12
รองรำทำเพลง : ดนตรีและนาฏศิลปชาวสยาม สุจิตต วงษเทศ กอนจะเตนโขนตองคุนกับรามเกียรติละคร เลนเรื่องรามเกียรติ์และเรื่องอื่นๆ ไดทุกเรื่อง เมื่อประกาศเลนละครจึงตองบอกวาเลนเรื่องอะไร โขน เลนรามเกียรติ์เรื่องเดียวเทานั้น ไมเลนเรื่องอื่น ฉะนั้น จึงไมตองประกาศวาโขนเรื่องรามเกียรติเพราะโขนเลนเรื่องอื่นไมได การประกาศโขนจะ บอกชื่อตอนหรือชื่อชุดจากเรื่องรามเกียรติเชน โขนชุดนางลอย โขนชุดนาคบาศ โขนชุดจองถนน เปนตน เรื่อง รามเกียรติที่แพรหลายอยูในดินแดนสยามมาแตโบราณ (รวมทั้งภูมิภาคเชียตะวันออก เฉียงใต) มิไดมีตนตอมาจาก รามายณะฉบับของมหากวีวาลมีกิโดยตรง เพราะมีขอแตกตางกันมาก ดังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชนิพนธตั้งขอสังเกตไวหลายประการในหนังสือ บอเกิดรามเกียรติ” (เมื่อ ..๒๕๔๖) แทที่จริงแลว รามเกียรติ์ฉบับชาวสยามมีตนเรื่องมาจากรามายณะฉบับของชาวทมิฬในอินเดีย

ร้องรำทำเพลง

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รองรำทำเพลง : ดนตรีและนาฏศิลปชาวสยาม สุจิตต วงษเทศ แลวพระอิศวรตรัสใหพระอินทรไปหาที่สรางเมืองเพื่อเตรียมใหพระกุมารครอง ชื่อทวารวดีพณาสณฑ ดังนั้น ทาวอโนมาตันจึงเปน “เทพสุ ริยวงศ - พงศนารายณ ” องคแรกที่ไดขึ้นครอบครอง ในที่สุด ทาวทศรถก็คือพระบิดาของโอรส ๔ องค คือ พระเชษฐาคือนารายณเทเวศ ชื่อพระราเมศทรงศร ที่สองคือจักรฤทธิรอน นามกรพระพรตกุมาร

Citation preview

Page 1: ร้องรำทำเพลง

รองรำทำเพลง : ดนตรีและนาฏศิลปชาวสยาม

สุจิตต วงษเทศ

กอนจะเตนโขนตองคุนกับรามเกียรติ์

ละคร – เลนเรื่องรามเกียรติ์และเรื่องอื่นๆ ไดทุกเรื่อง

เมื่อประกาศเลนละครจึงตองบอกวาเลนเรื่องอะไร

โขน – เลนรามเกียรติ์เรื่องเดียวเทานั้น ไมเลนเรื่องอื่น

ฉะนั้น จึงไมตองประกาศวาโขนเรื่องรามเกียรติ์ เพราะโขนเลนเรื่องอื่นไมได การประกาศโขนจะ

บอกชื่อตอนหรือชื่อชุดจากเรื่องรามเกียรติ์ เชน โขนชุดนางลอย โขนชุดนาคบาศ โขนชุดจองถนน

เปนตน

เรื่อง “รามเกียรติ์” ที่แพรหลายอยูในดินแดนสยามมาแตโบราณ (รวมทั้งภูมิภาคเชียตะวันออก

เฉียงใต) มิไดมีตนตอมาจาก “รามายณะ” ฉบับของมหากวีวาลมีกิโดยตรง เพราะมีขอแตกตางกันมาก

ดังที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชนิพนธตั้งขอสังเกตไวหลายประการในหนังสือ

“บอเกิดรามเกียรติ์” (เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๖)

แทที่จริงแลว รามเกียรติ์ฉบับชาวสยามมีตนเรื่องมาจากรามายณะฉบับของชาวทมิฬในอินเดีย

Page 2: ร้องรำทำเพลง

ภาคใต ดังที่พระวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงพระนิพนธไว (เมื่อ พ.ศ.๒๔๗๙ และ

พ.ศ.๒๔๙๙) แลวทรงอธิบายเพิ่มเติมตอไปอีกวาชาวอินเดียในสมัยราชวงศปลลวะและคุปตะนำเรื่องนี้

เขามาเผยแพร (ชุมนุมนิพนธ, ๒๕๐๗, ดร.มณีปน พรหมสุทธิลักษณ แหงมหาวิทยาลัยศิลปากร

เสนอไวในศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนมิถุนายน ๒๕๓๐ วา ตนเรื่องรามเกียรติ์นาจะเปนรามายณะฉบับ

ทองถิ่นอินเดียใต ตลอดจนหนังสือปุราณะประจำถิ่นนั้น นอกจากนี้ไทยรับนับถือพระศิวะหรือพระอิศวรเปน

เทพแหงไสยผูยิ่งใหญที่สุดแลว บรรดาปุราณะของพวกไศวะ คือพวกที่นับถือพระศิวะเปนใหญ ไดแก ลิงค

ปุราณะ และศิวะปุราณะ ก็ไดมามีอิทธิพลตอเรื่องพระรามในไทยดวย)

เกี่ยวกับศาสนาเมื่อแรกที่แพรหลายจากอินเดีย เขามาประดิษฐานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต

นั้นมิไดแยกออกจากกันอยางโดดเดี่ยวเด็ดขาด ทั้งนี้พราหมณและพุทธในนิกายตางๆ จะมีอยูควบคูกันไป

เกือบทุกหนทุกแหง ซึ่งนอกจากทำใหเกิดการประสมประสานกันเองระหวางพุทธกับพราหมณแลว ยัง

ประสมประสานระบบความเชื่อดั้งเดิมของทองถิ่นที่มีเปนพื้นฐานมาแตดึกดำบรรพอีกดวย เปนเหตุให

บานเมืองในกลุมที่นับถือพุทธยอมมีประเพณีพราหมณและผีผนวกกันอยูเสมอ บางครั้งก็แปลงประเพณี

พราหมณและผีใหเปนพุทธไปดวย จนเมื่อกาลเวลาผานไปก็จำแนกไมไดวาตรงไหนเปนพุทธแทๆ ตรงไหน

เปนพราหมณ และตรงไหนเปนผี

เมื่อชาวทมิฬ (จากอินเดียภาคใต) เดินทางมาคาขายและเผยแผศาสนาในบานเมืองของภูมิภาคนี้

จึงเอาคัมภีรเรื่องรามายณะและเรื่องอื่นๆ เชน มหาภารตะ ชาดก ฯลฯ มาเลาเพื่อเสริมความศักดิ์สิทธิ์

ของศาสนาดวย จึงปรากฏเปนภาพสลักนูนต่ำเรื่องรามายณะที่เทวาลัยปรัมบะนันในเกาะชวา

(อินโดนีเซีย) และที่ปราสาทนครวัดในเขมร ฯลฯ แตดูเหมือนวาชาวสยามออกจะยกยองและนับถือเรื่อง

รามายณะเปนพิเศษ (นอกเหนือจากชาดกในพระพุทธศาสนา) จึงไดรับคตินี้ไวเต็มที่ ในที่สุดก็คอยๆ

กลายเปน “รามเกียรติ์”

คติในรามเกียรติ์มีบทบาทสำคัญตอพัฒนาการบานเมืองในดินแดนสยามที่จะมีความกาวหนาเปน

แวนแควนหรือ “รัฐ” อันรุงเรือง ดังมีรองรอยอยูตอนตนเรื่องตามพระราชนิพนธรัชกาลที่ ๑ เริ่มตนดวย

Page 3: ร้องรำทำเพลง

หิรันตยักษมวนแผนดินหนีบใสรักแรหนีลงไปบาดาล (ซึ่งหมายความวาโลกถูกทำลาย) พระอิศวรจึงโปรด

ใหพระนารายณไปปราบ

พระนารายณอวตารเปนหมูปา (ในนารายณสิบปางเรียก “วราหาวตาร”) ขวิดหิรันตยักษจนตาย

จึงเอาแผนดินกลับมาได เมื่อคืนรางตามเดิมแลว กลับไปทำพิธีกรรมเขาที่บรรทมสินธุ ณ เกษียรสมุทร

จนกระทั่ง “บังเกิดเปนประทุมเกสร อรชรรับแสงพระสุริยฉาน ขึ้นในอุทรแลวเบิกบาน มีพระกุมารโฉมยง

อยูในหองดวงโกเมศ ดั่งพรหมเรืองเดชครรไลหงส จึ่งพระจักริศฤทธิรงค อุมองคกุมารนั้นเหาะมา”

(แบบเดียวกันกับเรื่อง “นารายณบรรทมสินธุ” หรือ “วิษณุอนันตศายิน” ที่ทำใหเกิดมี “พระพรหม”

นั่งขัดสมาธิเหนือดอกบัวที่กำลังชูกานโผลขึ้นมาจากสะดือ) แลวไปเฝาพระอิศวรเพื่อกราบทูลเรื่องราวที่

“ฆาอสุรี” รวมทั้งถวาย “พระกุมาร” ดวย พระอิศวรจึงตรัสวา

ซึ่งหิรันตนั้นมวยบรรลัย

โลกไดเปนสุขสโมสร

อันองคกุมารฤทธิรอน

ก็วงสพระสี่กรผูศักดา

เปนตนกษัตริยอันประเสริฐ

ล้ำเลิศจรรโลงในแหลงหลา

จะไดดับเข็ญเย็นโลกา

ในไตรดายุคครั้งนี้

แลวพระอิศวรตรัสใหพระอินทรไปหาที่สรางเมืองเพื่อเตรียมใหพระกุมารครอง

พระอินทรไปถึงปาแหงหนึ่ง ซึ่งมี “สี่พระดาบสพรตกลา” บำเพ็ญภาวนารักษาฌานอยูที่นั่นมาแลว

“นับไดแสนปประมาณไว สรางพรตอดใจจำเริญผล” จึงไดปรึกษากับสี่พระดาบสเรื่องการหาสถานที่สราง

เมืองใหมตามเทวโองการพระอิศวร สี่พระดาบสจึงบอกวาปานี้เหมาะแกการสรางเมือง เพราะ

Page 4: ร้องรำทำเพลง

ชื่อทวารวดีพณาสณฑ ตนแตรพระศุลีเปนหลัก

อยูบูรพหนาศาลเทพารักษ ตองดวยลักขณาธานี

รูปจะบอกนามเมืองไว ใหเปนมงคลเฉลิมศรี

จงเอาสมญาปานี้ กับนามเราทั้งสี่ประสมกัน

เรียกวากรุงศรีอยุทธยา ทวาราวดีเขตขัณฑ

จะเปนที่สามโลกอภิวันท พระเกียรตินั้นจะทั่วแดนไตร

พระอินทรเห็นชอบทุกประการ “จึงสั่งพระวิษณุกรรม จงสรางสรรคพาราราชฐาน ใหแสนสนุก

โอฬาร ตามเทวบรรหารพระศุลี” เมื่อเสร็จเรียบรอยจึงใหไปทูลองคพระอิศวร

พระอิศวรจึงสั่งพระกุมารของพระนารายณวา

ดูกอนนัดดายาใจ จงไปครองกรุงไกรราชฐาน

เปนปนโลกาสุธาธาร พงศนารายณอวตารปราบยักษ

จึงใหนามตามเทพสุริยวงศ อโนมาฤทธิรงคทรงจักร

ประทานธำมรงคแกหลานรัก ทั้งสณศักดิ์ตรีเพชรคทาธร

ตอจากนั้นพระอิศวรก็ประทานพร แลวใหพระอินทรพา “หลานรัก” ไปครองเมือง

เมื่อนั้น ทาวอโนมาตันนาถา

เสด็จเสวยไอศูรยศวรรยา ในกรุงทวาราวดี

เลื่องชื่อลือนามขามฤทธิ์ ประจามิตรสั่นเกลาเกศี

ทั้งหมูวิทยานาคี ตรีโลกพึ่งเดชพระทรงยศ

ดังนั้น ทาวอโนมาตันจึงเปน “เทพสุริยวงศ-พงศนารายณ” องคแรกที่ไดขึ้นครอบครอง

Page 5: ร้องรำทำเพลง

“กรุงทวาราวดี” หรือ “กรุงศรีอยุทธยาทวาราวดี” จนกระทั่งมีพระโอรสเปนทาวอัชบาลไดครอง

กรุงศรีอยุทธยาทวาราวดีเปนองคที่ ๒ ตอจากนั้นทาวอัชบาลก็มีโอรสเปนทาวทศรถไดครองกรุงศรี-

อยุทธยาทวาราวดีสืบเปนองคที่ ๓

ขณะที่ทาวทศรถเปนกษัตรยิ์อยูนั้นก็ใหมี “เหตุดวยอสุรามันสาธารณ อหังการองอาจแกลวกลา

ย่ำยีทั้งไตรโลกา งสวรรคชั้นฟาโสฬส” แตทาวทศรถนั้น “เธอก็ไรโอรสยศยง จะสืบวงสกษัตริย

มหาศาล” พระกไลโกฏษีจึงนำเรื่องไปทูลพระอิศวรเพื่อ “ขอเชิญพระนารายรอวตาร ไปปราบพวกพาล

อสุรี” พระนารายณก็ตระหนักแกพระทัยดีวา “ผูเดียวจะเคี่ยวฆาเข็ญ เห็นจะไมสำเร็จโดยงาย” จึงทูล

พระอิศวรวา “แตผูเดียวจะลางอาธรรม จะไมสิ่นพงศพันธุยักษา จะขอคทาเพชรจักรา ทั้งมหาสังข

ทักขิณาวัฏ กับนาคอันเปนบัลลังกทรง ไปเกิดรวมวงสพงศกษัตริย ในมหานครจักรพรรดิ กำจัดอาธรรม

อันธพาล ขอทั้งองคพระลักษมี ชนนีโลกยอดสงสาร กับเทวาไปเปนบริวาร จะไดชวยสังหารกุมภัณฑ”

เมื่อพระอิศวรทรงทราบดังนั้น จึงตรัสกับพระนารายณวา

เจาไปเถิดเกิดเปนกษัตริย สุริยวงศจักรพรรดิมหาศาล

ทรงนามพระรามอวตาร ในสถานกรุงศรีอยุทธยา

จักรเปนพระพรตยศยง ถัดองคพระนารายณเชษฐา

ฝายสังขบัลลังกนาคา เปนพระลักษมณอนุชาฤทธิรอน

อันซึ่งคทาวราวุธ เปนพระสัตรุตชาญสมร

องคพระลักษมีบังอร ไปเกิดในนครลงกา

ชื่อวาสีดานงลักษณ เปนบุตรทศพักตรยักษา

จงไปสรีสวัสดิ์วัฒนา อยามีโรคาเภทภัย

ในที่สุด ทาวทศรถก็คือพระบิดาของโอรส ๔ องค คือ

พระเชษฐาคือนารายณเทเวศ ชื่อพระราเมศทรงศร

ที่สองคือจักรฤทธิรอน นามกรพระพรตกุมารา

Page 6: ร้องรำทำเพลง

ที่สามคือบัลลังกกับสังขทรง ชื่อพระลักษมณสุริยวงศกนิษฐา

คทาวุธที่สุดอันดับมา ชื่อวาพระสัตรุดกุมาร

จากนั้นก็ดำเนินเรื่องตอไป ซึ่งจะเกี่ยวของกับตัวเอกทั้งสาม คือ พระราม นางสีดา และทศกัณฐ

อันเปนที่รูจักกันแพรหลายอยูแลว

รามเกียรติ์ประดับศาสนสถาน

ความรูเกี่ยวกับพระนารายณ (วิษณุ) เริ่มมีในดินแดนสยามมากกวา ๑๕๐๐ ปมาแลว เพราะพบ

ประติมากรรมรูปพระนารายณ (วิษณุ) เกาที่สุดในประเทศไทย (วัดศาลาทึง อำเภอไชยา จังหวัด

สุราษฎรธานี) มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๘-๙

ตอมาเมื่อประมาณ ๑๐๐๐ ปมาแลว จึงมีภาพสลักเรื่องรามเกียรติ์ประดับเทวสถานที่ปรัมบะนัน

เกาะชวาภาคกลางในอินโดนีเซีย มีอายุราวกลาวพุทธศตวรรษที่ ๑๕ แตเรื่องรามเกียรติ์บนภาพจำหลัก

นี้ไมเหมือนฉบับของวาลมีกิหรือในมหากาพยของชวาเอง (ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล,

ศิลปอินโดนีเซียสมัยโบราณ, คุรุสภา, ๒๕๑๘)

ครั้นกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๖ จึงมีภาพสลักเรื่องรามเกียรติ์ประดับเทวสถานบาปวนในเขมร

แตความเชื่อเรื่องรามเกียรติ์อยางเขมขนและคึกคักมีขึ้นเมื่อกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๗ เมื่อพระเจา-

สุริยวรมันที่ ๒ โปรดใหสรางปราสาทนครวัดเพื่ออุทิศถวายแดพระนารายณเทพเจาที่พระองคทรงเคารพ

บูชา (เมื่อพระเจาสุริยวรมันที่ ๒ สิ้นพระชนมแลวจึงมีพระนามวา “บรมวิษณุโลก”) ภาพสลักประดับ

นครวัดจึงเต็มไปดวยรูปพระนารายณรวมทั้งมหากาพยที่ยิ่งใหญ ๒ เรื่อง คือ รามเกียรติ์หรือรามายณะ

และมหาภารตะ นอกจากนั้นยังมีภาพสลักที่มีองคประกอบมหึมาเรื่องกวนเกษียรสมุทรหรือชักนาค

กวนน้ำอมฤตอยูดวย (ประวัติเมืองพระนครของขอม, ศาสตราจารยหมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล ทรงแปล

จากบทความภาษาฝรั่งเศส, พิมพแจกในงานฉลองอายุครบ ๕ รอบ, ๒๕๒๖)

ชวงเวลาไลเลี่ยกับปราสาทนครวัดของเขมร บริเวณลุมน้ำมูลทางภาคอีสานของประเทศไทยก็พบ

Page 7: ร้องรำทำเพลง

ภาพสลักเรื่องรามเกียรติ์ เชน ที่ปราสาทพิมาย และปราสาทเขาพนมรุง แตไมพบในภาคกลางบริเวณ

ที่ราบลุมแมน้ำเจาพระยา แมที่เมืองละโว (ลพบุรี) ศูนยกลางแควนทวาราวดีก็ไมพบภาพสลักเรื่อง

รามเกียรติ์

เหตุที่ไมพบภาพสลักเรื่องรามเกียรติ์ในภาคกลาง ก็เพราะชนชั้นสูงแถบลุมแมน้ำเจาพระยามิได

เครงครัดกับคติทางศาสนาฮินดู (เมื่อเปรียบเทียบกับเขมร) ใหเปนสิ่งเคารพสูงสุดเพียงอยางเดียว แตมี

พระพุทธศาสนาประสมประสานเปนสวนสำคัญอยูดวย

นอกจากนั้นยังอาจเปนไปไดวาผูคนแถบนี้ไมชำนาญการสลักหิน แตชำนาญในการทำปูนปน ซึ่งไม

คงทนถาวรเทาหิน จึงไมมีซากศิลปกรรมเรื่องรามเกียรติ์เหลือรอดมาใหเห็น

Page 8: ร้องรำทำเพลง

หนากากรามเกียรติ์

ในกฎมณเฑียรบาลมิไดระบุแบบแผนการแตงเครื่องของผูเลนชักนาคดึกดำบรรพที่เปนเทวดา วานร

ยักษ และทวยเทพชั้นสูงตางๆ

แตมีภาพสลักรูปอสูรและเทวดา ตลอดจนรูปตางเปนตนเคาอยูบนผนังปราสาทหินในเขมรและภาค

อีสานของไทย เชน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทพนมรุง และปราสาทนครวัด ฯลฯ

ขอสงสัยมีอยูวาแตงหนาอยางไรจึงจะเปนวานรและยักษ?

ผูเลนเปนวานรและยักษตองสวมหัวอยางโขนสมัยหลังนี้หรือ?

เอกสารของลาลูแบรรายงานวาผูเลนโขน (และระบำ) นุงผาแตไมสวมเสื้อ จึงแตงเครื่องประดับกับ

ตัวเปลา แตมีเทริดสวมหัวอยางเครื่องแตงตัวขุนนางสมัยนั้น

พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ ทรงแปลเอกสารลาลูแบรที่รายงานเรื่องโขน

ตอนหนึ่ง วา

“โขน เปนรูปคนเตนรำตามเสียงจังหวะพิณพาทย ตุวผูเตนรำนั้น สวมหนาโขนและถือศัตราวุธ

(ทำเทียม) เปนตัวแทนทหารออกตอยุทธมากกวาเปนตัวละคร และมาตรวาตัวโขนทุกๆ ตัว โลดเตนเผน

Page 9: ร้องรำทำเพลง

โผนอยางแข็งแรง และออกทาทางพิลึกพิลั่นเกินจริงก็ตองเปนใบจะพูดอะไรไมได ดวยหนาโขนปด

เสีย” (คุรุสภา, ๒๕๐๖)

พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ ทรงถิดคำวา Mask เปนไทยวา “หนาโขน”

ทุกครั้ง มิไดทรงใชวา “หัวโขน” เลย

หนาโขน – หมายถึงหนากากใชในการละเลนโขนสมัยแรกๆ ที่ยังไมมีหัวโขน หนาโขนใชปดหนา

เปนรูปตางๆ มีตัวอยางคือ หนากากพรานบุญในโนราชาตรี

ตำราไหวครูและครอบโขนละครฉบับหลวงสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่ตกทอดมาจากกรุงศรีอยุธยาไมเรียก

“หัว” แตเรียก “หนา” ทั้งหมด เชน หนาษี หนาทศกัณฐ หนาพระราม หนาพระลักษมณ

หนาหนุมาน หนาชาง หนามา ฯลฯ

ลักษณะหนาโขนอาจมีพัฒนาการมาจากหนากากผีบรรพบุรุษในการละเลนดั้งเดิม เชน หนากาก

ปูเยอยาเยอที่เลนในวันสงกรานตแถบลานชางและอาจสัมพันธกับการพอก (แตง) หนาในการละเลน

“กถากลิ” เรื่องรามายณะ (รามเกียรติ์) ของแควนทมิฬในอินเดียใต

ถาผูเลนชักนาคดึกดำบรรพใสหนากากหรือหนาโขนเปนวานร อสูร และเปนตัวตางๆ ที่ระบุไวใน

เรื่องรามเกียรติ์แลวสวมเทริดอยูบนหัวอีกชั้นหนึ่ง

ตอมาจึงพัฒนาหนาโขนใหยึดติดกับเทริดแลวสวมหัวปดหนาหปดหัวมิดชิดเปนรูปรางหนาตาตางๆ

จึงเรียกวาหัวโขน

หัวโขน – อาจเริ่มกอรูปขึ้นเมื่อปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ราวแผนดินพระเจาอยูหัวบรมโกศหรือ

หลังๆ มาเล็กนอย แลวเจริญมากขึ้นในแผนดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยแหงกรุง

รัตนโกสินทร ดังที่ทรงประดิษฐหัวโขน เรียก “พระยารักนอย – พระยารักใหญ”

หนัง – รามเกียรติ์เพื่อประชาชน

ถาประชาชนไมรูจักเรื่องรามเกียรติ์ ความศักดิ์สิทธิ์ของเรื่องรามเกียรติ์ที่ชนชั้นสูงยกยองก็ไมมี

ความหหมาย ดังนั้นราชสำนักยุคแรกๆ จึงตองเผยแพรเรื่องรามเกียรติ์ใหเปนที่รูจักกวางขวาง

Page 10: ร้องรำทำเพลง

การเผยแพรเรื่องรามเกียรติ์มิไดผานตัวหนังสือ เพราะประชาชนไมไดเรียนหนังสือจึงอานหนังสือ

ไมได ดังนั้นการเผยแพรเรื่องรามเกียรติ์จึงตองผานการบอกเลาเปนคำพูดทางหนึ่งและคำขับลำ เชน

พากย-เจรจาอีกทางหนึ่ง

นอกจากจะผานการเลานิทานเรื่องรามเกียรติ์โดยตระกูลพราหมณชาวทมิฬที่เขามาตั้งถิ่นฐานเปน

ขาราชการและติดตอคาขายแลว ประชาชนชาวสยามทั้งหลายยิ่มรูเรื่องรามเกียรติ์จากการดู

“หนัง” (เรียกอีกอยางวา “หนังใหญ” เพื่อมิใหสับสนปนกับ “หนัง (เล็ก) ตะลุง”) ที่ราชสำนักโบราณ

กอยสมัยกรุงศรีอยุธยาจัดใหเลนในงานสมโภชและงานเทศกาลตางๆ เพื่อใหชาวบานที่ประสมประสาน

กันอยูหลายเผาพันธุมีสำนึกรวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคมและวัฒนธรรมพรอมๆ กับเสริม

ศักดานุภาพของพระเจาแผนดิน

เมื่อถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาประชาชนจึงนิยมดูหนังที่ราชสำนักจัด ดังมีรองรอยอยูในกฎมณเฑียร

บาลวาในพระราชพิธี ๑๒ เดือน “จองเปรียงลดชุดลอยโคมลงน้ำ” อันเปนการพิธีที่พระเจาแผนดินจะ

เสด็จออกนอกกำแพงพระราชวังและนอกกำแพงพระนครโดยชลมารคในเวลาค่ำคืน เพราะเปนเทศกาล

เกี่ยวกับดิน น้ำ และความอุดมสมบูรณของบานเมือง พระเจาแผนดินโปรดใหมีหนัง ๒ แบบ เพื่อเลนให

ประชาชนดูทั้งนอกและในกำแพงพระนคร แบบหนึ่ง “เลนหนังระบำ” ที่สนามหนาพระเมรุบริเวณ

พระราชวังหลวง แตอีกแบบหนึ่ง “จุดดอกไมเลนหนัง” อยูที่วัดพุทไธสวรรยนอกเกาะเมืองดานทิศใต

หนัง – เปนการละเลนที่ไดรับความนิยมอยางยิ่งตลอดสมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร

วรรณคดีเกือบทุกเลมมักเอยถึงหนังจนกระทั่งเอกชนสามารถเปนเจาของตัวหนังและรับจางเลนหนังได

(นิธิ เอียวศรีวงศ, ปากไกและใบเรือ, ๒๕๒๗)

เรืองที่ใชเลนหนังมีอยูเรื่องเดียวคือรามเกียรติ์ แมจะแตงเรื่องสมุทโฆษและอนิรุทธเพื่อใหหนังเลนใน

สมัยตอมา แตก็ไมประสบความสำเร็จหรืออาจไมเคยเลนเลยเพราะการเปลี่ยนเรื่องตองเปลี่ยนตัวหนัง

สรางชุดใหมดวย ซึ่งลงทุนสูงและเสียเวลามาก

ตัวหนังมีลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกับภาพสลักปราสาทหินในเขมร หรือสรุปงายๆ วาการสลัก

รูปหนังไดรูปแบบมาจากภาพสลักบนปราสาทหินที่แสดงรูปดานขางเปนสวนมาก หนังจึงแสดงรูปดานขาง

Page 11: ร้องรำทำเพลง

เกือบทั้งหมด ปละเปนไปไดมากที่การเผยแพรเรื่องรามเกียรติ์ดวยหนังจะแพรกระจายออกมาจาก

อาณาจักรเขมรโบราณซึ่งเรียกหนังวา “แสบก” ในบทหนังเรื่องสมุทรโฆษจึงเรียก “ฉลักแสบก” ดัง

ความที่พรรณนาวา

ใหสฉลักแสบกอันชระ เปนบรรพบุรณะ นเรนทรราชบรรหาร

ใหทวยนักคนผูชาญ กลเลนโดยการ ยเปนบำเทิงธรณี

สถานที่เลนหนังตองมีจอคือผาขาวที่ทำขอบสี่ดานดวยผาแดง ขึงเสาไมไผ ๔ ตน ดังบทพากยหนัง

วา

ตัดไมมาสี่ลำ ปกขึ้นทำเปนจอ

สี่มุมแดงยอ กลางก็ดาดดวยผาขาว

หลังจอหนังมีกองไฟหรือรานเพลิงสุมไฟเพื่อใหเกิดแสงเงาจากตัวหนังทาบไปที่จอ ดังบทพากยหนังที่

วา

เรวเร็วเถิดนายไต เอาเพลิงใสเขาหนหลัง

สองแสงอยาใหบัง จะเลนใหทานทั้งหลายดู

ดนตรีประโคมเลนหนังมีอยูในบทพากยเบิกหนาพระ (บทไหวครู) วา

ชัยศรีโขลนทวารเบิกบานประตู ฆองกลองตะโพนครู ดูเลนใหสุขสำราญ

และ

พลโหขานโหหวั่นไหว ปแจวจับใจ ตะโพนและกลองฆองขาน

และ

พลโหขานโหทั้งผอง พิณพาทยตะโพนกลอง ดูเลนใหสุขสำราญ

Page 12: ร้องรำทำเพลง

เพราะฉะนั้นเทาที่สรุปไดจากบทพากยหนังจะมีเครื่องมือหลัก ดังนี้

๑. ป ๒. ตะโพน ๓. กลอง ๔. ฆองวง และ ฯลฯ

โดยทั่วไปจะเรียก “พิณพาทย” หรือ “ปพาทยฆองวง” (ยังไมมีระนาด)

นอกจากนั้นยังมีเครื่องมือพิเศษอีก ๒ อยางเปนสัญลักษณของหนังคือโกรง ทำดวยปลองไมไผ

และกลองติ๋ง ๒ ลูก มีขนาดเล็กกวากลองทัด เชนเดียวกับกลองชาตรี เครื่องมือพิเศษ ๒ อยางนี้เปน

รองรอยของทองถิ่นที่มีมาแตดึกดำบรรพ

คนเลนหนังมี ๒ พวก คือ คนเชิดพวกหนึ่ง คนพากยและเจรจาอีกพวกหนึ่ง

คนเชิดหนังมีหลายคน เมื่อจะเชิดหนังตองยกขาเตนตามจังหวะฆองกลองดวยทาเตนพื้นๆ งายๆ

อยาง มงครุม-กุลาตีไม-ระเบ็ง คนพวกนี้เตนเชิดหนังอยางเดียวเพราะยังไมมีรำหนาพาทย และไมตองพูด

หรือรองเพราะมีคนพากยและเจรจาแทน

คนพากยและเจรจามักมีอยางนอย ๒ คนทำบทเปนตัวตางๆ ในเรื่องรามเกียรติ์ บทพากยสวน

มาก จะเปนกาพยและมีฉันทปนอยูบางเล็กนอย แตบทเจรจาเปนรายที่มักใชความจำดนเอาเองใหเขากับ

เรื่อง ทำนองพากยและเจรจาดำดแปลงมาจากทำนองสวดตางๆ เชน สวดมหาชาติของชาวบาน หรือสวด

คำหลวง เปนตน

ประเพณีการละเลนหนังจะเปนสวนสำคัญสวนหนึ่งที่ทำใหเกิดโขนตอไป

ธรรมจักร พรหมพวย / เรียบเรียง