6

Click here to load reader

302143 CHP6_2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 302143 CHP6_2

1

ลักษณะภูมิประเทศ

1) ภูเขาและยอดเขา (Mo untain /Hill and Peak) บริเวณท่ีเสนชั้นลอมเปนวงหลายวงลอมรอบกัน คือภูมิประเทศท่ีเปนภูเขา พ้ืนท่ีซ่ึงอยูตรงกลางของเสนชั้นรอบในสุดมีระดับสูงสุดคือภูเขา ยอดเขาท่ีสําคัญมักบอกระดับความสู ง ข อ งจุดสูงสุดของยอดเขาไวดวย

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

2) สันเขา (Ridge) คือแนวตอเน่ืองของจุดสูงสุดของภเูขาท่ีติดตอกัน หาไดในแผนท่ีโดยการลากเสนไปตามแนวที่มีระดับความสูงมากท่ีสดุ ซ่ึงสังเกตไดจากเสนชั้นความสูง

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

3) จมูกเขา (Spur) คือสวนท่ีแยกออกจากแนวสันเขาใหญลาดลงสูหุบเขาใหญเสนชั้นความสูงบริเวณจมูกเขามีลักษณะโคงย่ืนไปสูลํานํ้าสายใหญ สวนสองขางของจมูกเขาขนาบดวยลํานํ้าสาขา

Page 2: 302143 CHP6_2

2

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

4) สันเขารูปอานมาหรือก่ิว (Saddle) คือสวนของสันเขาท่ีหยักต่ําลงเสนชั้นบริเวณดังกลาวไมติดตอเปนวงกลมเดียวกัน แยกออกเปนคนละวง

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

5) หุบเขา (Valley) เปนบริเวณท่ีเสนชั้นความสูงมีระดับความสูงลดลงไปเร่ือย ๆจนถึงกนหุบเขาซ่ึงเปนรองนํ้า มีแมนํ้าหรือลําธารไหลผานเสนชั้นมีลักษณะหยักเปนมุมแหลมขึ้นไปทางตนนํ้า

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

6) โตรก ( Go rge) เสนชั้นความสูงท่ีอยูในหุบเขา มีลักษณะเรียงขนานกันและชิดกันมาก

Page 3: 302143 CHP6_2

3

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

7) หนาผา (Cliff) เสนชั้นความสูงอยูช ิดกันมาก หรือซอนทับ กันถ าหากเปนหนาผาชัน

ลักษณะภูมิประเทศ

8) แอ ง (Sink) เสนชั้นความสูงแสดงแอ งต่ําลอมเปนวงเดียวหรือหลายวงลอมรอบกัน

Sink

ลักษณะภูมิประเทศ

9) ท่ีราบ (Plain) เสนชั้นความสูงอยูหางกันมากหรือแทบไมมีเสนชั้นความสงูผานเลย

ท่ีราบ

Page 4: 302143 CHP6_2

4

ลักษณะภูมิประเทศ

10 ) ภู มิ ป ระ เ ทศ บ ริ เ วณ หินปู น ( Karsts to po g raphy) ซ่ึงมีการระบายนํ้า ใ ต ดิ น บนพ้ืนผิวภูมิประเทศหินปูนในเขตภูมิอากา ศ ชุ มชื้น เชน ประเทศไทย มักปรากฏยอดเขาโดด ๆ อยูสลับกับหลุมเรือแอ งยุบ (Sinkho le) เสนชั้นความสูงในบริเวณดังกลาวจึงมีลักษณะเปนวง ๆ อยูกระจายกันสลับกับวงของเสนชั้นค วา ม สู ง แสดงแอ งต่ําบริเวณดังกลาวน้ีมักจะไมมีรองนํ้าบนพ้ืนผิว เน่ืองจากนํ้าซึมลงในหินปูน และรวมเปนลําธารใตดินบาง นํ้าซับบาง

ลักษณะภูมิประเทศ

11) ความลาดชันความลาดชันของพ้ืนผิวภูมิประเทศมีระดับแตกตางกันออกไป ใน

ภูมิประเทศจะพบลักษณะของความลาดชั น เ ป นแบบลา ด ส ม่ํ า เ ส ม อ (Unifo rm slo pe) อาการลาดเวา (Co ncav e Slo pe) และอากา รลา ด นูน (Co nv ex slo pe) จากแผนที่ภูมิประเทศ 1:50 ,0 0 0 ซ่ึงมีสัญลักษณแสดงคาความสูงของภูมิประเทศโดยใช เสนชั้นความสูง (Co nto ur line) โดยมีคาของความตางของเสนชั้นความสูงเทากับ 20 เมตรสามารถตีความลักษณะความลาดชันของภูมิประเทศท้ังสามแบบได โดยพิจารณาจากความหางของเสนชั้นความสูงไดดังน้ี

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

อาการลาดแบบสม่ําเสมอ (Unifo rm slo pe) พิจารณ า ไ ด จากบริเวณท่ีเสนชั้นความสูงมีระยะหางเทา ๆ กัน ถาเสนชั้นความสูงเ หล า น้ันอ ยู ห า ง กันอ ย า งสม่ําเสมอแสดงวาพ้ืนท่ีน้ันมีความลาดชันนอยและถาเสนชั้นความสูงเหลาน้ันอยูช ิดกันอยางสม่ําเสมอ แสดงวาพ้ืนท่ีบริเวณน้ันมีความลาดชันมาก

Page 5: 302143 CHP6_2

5

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

อาการลาดเวา (Co ncav e slo pe) เปนลักษณะของภูมิประเทศท่ีมีความลาดชนัไม สม่ําเสมอ โดยมีสวนบนคอนขางชันมากกวาสวนลาง อาการลาดเวาสาม า รถพิจารณาไดจากเสนชั้นความสูงท่ีอยูในท่ีสูงมีระยะชิดกันและคอยๆ หาง กัน ในระดับต่ําลงมา

ลักษณะภูมิประเทศ

ท่ีมา : พ.ต.สมโภช ปณฑวังกูร, 2548

อาการลาดนูน (Co nv ex slo pe) เปนลักษณะของภูมิประเทศท่ีมีความลาดชนัไมสม่ําเสมอโดยมีพ้ืนท่ีสวนบนคอนขางชันนอยกวาสวนลาง อาการลาดเว าสามารถพิจา รณ า ไ ด จากเสนชั้นความสูงท่ีมีลักษณะตรงกันขามกับลาดเวา กลาวคือเสนชั้นความสูงท่ีอยูในระดับต่ําอยูช ิดกันและคอยๆ หางขึ้นในระดั บความสูงขึ้นไป

เสนลายขวานสับ (Hachures)

แผนท่ีขนาดมาตราส วน เ ล็กม า กนิยม ใชเสนลายขวานสับแสดงภาพของภูเขามาตัง้แตสมัยโบราณจนกระทั่งถ ึง ป จจุบั น ลักษณ ะของเสนลายขวานสับ เปนขีดสั้น ๆ ปลายขางหน่ึงหนาอ ีกขางหน่ึงบาง คลายลอยปลายค มขวาน ลายขวานสับจะใชรวมกันเรียงเปนแถว เปนวงซอนกัน ตามลักษณะภูมิประเทศปลายดานบางของลายขวานสับจะชี้ลง ลายข วา นสับถาใชแสดงภูเขาหรือลูกเนินเปนวง ความถี่ของลายขวานสับจะมีมากบริเวณใกลยอดเขาและคอย ๆ หางออกสําหรับวงท่ีมีระดับต่ําลงมาตามลําดับ

Page 6: 302143 CHP6_2

6

เงา (Shaded Relief or Hill Shading)

การใหเงาเปนวิธีการหน่ึงของการแสดงลักษณะความสูงต่ําของพ้ืนผิวภูมิประเทศ หลักกา ร ใหเงา ถือหลักแสงสองมาจากทาง ทิ ศ ต ะ วันต กเฉียงเหนือดานท่ีอยูตรงขางกับทิศทางแสงสองจะเกิดเงาสีดํา ความแตกตางของความเขมของเงาจะชวยใหเห็นลักษณะความสูงต่ําท่ีแตกตา งกัน บริเวณท่ีสูงชันมากเงามีความเขมมาก สวนบริเวณท่ีลาดชันไมมากมีเงาสีจาง

เสนสัณฐาน (Form Lines)

เปนเสนท่ีเขียนขึ้นตามรูปลักษณะของ ลูกเนินหรือภูเขา มองดูคลายเสนชั้นความสูง แตเสนสัณฐานไมไดลากผานจุดท่ีมีควา มสูงเทากัน ไมมีคาสัมพันธกับพ้ืนหลักฐา นการระดับใด ๆ แมจะพยายามเขียนขึ้น โด ยมีแนวความคิดวาใหขนาน กับ พ้ืนระดั บทะ เ ลป า นกลา ง ก็ต า ม แต ก็ เ ป น ไ ปโดยประมาณเทาน้ัน จึงไมสามารถจะหาคาความสูงใด ๆ จากเสนสัณฐานไ ด ดั ง น้ันประโยชนจึงมีเพียงใหนึกภาพความสู ง ต่ํ าของลักษณะภูมิประเทศบริเวณน้ันเทาน้ัน