15

Click here to load reader

หนังสือเล่มเล็ก

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หนังสือเล่มเล็ก

หนังสือเล่มเล็ก

เรื่อง การวิเคาระห์และออกแบบเว็บไชต์

โดย

นางสาวกิ่งกมล หลักค า 533410080402 นางสาวชุลีกร ค าเขื่อนแก้ว 533410080408 นางสาวพิมพ์อักษิพร ไชยวึด 533410080419 นางสาววิภาดา สุวรรณไตร 533410080425

เสนอ อาจารย์ปวริศ สารมะโน

คณะครุศาสตร์ สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Page 2: หนังสือเล่มเล็ก

ค าน า

การพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้าง ข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ข้ันแรกจนถึงขั้นที่ได้เป็นรูปแบบโครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ส าคัญมากที่จะทาให้เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล วัตถุประสงค์ของรายงานฉบับนี้ คือ กระบวนการพัฒนาเว็บไชต์ ประเภทของเว็บไซต์ การประเมินเว็บไซต์ การวิเคราะห์และประเมินเว็บไซต์ การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ หลักในการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ การใช้สีบนเว็บไซต์ ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ ซึ่งสามารถน าไปใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบเว็บไซต์ได้ ผู้จัดท าหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านและผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย ขอขอบคุณอาจารย์ปวริศ สารมะโน ที่กรุณาให้ค าแนะน าในการท าหนังสือเล่มเล็กฉบับนี้ และผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ จนท าให้หนังสือเล่มเล็กฉบับนี้เสร็จได้อย่างสมบูรณ์ คณะผู้จัดท า

Page 3: หนังสือเล่มเล็ก

สารบัญ กระบวนการพัฒนา...................................................... 1 ประเภทของเว็บไซต์.................................................... 2 การประเมินเว็บไซต์.................................................... 3 การวิเคราะห์และประเมินเว็บไซต์............................... 4 การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์................................. 13 หลักในการออกแบบเว็บไซต์....................................... 16 การใช้สีบนเว็บไซต์..................................................... 17 การออกแบบเว็บไซต์.................................................. 17 หลักการออกแบบเว็บไซต์........................................... 19 ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์.......................................... 22 การออกแบบเพื่อผู้ใช้.................................................. 23 ความหมายของเว็บไซต์.............................................. 24

25

ในเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งก็คือชื่อ Host ที่ถูกก าหนดให้มีชื่อในเวิลด์ไวด์เว็บและข้ึนต้นด้วย http โดยมีโดเมนหรือนามสกุลเป็น .com, .net, .org หรืออ่ืนๆ

การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจ ากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้

Page 4: หนังสือเล่มเล็ก

24

- ค าถามยอดนิยม (Frequently Asked Questions)

- ข้อมูลในการติดต่อ (Contact information)

ความหมายของเว็บไซต์ บุญสืบ โพธิ์ศรี ( 2545, หน้า 3 ) ให้ความหมายว่า เว็บไซต์ (Web Site) หมายถึง เว็บเพจทั้งหลายที่มีอยู่ในอิเทอร์เน็ตและบรรจุไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งๆ ส่วนเว็บเพจ (Web Page) หมายถึง ข้อมูลที่แสดงบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงไปยังหน้าอ่ืนๆ ได้ ปิยวิท เจนกิจจาไพบูลย์ ( อ้างใน วีระกานต์ มาชมพู, 2250 ) ได้กล่าวว่าเว็บไซต์ถูกเรียกเป็นต าแหน่งที่อยู่ของผู้ที่มีเว็บเพจเป็นของตัวเองบนระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้จากการลงทะเบียนกับผู้ให้บริการเช่าพ้ืนที่บนระบบอินเทอร์เน็ตเมื่อลงทะเบียนในชื่อที่ต้องการแล้วก็สามารถจัดท า เว็บเพจและส่งให้ศูนย์บริการน าขึ้นไปไว้บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งถือว่ามีเว็บไซต์เป็นของตนเองแล้ว นิรุจ อ านวยศิลป์ ( อ้างใน วีระกานต์ มาชมพู, 2550 ) กล่าวถึงเว็บไซต์ว่า เป็นชื่อเรียก Host หรือ Server ที่ได้จดทะเบียนอยู่

1

กระบวนการพัฒนา กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้าง ข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ข้ันแรกจนถึงขั้นท่ีได้เป็นรูปแบบโครงสร้างสุดท้าย (Final Architecture Plan) ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่ส าคัญมากที่จะทาให้เว็บไซต์บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือ การพิจารณาว่าเว็บไซต์ควรจะมีข้อมูลและการท างานใดบ้าง ด้วยการสร้างเป็นแผนผังโครงสร้างก่อนที่จะเริ่มลงมือพัฒนาเว็บเพจ โดยเริ่มจากการก าหนดเป้าหมายเว็บไซต์ และกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ต่อมาก็พิจารณาถึงเนื้อหาและการใช้งานที่จาเป็น แล้วนามาจัดกลุ่มให้เป็นระบบ จากนั้นก็ถึงเวลาในการออกแบบโครงสร้างข้อมูลในหน้าเว็บ ให้พร้อมที่จะนาไปออกแบบกราฟิก และหน้าตาให้สมบูรณ์ต่อไป

Page 5: หนังสือเล่มเล็ก

2

ประเภทของเว็บไซต์ อินเตอร์เน็ตเป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสารที่สามารถเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ทุกมุมโลก อินเตอร์เน็ตแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างและความหลากหลายของเว็บที่ล้วนแล้วแต่สร้างขึ้นมาเพ่ือตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ให้บริการ เราสามารถแบ่งประเภทของเว็บไซต์ได้ดังนี้

1. Information sites คือ เว็บไซต์ผู้ให้บริการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร เช่น หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ นิตยสาร วารสาร หรือหน่วยงานเกี่ยวกับผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ขององค์กร 2. Transactional sites คือ เว็บไซต์ประเภทที่สามารถใช้เพ่ือการติดต่อทางธุรกิจการค้าการลงทุนของภาคธุรกิจโดยเป็นผู้ชักนา แนะน านักลงทุน

3. Community sites คือ เว็บไซต์ของกลุ่มบุคคล สมาคม ชมรม คณะบุคคล ซึ่งมีลักษณะนิติบุคคลและการสนับสนุนหน่วยงานต่างๆเกี่ยวกับสังคมหรือชุมชน ลัทธิ ความเชื่อ ศาสนา กลุ่มเพ่ือน

23

ความรู้สึกว่าบริเวณท่ีมีสีเดียวกันจะมีความส าคัญเท่ากัน วิธีการเชื่อมโยงแบบนี้ช่วยจัดกลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์อย่างไม่เด่นชัดเข้าด้วยกันได้ การออกแบบเพื่อผู้ใช้ การท าเว็บไซต์จ าเป็นต้องรู้กลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่จะเข้ามาใช้บริการในเว็บไซต์อย่างชัดเจน เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างถูกต้อง โดยผู้ออกแบบจะต้องค านึงถึง 1) สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บไซต์ - ข้อมูลและการใช้งานที่เป็นประโยชน์ - การตอบสนองต่อผู้ใช้ - ความบันเทิง 2) ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์ - ข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร (About the company)

- รายละเอียดผลิตภัณฑ์/กิจกรรม (Product information)

- ข่าวความคืบหน้าและข่าวจากสื่อมวลชน (News/Press releases)

Page 6: หนังสือเล่มเล็ก

22 การออกแบบชุดสี การออกแบบกล่องโต้ตอบ ฯลฯ เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งจ าเป็นทั้งสิ้น 9) ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง (Functional Stability) ระบบการท างาน ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอน และท าหน้าที่ได้อย่างถูกต้องท าให้ผู้ใช้ไม่รู้สึกหลงทางขณะใช้งานเว็บไซต์ ซึ่งระบบการท างานที่ถูกต้องเป็นส่วนทีเกี่ยวเนื่องกับการออกแบบระบบเนวิเกชัน 2. กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์ เป็นกระบวนการที่อาศัยหลักการจัดระบบโครงสร้างข้อมูล (Information Architecture) อยู่ในหลาย ๆ ส่วน ตั้งแต่ข้ันแรกจนถึงขั้นที่ได้เป็นรูปแบบ ประโยชน์ของสีในเว็บไซต์ สีเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์อย่างหนึ่งที่มีความส าคัญมากในการออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากสีสามารถสื่อถึงความรู้สึกและอารมณ์ และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่กับเวลาอีกด้วย ดังนั้นสีจึงเป็นปัจจัยส าคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยเสริมสร้างความหมายขององค์ประกอบให้กับเว็บเพจได้ อย่างดี ประโยชน์ของสีในรูปแบบต่างๆ - สีสามารถชักน าสายตาผู้อ่านให้ไปยังทุกบริเวณในหน้าเว็บเพจ ผู้อ่านจะมีการเชื่อมโยงความรู้สึกกับบริเวณของสีในรูปแบบที่คาดหวังได้ - สีช่วยเชื่อมโยงบริเวณท่ีได้รับการออกแบบเข้าด้วยกัน ผู้อ่านจะมี

3

4. Entertainment sites คือ เว็บไซต์ที่ให้ความบันเทิง เกมส์ ดนตรี เพลง เรื่องตลขบขัน ภาพยนตร์ เครื่องเสียงหรือแนวบันเทิงต่างๆ รวมไปถึงกลุ่มชมรมและหน่อยข้อมูลข่าวสารด้านความบันเทิง

5. Other sites ประกอบด้วย เว็บไซต์เกี่ยวกับศิลปะ การแสดงออก รสนิยม ศาสนาสถาน ประติมากรรม หรือเว็บการทดลองความสามารถ เว็บไซต์ส่วนบุคคล เช่น เว็บไซต์ของสามัญชนทั่วไป เว็บไซต์การจัดประชุม ฯลฯ

การประเมินเว็บไซต์ การประเมินเว็บไซต์ เป็นการวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเว็บไซต์ อันจะเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดสามารถวางแผนการประเมินผลในด้านต่างๆ เช่น การประเมินผลการออกแบบ การประเมินเนื้อหา การประเมินประสิทธิภาพ การเข้าถึงสารสนเทศ เป็นต้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประเมินเว็บไซต์สามารถจ าแนกการประเมินด้านต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้

1. การประเมินความพึงพอใจและความต้องการของผู้ใช้ที่มีต่อเว็บไซต์

Page 7: หนังสือเล่มเล็ก

4

2. การประเมินผลการใช้งานเว็บไซต์

3. การประเมินผลการออกแบบเว็บไซต์

4. การประเมินผลคุณภาพเว็บไซต์

5. การประเมินผลบริการ การประเมินเว็บไซต์เพ่ือการศึกษา

การวิเคราะห์และประเมินเว็บไซต์ 1. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของบอราสกี (Borasky 1997) ได้พิจารณาในเรื่องต่อไปนี้

1.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า เนื้อหาและแหล่งข้อมูลมีความถูกต้อง แม่นยา

1.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ใครเป็นผู้รับผิดชอบและมีความเชี่ยวชาญด้านใด

1.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) มีวัตถุประสงค์ในการจัดทาเพ่ืออะไร กลุ่มเป้าหมายเป็นใครข้อมูลเสนอความคิดเห็นหรือไม่

21 5) ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย (User-Friendly Navigation) ระบบเนวิเกชันเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญมากของเว็บไซต์ จะต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดยใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับค าอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและล าดับของรายการที่สม่ าเสมอ 6) มีลักษณะที่น่าสนใจ (Visual Appeal) เป็นเรื่องยากที่จะตัดสินว่าลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์น่าสนใจหรือไม่ เพราะเก่ียวข้องกับความชอบของแต่ละบุคคลอย่างไรก็ตามหน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ 7) การใช้งานอย่างไม่จ ากัด (Compatibility) ควรออกแบบเว็บไซต์ให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่เข้าถึงได้มากท่ีสุด โดยไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพ่ิมเติม หรือต้องเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ สามารถแสดงผลได้ในทุกระบบปฏิบัติการและที่ความละเอียดหน้าจอต่างกันอย่าง ไม่มีปัญหา 8) คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้รู้สึกว่าเว็บไซต์ที่มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ก็ควรให้ความส าคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก เช่น การรักษาคุณภาพความเป็นเอกลักษณ์ขององค์กร การออกแบบส่วนเชื่อมโยง

Page 8: หนังสือเล่มเล็ก

20 1) ความเรียบง่าย (Simplicity) หลักท่ีส าคัญของความเรียบง่าย คือ การสื่อสารเนื้อหาถึงผู้ใช้โดยจ ากัดองค์ประกอบเสริม ที่เกี่ยวข้องกับการน าเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จ าเป็นเท่านั้น เช่น การใช้รูปภาพที่เกี่ยวกับองค์กรเพียงอย่างเดียวในการน าเสนอ

2) ความสม่ าเสมอ (Consistency) คือ การใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เนื่องจากผู้ใช้จะรู้สึกกับเว็บไซต์ว่าเป็นเสมือนสถานที่จริง ถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมาก ผู้ใช้ก็จะเกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่าก าลังอยู่ในเว็บเดิมหรือไม่

3) ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) การออกแบบต้องค านึงถึงลักษณะขององค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ และลักษณะขององค์กรนั้นได้ โดยการใช้สี และสัญลักษณ์ขององค์กรเป็นส่วนประกอบ 4) เนื้อหาที่มีประโยชน์ (Useful Content) เนื้อหาถือเป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นในเว็บไซต์ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูล ที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุงและเพ่ิมเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาที่ส าคัญที่สุดคือ เนื้อหาที่สร้างขึ้นมาเองโดยทีมงานของคุณและไม่ซ้ ากับเว็บอ่ืนเพราะจะเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาในเว็บไซต์อยู่เสมอ

5

1.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาว่าวันที่จัดทาข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูล หรือมีการย้ายไปเว็บไซต์อ่ืน

1.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาว่าขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมด้านใด และขอบเขตของการเผยแพร่ในลักษณะใดบ้าง เช่น เผยแพร่ในรูปของหนังสือ CD – ROM หรือเว็บ เป็นต้น

1.6 การเข้าถึง (accessibility) พิจารณาถึงความยากง่ายในการเข้าถึง ความยากง่ายในการค้นหาข้อมูลและการกาหนดตัวเลือกในการค้นหา

1.7 โครงสร้างและองค์ประกอบภายในเว็บ (structure) พิจารณาถึงการเพ่ิมหรือลดข้อมูลการจัดเรียง การเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

2. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของดีเซมเบอร์ (December 2001) ได้พิจารณาจากองค์ประกอบต่อไปนี้

2.1 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่านาเสนอเว็บไซต์ เพื่อวัตถุประสงค์ใดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอคือใคร

Page 9: หนังสือเล่มเล็ก

6

2.2 ลักษณะเฉพาะ (specification) พิจารณาว่าเว็บนั้นนาเสนอข้อมูลอะไร ใช้รูปแบบใดนาเสนอหรือเผยแพร่ข้อมูล

2.3 รูปแบบการออกแบบ (manner) พิจารณาว่า การออกแบบเว็บเป็นลักษณะใด ระยะเวลาในการดึงข้อมูล การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อ่ืน

2.4 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาว่า นาเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยา มีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยหรือสมบูรณ์มากข้ึน

3. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ของอเล็กซานเดอร์และเทต (Alexander และ Tate 1996–1998) พิจารณาเกณฑ์ในเรื่องต่อไปนี้

3.1 ความถูกต้อง (accuracy) พิจารณาจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์และเว็บไซต์นั้นมีการตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาหรือไม่

3.2 ความน่าเชื่อถือ (authority) พิจารณาว่า ผู้จัดทาหรือผู้ผลิตมีความรู้และชื่อเสียงทางด้านใด

3.3 วัตถุประสงค์ (objectivity) พิจารณาว่าเว็บไซต์นั้นมีวัตถุประสงค์เผยแพร่ข้อมูลเพ่ืออะไร และกลุ่มเป้าหมายในการเผยแพร่ข้อมูลเป็นใคร

19

1. ความใกล้เคียง ความเกี่ยวเนื่อง (Proximity) คือการจัดการองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องกันให้เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน

หลักการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของ

เว็บไซต์เพียงอย่างเดียว แต่เกี่ยวข้องตั้งแต่การเริ่มต้นก าหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชันการออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี และการจัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้องค านึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์ด้วย สิ่งเหล่านี้ได้แก่ ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์ ขนาดของหน้าจอมอนิเตอร์ ความละเอียดของสีในระบบ รวมไปถึง Plug-in ชนิดต่าง ๆ ที่ผู้ใช้มีอยู่ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกและความพอใจที่จะท่องไปในเว็บไซต์นั้น

1. องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบต่อไปนี้ถือเป็นพ้ืนฐานที่ส าคัญของเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 10: หนังสือเล่มเล็ก

18

เกี่ยวกับการสร้างเว็บเพจเป็นสิ่งจะเป็นซึ่งปัจจุบันสามารถท าได้ง่ายโดยไม่จ าเป็นต้องพ่ึงพาความรู้ทางการเขียนโปรแกรม HTML อย่างแต่ก่อน เพียงรู้หลักเบื้องต้นบ้างเล็กน้อยก็เยงพอที่จะพัฒนาเว็บเพจได้ดีในระดับหนึ่งแล้ว โปรแกรมท่ีจะช่วยพัฒนาเว็บมีอยู่มากมายพอสมควรที่จะเลือกใช้ได้ตามความถนัดของผู้ที่ที่จะลองพัฒนาเว็บเพจ ดังนั้นเมื่อจะลองเริ่มต้นสร้างเว็บเพจให้มีความเหมาะสมควรค านึงถึงสิ่งต่อไปนี้

สิ่งท่ีต้องค านึงถึงในการออกแบบโฮมเพจ ความแปลก ความแตกต่าง (Contrast) คือแยกความแตกต่างที่อยู่บนจอภาพให้เห็นชัดเจน เช่น การใช้ตัวหนังสือ ส้น สี ขนาด ฯลฯ เพราะจะสามารถดึงดูดความสนใจได้ดี

1. การย้ าซ้ า (Repetition) คือ แบบแผนหรือสไตล์ของผู้ออกแบบ จะต้องมีลักษณะรูปแบบ สอดคล้องกันทั้งหมด

2. การจัดแถว การวางแนว (Alignment) คือ การจัดการองค์ระกอบต่างๆ ต้องไม่สะเปะสะปะ ไร้เหตุผล ไม่ขัดกับความรู้สึกของผู้อ่าน จัดให้ดูหน้าอ่าน

7

3.4 ความทันสมัย (currency) พิจารณาการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และวันที่จัดทาหรือปรับปรุงข้อมูลชัดเจน 3.5 ขอบเขต (coverage) พิจารณาขอบเขตการนาเสนอข้อมูลในสื่อใดบ้าง เช่น สิ่งพิมพ์เว็บ CD-ROM เป็นต้น และขอบเขตของเนื้อหาที่นาเสนอ

4. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ ศิริพร ชิตพันธ์ (2542) ได้กล่าวว่าเกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์พิจารณาได้จากองค์ประกอบต่อไปนี้

4.1 ผู้รับผิดชอบ/ผู้ผลิต / ผู้แต่ง (author) พิจารณาผู้รับผิดชอบหรือผู้ผลิตสารสนเทศเช่น บุคคล หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา เป็นต้น มีความเชี่ยวชาญและชานาญด้านใด และวัตถุประสงค์ในการนาเสนอ

4.2 เนื้อหา (content) พิจารณาจาก

- ความเที่ยงตรง ถูกต้อง แม่นยา (accuracy) การสะกด การพิมพ์ถูกพิมพ์ผิดตัวเลข สถิติต่างๆ และความละเอียดของสารสนเทศ (precision)

Page 11: หนังสือเล่มเล็ก

8

- ความทันสมัย (timeliness) วันที่ปรับปรุงข้อมูลครั้งสุดท้าย วันเวลาในการบันทึกสารสนเทศไว้ในอินเทอร์เน็ต วันเวลาในการรวบรวมเนื้อหา วันเวลาในการโฆษณา และวันเวลาในการส่งอีเมล์

- ความสมบูรณ์ของเนื้อหา (completeness)

- ความสัมพันธ์กับความต้องการของผู้ใช้ (relevance) ขึ้นอยู่กับความต้อง การของผู้ใช้แต่ละคน

- ความพอเพียงของเนื้อหา (sufficiency) ที่สามารถค้นหาสารสนเทศเรื่องเดียวกันได้จากหลายๆ เว็บไซต์ และสามารถนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกันได้

- ความเข้าใจง่ายของเนื้อหา (understandability) การใช้ภาษาเหมาะสมและถูกต้องกับเนื้อหาระดับความยากง่ายของศัพท์ที่ใช้ เนื้อหานั้นมีการสื่อความหมายหรือแปลความหมายที่เข้าใจตรงกัน มีการแบ่งหัวข้ออย่างชัดเจน มีการเรียงลาดับเนื้อหาจากงายไปหายากหรือตามลาดับเหตุการณ์

17

การใช้สีบนเว็บไซต์ การเลือกใช้สีที่ดีที่สุดในการสร้างเว็บไซต์ คือ เลือกสีที่แสดงถึงความรู้สึกและคุณลักษณะทั้งหมดของเว็บไซต์นั้น เมื่อมีการสร้างภาพกราฟิกส าหรับชื่อเรื่อง หัวเรื่องย่อย และลักษณ์รูปน าทางเราควรใช้สีจากแบบแผนสี เพ่ือเป็นสีน าของกราฟิก สิ่งนี้จะช่วยให้ในแต่ละหน้ามองดูและให้ความรู้สึกที่คล้ายคลึงกันไม่ว่าเนื้อหาในแต่ละหน้าจะมีความแตกต่างกันเพียงใดก็ตามสิ่งที่ควรค านึงถึงอย่างหนึ่งในการท างานเก่ียวกับสี คือ ความเปรียบต่าง เช่นข้อความควรมีความเปรียบต่างที่ดีระหว่างสีของตัวอักษรและสีพ้ืนหลัง การใช้สีร่วมกันของข้อความและพ้ืนหลังบางสีจะไม่ท าให้เกิดความไม่สบายตาเวลาอ่าน เช่น การใช้ข้อความสีม่วงเข้มบนพื้นหลังสีด าท าให้มองดูน่าตกใจและท าให้ไม่น่าอ่าน เราสามารถที่จะเสนอสิ่งพิมพ์หลากสีสันบนเว็บไซต์ได้ แต่การที่จะเพ่ิมสีสันบนเว็บไซต์นี้เราต้องทราบถึงเทคโนโลยีของสีที่ใช้บนเว็บไซต์เสียก่อน

การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ควรค านึงถึงการใช้หลักเพ่ือก าหนดองค์ประกอบภายในเว็บไม่ว่าจะออกแบบอย่างไร ความรู้เบื้องต้น

Page 12: หนังสือเล่มเล็ก

16

ผู้ออกแบบควรจะตัดสินใจให้ได้ว่าจะใช้ความกว้างจุดภาพเท่าใดในเว็บไซต์นั้นก่อนเริ่มการออกแบบหน้าแต่ละหน้า

5. ผู้อ่าน เนื่องจากเวิล์ดไวด์เว็บเป็นสิ่งที่ทุกคนในส่วนต่างๆของโลกสามารถเข้าถึงได้โดยไม่มีขีดจ ากัด จึงอาจเป็นความล าบากของนักออกแบบในการที่จะตอบสนองความต้องการของผู้อ่านในทุกระดับได้ แต่ถ้านักออกแบบค านึงถึงแนวทางบางประการเก่ียวกับผู้อ่านแล้วสามารถออกแบเว็บไซต์นั้นให้เป็นประโยชน์กับผู้อ่านส่วนมากได้โดยเราต้องค านึงถึงลักษณะผู้อ่าน ดังนั้น ถ้าเป็นไปได้แล้วควรจะมีการทดลองเว็บไซต์นั้นกับวัสดุและอุปกรณ์ท่ีแตกต่างกันและพยายามค้นหาให้ทราบว่าผู้อ่านส่วนมาก เข้าถึงเว็บไซต์ของเราด้วยวัสดุและอุปกรณ์สิ่งใดทั้งหมด

9

- สามารถตรวจสอบได้ (verification) จากเอกสารและเนื้อหาที่มีการอ้างอิงตามหลักวิชาการผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบข้อมูลมีการกล่าวถึงในแหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ใด

4.3 ความยุติธรรมไม่ลาเอียง (freedom from Bias)

4.4 คุณธรรมและจริยธรรม (morals and Virtue) 5. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สมิช (Smith 1997) ได้เสนอเกณฑ์การประเมินสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตไว้โดยพิจารณาจากเรื่องต่อไปนี้

5.1 ขอบเขต (scope) พิจารณาการครอบคลุมของเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่จัดทาเนื้อหาหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกว้าง เจาะลึกและเหมาะสมกับกลุ่มผู้ใช้เพียงใด ครอบคลุมระหว่างช่วงเวลาใดบ้าง

5.2 เนื้อหา (content) พิจารณาดังต่อไปนี้

- พิจารณาว่าเป็นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นของเนื้อหาโดยตรงหรือเป็นเพียงรายการของการเชื่อมโยง

Page 13: หนังสือเล่มเล็ก

10

- พิจารณาความถูกต้อง แม่นยา (accuracy) โดยตรวจสอบจากแหล่งวิจารณ์วรรณกรรมหรือข้อมูลในเนื้อหามีความเป็นอคติทางความคิดหรืออุดมการณ์หรือประชาสัมพันธ์ เรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือไม่

- ความมีอานาจ (authority) ของผู้จัดทา โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญหรือชื่อเสียงในเรื่องที่เผยแพร่

- ความทันสมัย (currency) จากวันเวลาที่ปรับปรุงข้อมูล

- ลักษณะพิเศษ (uniqueness) ของเนื้อหาที่แตกต่างกันจากสื่อรูปแบบอ่ืน

- การเชื่อมโยง (links) ภายในเนื้อหาหรือแหล่งข้อมูลอื่น

- คุณภาพการนาเสนอ (quality of writing) ในเรื่องการใช้ภาษาได้ชัดเจนและมีเหตุผล

5.3 การออกแบบกราฟิกและสื่อประสม (graphic and multimedia design) พิจารณาความน่าสนใจของเว็บ การนาเสนอภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวเหมาะสมกับเนื้อหา

15

ก่อนที่จะมีการสร้างเว็บไซต์ได้นั้น นักออกแบบจ าเป็นต้องท าการจัดระเบียบเพ่ือความสะดวกในการท างาน คือ ควรมีการรวบรวมแฟ้มซึ่งในการรวบรวมแฟ้มข้อมูลต่างๆ ควรท าการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟลเดอร์ใหญ่ แต่ส าหรับเว็บไซต์ เราควรจะสร้างโฟลเดอร์ย่อยต่างหากหรือเว็บไซต์นั้นมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะแตกย่อยลงไป เป็นส่วนต่างๆอีกโดยแต่ละส่วนนั้นจะมีแฟ้มเฉพาะของตนเอง

3. การน าทาง การออกแบบเครื่องมือน าทางเพ่ือให้การส ารวจเว็บไซต์เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและไม่เกิดการหลงทางนับว่าเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้ เพราะจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านในการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้โดยง่าย และเป็นสิ่งดึงดูดใจเพ่ือมิให้ผู้อ่านเกิดความเบื่อหน่ายจนคลิกผ่านเว็บไซต์นั้นไปเลย 4. เกณฑ์มาตรฐาน การออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นควรมีเกณฑ์มาตรฐานของสิ่งต่างๆ ที่อยู่ในโครงสร้างเว็บนั้นเพื่อไม่สร้างความสับสนให้แก่ผู้ออกแบบเองและผู้อ่านด้วย เช่น ควรมีความคงตั้งท้ังเว็บไซต์ เนื่องจาก ความคงตัวนับเป็นสิ่งส าคัญในการออกแบบและเป็นสิ่งส าคัญมากสูงสุดในการออกแบบหรือมีการก าหนดความกว้างมาตรฐานโดย

Page 14: หนังสือเล่มเล็ก

14

สร้างสรรค์ของนักออกแบบอย่างมากในงานที่ขยายวงกว้างเช่นนี้ ดังนั้นการออกแบบเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งส าคัญมากอย่างหนึ่งที่ควรค านึงก่อนที่จะลงราบละเอียดในเว็บไซต์แต่ละหน้าต่อไปตามลักษณะที่แท้จริงแล้ว เวิล์ดไวด์เว็บประกอบด้วยหน้าเอกสารจ านวนมากมายหลายล้านหน้า ซึ่งมีลักษะเช่นเดียวกับหน้าเอกสารที่ใช้พิมพ์ด้วยโปรแกรมประมวลค านั้นเอง หน้าเอกสารแต่ละหน้าเหล่านี้จะมีการเชื่อมโยงกันเพ่ือให้ผู้อ่านสามารถอ่านได้ในเวลาอันรวดเร็ว เอกสารที่มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกนเหล่านี้จะอยู่รวมกันเรียกว่า “เว็บไซต์”

หลักในการออกแบบเว็บไซต์ 1. การวางแผ่นล่วงหน้า การท างานใดๆก็ตามย่อมต้องมีการวางแผนไว้เพื่อจัดขั้นตอนในการท างานและเป็นแนวทางให้สามารถด าเนินงานไปได้ด้วยความสะดวกรวดเร็ว ถ้าไม่มีการวางแผนไว้ก่อน คือ มีการสร้างเค้าโครง การสร้างเค้าโครงนี้จะช่วยให้เราเห็นส่วนต่างๆของโครงการได้อย่างรวดเร็ว

2. รวบรวมจัดระเบียบ ภายหลังเมื่อวางแผนและเก็บรวบรวมวัสดุต่างๆ ที่จ าเป็นต้องใช้ในการสร้างเว็บไซต์เรียบร้อยแล้วสิ่งแรก

11

5.4 วัตถุประสงค์ (purpose) พิจารณาว่ามีการนาเสนอเพ่ือวัตถุประสงค์ใด และกลุ่มผู้ใช้คือใคร

5.5 บทวิจารณ์ (reviews) พิจารณาจากแหล่งวิจารณ์อ่ืนๆ ที่กล่าวถึงเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้น 5.6 การใช้งาน (workability) พิจารณาจาก

- ความสะดวกและประสิทธิภาพต่อการใช้งาน การทาจุดเชื่อมโยงหรือนาข้อมูลบนเว็บเพจมาลงในเว็บไซต์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ได้โดยตรง

- การเข้าใช้งานได้ง่าย (user Friendly) และสะดวก โดยไม่ต้องใช้คาสั่ง เช่น มีเมนูคาสั่ง ปุ่มช่วยเหลือ เป็นต้น

- สามารถใช้ได้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้ในรูปของเครือข่ายหรือที่ต้องการให้ผู้ใช้มีรหัสผ่าน (password) หรอืใช้ได้กับ เบราเซอร์หลายชนิด

- การสืบค้น มีเครื่องมือช่วยในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศอ่ืน ซึ่งมีลักษณะคล้ายเสริชเอ็นจิน(search engine)

Page 15: หนังสือเล่มเล็ก

12

- เว็บไซต์สามารถโต้ตอบหรือสามารถสื่อสารสองทางกับผู้ใช้ได้

5.7 ค่าใช้จ่าย (Cost) พิจารณาจากราคาและค่าใช้จ่ายในการเข้าใช้ข้อมูลบนเว็บหรือค่าใช้จ่ายในด้านลิขสิทธิ์ของการใช้ข้อมูล

6. เกณฑ์การวิเคราะห์เว็บไซต์ สุนัสรินทร์ บัวเลิศ (2543) กล่าวถึงเกณฑ์การประเมิน คุณค่าของสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ดังนี้

6.1 เจ้าของสารสนเทศหรือผู้รับผิดชอบ (authorship/authority) พิจารณาจากข้อมูลของผู้รับผิดชอบหรือเจ้าของสารสนเทศ เพื่อทราบถึงความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นาเสนอ วุฒิการศึกษาในสาขาเดียวกับเรื่องที่นาเสนอ และเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างกว้างขวางจากบุคคลในวงวิชาชีพเดียวกัน

6.2 วัตถุประสงค์ในการนาเสนอ (purpose) พิจารณาจากกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการนาเสนอวัตถุประสงค์การนาเสนอ เช่น เพ่ือให้ความรู้ โฆษณาประชาสัมพันธ์ ความบันเทิง เป็นต้น

6.3 เนื้อหาของสารสนเทศ (contents) พิจารณาจากความถูกต้อง ความทันสมัยในเนื้อหาของสารสนเทศ การอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล

13

ลักษณะการนาเสนอที่อ่านเข้าใจง่ายการสะกด การพิมพ์ที่ถูกต้อง ครอบคลุมข้อมูลในเรื่องที่นาเสนออย่างครบถ้วน

6.4 มุมมองหรือทัศนคติ (point of view or bias) พิจารณาจากความเป็นกลางของเนื้อหาลักษณะการนาเสนอ แหล่งที่มาของสารสนเทศ เช่น จากร้านค้า ผู้จัดจาหน่ายข้อมูลนาเสนอข้อมูลในลักษณะการโฆษณาชวนเชื่อเพ่ือเสนอขายสินค้า เป็นต้น

6.5 โครงสร้างและองค์ประกอบของข้อมูล (structure & elements) พิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูลที่ครบถ้วน เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ความยากง่ายในการ

การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ เว็บไซต์คือแหล่งที่ร่วมหน้าเว็บจ านวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการน าเสนอเรื่องรวมที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์เนื้อหาในนิตยสารหรือหนังสือพิมพ์ คือการท างานบนเว็บจะไม่มีวันสิ้นสุดลง ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถเพ่ิมหน้าเว็บไซต์เพ่ิมเติมสารสนเทศท่ีทันสมัย เปลี่ยนภาพกราฟิก ฯลลฯ ได้อยู่ตลอดเวลา จึงนับเป็นการท้ายทายความคิด