2
ทรัพยากรนาเข้า(INPUT)…..สู ่การศึกษาไทย ผู ้เขียน นางสาวปาริชาติ จันทร์เที่ยง เลขที22 นักศึกษาปริญญาโทปีที1 สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หากจะกล่าวถึงการศึกษาไทยในปัจจุบัน ประเด็นแรกที่อยู ่ในความสนใจของประชาชนทั่วไปทั้งในแวด วงการศึกษาและวงการด้านเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ก็คงจะเป็นประเด็นของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ และนโยบายทางการศึกษา ที่เป็นปัจจัยสาคัญในการนาเข้าทรัพยากรทางการศึกษาที่จะ พัฒนาระบบการศึกษาของไปในทิศทางที่จะพัฒนาการศึกษาสู ่สากล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ .. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที2) .. 2545 ในมาตรา 10 ระบุไว้ว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับ การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น ้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และการจัดการศึกษาดังกล่าวจะต้องคานึงถึง การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชน เป็ น การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน ให้ประชาชนมีส่วนร่วม มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติทาให้เห็นว่าการพัฒนาการศึกษาของเยาวชนไทยต้องได้รับการสนับสนุนขององค์กรทั ้งรัฐ และเอกชนจะเป็นส่วนพัฒนาปัจจัยนาเข้าเพื่อพัฒนากระบวนการการจัดการศึกษาของไทยที่จะส่งผลต่อ เยาวชนของประเทศต่อไปในอนาคต ทรัพยากรทางการศึกษา เป็นปัจจัยทุกสิ่งทั้งทางตรงและทางอ ้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาซึ่ง ประกอบด้วยทรัพยากรหลัก 4 อย่างคือ บุคลากร งบประมาณวัสดุอุปกรณ์และการจัดการที่ดีทรัพยากรและ ทรัพยากรทางการศึกษาซึ่งมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน นคร ตังคะพิภพ (2549) กล่าวว่าการระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษาในสถานศึกษาเป็นภารกิจสาคัญประการหนึ่งของผู ้บริหารสถานศึกษา เพราะทรัพยากรเป็น ปัจจัย (Input) สาหรับการบริหารจัดการศึกษาสามารถศึกษาได้จากประเภทของทรัพยากรต่อไปนี ประเภทของทรัพยากรทางการศึกษา นคร ตังคะพิภพ (2549) ได้จาแนกประเภทของทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาออกเป็น 6 ประเภท คือ 1) เงินทุน ได้แก่ เงินทุนการศึกษา เงินพัฒนาสถานศึกษาในลักษณะต่างๆที่สามารถจะนามาจัดซื้อจัด จ้างทาสิ่งของ หรือจัดสร้างสิ่งก่อสร้างต่าง และการใช้จ่าย เพื่อทากิจกรรมหรือทาประโยชน์ทางการศึกษาให้ มากขึ้น 2) วัสดุอุปกรณ์ การระดมทรัพยากรเพื่อให้ได้มาซึ่งวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ชิ ้นส่วนต่างๆ ที่สามารถนามา ประกอบเป็นสิ่งของที่ใช้ได้ และสิ่งของที่สามารถใช้ได้ทันที เช่นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 3) ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ได้แก่ ที่ดินที่ใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาอาคารเรียน อาคารประกอบอื่นๆ และสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่มีผู ้สร้างให้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณแผ่นดิน 4) บุคคล ซึ่งได้แกผู ้เชี่ยวชาญหรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องที่โรงเรียนได้รับ ความอนุเคราะห์มาถ่ายทอดความรู ้และประสบการณ์ให้กับครู บุคลากรและนักเรียน

ทดลองใช้

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เกี่ยวกับตอบคำถามในการเรียน

Citation preview

Page 1: ทดลองใช้

ทรพยากรน าเขา(INPUT)…..สการศกษาไทย

ผเขยน นางสาวปารชาต จนทรเทยง เลขท 22 นกศกษาปรญญาโทปท 1

สาขาเทคโนโลยและสอสารการศกษา มหาวทยาลยเกษตรศาสตร

หากจะกลาวถงการศกษาไทยในปจจบน ประเดนแรกทอยในความสนใจของประชาชนทวไปทงในแวดวงการศกษาและวงการดานเศรษฐกจ การเมอง และวฒนธรรม กคงจะเปนประเดนของพระราชบญญตการศกษาแหงชาต และนโยบายทางการศกษา ทเปนปจจยส าคญในการน าเขาทรพยากรทางการศกษาทจะพฒนาระบบการศกษาของไปในทศทางทจะพฒนาการศกษาสสากล พระราชบญญตการศกษาแหงชาต พ.ศ. 2542 และทแกไขเพมเตม (ฉบบท 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 10 ระบไววา “บคคลยอมมสทธเสมอกนในการรบการศกษาขนพนฐานไมนอยกวาสบสองปทรฐจะตองจดใหอยางทวถงและมคณภาพโดยไมเกบคาใชจาย” และการจดการศกษาดงกลาวจะตองค านงถง การมสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถน และเอกชน เปนการศกษาตลอดชวตส าหรบประชาชน ใหประชาชนมสวนรวม มการพฒนาอยางตอเนอง จากพระราชบญญตการศกษาแหงชาตท าใหเหนวาการพฒนาการศกษาของเยาวชนไทยตองไดรบการสนบสนนขององคกรทงรฐและเอกชนจะเปนสวนพฒนาปจจยน าเขาเพอพฒนากระบวนการการจดการศกษาของไทยทจะสงผลตอเยาวชนของประเทศตอไปในอนาคต ทรพยากรทางการศกษา เปนปจจยทกสงทงทางตรงและทางออมทเกยวของกบการจดการศกษาซงประกอบดวยทรพยากรหลก 4 อยางคอ บคลากร งบประมาณวสดอปกรณและการจดการทดทรพยากรและทรพยากรทางการศกษาซงมความเกยวของสมพนธกน นคร ตงคะพภพ (2549) กลาววาการระดมทรพยากรเพอการศกษาในสถานศกษาเปนภารกจส าคญประการหนงของผบรหารสถานศกษา เพราะทรพยากรเปนปจจย (Input) ส าหรบการบรหารจดการศกษาสามารถศกษาไดจากประเภทของทรพยากรตอไปน ประเภทของทรพยากรทางการศกษา นคร ตงคะพภพ (2549) ไดจ าแนกประเภทของทรพยากรเพอการศกษาของสถานศกษาออกเปน 6 ประเภท คอ

1) เงนทน ไดแก เงนทนการศกษา เงนพฒนาสถานศกษาในลกษณะตางๆทสามารถจะน ามาจดซอจดจางท าสงของ หรอจดสรางสงกอสรางตาง ๆ และการใชจาย เพอท ากจกรรมหรอท าประโยชนทางการศกษาใหมากขน

2) วสดอปกรณ การระดมทรพยากรเพอใหไดมาซงวสดอปกรณ ไดแกชนสวนตางๆ ทสามารถน ามาประกอบเปนสงของทใชได และสงของทสามารถใชไดทนท เชนสอการสอน คอมพวเตอร เปนตน

3) ทดนและสงกอสราง ไดแก ทดนทใชประโยชนในการจดการศกษาอาคารเรยน อาคารประกอบอนๆ และสงกอสรางตางๆ ทมผสรางใหโดยไมตองใชงบประมาณแผนดน

4) บคคล ซงไดแก ผ เชยวชาญหรอภมปญญาทองถนทมความเชยวชาญเฉพาะเรองทโรงเรยนไดรบความอนเคราะหมาถายทอดความรและประสบการณใหกบคร บคลากรและนกเรยน

Page 2: ทดลองใช้

5) แหลงเรยนรทมนษยสรางขน ไดแก สถานประกอบการ สาธารณสถานโบราณสถาน สถานทราชการและเอกชน ซงน ามาใชประโยชนเพอการจดการเรยนการสอนได

6) แหลงเรยนรตามธรรมชาต ไดแก ทรพยากรธรรมชาตทมอยอยางหลากหลาย เชน ภเขา ปาไม แมน าล าธาร น าตก ปาชายเลน ทะเล เปนตน ถาโรงเรยนสามารถเสาะแสวงหาและน ามาใชประโยชนในการจดการศกษา กจะเปนทรพยากรทางการศกษาทมอยแลวตามธรรมชาตโดยไมตองลงทน จะเหนวา ในการทจะระดมทรพยากรทางการศกษา

จากการศกษาประเภทของทรพยากรทเปนสวนน าเขาในการพฒนากระบวนการทางการศกษาทจะสงผลสมฤทธตอการจดการศกษาแลวยงตองอาศยแนวคดในการบรหารทรพยากรการศกษาดงตอไปน (วจตร ศรสะอาน, 2534) แนวคดแรก กลาววาทรพยากรในการบรหารทส าคญมอย 4 ประการทรจกกนในนามของ “4M’s” อนไดแก คน (Man) เงน (Money) วสดสงของ (Materials) และการจดการ (Management) แนวคดทสอง คดวาทรพยากรพนฐานของการบรหารนนมเพยง3 ประการ หรอทเรยกวา “3M’s” ซงประกอบดวย คน (Man) เงน (Money) และการจดการ(Management) โดยคดวาเมอมเงนและสามารถจดซอจดหาวสดได แนวคดทสาม เปนแนวคดทางฝายธรกจเอกชนโดยแบงทรพยากรในการด าเนนงานออกเปน 6 ประเภททเรยกวา “6M’s” ประกอบดวย คน (Man) เงน (Money) วสดสงของ(Materials) วธการ (Method) ตลาด (Market) และเครองจกรกล (Machine) จากแนวคดน ามาใชในการบรหารจดการทรพยากรการศกษาส าหรบผบรหารสถานศกษาหรอผ ทมบทบาทหนาทส าคญในการบรหารทรพยากรทางการศกษา เรมตงแตการก าหนดนโยบาย และแผนของสถานศกษา โดยจดใหมการท าแผนงานของสถานศกษาของตนขน เพอจะไดทราบวาจะตองท ากจกรรมอะไรบาง จงจะท าการก าหนดทรพยากรทตองการเปนไปอยางมคณภาพ ปจจยน าเขาทางการศกษาคอ ทรพยากรทางการศกษาประกอบดวย เงนทน วสดอปกรณ ทดนและสงกอสราง บคคล แหลงเรยนรทมนษยสรางขน แหลงเรยนรตามธรรมชาต รวมถงตองมการบรหารจดการตามแนวคดทไดน ามาปฏบตเพอใหการศกษาเกดประสทธภาพสงสด

อางอง ดาเรศ บนเทงจตร. (2549). การเขยนบทความทางวชาการ.กรงเทพ : ส านกหอสมดและศนยสารสนเทศ วทยาศาสตรและเทคโนโลย. พชรกฤษฎ พวงนล . (2553) . กลยทธการระดมทรพยากรทางการศกษาเพอพฒนาสถานศกษาขน

พนฐานของรฐในจงหวดมหาสารคาม . มหาวทยาลยขอนแกน

พรพฒนพนธ พ พมพพฒน (2550). แผนกลยทธในการบรหารงาน. คนเมอ 22 ธนวาคม 2554, จาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/366922