิลปะลายรดน้ําเปนหนึ่งในงานชางสิบหมูประเภทชางรัก และเปนงานศิลปะไทยท่ีมีเอกลักษณ คือเปนภาพท่ีใชสีแคสองสี ไดแก สีทองของทองคําและสีดําของยางรัก

สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถานไดอธิบายวา “ลายรดน้ํา คืองานจิตรกรรมไทยแขนงหนึ่ง ไดรับชางถายทอดความรูกันมาต้ังแตสมัยโบราณ เปนวิธีการท่ีชางเขียนไดคิดทําไวชานานแลว ลายรดน้ําประกอบดวยการลงรัก เขียนลายดวยน้ํายาหรดาลและปดทองรดน้ํา” ...

Page 15: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๒

สวนใหญเราจะพบงานลายรดน้ําเขียนบนพื้นไมท่ีพบมากคือ ลายรดน้ําประดับภายนอกของ ตูพระไตรปฎก ซึ่งบางครั้งเรียกวาตูลายทอง หีบไมลับแล บานประตู บานหนาตาง และท่ีนาสนใจคือ ภาพลายรดน้ําขนาดใหญ ตกแตงผนังดานนอกของอาคารไม ซึ่งมักเปนพระตําหนักของกษัตริยมากอน ไดแก หอเขียน วังสวนผักกาด และตําหนักไมท่ีวัดไทร เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ

ไมปรากฏหลักฐาน ท่ีบ งบอกให รู ไ ด ว า ใน สังคมไทย เริ่ ม ทํ าลายรดน้ํ า เมื่ อ ใด ท้ั งนี้ งานศิลปะลายรดน้ําสวนใหญ ท่ีพบเปนงานในสมัยอยุธยาตอนตน ปลาย และตนรัตนโกสินทร (รัชกาลท่ี ๑ – ๔ )

ลายรดน้ําเปนงานปราณีตศิลปท่ีงดงาม ดังท่ีศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดกลาวถึงลายรดน้ําในหนังสือ ตูลายรดน้ําไววา

“บรรดาศิลปประยุกต ท่ีคนไทยในสมัยโบราณสรางข้ึนไว มีอยูประเภทหนึ่ง (สวนมาก) ทําลวดลาย เปนภาพปดดวยบนแผนทองคําเปลวบนพื้นรักสีดํา งานศิลปะประเภทนี้มีความสําคัญมากสําหรับตกแตงส่ิงของเครื่องใชของชาวบาน และเครื่องใชในพระศาสนา .. งานชางรักประเภทนี้ เราเรียกวา “ลายรดน้ํา” (หมายถึงการทํางานสําเร็จในช้ันสุดทายดวยการเอาน้ํารด..) ไดเจริญสูงสุดในสมัยอยุธยา ต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี ๒๒ จนถึงตอนกลางพุทธศตวรรษท่ี ๒๓ ..”

น. ณ ปากน้ํา ศิลปนแหงชาติผูเช่ียวชาญดานศิลปะไทยไดกลาวถึงลายรดน้ําวา

ลายรดน้ําปดทองหรือลายไทยของเราเปนวิสุทธิศิลปประเภทหนึ่ง ซึ่งสําแดงออกดวยน้ําหนักชองไฟ และเสนอันงามแสดงอารมณ ความรูตาง ๆ แมจะมีเพียงแคสีทองของตัวลายกับสีดํา”

กลาวไดวาความงามของลายรดน้ําเปนงานศิลปะท่ีผสานกันอยางลงตัวระหวางงานฝมือ และเทคนิคการสรางสรรคงานท่ีซับซอน กวาจะไดเปนงานช้ินหนึ่งตองผานกระบวนการทําท่ีมีข้ันตอนละเอียดตองอาศัยความชํานาญ และประสบการณของชางเปนสําคัญ ข้ันตอนการสร�างสรรค�ลายรดน้ํา

กระบวนการของการสรางงานลายรดน้ํามีกรรมวิธีท่ีสัมพันธกันต้ังแตการเตรียมพื้นผิวจนเสร็จส้ินเมื่อรดน้ําท่ีลายปดทองดังตอไปนี้

การสรางงานลายรดน้ําแบบโบราณ

๑. เตรียมพื้นผิวท่ีจะเขียนลายรดน้ํา ซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญท่ีตองเตรียมการอยางดี เพราะจะมีผลตอความคงทนของลายรดน้ํา โดยจะตองขัดผิวใหเรียบ นํารักน้ําเกล้ียงมาทาพื้นใหท่ัวเพื่อ อุดรอยเส้ียนและผ่ึงใหแหง

Page 16: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๓

๒. นํารักน้ําเกล้ียงผสมสมุก 1 5

* โดยบดใหเขากันจนละเอียด นําไปทาท่ีพื้นผิว จากนั้นปลอยท้ิงไวจนแหงสนิท

๓. นําหินหรือกระดาษทรายมาขัดผิวใหเรียบเสมอกัน หากยังไมเรียบใหเอาสมุกท่ี ผสมรักน้ําเกล้ียงมาทาซ้ํา รอแหง และขัดซ้ํา

๔. เมื่อทารักและขัดผิวจนไดพื้นผิวท่ีมีความหนาเหมาะสมแลว ใหทาดวยรักน้ําเกล้ียง และนําไปเก็บในท่ีมิดชิดไมมีฝุนจับได จนเมื่อแหงสนิทนําพื้นผิวนั้นมาเช็ด ปด ทําความสะอาด และทารักน้ําเกล้ียงทับ ปลอยใหแหงทําเชนนี้ซ้ํา ๓ ครั้ง จนพื้นรักข้ึนเงาเปนมัน ท่ีสําคัญคือรักน้ําเกล้ียงนั้น ตองกรองจนไมมีกากหรือฝุนละอองปะปน

๕. เตรียมน้ํายาหรดาลไดแกหินสีเหลืองท่ีนํามาบดใหละเอียด แชน้ํา ลางใหสะอาด และนํามาบดรวมกับน้ําสมปอย แลวนําไปตากแดดใหแหงจากนั้นนํามาใสน้ําตมฝกสมผอย บดจนละเอียดแลวตากแดดอีก ทําเชนนี้ซ้ํา ๒-๓ ครั้ง จากนั้นนํายางมะขวิดมาแชน้ําใหละลาย แลวนํามาผสมกับหรดาลท่ีเตรียมไวจนไดความเหนียวพอดี คือเมื่อแหงแลวเช็ดรักไมหลุด

๖. ข้ันการเขียนลวดลายในสมัยโบราณ นายชางจะนํากระดาษขอยมารางตัวลายท่ีจะเขียน จากนั้นใชเหล็กแหลมปรุตามเสนลายท่ีเขียนไว แตกอนท่ีจะนํากระดาษลายไปทาบพื้นผิวท่ีจะเขียนนั้น จะตองนําดินสอพองละลายน้ํามาลางพื้นผิวเสียกอนแลวเช็ดดินสอพองออกใหหมด จึงนํากระดาษปรุลายมาทาบเอาฝุนดินสอพองเผาใสลูกประคบ นํามาตบบนกระดาษตามรอยปรุ เพื่อใหฝุนนั้นผานรูปรุ ไปติดบนพื้นผิวเปนลวดลาย แลวจึงมวนตลบกระดาษลายไวดานบน (เผ่ือในกรณีท่ีลายท่ีตบดวยฝุนไมชัดเจนสามารถทาบกระดาษไดตรงลายเดิม)

* รักนํ้าเกลี้ยง คือ รักดิบท่ีผานการกรองและไดรับการซบันํ้าเรียบรอยแลว เปนนํ้ายางรักบริสุทธ์ิ รักสมุก คือ รักนํ้าเกลี้ยงผสมกับสมุก มีลักษณะเปนของเหลวคอนขางขน ใชสําหรับอุดแนวทางลงพ้ืน และถมพ้ืน (น ณ. ปากนํ้า กลาววาสมุกท่ีนํามาผสมน้ีคือการเอาใบตองหรือหญาคาแหงมาเผาไฟใหไหมเปนถานหรือเขมาดํานํามาบดกรองอยางละเอียด)

Page 17: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๔

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการนําฝุนดินสอพองเผาท่ีใสในลูกประคบ มาตบลงบนกระดาษปรุลายท่ีทาบลงบนพื้นผิวท่ีจะเขียน

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ฝุนดินสอพองผานรูปรุไปติดบนพื้นผิวเปนลวดลาย

Page 18: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๕

๗. นําน้ํายาหรดาลท่ีเตรียมไวมาเขียนตามรอยท่ีใชลูกประคบโรยแบบปรุไว และถมชองไปท่ีตองการใหเห็นพื้นรักสีดํา โดยในการเขียนนั้นตองมีไมรองมือ มีลักษณะเปนไมยาว เล็ก หุมผาท่ีปลายมิใหเกิดรองรอยท่ีพื้นผิว

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการเขียนหรดาลตามรอยท่ีใชลูกประคบโรยแบบปรุไว

๘. เมื่อเขียนเสร็จใชผานุมเช็ดฝุนออกแลวนําผาชุบยางรักท่ีเค่ียวไฟไวจนเหนียว นํามาทําการเช็ดรัก คือ เช็ดยางรักลงบนพื้นท่ีไมไดลงหรดาล (พื้นท่ีจะปดทอง) และเช็ดออกใหเหลือบางท่ีสุด เรียกวา การถอนรัก การถอนรักนี้ ตองอาศัยความชํานาญ หากทําไมดีจะทําใหหรดาลไมหลุดออกในข้ันตอนสุดทาย

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการถอนรัก ใชผาชุบยางรักท่ีเค่ียวไฟจนเหนียว นํามาเช็ดรักลง บนพื้นท่ีท่ีตองการจะปดทอง และเช็ดออกใหเหลือเพียงบาง ๆ

Page 19: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๖

๙. ปดทองลงบนพื้นท่ีเช็ดรักไว โดยเมื่อปดเสร็จก็นํากระดาษท่ีหุมแผนทองมาชุบน้ํา และปดทับทองท่ีลงไว พรมน้ําใหชุมพื้นผิวท้ังหมด ท้ิงไว ๒-๓ นาที ใหหรดาลละลาย และเช็ดออกดวย สําลีชุบน้ําเบา ๆ นําน้ํามารดและลางจนน้ํายาหรดาลออกจนหมด ทําใหสวนท่ีปดทองกลายเปนตัวลายตามท่ีเขียนไวติดแนนกับพื้นรักแท ๆ ข้ันตอนสุดทายนี้เอง คือท่ีมาของช่ือ ลายรดน้ํา

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการปดทองลงบนพื้นท่ีเช็ดรักไว

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

Page 20: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๗

ธนิสร เพ็ชรถนอม / ชัชนันทิ์ ภักดี

ข้ันตอนการนําน้ํามารด เพื่อลางน้ํายาหรดาลออก จนเผยใหเห็นสวนปดทองท่ีติดแนนกับพื้นรัก

Page 21: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๘

การสรางงานลายรดน้ําดวยวัสดุทดแทน (แบบสมัยใหม)

๑. เตรียมพื้นท่ีจะใชเขียนโดยการใชสีโปวรถยนตทาใหท่ัวพื้นรอใหแหงและขัดใหเรียบดวยกระดาษทราย

๒. เมื่อขัดจนเรียบแลวปดฝุนใหสะอาด และพนสเปรยเคลือบพื้นสีเทาใหท่ัว และท้ิงใหแหง

๓. ลงพื้นดวยสีเฟรกดําทาบาง ๆ รอใหแหง ทําซ้ํา ๓ ครั้ง จนพื้นเรียบเปนเงา และพักไวจนแหงสนิท

๔. เตรียมน้ํายาหรดาล โดยการใชหินหรดาล และน้ําตมฝกสมปอย เชนเดียวกับแบบโบราณ แตใชการกระถิน (น้ํายางของตนกระถินยักษ) แทนน้ํายางมะขวิดได

๕. ลอกลายท่ีตองการเขียนลงบนกระดาษไข และใชเข็มปรุงตามลายท่ีลอกไว

๖. ข้ันการเขียนลวดลายเริ่มจากการทําความสะอาดพื้นดวยดินสอพอง ผสมน้ําเล็กนอย นํามาถูวนใหท่ัวพื้นท่ีเตรียมไว และใชสําลีถูออกใหหมด และนําแบบปรุบนกระดาษไขทาบลงบนพื้น ใชลูกประคบดินสอพองตบใหท่ัว เปนการโรยแบบเพื่อเตรียมเขียน

๗. เขียนลวดลายดวยน้ํายาหรดาล และถมพื้นสวนท่ีไมตองการใหติดทองโดยขณะเขียนใชสะพานรองมือเพื่อไมใหมือสัมผัสกับพื้นท่ีเขียน

๘.เมื่อเขียนเสร็จใชลูกประคบดินสอพองลงบนงานเพื่อทําความสะอาดอีกครั้ง โดยตองอยูในสถานท่ี ๆ ไมมีความช้ืนโดยเด็ดขาด เพราะลายท่ีเขียนอาจหลุดออกได

๙. ใชสีเฟรก แทนยางรัก โดยนําสําลีชุบกับสีและนํามาเช็ดใหท่ัว ใหสม่ําเสมอกัน เมื่อท่ัวแลวใชสําลีเปลาเช็ดซ้ําอีกเรียกวาการถอน จนกวาพื้นจะมีความแหงท่ีเหมาะสมท่ีจะปดทอง

๑๐. ปดทองลงบนพื้นใหท่ัว ใชนิ้วกวดทองเบา ๆ จากนั้น ข้ันการรดน้ําใชสําลีชุบน้ําสะอาดมาเช็ดใหท่ัวและรูดน้ํายาหรดาลออก ลวดลายท่ีเขียนไวก็จะปรากฏ เปนอันเสร็จข้ันตอนการทําลายรดน้ํา ๏

Page 22: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๑๙

ศาสตร�ศิลป�ภูมิป�ญญา

จากตู�พระธรรมลายรดน้ํา วันลีย กระจางวี / บรรยาย16*

ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี / ถายภาพ

* ภัณฑารักษ ประจําพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Page 23: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๐

ลายกนกเปลวเถา ประกอบนกคาบ และตัวภาพสัตว ลิง นก

ลายกนกเปลวนกคาบ และ ตัวภาพสัตว กระรอก นก

Page 24: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๑

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ เคลาตัวภาพลิง กระรอก

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ มีหนาขบคาบกลางลาย เคลากระรอก

Page 25: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๒

ลายกรวยเชิงประดับกรอบตูพระธรรม

.

ลายหนาขบแบบรักรอยประดับกรอบตูพระธรรม

Page 26: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๓

ลายดอกไมรวง และลายประแจจีน สลักไมประดับกระจก

ลายราชวัตใบเทศ สลักไมรองชาดประดับกระจก พื้นแดงประดับกระจก

Page 27: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๔

ลายกนกเปลวเถา นกคาบ

ลายกนกเปลวเถา ออกยอดลายเปนเศียรนาค

Page 28: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๕

ลายกนกเปลวเถา เคลากระรอก

ลายกนกเปลวเถา เคลากระรอก

Page 29: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๖

ลายพุมขางบิณฑ และสถาปตยกรรม

ลายพุมขาวบิณฑ ประกอบผามาน ในภาพสถาปตยกรรม

Page 30: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๗

กรอบนอกลายกระจัง กรอบในลายโบต๋ัน

ตัวภาพทหาร เลมเรื่องชาดก

Page 31: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๘

ตัวภาพบุคคลช้ันสูง (เทวดา) และสถาปตยกรรม

ตัวภาพจับเรื่องรามเกียรต์ิ (ลาง) ลายกนกเปลวเถา นกคาบ

Page 32: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๒๙

ลายกนกเปลวเถา และตัวภาพ

ลายกนกเปลว และตัวภาพกระรอก

Page 33: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๐

กินรี ประกอบ ลายกนกเปลวและนกคาบ

ลายกนกเปลวเถา

Page 34: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๑

ลายกํามะลอเรื่อง พระเวสสันดรชาดก

ลายกํามะลอเรื่อง พระเวสสันดรชาดก

Page 35: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๒

ลายกํามะลอ ลายมังกรด้ันเมฆ

ขาสิงหแบบจีนประดับตูพระธรรม

Page 36: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๓

ลายเครือเถา ออกลายมังกรอยางจีน

ลายประจํายามประดับกระจก

Page 37: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๔

ขาสิงหแบบมีหนาสิงห

อกเลาโลหะ ประกบหนาตูพระธรรม

Page 38: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๕

บรรณานุกรม เอกสาร

วันลี ตรีวุฒิ และศุภชัย นัยผองศรี . (๒๕๕๖). ศิลปะลายรดน้ํา. พระนครศรีอยุธยา: เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรระยะส้ันงานศิลปถ่ินกรุงเกา (ครั้งท่ี ๑) “ศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา” จัดโดยสถาบันอยุธยาศึกษา.

วิภารัตน ประดิษฐอาชีพ. (๒๕๕๔). งานชางรัก. ใน งานชางหลวง. กรุงเทพฯ: สํานักพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร.

ภาพประกอบ

ตูพระธรรมลายรดน้ํา พระราชวังจันทรเกษม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). พระนครศรีอยุธยา: ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี.

พระตําหนักทอง วัดไทร กรุงเทพฯ. (๒๕๕๑). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.gerryganttphotography.com

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: bombik.com/node/404/

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.bansansuk.com/ travel/watprasiratana

ภาพชุดศาสตรศิลปภูมิปญญาจากตูพระธรรมลายรดน้ํา. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). ธนิสร เพ็ชรถนอม และ ชัชนันท์ิ ภักดี.

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.bareo-isyss.com/ decor6.htm

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.thaiticketmajor.com

หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). กรุงเทพฯ: www.thailandsworld.com/

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). เพชรบุรี: http://2g.pantip.com/ cafe/lueplanet/ topic/E9895581/E9895581.html

ศาลาการเปรียญ วัดใหญสุวรรณาราม. (๒๕๕๖). (ภาพนิ่ง). เพชรบุรี: www.bloggang.com/ viewdiary.php?id=morkmek&month=08-2013&date=15&group=3&gblog=201

Page 39: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๖

บันทึก ............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................................. ..........

........................................................................................................................ ...............................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................................... ..

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

Page 40: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๗

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................................. ..........

........................................................................................................................ ...............................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................................... ..

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

Page 41: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๘

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................... .................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................. .........................

......................................................................................................... ..............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................... .................

................................................................................................................. ......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

Page 42: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๓๙

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................. ......................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................................... ..................

................................................................................................................ .......................................................

Page 43: เอกสารประกอบการอบรม เรื่องศาสตร์ศิลป์ภูมิปัญญาจากตู้พระธรรมลายรดน้ำ

หนา ๔๐

............................................................................................................................. ..........................................

.............................................................................................................................................................. .........

......................................................................................................................... ..............................................

............................................................................................................................. ..........................................

...................................................................................................................................................................... .

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................. ..........................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

..................................................................................................................................... ..................................

.......................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ..........................................

............................................................................................................................................. ..........................

........................................................................................................ ...............................................................

............................................................................................................................. ..........................................