7
นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี ๕9 หลวงพ่อทวด หรือสมเด็จเจ้าพะโคะ ตามบันทึกทางประวัติศาสตร์คือพระภิกษุผู้ใหญ่สมัยกรุงศรี อยุธยาที่เป็นผู ้น�าทางศาสนาและมีอ�านาจทางการปกครองหัวเมืองแถบทะเลสาบสงขลาเทียบเท่า เจ้าเมือง โดยมีศูนย์กลางอยู ่ที่วัดพะโคะ กระทั่งอีก ๓๐๐-๔๐๐ ปีหลังจากนั้น มีการสร้างพระเครื่อง “หลวงพ่อทวดเหยียบน�้าทะเลจืด” ขึ้นที่วัดช้างให้ และเขียนต�านานว่าเป็นองค์เดียวกับสมเด็จ เจ้าพะโคะ จากนั้นมาเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ของหลวงพ่อทวดก็เป็นทีเล่าขานและเคารพบูชามาจนปัจจุบัน เรื่อง : วีระศักร จันทร์ส่งแสง ภาพ : สกล เกษมพันธุหลวงพ่อ ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ต�านานความศักดิ์สิทธิ

หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หลวงพ่อทวด

Citation preview

Page 1: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕๕8 ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี ๕9

หลวงพ่อทวด หรือสมเด็จเจ้าพะโคะ ตามบันทึกทางประวัติศาสตร์คือพระภิกษุผู้ใหญ่สมัยกรุงศรี อยธุยาทีเ่ป็นผูน้�าทางศาสนาและมอี�านาจทางการปกครองหวัเมอืงแถบทะเลสาบสงขลาเทยีบเท่า เจ้าเมอืง โดยมศีนูย์กลางอยูท่ีว่ดัพะโคะ  กระทัง่อกี ๓๐๐-๔๐๐ ปีหลงัจากนัน้ มกีารสร้างพระเครือ่ง  “หลวงพ่อทวดเหยียบน�้าทะเลจืด” ขึ้นที่วัดช้างให้ และเขียนต�านานว่าเป็นองค์เดียวกับสมเด็จ เจ้าพะโคะ  จากนั้นมาเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ของหลวงพ่อทวดก็เป็นที่ เล่าขานและเคารพบูชามาจนปัจจุบัน

เรื่อง : วีระศักร จันทร์ส่งแสง

ภาพ : สกล เกษมพันธุ์

หลวงพ่อทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด

พระเครื่อง เรื่องเล่าต�านานความศักดิ์สิทธิ์

Page 2: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕60 ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 61

เมื่อยังแบเบาะแม่พาไปนาด้วย ผูกเปลให้นอนใต้ต้นหว้า แม่ลงเกบ็เกีย่วข้าวในนา  เมือ่หยดุพกัเหนือ่ยขึน้มาจะกนิน�้า เหน็งขูดพนัเปลลกูอยูก่ต็กใจร้องโวยวายให้สามมีาช่วย  ข้างพ่อมาเหน็ว่างไูม่ได้ท�าร้ายลกู กเ็ชือ่ว่าเป็นพญางศูกัดิส์ทิธิ ์จงึจดัหาดอกไม้ธูปเทียนมาบูชา ชั่วครู่งูก็เลื้อยไป  เมื่อเข้าไปดูลูก ในเปลก็พบแก้วดวงหนึ่งที่พญางูคายไว้ให้  

สถานทีใ่นต�านานชีวิตช่วงวัยเยาว์ของหลวงพ่อทวด เมื่อ ๔๐๐ กว่าปีก่อน ปรากฏเป็น อนุสรณ์อยู่ในปัจจุบัน ที่ต�าบลชุมพล อ�าเภอสทิงพระ (สงขลา)  ภาพซ้ายบน-ต้นเลียบที่ว่าเป็นที่ฝังรกของท่าน ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ส�านักสงฆ์ต้นเลียบ  บน-ท้องทุ่งที่พญางูมาขดพันเปลแล้วคายดวงแก้วไว้ให้ มีการสร้างประติมากรรมจ�าลองไว้ที่ส�านักสงฆ์นาเปล  ซ้าย-วัดดีหลวง วัดเก่าแก่สมัย กรุงศรีอยุธยา ตามต�านานว่า หลวงพ่อทวดบวชเณรที่วัดนี้

Page 3: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕6๒ ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 6๓

การกลบัสูบ้่านเกดิของสมเดจ็พระราชมนุฯี ไม่ได้ใช้ทางเรอือย่างที่ พระภกิษปุเูดนิทางมา แต่เป็นการจารกิรกุขมลูตามทางบก เลาะไปริมฝั่งทะเลอ่าวไทย  จุดพักตามเส้นทางจาริกกลับบ้านเกิด ของสมเด็จพระราชมุนีฯ ต่อมากลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์  เป็นที่สักการบูชาของผู้คนมาจนทุกวันนี้

(บน) วัดสีหยัง ใกล้ชายทะเลระโนด (สงขลา)  ห่างจากวัดดีหลวงราว ๓ กิโลเมตร  ตามต�านานว่า หลังบรรพชาและรับการศึกษาชั้นต้นแล้ว หลวงพ่อทวด มาเรียนธรรมบทกับพระชินเสนที่วัดนี้ ซึ่งแต่เดิมมีคูน�้า ล้อมรอบวัด แต่ทุกวันนี้เหลือร่องรอยอยู่เพียง ๒ ด้าน 

(ขวา) สถานทีใ่ดมตี�านานกล่าวว่าเกีย่วข้องกบัหลวงพ่อทวด  ก็มักมีการสร้างอนุสรณ์เกี่ยวกับองค์ท่านขึ้นมาในที่นั้น   อย่างที่วัดประสาทบุญญาวาส ย่านท่าน�้าสามเสน กรุงเทพฯ  ที่ว่าท่านเคยธุดงค์มาพักบ�าเพ็ญภาวนา   หรือที่วัดแค (ราชานุวาส) บนเกาะลอยนอกก�าแพงเมืองอยุธยา (ในภาพซ้าย) ที่ท่านเคยพ�านักจ�าพรรษา   

ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 6๓

Page 4: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 6๕

วัดพะโคะ ในอดีตคือศูนย์กลางของชุมชนและวัดรอบทะเลสาบสงขลา โดยได้รับพระราชทานกัลปนาจากกษัตริย์กรุงศรีอยุธยา  หลวงพ่อทวดเคยเป็นเจ้าอาวาสวัดนี้ และได้พัฒนาบูรณะวัดโดยช่างหลวง และศิลาแลงที่ขนใส่เรือส�าเภามาจากกรุงศรีอยุธยา   ส่วนภาพล่าง เป็นภายในวิหารที่เก็บลูกแก้วและไม้เท้า ๓ คดของหลวงพ่อทวด  และเป็นที่เช่าบูชาวัตถุมงคล

การพระราชทานกลัปนาแก่วดัต่างๆ รอบทะเลสาบสงขลา นอกจาก ที่ดิน ทรัพย์สิน และผู้คนแล้ว พระมหากษัตริย์ยังทรงให้อ�านาจ แก่พระสงฆ์อีกด้วย  เนื่องจากบริเวณนี้อยู่ไกลจากราชธานีมาก  การให้อ�านาจแก่พระสงฆ์เป็นการคานอ�านาจฝ่ายบ้านเมืองใน ท้องถิ่น  ยามมีศึกสงคราม หากเจ้าเมืองมีก�าลังไม่มากพอ  ทางกรุงศรีอยุธยาก็อนุญาตให้ผู ้น�าสงฆ์ท�าหน้าที่เป็นผู้น�าทัพ อีกฝ่ายหนึ่งด้วย

Page 5: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕66 ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 67

ทะเลสทิงพระ ในต�านานว่าเป็นที่สร้างต�านานเหยียบน�้าทะเลจืดในช่วงปัจฉิมวัย ก่อน “โละ” หายไปจากวัดพะโคะ  เหลือไว้แต่รอยเท้าบนแผ่นศิลาในภาพขวา  กับดวงแก้วของพญางู ในภาพขวาล่าง

วันหนึ่งขณะท่านเดินถือไม้เท้า ๓ คดอยู่แถวริมทะเล โจรสลัดจีนก็จับตัวท่านลงเรือไป  แต่ออกห่างฝั่งไปไม่ไกลก็เกิดเหตุอัศจรรย์เรือแล่นไปต่อไม่ได้ แก้ไขอย่างไรก็ยังหยุดนิ่งอยู่กับที่อย่างนั้น  ผ่านไปหลายวันจนเสบียงและน�้าจืดในเรือหมด พวกโจรทรมานวุ่นวายด้วยความกระหายน�้า  สมเด็จเจ้าพะโคะยื่นเท้าออกไปเหยียบบนผิวน�้าทะเล แล้วบอกให้พวกโจรตักน�้านั้นขึ้นมาชิม  ก็ปรากฏว่าเป็นน�้าจืด

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕66

Page 6: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕68 ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 69

หลวงพ่อทวดมีชีวิตอยู ่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งโลกยังไม่มีเทคโนโลยีในการบันทึกภาพ  รูปลักษณ์หน้าตาของท่านที่เห็นจากพระเครื่องหรือประติมากรรมที่เกิดขึ้นในชั้นหลังซึ่งกินเวลาห่างกันหลายร้อยปี ล้วนเป็นภาพจากนิมิตที่ว่ากันว่าท่านแสดงอภินิหารให้เห็น

“เขื่อนท่านช้างให้” หรือสถูปบรรจุอัฐิหลวงพ่อทวด ริมทางรถไฟหน้าวัดช้างให้  ต้นต�านานที่มาของพระเครื่องและสมญานาม “หลวงพ่อทวดเหยียบน�้าทะเลจืด”

Page 7: หลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลน้ำจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ตำนานความศักดิ์สิทธิ์

นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕70 ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  นิตยสารสารคดี 71นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๔  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕70

นอกจากพระเครื่องแขวนคอและบูชาตามบ้านเรือน ในช่วงหลังมานี้ยังมีการสร้างหลวงพ่อทวดองค์ใหญ่ขึ้นในที่ต่างๆ  เป็นที่นิยมแวะสักการะของบรรดากลุ่มทัวร์ อย่างที่วัดห้วยมงคล อ�าเภอหัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์)  ส่วนที่พุทธอุทยานมหาราช ริมถนนสายเอเชีย ในอ�าเภอมหาราช (อยุธยา) ก�าลังอยู่ในระหว่างก่อสร้าง ดังที่เห็นในภาพบนนี้

ตามต�านานหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า หลวงพ่อทวด หรือ สมเด็จพระราชมุนีฯ เป็นผู้มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นพระสงฆ์ผู้มีบทบาทส�าคัญในการสร้างชุมชนพุทธแถบรอบทะเลสาบสงขลา  เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวบ้าน และเป็นผู้น�าส�าคัญในการบูรณะวัดและก่อสร้างศาสนสถานในแถบสองฟากฝั่งทะเลสาบ  อีกทั้งยังเชื่อกันว่าท่านคือองค์พระโพธิสัตว์ศรีอริยเมตไตรย