18
ทฤษฎีการเรียนรูทฤษฎีการเรียนรูทฤษฎีการเรียนรู้ คือ การ ศึกษาถึงกระบวนการที่ก ่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงจาก พฤติกรรมเดิมไปเป็น พฤติกรรมใหม่ที่ค ่อนข้าง ถาวร เป็นผลที่ได้จาก ประสบการณ์ โดยไม่ใช่ผล จากการตอบสนอง ตาม

1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการเรยีนร ู้ทฤษฎีการเรยีนร ู้

ทฤษฎีการเร ียนร ู้ ค ือ การศ ึกษาถึงกระบวนการที่ก ่อให ้เก ิดการเปล ีย่นแปลงจากพฤติกรรมเด ิมไปเป ็นพฤติกรรมใหม่ท ี่ค ่อนข้าง

ถาวร เป ็นผลที่ได ้จาก ประสบการณ์ โดยไม่ใช ่ผล

จากการตอบสนอง ตามธรรมชาติท ี่เก ิดข ึ้นโดยบังเอ ิญ

Page 2: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

การแบ่งกล ุ่มทฤษฎีการเร ียนร ู้การแบ่งกล ุ่มทฤษฎีการเร ียนร ู้

แบง่ออกเปน็ 3 กลุ่ม ได ้แก ่1. ทฤษฎีเช ือ่มโยงความสมัพันธร์ะหว ่างส ิง่เร ้าและการตอบสนอง

1.1 ทฤษฎีการเร ียนร ู้ต ่อเน ือ่งของธรอนไดค์

“ ”การเร ียนร ู้เก ิดจากการลองผดิลองถูก“การเร ียนร ู้เก ิดจากความสัมพันธร์ะหว ่างส ิง่

”เร ้าและการตอบสนอง การทดลอง = แมวกับประต ูกล

Page 3: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

1.2 ทฤษฎีการเช ือ่มโยงของกัทธร ี“ ”การเร ียนร ู้เก ิดจากการกระทำา“การเร ียนร ู้ควรเก ิดจากการจ ูงใจมากกว ่า

”การเสร ิมแรง การทดลอง = แมวกับกลอ่ง

1.3 ทฤษฎีการเร ียนร ู้ของฮลัล ์“การเร ียนร ู้เก ิดจากการเสร ิมแรงมากกว ่า

การจ ูงใจ ซึ่งได ้แก ่ การเสร ิมแรงทาง”ร ่างกายและจ ิตใจ

การทดลอง = หนูกดคาน 5 ครั้ง - 90 ครั้ง

Page 4: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

2. ทฤษฎีการวางเง ื่อนไข

2.1 ทฤษฎีการวางเง ือ่นไขแบบคลาสสคิของพาฟลอฟกับว ัตส ัน

“พาฟลอฟ การเร ียนร ู้ของส ิง่ม ีชวี ิตเก ิด”จากการวางเง ือ่นไข

การทดลอง = กระดิ่ง , สนุ ัข , ผงเน ื้อ “ว ัตสนั การเก ิดอารมณ์จากการวาง

”เง ือ่นไข การทดลอง = เด ็ก , ของเล ่น , เสยีงดงั

Page 5: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

2.2 ทฤษฎีการวางเง ื่อนไขแบบการกระทำา

“สกินเนอร ์ การเร ียนร ู้เก ิดจากการที่บ ุคคลได้ม ีการกระทำาแล ้วได ้ร ับ

”การเสร ิมแรง การทดลอง = หนูขาวกับกล ่อง

Page 6: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

3. ทฤษฎีสนามหรือกล ุ่มเกสตัลท ์(Gestalt) หมายถึง ส ่วนรวม

ทฤษฎสีนามหรือกล ุ่มเกสตัลท ์ (Gestalt) หมายถึง ส ่วนรวม

“แนวคิดของทฤษฎี ส ่วนรวมมีค ่า”มากกว ่าผลบวกของส่วนย่อย

3.1 ทฤษฎีสนาม “โคห์เลอร ์และเลว ิน การเร ียนร ู้จะ

พ ิจารณาสิ่งเร ้าโดยส่วนรวมก่อนแล้วจะแยกเป ็นส ่วนย ่อยเพื่อหาความสัมพันธ ์จนในที่ส ุดเห ็นช่องทางทำาให ้

”เก ิดการหยั่งเห ็น การทดลอง = ลิงช ิมแปนซี

Page 7: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

3.2 ทฤษฎีการเร ียนร ูข้องเลว ิน“การเร ียนร ู้เก ิดจากการเปล ี่ยนแปลง

จากความร ู้เด ิม ๆ โดยการ”จูงใจทำาให้เก ิดความร ู้อยา่งแจ ่มแจ ้ง

การทดลอง = เหม ือนกับโคห์เลอร ์

Page 8: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

3.3 ทฤษฎีการเร ียนร ูเ้คร ื่องหมายของทอลแมน

“การเร ียนร ู้เก ิดจากการทีบ่ ุคคลตอบสนองต่อส ิง่เร ้าโดยใช้

เคร ื่องหมายหรือสญัล ักษณ์น ำาไปส ู่เปา้หมายทำาให้เก ิดการเร ียนร ู้

”ด้วยความเข ้าใจ การทดลอง = หนู 3 กลุม่ ในเขาวงกต

Page 9: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทอลแมนเห็นว ่า การเสร ิมแรงหร ือ รางว ัลน ั้นไม ่ม ีความจ ำาเปน็

การเสร ิมแรงทั้งทางบวกและทางลบต่างก ็ม ีผลต ่อการเร ียนร ู้แต ่

ไม ่จ ำาเปน็เสมอไปที่จะต ้องให้รางว ัลผ ู้เร ียนเพ ื่อให ้เก ิดการเร ียนร ู้

ประสบการณ์ท ี่สร ้างความพอใจและไมพ่ ึงพอใจเป ็นต ัวเร ่งให ้

เก ิดการเร ียนร ู้เปร ียบเสมอืนรางว ัลและลงโทษในตัวม ันเอง

Page 10: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

การนำาทฤษฎีการเร ียนร ู้ไปใช้การนำาทฤษฎีการเร ียนร ู้ไปใช้ในการเร ียนการสอนในการเร ียนการสอน

ทฤษฎีการเร ียนร ูแ้บบต่อเน ื่องของธรอนไดค์

ในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน 1. ครูจะต ้องเตร ียมต ัวให้พร ้อมกระต ุ้นให้น ักเร ียนพร้อมที่จะเร ียน

2. มอบหมายงาน กิจกรรม แบบ ฝึกหัด และการบา้น เพื่อฝ ึกให้คดิ

เปน็ ท ำาเปน็ และแก้ปญัหาเปน็ 3. ใช้หล ักการให้รางว ัลและการ

ลงโทษ เพือ่ให ้ร ู้ว ่า ท ำาดไีด ้ด ีท ำาช ัว่ไดช้ ั่ว

Page 11: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการเช ื่อมโยงของกัทธร ีในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. ครูต ้องจ ูงใจให้น ักเร ียนสนใจที่จะเร ียน

2. ดำาเน ินการสอนตามเน ื้อหาสาระเพ ือ่ให ้เก ิดการเร ียนร ู้

3. ฝึกให้น ักเร ียนได้เร ียนร ู้ด ้วยการก ระทำา

4. ก่อนจบบทเร ียนควรให้น ักเร ียนช่วยก ันสร ุปบทเร ียนให้ถ ูกต ้อง

Page 12: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการเร ียนร ู้ของฮลัล ์ในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. พยายามจัดการศ ึกษา โดยคำาน ึงถ ึงความต้องการของผู้เร ียน

2. พยายามเสร ิมแรงทุกข ัน้ตอน 3. จัดการเร ียนการสอนจากง ่ายไปหายาก

4. จัดคาบเวลาเร ียนให้พอเหมาะแก่ว ัยของผู้เร ียน

5. เปล ี่ยนกิจกรรมการสอน เม ื่อพบว ่าผ ูเ้ร ียนอ ่อนล ้าหร ือง ่วงนอน

Page 13: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการวางเง ื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟและว ัตส ัน

ในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. ครูสร ้างบรรยากาศที่ด ีในการเร ียน อันเป ็นการวางเง ื่อนไขที่ด ี

2. ครูวางต ัวให้เด ็กศร ัทธาและร ัก เพ ื่อเด ็กจะได้ร ักว ิชาที่คร ูสอน

3. ครูจ ัดบทเร ียนให้น ่าสนใจและเก ิดความสนกุสนาน

4. ครูไมใ่ห ้ความสนใจในพฤติกรรมที่ ไมด่ ีของเด ็ก ในที่ส ุดพฤติกรรมดังกล ่าว

จะหายไป 5. ครูจ ัดบทเร ียนให้ส ัมพันธ ์ก ับบทเร ียนที่น ักเร ียนได้เร ียนร ู้แล ้ว

Page 14: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

6. ครูให ้น ักเร ียนได้ทบทวนบทเร ียนที่ ได้เร ียนร ู้ไปแล ้ว จะได ้เร ียนร ูเ้หม ือน

เด ิม 7. ครูให ้น ักเร ียนร ู้จ ักว ิธกีารจ ำาแนกหรือว ิเคราะห์

8. ครูใช ้ทฤษฎีการวางเง ือ่นไขแบบคลาสสกิมาใช้ในการเปล ี่ยนทัศนคติท ี่

ไม่ดตี ่อว ิชาต ่าง ๆ เช ่น น ักเร ียนไม่ชอบ ภาษาอ ังกฤษ แต่ชอบเกม ให้น ักเร ียน

ได้เล ่นเกมในว ิชาภาษาอ ังกฤษ ต่อมานักเร ียนชอบวิชาภาษาอ ังกฤษเพราะได้เล ่นเกม

Page 15: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการวางเง ือ่นไขแบบการกระทำาทฤษฎีการวางเง ือ่นไขแบบการกระทำาของสกินเนอร ์ของสกินเนอร ์

ในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอนในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. สร ้างน ิสยัท ีด่ ีให ้เดก็ เพ ือ่การสร ้างคณุภาพแห่งช ีว ิต

2. ลบนิส ัยท ี่ไม ่ด ีออกจากตัวเด ็ก โดยว ิธกีารปร ับพฤติกรรม

3. ให้การเสร ิมแรงแก่เด ็กท ี่กระท ำาความดี

4. นำามาใช้สร ้างบทเร ียนส ำาเร ็จร ูป 5. นำามาใช้ในการสอนวิธ ีการพดูเปน็การให้แรงเสร ิมในการฝึกพูด

Page 16: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีสนามของกลุ่มเกสตัลทใ์นทฤษฎีสนามของกลุ่มเกสตัลทใ์นการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอนการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. ครูช ี้ให ้เห ็นว ัตถ ุประสงคห์ร ือความมุง่หมายของบทเร ียน

2. อธบิายให้น ักเร ียนเห ็นภาพรวม ๆหร ือโครงสร ้างของบทเร ียนก่อนสอน

3. แนะนำาก ิจกรรมที่น ักเร ียนควรฝึกปฏิบ ัต ิเพ ื่อน ำาไปส ู่ความเข ้าใจ

4. สอนให้น ักเร ียนแก้ป ัญหาดว้ย ตนเองเพ ื่อน ำาไปส ูก่ารคดิเป ็น ท ำาเปน็

และแก้ป ัญหาเปน็

Page 17: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการเร ียนร ูข้องเลว ินในการนำาทฤษฎีการเร ียนร ูข้องเลว ินในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอนไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. ครูใชว้ ิธกีล ุ่มสมัพ ันธก์ ับผ ู้เร ียน จะไดเ้ก ิดการเร ียนร ู้ด ้วยความเข ้าใจ

2. ครูม ุ่งเน ้นการสอนแบบให้ผ ู้เร ียนเปน็ศ ูนยก์ลาง

3. ให้น ักเร ียนตั้งเป ้าหมายในชวี ิต เปา้หมายในแต่ละว ิชา

แต่ละบทเร ียน 4. ใชว้ ิธกีารจ ูงใจเพ ือ่กระต ุ้นให้น ักเร ียนตอบสนองต่อบทเร ียน

5. ฝกึให้น ักเร ียนร ู้จ ักแก ้ป ัญหาใน เกมง ่าย ๆ และยากขึ้นตามล ำาด ับ

Page 18: 1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b899e0b8a3e0b8b9e0b989

ทฤษฎีการเร ียนร ู้ของทอลแมนในทฤษฎีการเร ียนร ู้ของทอลแมนในการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอนการนำาไปใช้ในการเร ียนการสอน

1. จัดการเรยีนการสอนให้น ักเร ียน ได้มสี ่วนร ่วมในการคดิ เปดิโอกาสให้

พดู และแสดงความคดิเห ็น 2. จัดแบ ่งน ักเร ียนเปน็กล ุ่มเล ็ก ๆ

มอบงานหรือก ิจกรรมให้ทกุกล ุ่ม ให ้สมาชิกทกุคนมีสว่นร ่วมในกิจกรรม

การเร ียน เพือ่ส ่งเสร ิมการคดิเปน็ ท ำา เปน็ และแก้ปญัหาเป ็น

3. ให้น ักเร ียนอภิปรายในชัน้เร ียน หรือใช้ก ิจกรรมกลุ่มส ัมพนัธ ์ เพ ื่อให ้

นักเร ียนมปีฏ ิสมัพ ันธก์ ับคร ูก ับเพ ื่อน ๆเพ ื่อให ้เข ้าใจบทเร ียนย ิง่ข ึน้