172
ผลการจัดการเรียนรู ้เรื่องการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอัลฟิกฮฺ โดยใช้เทคนิค การคิดหมวก 6 ใบ สาหรับนักเรียนชั ้นประถมศึกษาปีที5 โรงเรียนบ้านเกล็ดแก้ว ตูแวนะ อีแต วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พ.ศ. 2560

6 ใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5wb.yru.ac.th/bitstream/yru/209/1/ตูแวนะ อีแต.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ผลการจัดการเรียนรู้เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ โดยใช้เทคนิค

    การคดิหมวก 6 ใบ ส าหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านเกลด็แก้ว

    ตูแวนะ อแีต

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลกัสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิาการสอนอสิลามศึกษา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัราชภฏัยะลา พ.ศ. 2560

  • The Result of Learning Management on Covering Aurah

    of al-Fiqh Subject by Using Six Thinking Hats Technique for Primary School Students Year 5,

    Ban Kledkeaw School

    TUWAENA I-TAE

    A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of The Requirements for the Master of Education

    Field in Teaching Islamic Education Graduate School

    Yala Rajabhat University 2017

  • บทคดัย่อ

    ช่ือวิทยานิพนธ์ ผลการจดัการเรียนรู้ เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้

    ช่ือผู้ท าวิทยานิพนธ์ ตูแวนะ อีแต ช่ือปริญญา ครุศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชา การสอนอิสลามศึกษา ปีการศึกษา 2559 คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 1. อาจารย ์ดร. มูหมัมดัตอลาล แกมะ ประธานกรรมการ 2. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. นิตยา เรืองแป้น กรรมการ 3. อาจารย ์ดร. อบัดุลรอแม สุหลง กรรมการ

    การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์ 1)เพื่อพฒันาและหาประสิทธิภาพของแผนการจดัการเรียนรู้เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ ตามเกณฑม์าตรฐาน E1/E2 = 80/80 2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ ก่อนเรียนและหลงัเรียนตามแผนการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ 3)เพื่อเปรียบเทียบทกัษะการคิดวเิคราะห์ก่อนและหลงัเรียน เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ ตามแผนการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคหมวก 6 ใบ และ 4)เพือ่ประเมินความพงึพอใจของผูเ้รียนที่มีต่อการจดัการเรียนรู้ตามแผนการจดัการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ ประชากรที่ใชใ้นการวิจยั ไดแ้ก่ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้ จ านวน 34 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ไดม้าจากการเลือกแบบเจาะจง เคร่ืองมือและการสร้างเคร่ืองมือที่ใชใ้นการวจิยัประกอบดว้ย 1) แผนการจดัการเรียนรู้ เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคการคิด 6 ใบ จ านวน 4 แผน แผนละ 2 ชัว่โมง รวม 8 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียน เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ จ านวน 20 ขอ้ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 4 ตวัเลือก 3) แบบทดสอบวดัทกัษะการคิดวเิคราะห์ จ านวน 15 ขอ้ เป็นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 4 ตวัเลือก และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจดัการเรียนรู้โดยใช้แบบ

  • เทคนิคหมวกการคิด 6 ใบ สถิติที่ใชใ้นการวิเคราะห์ขอ้มูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบความแตกต่าง t-test dependent ผลการวจิยั พบวา่

    1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวกการคิด 6 ใบ มีประสิทธิภาพเท่ากบั E1/E2 = 85.70/83.95

    2. ผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนของนกัเรียนที่ไดรั้บการจดัการเรียนรู้ โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ หลงัเรียนสูงกวา่ก่อนเรียนอยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติที่ระดบั .01

    3. ทกัษะการคิดวเิคราะห์หลงัเรียนของนักเรียนโดยใชเ้ทคนิคหมวก 6 ใบ สูงกว่าก่อนเรียน อยา่งมีนยัส าคญัทางสถิติที่ระดบั .01

    4. นกัเรียนมีความพงึพอใจต่อการจดัการเรียนรู้เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ ในภาพรวมมีระดบัความพงึพอใจ ระดบัมากที่สุด

  • Abstract

    Thesis Title The Result of Learning Management on Covering Aurah of al-Fiqh Subject by Using Six Thinking Hats Technique for Primary School Students Year 5, Ban Kledkeaw School

    Researcher Tuwaena I- tae Degree Sought Master of Education Major Teaching Islamic Education Academic year 2016 Thesis Advisors

    1. Dr. Muhammadtolan Kaema Chairperson 2. Asistant Prof. Dr.Nittaya Ruangpan Committee 3. Dr. Abdulramae Sulong Committee

    The purposes of this study were 1) to determine the effectiveness of using Six Thinking Hats technique according to the set criterion of E1/E2 = 80/80, 2) to compare learning achievement before and after learning of covering aurah by using Six Thinking Hats technique, 3) to compare analytical thinking ability before and after learning of covering aurah by using Six Thinking Hats technique, and 4) to investigate students’ satisfaction of learning by using Six Thinking Hats technique. The population used in the study were 34 primary school students of Ban kledkeaw School in the semester 1, 2015. The instruments used in the study were 4 lesson plans of Six Thinking Hats technique and 2 hours per each plan, 15 questions for analytical thinking abilities test, 20 multiple choices questions of the achievement test, and the questionnaire of student satisfaction. The data were analyzed by percentage mean standard deviation and t-test. The results of this study were as follows ; 1. The efficiency plan of Six Thinking Hats technique was E1/E2 = 85.70/83.95. 2. The students who learned through the Six Thinking Hats technique had the higher learning achievement than before learning at the .01 level of significance.

  • 3. The post –test achievement of students who learned through the Six Thinking Hats technique had higher than pre-test achievement at the .01 level of significance. 4. The questionnaire of students satisfaction after learning through the Six Thinking Hats technique was at the highest level .

  • กติติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์น้ีส าเร็จดว้ยความอนุเคราะห์ของบุคคลและหน่วยงานที่เก่ียวขอ้งหลายแห่ง

    ซ่ึงไม่อาจน ามากล่าวไดท้ั้งหมด ผูมี้พระคุณท่านแรกคือ อาจารย ์ดร.มูหัมมดัตอลาล แกมะ ที่ปรึกษาที่ให้ความช่วยเหลืออย่างดียิง่ โดยได้เอาใจใส่ตรวจแก้วิทยานิพนธ์เพื่อให้สมบูรณ์ที่สุด และให้ก าลงัใจแก่ผูว้ิจยัตลอด ท่านที่สองคือผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.นิตยา เรืองแป้น ซ่ึงเป็นที่ปรึกษาอีกท่านที่เสียสละเวลาให้ค าปรึกษาและช่วยเหลือให้ขอ้คิดแง่มุมต่างๆ และขอขอบคุณ อาจารย ์ดร.อับดุลรอแม สุหลง ที่ช่วยให้ค าแนะน า ช้ีแนะ ในการท าวิจยัตลอดจนการจดัพิมพ์เอกสารจนส าเร็จลุล่วงไปดว้ยดี

    ขอขอบคุณผูเ้ช่ียวชาญที่ช่วยตรวจสอบความเที่ยงตรงของเคร่ืองมือและสถาบนัการศึกษาที่ให้ความอนุเคราะห์ทดลองใช้เคร่ืองมือ ขอขอบคุณผู ้บริหารโรงเรียนบ้านซีเย๊าะ และ โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้ที่ใหค้วามอนุเคราะห์ในการเก็บขอ้มูล โดยไดรั้บความร่วมมืออยา่งดียิง่

    ตูแวนะ อีแต

  • สารบัญ

    บทคดัย่อภาษาไทย............................................................................................................. บทคดัย่อภาษาอังกฤษ........................................................................................................ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................ สารบัญ............................................................................................................................... สารบัญตาราง.....................................................................................................................

    หนา้ ง ฉ ช ซ ฏ

    สารบัญภาพ........................................................................................................................ ฐ บทที่ 1 บทน า

    ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา......................................................... 1 . วตัถุประสงคข์องการวจิยั............................................................................... 3 ความส าคญัของการวจิยั.................................................................................. 3 ขอบเขตของการวจิยั....................................................................................... 4 1. ขอบเขตดา้นประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง............................................. 4 2. ขอบเขตดา้นเน้ือหา............................................................................. 4 3. ขอบเขตดา้นตวัแปร........................................................................... 4 นิยามศพัทเ์ฉพาะ............................................................................................ 4

    บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคดิทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง................................................................................ 7

    1. หลกัสูตรอิสลามศึกษา .............................................................................. 7 2. การปกปิดเอาเราะฮ.................................................................................... 11 3. แนวคิดเก่ียวกบัการพฒันาทกัษะคิด........................................................... 14 4. แผนการจดัการเรียนรู้................................................................................. 18 5. การคิดวเิคราะห์.......................................................................................... 25 6. เทคนิคหมวกการคิด 6 ใบ.......................................................................... 30 7. แบบวดัผลสมัฤทธ์ิทางการเรียน................................................................. 34 8. แบบสงัเกต................................................................................................. 37 งานวจิยัที่เก่ียวขอ้ง.......................................................................................... 39 1. งานวจิยัในประเทศ............................................................................... 39

  • สารบัญ (ต่อ)

    หนา้ 2. งานวจิยัต่างประเทศ.............................................................................. 43 กรอบแนวคิดการวจิยั...................................................................................... 44

    บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย ขอบเขตของการวจิยั......…............................................................................. 45 เคร่ืองมือที่ใชใ้นการวจิยั................................................................................. 45 1. ลกัษณะเคร่ืองมือ................................................................................... 46 2. วธีิการสร้างเคร่ืองมือ............................................................................ 52 การวเิคราะห์ขอ้มูล.......................................................................................... 52 1. วธีิการวเิคราะห์ขอ้มูล............................................................................. 52 2. สถิติที่ใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูล............................................................. 53 แผนปฏิบตัิการวจิยั........................................................................................ 54

    บทที่ 4 ผลการิเคราะห์ข้อมูล สญัลกัษณ์ที่ใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูล............................................................. 56

    ขั้นตอนการวเิคราะห์ขอ้มูล........................................................................... 57 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล..................................................................................... 58

    บทที่ 5 สรุป อภปิรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวจิยั.............................................................................................. 61 อภิปรายผล..................................................................................................... 62 ขอ้เสนอแนะ................................................................................................... 66 1.ขอ้เสนอแนะในการน าผลวจิยัไปใช.้.................................................. 66 2.ขอ้เสนอแนะในการวจิยัคร้ังต่อไป...................................................... 67

    บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 68 ภาคผนวก 74 ภาคผนวก ก สถิติที่ใชใ้นการวจิยั................................................................... 75 ภาคผนวก ข ค่า IOC ในการวจิยั..................................................................... 80

  • สารบัญ (ต่อ)

    หนา้ ภาคผนวก ค เคร่ืองมือที่ใชใ้นการวจิยั............................................................. 84 ภาคผนวก ง ค่าความยากง่าย........................................................................... 137 ภาคผนวก จ ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล................................................................. 143 ภาคผนวก ฉ หนงัสือขอความอนุเคราะห์ในการวจิยั....................................... 151 ภาคผนวก ช รายช่ือหน่วยงานที่ใหท้ดลองเคร่ืองมือ...................................... 154 ภาคผนวก ซ รายช่ือหน่วยงานที่ท าการวจิยั..................................................... 156 ภาคผนวก ฌ รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญที่ตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ................. 158

    ประวัติผู้ท าวิทยานิพนธ์....................................................................................................... 160

  • สารบัญตาราง ตารางที ่ หน้า

    1 แสดงการวเิคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระอลัฟิกฮฺ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5...... 9 2 วเิคราะห์เวลาเรียน................................................................................................. 10 3 แสดงการอธิบายความหมายหมวกความคิด 6 ใบ.................................................. 31 4 แบบวดัผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนจ าแนกตามรูปแบบการตอบ................................ 36

    5 แสดงการเปรียบเทียบขอ้ดี ขอ้จ ากดัของแบบทดสอบหลายตวัเลือก..................... 37

    6 แสดงตวัอยา่งแบบตรวจสอบรายการ.................................................................. 38

    7 การแบ่งกิจกรรมเร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺและก าหนดเวลาที่ใชแ้ผนการจดัการเรียนรู้......... 47 8 วเิคราะห์เน้ือหา จุดประสงคก์ารเรียนรู้ และก าหนดจ านวนขอ้สอบ................. 49 9 แสดงค่าประสิทธิภาพ 1E / 2E = 80/80 ของแผนการจดัการเรียนรู้ เร่ืองการ

    ปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺโดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5......................................................................................

    56 10 ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ

    ก่อนเรียนและหลงัเรียน ตามแผนการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ.......................................................................................................................

    57 11 ผลการเปรียบเทียบทกัษะการคิดวเิคราะห์ เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอลัฟิกฮฺ

    โดยใชเ้ทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ ก่อนและหลงัเรียน........................................

    58 12 ระดบัความพึงพอใจของผูเ้รียนที่ไดรั้บการสอนตามแผนการจดัการเรียนรู้โดย

    ใชเ้ทคนิคแบบหมวกการคิด 6 ใบ.......................................................................

    58

  • สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า

    1 แสดงการเปรียบเทียบแผนการจดัการเรียนรู้แบบเรียงหวัขอ้กบัแบบตาราง…. 20 2 แสดงแผนการจดัการเรียนรู้แบบพสิดาร.......................................................... 21 3 แสดงรูปแบบของแผนการจดัการเรียนรู้ที่ผูว้จิยัศึกษาสรุป.............................. 24 4 กรอบแนวคิดการวจิยั....................................................................................... 44

  • บทที่ 1

    บทน ำ

    ควำมเป็นมำและควำมส ำคญัของปัญหำ โลกในยคุปัจจุบนัมีความเจริญกา้วหน้าทางวิทยาการดา้นต่างๆ อยา่งรวดเร็ว ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงที่มีผลกระทบต่อทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทย จึงเป็นความจ าเป็นที่ตอ้งมีการปรับปรุงพฒันาคุณภาพทางการศึกษาของชาติให้มีศกัยภาพในการสร้างคนให้เป็นคนที่เก่ง ดี มี ความสุข พร้อมที่จะยนืบนเวทีโลกอยา่งสร้างสรรค ์ ซ่ึงหลักสูตรอิสลามตามหลกัสูตรแกนกลางพุทธศกัราช 2551 ได้ก าหนดให้ผูเ้รียนมีความสามารถในด้านการคิดวิเคราะห์ มีเหตุผลในการวนิิจฉยั พจิารณาปัญหาต่างๆ ซ่ึงสอดคลอ้งกบัพระราชบญัญติัการศึกษาแห่งชาติที่ไดใ้ห้ ครูจดัการศึกษาอยา่งหลากหลาย เพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและการเรียนรู้ทีไม่มีวนัส้ินสุด ให้นักเรียนไดฝึ้กทกัษะกระบวนการคิด เน้นให้ผูเ้รียนได้เรียนรู้ดว้ยสมอง ด้วยกาย และดว้ยใจ สามารถเช่ือมโยงสู่การประยกุตใ์ชใ้นชีวติจริงได ้(กระทรวงศึกษาธิการ, 2549: 14) การจดักิจกรรมการเรียนรู้ส าหรับผูเ้รียนในศตวรรษที่ 21 เน้นการสอนให้น้อยลง แต่ให้เรียนรู้มากขึ้น คือการให้โอกาสแก่ผูเ้รียนได้ฝึกคิดหาค าตอบด้วยตนเอง และลงมือปฏิบตัิมากขึ้น ซ่ึงจุดมุ่งหมายน้ีได้มุ่งเน้นในเร่ืองการคิดวิเคราะห์อนัเป็นทกัษะการคิดขั้นสูงที่มีประโยชน์ต่อผูเ้รียนอยา่งมาก เป็นเคร่ืองมือส าคญัในการสืบคน้ขอ้มูล ความรู้ที่ถูกตอ้ง เพิม่ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ เป็นคุณสมบตัิของบุคคลในสังคมไทยจ าเป็นต้องมี เพื่อวิเคราะห์แยกแยะความดีความงาม ความเหมา ะสม ถูกตอ้ง ประโยชน์ เพือ่ใหเ้ด็กไทยเติบโตอยา่งเตม็ศกัยภาพ การศึกษาในอิสลามคือการเรียนรู้วิถีชีวิต และแนวทางการปฏิบตัิที่สากล ครอบคลุม การปกปิดเอาเราะฮฺในทศันะอิสลามมีเป้าหมายเพือ่สร้างสนัติภาพใหเ้กิดขึ้นระหวา่งการใชชี้วิตของมนุษยชาติ เพือ่การอยูร่่วมกนัอยา่งสงบสุข ลดปัญหาการก่ออาชญากรรมและความเสียหายบนหน้าแผน่ดิน โดยมีหลกัการและแนวทางในการปฏิบตัิดว้ยความรู้ความเขา้ใจที่ถูกตอ้ง จะน าสู่การปฏิบติัที่ดี มี คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค ์ เห็นคุณค่าของตนเอง ปฏิบติัตามศาสนาที่ตนนบัถือ ซ่ึงเป็นทกัษะที่มีความส าคญัในการปฏิบตัิตามหลกัการศาสนา ดังนั้ น ค รูผู ้สอนจะต้อ ง เ ป็นแบบอย่างที่ ดี แ ก่ ลูก ศิษย์และนัก เ รี ยนในด้าน การแต่งกาย การคิดวิ เคราะห์ จรรยามารยาทที่ ดีงาม และการประกอบศาสนกิจที่ ถูกต้อง (มุรอม บินติ ศอลิห อลัอะฏียะฮฺ, 2554: 28) ซ่ึงมีความสอดคลอ้งกบัทกัษะครูในศตวรรษที่ 21 ที่ก าหนดคุณลักษณะครูไวว้่าตอ้งมีทกัษะในการคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค ์เพื่อวิเคราะห์ขอ้มูล

  • 2

    ความรู้ก่อนที่จะไปสอนผูเ้รียนและเป็นแบบอยา่งที่ตระหนกัและใหค้วามส าคญัในการพฒันาผูเ้รียนใหมี้ทกัษะขา้งตน้ดว้ย (ไพฑูรย ์สินลารัตน์และคณะ, 2557: 11) จากประสบการณ์การสอนในสาระอลัฟิกฮฺ พบว่ากระบวนการจดัการเรียนการสอนยงัยดึรูปแบบเดิม คือ การสอนของครูยงัมุ่งสอนแบบบรรยาย สอนตามต ารา ส่ือการเรียนรู้ยงัขาดความน่าสนใจ และที่ส าคญัคือไม่เปิดโอกาสใหผู้เ้รียนไดฝึ้กการคิดวเิคราะห์ ซ่ึงอาจมาจากสาเหตุที่หลากหลาย เช่น มีทศันะคติที่ไม่ถูกตอ้งเก่ียวกบัการคิดวิเคราะห์ โดยคิดว่าจะท าให้เสียเวลา ไม่มีทกัษะในการสอนคิด ส่งผลใหน้กัเรียนคิดวเิคราะห์ไม่เป็น เกิดความเบื่อหน่าย ตลอดจนท าให้การพฒันาผลสมัฤทธ์ิในสาระน้ีอยูใ่นระดบัที่ตอ้งพฒันา และจากการสงัเกตผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในปีที่ผา่นมาพบวา่นกัเรียนบางส่วนยงัมีผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนในสาระอลัฟิกฮฺที่ค่อนขา้งต ่า เม่ือได้สอบถามครูผูส้อนก็พบวา่ นกัเรียนมีความเคยชินกบัการเรียนแบบท่องจ าและฟังอยา่งเดียว เม่ือครูเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นก็จะมีความเบื่อหน่าย และไม่กล้าแสดงความคิดเห็น และให้ค าตอบที่จ ากดัหรือก าหนดไวใ้นหนังสือ บางส่วนก็กลวัการตอบผิด ท าให้บรรยากาศในการสอนไม่น่าสนใจ ดงันั้น จึงเห็นความส าคญัในการพฒันากระบวนการจดัการเรียนการสอนให้มีความน่าสนใจ และสามารถฝึกฝนทกัษะการคิดวเิคราะห์ จากการศึกษาเอกสารและงานวจิยัที่เก่ียวขอ้ง มีเทคนิคการสอนคิดวิเคราะห์อยา่งหลากหลาย เช่นการสอนแบบ 4 MAT การสอนแบบกลวิธี เมตาคอกนิชนั การสอนแบบฮิวริสติกส์ และการการสอนแบบหมวก 6 ใบ ของเดอโบโน ซ่ึงจากผลการวิจยัพบว่า การสอนโดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ สามารถพฒันาทกัษะการคิดวิเคราะห์ของผูเ้รียนได้เป็นอยา่งดี (ชฎาพฒัน์ ศิริมาส, 2555: 131) ทั้งยงัเป็นกลยทุธ์การเรียนการสอนที่ใช้เสริมสร้างผลการเรียนในศตวรรษที่ 21 (พิมพนัธ์ เดชะคุปต,์ 2557: 87) เป็นเทคนิคที่ฝึกคิดและแสดงทศันะโดยไม่ยดึติดในความคิดใดความคิดหน่ึงเพยีงความคิดเดียว เปิดมุมมองใหม่จากการคิดแบบเดิมๆ ดงันั้นการจดัการเรียนรู้อิสลามศึกษาควรเปล่ียนแนวคิดไปจากเดิม คือนอกจากจะสอนให้อ่านเขียนได้ ก็ควรเน้นการรู้จกัการแก้ปัญหาในการด ารงชีวิตและปัญหาสังคมด้วย การคิดวเิคราะห์เป็นรากฐานส าคญัของการเรียนรู้เน่ืองจากเป็นการพฒันาระดบัการใชส้ติปัญญา และการคิดวเิคราะห์เป็นการคิดเชิงลึก เป็นทกัษะที่ส าคญัที่จะพฒันาผูเ้รียนสู่การคิดขั้นสูง จากเหตุผลดงักล่าวผูว้จิยัในฐานะครูผูส้อนมีความสนใจที่จะพฒันา การจดัการเรียนรู้เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ สาระอัลฟิกฮฺ โดยใช้เทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้ เพือ่พฒันาทกัษะการคิดวเิคราะห์และผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนใหสู้งขึ้น

  • 3

    วตัถุประสงค์ของกำรวจิยั 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการปกปิด

    เอาเราะฮฺ สาระอัลฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้

    2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนเร่ืองการปกปิด เอาเราะฮฺสาระ อลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้

    3. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ก่อนและหลังเรียน เร่ืองการปกปิด เอาเราะฮฺ สาระ อลัฟิกฮฺ โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิดหกใบ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้

    4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจดัการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ

    ควำมส ำคญัของกำรวจิยั ด้ำนผู้เรียน

    1. ผูเ้รียนได้เรียนรู้อย่างเป็นระบบ สามารถพฒันาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นรายบุคคล และพฒันาไดอ้ยา่งเตม็ศกัยภาพ

    2. ผูเ้รียนไดเ้รียนรู้จากประสบการณ์จริงในการจดักระบวนการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ในการจดักระบวนการเรียนรู้ไดมี้โอกาสปฏิสมัพนัธต่์อกนั ด้ำนผู้สอน

    1. ท าใหไ้ดข้อ้มูลในการปรับปรุง พฒันาการจดัการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิง่ขึ้น

    2. สามารถจดัการเรียนการสอนไดอ้ยา่งเป็นระบบ 3. ได้แนวทางในการจดัการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทกัษะการคิดวิเคราะห์สาระการ

    เรียนรู้อ่ืนๆ ด้ำนสถำนศึกษำ

    1. เป็นหลกัฐานเพือ่รองรับการประเมินการประกนัคุณภาพ 2. ผา่นตวับ่งช้ีดา้นการพฒันางานวจิยั

  • 4

    ขอบเขตของกำรวจิยั 1. ขอบเขตด้ำนประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชำกร ที่ใช้ในการวิจยั คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จ านวน 34 คน กลุ่มตัวอย่ำง ที่ใชใ้นการวิจยั คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จ านวน 34 คน 2. ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ ผูว้จิยัศึกษาและพฒันาทกัษะการวเิคราะห์ สาระอลัฟิกฮฺ เร่ือง การปกปิดเอาเราะฮฺชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมีขอบข่ายเน้ือหาดงัน้ี

    1. ความหมายความส าคญัของการปกปิดเอาเราะฮฺ 2. บทบญัญตัิการปกปิดเอาเราะฮฺจากอลักุรอาน 3. บทบญัญตัิการปกปิดเอาเราะฮฺจากอลัหะดีษ 4. เงื่อนไขการปกปิดเอาเราะฮฺชาย-หญิง

    3. ขอบเขตด้ำนตัวแปร 3.1 ตัวแปรต้น คือ การจดัการเรียนรู้โดยใชแ้ผนการจดัการเรียนรู้เทคนิคหมวก 6 ใบ 3.2 ตัวแปรตำม ไดแ้ก่

    1. ประสิทธิภาพของแผนการจดัการเรียนรู้ 2. ผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนรู้ 3. ทกัษะการคิดวเิคราะห์ 4. ระดบัความพงึพอใจของนกัเรียน

    นิยำมศัพท์เฉพำะ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ หมายถึง เอกสารที่แสดงรายละเอียด กระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทกัษะการคิดวิเคราะห์ โดยระบุถึงสาระส าคญั จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้กิจกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้และการวดัประเมินผลที่ผูส้อนจดัท าส าหรับการสอน

  • 5

    เร่ือง การปกปิดเอาเราะฮฺ กลุ่มสาระการเรียนรู้อลัฟิกฮฺ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จ านวน 4 แผน แผนละ 2 ชัว่โมง ดงัน้ี

    1. แผนการจดัการเรียนรู้ที่ 1 ความหมายความส าคญัของการปกปิดเอาเราะฮฺ 2. แผนการจดัการเรียนรู้ที่ 2 บทบญัญตัิการปกปิดเอาเราะฮฺจากอลักุรอาน 3. แผนการจดัการเรียนรู้ที่ 3 บทบญัญตัิการปกปิดเอาเราะฮฺจากอลัหะดีษ 4. แผนการจดัการเรียนรู้ที่ 4 เงื่อนไขการปกปิดเอาเราะฮฺชาย-หญิง

    ประสิทฺธิภำพของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ หมายถึง สดัส่วนของคะแนนร้อยละระหว่างเรียนและหลงัเรียนเทียบกบัเกณฑ ์E1/E2 = 80/80

    E1 คือ 80 ตวัแรก หมายถึง คะแนนเฉล่ียร้อยละของคะแนนระหวา่งเรียน E2 คือ 80 ตวัหลงั หมายถึง คะแนนเฉล่ียร้อยละของคะแนนหลงัเรียน

    กลุ่มสำระกำรเรียนรู้อัลฟิกฮฺ หมายถึง กลุ่มการเรียนรู้ หน่ึงใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้อิสลามศึกษาแบบเข้ม หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพทุธศกัราช 2551 ที่ก าหนดใหน้กัเรียนเรียนรู้ เทคนิคหมวกควำมคดิ 6 ใบ หมายถึง เทคนิคการสอนคิดวิเคราะห์ ที่ใชสี้ของหมวก 6 ใบแทนการคิด 6 แบบ ของเอ็ดเวร์ิด เดอ โบโน ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถทางการเรียนตามจุดประสงคท์ี่ก าหนดไวใ้นแผนการเรียนรู้โดยใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ การพิจารณาจากคะแนนที่ไดจ้ากการทดสอบวดัสมัฤทธ์ิทางการเรียนที่ผูว้จิยัสร้างขึ้น ทักษะกำรคิดวิ เครำะห์ หมายถึง ความสามารถในการจ าแนก แยกแยะข้อมูล องคป์ระกอบ ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 เร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ ซ่ึงพิจารณาจากคะแนนที่ได้จากการทดสอบวดัทักษะการคิดวเิคราะห์ของผูเ้รียนที่เรียนตามแผนการจดัการเรียนรู้ที่ใชเ้ทคนิคหมวก 6 ใบ ที่ผูว้จิยัสร้างขึ้น ควำมพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนรู้ตามแผนการจดัการเรียนรู้ที่ใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ ซ่ึงพิจารณาจากคะแนนที่ไดจ้ากการสอบถามความคิดเห็นของผูเ้รียนตามแผนการจดัการเรียนรู้ที่ใชเ้ทคนิคหมวกความคิด 6 ใบ นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 5 หมายถึงนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบา้นเกล็ดแกว้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้ำนเกล็ดแก้ว หมายถึง เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง สงักดัส านกังานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ตั้งอยูท่ี่ เลขที่ 170 หมู่ 5 ต าบลบาโร๊ะ อ าเภอยะหา จงัหวดัยะลา

  • 6

    กำรปกปิดเอำเรำะฮฺ หมายถึง เน้ือหาสาระการเรียนรู้ที่ก าหนดในหลกัสูตรมีขอบข่าย

    ในเร่ือง ความหมาย ความส าคญั บทบญัญตัิ ของการปกปิดเอาเราะฮฺ ที่ผูว้ิจยัใชใ้นการจดัการเรียนรู้

    และฝึกการคิดวเิคราะห์

  • บทที่ 2

    เอกสารและงานวจิัยที่เกีย่วข้อง

    การด าเนินการศึกษาคร้ังน้ี ผูว้ิจยัไดศึ้กษาคน้ควา้หลกัการ แนวคิด ทฤษฎีที่เก่ียวขอ้ง โดยขอน าเสนอรายละเอียด ตามล าดบั ดงัน้ี แนวคดิทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

    1. หลกัสูตรอิสลามศึกษา 2. การปกปิดเอาเราะฮฺ 3. แนวคิดเก่ียวกบัการพฒันาทกัษะการคิด 4. แผนการจดัการเรียนรู้ 5. การคิดวเิคราะห์ 6. เทคนิคการคิดหมวก 6 ใบ 7. แบบวดัผลสมัฤทธ์ิทางการเรียน 8. แบบสงัเกต

    งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. งานวจิยัในประเทศ 2. งานวจิยัต่างประเทศ กรอบแนวคดิการวิจัย

    แนวคดิทฤษฎทีีเ่กีย่วข้อง รายละเอียดแต่ละเร่ือง มีดงัต่อไปน้ี

    1. หลักสูตรอสิลามศึกษา 1.1 วิสัยทัศน์ หลกัสูตรอิสลามศึกษา ตามหลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกัราช 2551 มุ่งพฒันาผูเ้รียนให้เป็นคนดีที่มีความศรัทธามั่นต่ออัลลอฮฺ มีบุคลิกภาพตามแบบอย่างท่านนบีมุฮัมมัด ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุขมีความสมดุลทั้งด้านความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็น

  • 8

    พลเมืองไทยและพลโลกที่ดี เพือ่พฒันาตนเอง ครอบครัว และสงัคม ก่อใหเ้กิดสันติสุขทั้งในโลกน้ีและโลกหนา้ 1.2 จุดหมาย จุดหมายของหลกัสูตร

    1. มีความศรัทธาต่ออลัลอฮฺ และปฏิบติัตนตามแบบอยา่งของท่าน นบีมุฮมัมดั ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรมอิสลาม

    2. มีความรู้ ความเขา้ใจ มีทกัษะในการอ่านอัลกุรอาน และสามารถน าหลัก ค าสอนไปใชใ้นการด ารงชีวติประจ าวนั

    3. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีเหตุผลในการวินิจฉัย พิจารณาปัญหาต่างๆโดยยดึหลกัการอิสลาม

    4. มีความภาคภูมิใจในความเป็นมุสลิมที่ดี มีระเบียบวินัย มีความซ่ือสัตย ์สุจริต อดทน เสียสละเพื่อส่วนรวม เห็นคุณค่าของตนเอง สามารถสร้างความสัมพนัธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนมนุษยใ์หอ้ยูร่่วมกนัในสงัคมดว้ยความสนัติสุข

    5. มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยดึมัน่ในวิถีชีวติและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุข

    1.3 สมรรถนะส าคญัของผู้เรียน

    1. ความสามารถในการอ่านอลักุรอาน 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการคิด 4. ความสามารถในการแกปั้ญหา 5. ความสามารถในการใชท้กัษะชีวติ 6. ความสามารถในการใชเ้ทคโนโลย ี

    1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์

    1. รักการอ่านอลักุรอาน 2. รักการละหมาด 3. รักความสะอาด 4. มีมารยาทแบบอิสลาม 5. มีความรับผดิชอบ

  • 9

    1.5 มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดสาระอัลฟิกฮฺ หลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลัก สูตรแกนกลางการศึกษาขั้ นพื้นฐาน พุทธศกัราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553: 77-78) ไดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ในสาระอลัฟิกฮฺ ส าหรับนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ไว ้ดงัตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงการวเิคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระอลัฟิกฮฺ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

    สาระ ระดับช้ัน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้

    อลัฟิกฮฺ ป.5 เขา้ใจ เห็นคุณค่าและปฏิบัติตามกฎ หลักการบทบญัญตัิอิสลามเก่ียวกบัอิบาดาต มุอา-ม า ล า ต มุ น า ก า ร ฮ า ต แ ล ะญิ น า ย า ต เ พื่ อ เ ป็ นแ น ว ท า ง ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติศาสนกิจ และการด าเนินชีวิตในสงัคมอยา่งมีความสุข

    1 . อ ธิบ ายความหมา ยความส าคัญบทบัญญัติของการปกปิดเอาเราะฮฺการละหมาดซุนนะฮฺ ตะรอวีห วิตร ฎูฮาและตะหจัญูด ลยัลาตุลก็อดร ซะกาตฟิตร วนัอีดฟิตร และการอาบน ้ าสุนนะฮฺ 2.อธิบายส่ิงที่เป็นวาญิบ สุนนะฮ หะรอม มักรูฮและประโยชน์ของการถือศีลอด 3. อธิบายวธีิการอาบน ้ า วาญิบและสุนนะฮฺ 4. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนในเร่ืองการปกปิด เอาเราะฮ การถือศีลอดการละหมาดสุนนะฮฺ ต ะ ร อ วี ห วิ ต ร ฎู ฮ า และตะฮจัญุด ซะกาตฟิตร วัน อี ด ฟิ ต ร แ ล ะ ก า รอาบน ้ าวาญิบและสุนนะฮฺ

    1. การปกปิดเอาเราะฮฺ - ความหมาย - ความส าคญั - บทบญัญตัิ 2. การละหมาดซุนนะฮฺ - ความหมาย - ความส าคญั - บทบญัญตัิ 3. ซากาตุลฟิฏรฺ - ความหมาย - ความส าคญั - บทบญัญตัิ - วธีิการจ่ายซากาต 4.วนัอีดุลฟิฏรฺ - ความหมาย - ความส าคญั - บทบญัญตัิ - การปฏิบตัิในวนัอีดุลฟิฏรฺ 5. การถือศีลอด - วาญิบ - สุนนะฮฺ - ส่ิงที่หะรอม

  • 10

    ตารางที่ 1 (ต่อ)

    สาระ ระดับช้ัน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้

    - ส่ิงที่มกัรูฮฺ - ประโยชน์ของการ ถือศีลอด

    ที่มา: (ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553: 77-78) จากการวิเคราะห์สาระอลัฟิกฮฺ ไดก้ าหนดให้ผูเ้รียนรู้ไดเ้รียนรู้ 7 เร่ือง คือ การปกปิดเอาเราะฮฺ การละหมาดสุนนะฮฺตะรอวหี วติร ฏุฮา และตะฮจัญุด ซะกาตุลฟิฏร วนัอีดุลฟิฏรฺ การถือศีลอด การอาบน ้ าวาญิบ การอาบน ้ าสุนนะฮฺ 1.6 โครงสร้างเวลา หลักสูตรอิสลามศึกษา ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนอิสลามศึกษา ดังตารางที่ 2

    ตารางที่ 2 วเิคราะห์เวลาเรียน

    สาระ อิสลามศึกษาตอนต้นปีที่ สาระการเรียนรู้ เวลาเรียน(ตลอดปี) อลัฟิกฮฺ

    5 1. การปกปิดเอาเราะฮ 2. การละหมาดซุนนะฮฺ 3. ซากาตุลฟิตรี 4. วนัอีดดุลฟิตรี 5. การถือศีลอด 6. การอาบน ้ าวาญิบ 7. การอาบน ้ าสุนนฮฺ

    40 ชัว่โมง

    ที่มา: (ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐาน, 2553 : 31)

  • 11

    2. การปกปิดเอาเราะฮ

    2.1 ความหมายเอาเราะฮฺ เอาเราะฮฺ หมายถึง ส่วนพึงละอายของร่างกายที่บทบัญญัติแห่งอิสลามก าหนดใหมุ้สลิมปกปิด เอาเราะฮฺของผูห้ญิงคือทุกส่วนของร่างกายยกเวน้ใบหน้าและฝ่ามือ ส่วนเอาเราะฮฺของผูช้ายคือคือบริเวณของร่างกายตั้งสะดือถึงหวัเข่า (บรรจง บินกาซนั, 2547 : 206-207) เอาเราะฮฺ หมายถึง ขอบเขตของร่างกายที่ตอ้งปกปิด ซ่ึงต่างกนัระหว่างชายกับ หญิง เอาเราะฮฺของผูช้ายอยา่งนอ้ยตอ้งอยูร่ะหวา่งสะดือกบัเข่า ส าหรับผูห้ญิงเอาเราะฮฺคือทุกส่วนของร่างกายยกเวน้ใบหนา้และฝ่ามือ หรือหากเป็นความประสงคข์องพวกเธอก็สามารถปกปิดส่วนของร่างกายส่วนน้ี (ใบหนา้และมือ) ดว้ยก็ได ้นกัวชิาการอิสลามบางท่านยนืยนัหนกัแน่นว่าใบหน้าและมือก็เป็นส่วนของร่างกายที่ตอ้งปกปิดดว้ยเช่นกนั (Hijab and Jibab, 2560: ไม่ปรากฏเลขหนา้) เอาเราะฮฺ หมายถึง ส่วนของร่างกายที่ตอ้งปกปิด ซ่ึงนักวิชาการมีความเห็นเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายหน่ึงมีความเห็นวา่ เอาเราะฮฺ คือ บางส่วนของร่างกายสตรีซ่ึงจะตอ้งปกปิดทั้งหมดตั้งแต่ศีรษะจรดเทา้ อีกฝ่ายหน่ึงมีความเห็นว่า ทุกส่วนของร่างกายสตรีเป็นเอาเราะฮฺ นอกจากใบหน้าและฝ่ามือ แต่ถ้าหากเกรงว่าจะเกิดความเส่ือมเสียก็ควรปิดทุกส่วนของร่างกาย รวมทั้งใบหนา้และฝ่ามือ (นูรีซนั สามะดาแมง, 2560: ไม่ปรากฏเลขหนา้) สรุปไดว้า่ เอาเราะฮฺ คือ ขอบเขตการแต่งกายของผูท้ี่นับถือศาสนาอิสลาม โดยมีขอบเขตการปกปิดที่แตกต่างกนัระหวา่งผูช้ายและผูห้ญิง คือ ผูห้ญิงใหป้กปิดร่างกายทุกส่วนยกเวน้ใบหนา้และฝ่ามือ ส่วนผูช้ายคือระหวา่งสะดือกบัเข่า 2.2 ความส าคญั การสวมใส่เส้ือผา้ปกปิดร่างกายเป็นวฒันธรรมอนัสูงส่งของมนุษยแ์ละเป็นส่ิงที่ไม่เพยีงแต่จะแยกมนุษยอ์อกจากสัตวเ์ท่านั้น แต่ยงัท าให้มนุษยมี์ฐานะสูงส่งไปกว่าสัตวท์ั้งหลายดว้ย นอกจากนั้นวตัถุประสงคส์ าคญัของอิสลามคือการสร้างความสันติขึ้นในหมู่มนุษยซ่ึ์งจะตอ้งเร่ิมตั้งแต่ภายในจิตใจของมนุษยก่์อน ดั้ งนั้นอิสลามจึงได้ก าหนดให้หญิงมุสลิมแต่งกายปกปิดมิดชิดเพือ่เป็นการป้องกนัมิใหส่้วนสดัหรือเรือนร่างของสตรีเพศไปย ัว่ยวนหรือสร้างความไม่สงบภายในจิตใจของเพศชาย เป็นการป้องกนัผูห้ญิงมิใหถู้กเพศตรงขา้มมองดว้ยสายตาที่ลวนลามหรือดูถูกแลว้ยงัท าใหผู้ห้ญิงไดรั้บความเคารพและยงัเป็นการป้องกนัอนัตรายจากอาชญากรรมทางเพศดว้ย

  • 12

    2.3 บทบัญญัติ 2.3.1 บทบัญญัติจากอัลกรุอาน

    บทบญัญติัเก่ียวกบัเร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺของมุสลิมนั้น อลัลอฮฺไดต้รัสไวใ้นอลักุรอานหลายโองการ ซ่ึงผูว้จิยัไดศึ้กษาและน ามาใชป้ระกอบการวจิยัดงัน้ี

    ِإَلَّ َما َوََل يُ ْبِديَن زِيَنتَ ُهن ُروَجُهنَّ ْن أَْبَصارِِهنَّ َوََيَْفْظَن ُ َوُقل لِّْلُمْؤِمَناِت يَ ْغُضْضَن مِ َها ن ْ ُ َللَ ِتِهنَّ أ َ ْو ظَ َهََ م ِ ُهنَّ إ َِل َّ لِ ب ُ َُْلا ِِنَّ و ََل َ ي ُ ْبِدي َن ز ِي َنت َ نَّ ََلوِب ج ُ َِه ِ ُُم َِبْ َن ُ ِ َْْض ل ْ و َ

    ِإْخََلاِِنِنَّ ُ َلَلِتِهنَّ َأْو ِإْخََلاِِنِن َأْو َبنِ آبَاِئِهنَّ َأْو آبَاِء بُ ُ َلَلِتِهنَّ َأْو َأبْ َناِئِهنَّ َأْو َأبْ َناِء ب ُ ْرَبِة ِمَن َأْو َبِِن َأَخَلَ اِِتِنَّ َأْو ِنَساِئِهنَّ َأْو َما َمَلَكْت َأْْيَانُ ُهنَّ َأِو التَّاِبِ نَي َغْْيِ ُأوِل اْْلِ

    َِْبَن ِبَأْرُجِلِهنَّ ِلُْ ْ َلَم الََِّجاِل َأِو الطِّْفِل الَِّذيَن َلَْ َيْظَهَُوا َ َلوِب َ َْلَراِت النَِّساِء َوََل َيْضًْ ا أَيَُّه اْلُمْؤِمُنَلَن َلَ لَُّكْم تُ ْفِلُحَلنَ َما ُُيِْفنَي ِمن زِينَ ِتِهنَّ َوتَلبَلا ِإََل اللَِّه َجَِ

    ความว่า “และจงกล่าวเถิดมุหัมมดัแก่บรรดาสตรีผูศ้รัทธาให้พวกเธอลดสายตาของพวกเธอลงต ่า และใหพ้วกเธอรักษาทวารของพวกเธอ และอยา่เปิดเผยเคร่ืองประดบัของพวกเธอ เวน้แต่ส่ิงที่พึงเปิดเผยได ้และให้เธอปิดด้วยผา้คลุมศรีษะของเธอลงมาถึงหน้าอกของเธอ และอย่าให้เธอเปิดเผยเคร่ืองประดบัของพวกเธอ เวน้แต่แก่สามีของพวกเธอ หรือบิดาของสามีของพวกเธอ หรือลูกชายของพวกเธอ หรือลูกชายสามีของพวกเธอ หรือพีช่ายนอ้งชายของพวกเธอ หรือลูกชายของพี่ชายน้องชายของพวกเธอหรือลูกชายของพี่สาวน้องสาวของพวกเธอ หรือพวกผูห้ญิงของพวกเธอ หรือที่มือขวาของพวกเธอครอบครอง (ทาสและทาสี) หรือคนใช้ผูช้ายที่ไม่มีความรู้สึกทางเพศ หรือเด็กที่ยงัไม่รู้เร่ืองเพศสงวนของผูห้ญิง และอยา่ให้เธอกระทืบเท้าของพวกเธอ เพื่อให้ผู ้ อ่ืน รู้ ส่ิงที่ พวก เธอควรปกปิดในเคร่ืองประดบัของพวกเธอ และพวกเจา้ทั้งหลายจงขอลุแก่โทษต่อ อลัลอฮฺเถิดโอบ้รรดาผูศ้รัทธาเอ๋ย เพือ่วา่พวกเจา้จะไดรั้บชยัชนะ”

    (ซูเราะฮฺอนันูร : 31)

  • 13

    َْزَواِجَك َوبَ َناِتَك َوِنَساِء اْلُمْؤِمِننَي يُْدِننَي َ َلِْْهنَّ ِمن َجََلبِِْبِهنَّ يَا أَي َُّها النَِّبُّ ُقل ِّلِِّلَك أَْدََنِب َأن يُ ْ ََْفَن َفََل يُ ْؤَذْيَن وََكاَن اللَُّه َغُفَلرًا رَِّحًْما ذَِب

    ความว่า โอ้นบีเอ๋ย จงกล่าวแก่บรรดาภริยาของเจ้า และบุตรสาวของเจา้ และบรรดาหญิงของบรรดาผูศ้รัทธา ใหพ้วกนางดึงเส้ือคลุมของพวกนางลงมาปิดตวัของพวกนาง นั่น เป็นการเหมาะสมกว่าที่นางจะเป็นที่รู้จกั เพื่อที่พวกนางจะไม่ถูกรบกวน และอลัลอฮฺทรงเป็นผูอ้ภยัผูท้รงเมตตาเสมอ

    (ซูเราะฮฺอลัอะซาบ : 59)

    يَا َبِِن آَدَم َقْد أَنزَْلَنا َ َلُْْكْم لَِباًسا يُ ََلارِي َسَْلَءاِتُكْم َورِيًشا

    ความวา่ “โอ ้ลูกหลานของอาดมัเอ๋ย แน่แทเ้ราไดป้ระทานอาภรณ์ลงมา แก่สูเจา้ทั้งหลาย อนัเป็นอาภรณ์ที่จะปกปิด อวยัวะพึงสงวนพวกสูเจา้ ตลอดจนเคร่ืองนุ่งห่ม ทั้งหลาย อีกดว้ย”

    (ซูเราะฮฺอลัอะอฺรอฟ : 26)

    สรุปไดว้า่ บทบญัญติัเร่ืองการปกปิดเอาเราะฮฺ ถูกก าหนดโดยพระเจา้คืออลัลอฮฺแก่บรรดามนุษยชาติ ทั้ งชายและหญิง โดยมีขอบเขตการปกปิดที่แตกต่างกันคือ ผูห้ญิงให้ปกปิดร่างกายทุกส่วนยกเวน้ใบหนา้และฝ่ามือ ส่วนผูช้ายคือระหวา่งสะดือกบัเข่า

    2.3.2 บทบัญญัติจากอัลหะดีษ

    ثَ َنا ِإْْسَاِ ُْل ْبُن ِإبْ ََاِهَْم َ ْن بَ ْهِز ْبِن َحِكٍْم َ ْن َثِِن َأِب َحدَّ ثَ َنا َ ْبُد اللَِّه َحدَّ َحدَِّه َقاَل قُ ْلُت يَا َرُسَلَل اللَِّه َ َْلَراتُ َنا َما َها َوَما َنَذُر َقاَل اْحَفْظ َأِبِْه َ ْن َجدِّ َنْأِتو ِمن ْ

    َ َْلَرَتَك ِإَلَّ ِمْن َزْوَجِتَك َأْو َما َمَلَكْت ْيَُِْنَك قُ ْلُت َأَرَأْيَت ِإْن َكاَن اْلَقَْلُم بَ ْ ُضُهْم انَ ا ق ُْلُت أَ ر َأَ يْ َت إِ ن ْ ك َ ََا ه َ دق فَ ََل ي َ ا أَ ح َ ََا ه َ ِف ِ ب َْ ٍق قَ ال َ إِ ن ِ ا ْسَتَطْ َت أَ ن ْ َلَ ي َ

    َأَحُدنَا َخالًِْا َقاَل َفاللَُّه تَ َباَرَك َوتَ َ اََل َأَحقُّ َأْن يُْسَتْحَْا ِمَن النَّاسِ

  • 14

    บะฮซั อิบนิ ฮะกีม ไดร้ายงานว่าปู่ ของเขาไดก้ล่าวว่า ฉันได้ถามวา่ “โอท้่านรอซูลุลอฮฺเราจะปกปิดและเราจะเปิดส่วนไหนของร่างกาย? ท่านไดต้อบวา่ “อยา่ให้คนอ่ืนเห็น ยกเวน้ภรรยา หรือหญิงที่เป็นทาสของสูเจา้” ดงันั้นฉันจึงถามต่อไปว่า “แลว้ถา้หากมีคนอยูร่วมกนัล่ะ เช่นระหว่างการเดินทางหรือการคา้งแรม ? ท่านไดต้อบว่า “ถา้ท่านท าได ้ก็พยายามอยา่ให้ใครมองเห็นมัน” ฉันจึงกล่าวว่า “และถ้าหากไม่มีใครอยู่ด้วย อยู่เพียงล าพงั ท่านรอซูลุลลอฮฺ กล่าวว่า “อลัลอฮฺคือผูท้ี่สมควรจะไดรั้บความสงบเสง่ียมเจียมตวัของท่านมากที่สุด”

    (บนัทึกโดยอะหมดั, อบูดาวดู,ติรมีซี และอิบนุ มาญะฮฺ: 20357)

    สรุปได้ว่า การปิดเอาเราะฮฺ เป็นเน้ือหาที่มีความส าคัญต่อนักเรียนโดยตรงในฐานะของการเป็นมุสลิมที่ดี และจ าเป็นตอ้งท าความเขา้ใจ เพือ่สร้างทกัษะและการน าไปปฏิบติัไดอ้ยา่งถูกตอ้ง ซ่ึงเป็นการปฏิบติัตามหลกัคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงคต์ามศาสนาที่ตนนับถือ สามารถคิดวิเคราะห์แยะแยะส่ิงที่เหมาะสม โดยยึดหลักการอิสลามได ้โดยเฉพาะอยา่งยิง่ของโลกในยคุปัจจุบนัที่เตม็ไปดว้ยส่ือ ซ่ึงมีทั้งส่ือที่สร้างสรรคแ์ละส่ือที่ชกัน าไปในทางที่เส่ือมเสีย จ าเป็นที่เยาวชนตอ้งรู้จกั คิด วเิคราะห์ เลือกส่ิงที่มีคุณค่าต่อตนเอง และสงัคมได ้ ดงันั้นเพื่อพฒันาผูเ้รียนสู่จุดมุ่งหมายของหลกัสูตรให้สอดคลอ้งกบัระเบียบการแต่งกายที่ก าหนดโดยหลกัศาสนบญัญตัิ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ดว้ยเคร่ืองแบบของนักเรียนมาใชใ้นการด ารงตนในสงัคมไดอ้ยา่งเขา้ใจและมีความสุข

    3. แนวคดิเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะคดิ

    3.1 แนวคดิทางสติปัญญาของเพียเจท์ แนวคิดส าคญั เพยีเจท ์ เป็นนกัจิตวทิยาชาวสวสิเซอร์แลนด ์ซ่ึงคิดคน้แนวคิดเก่ียวกบัพฒันาการทางสติปัญญา ตามหลกัคิดที่วา่เด็กทุกคนเกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพนัธ์กบัส่ิงแวดลอ้มตลอดเวลา และก่อใหเ้กิดพฒันาการทางการรู้คิดขึ้น ซ่ึงมีกระบวนการส าคญั 2 อยา่งไดแ้ก่ การดูดซบั และการปรับความแตกต่าง โดยมนุษยจ์ะใชก้ระบวนการทั้งสองน้ีสร้างระบบการคิด พฒันาความสามารถการคิดอยา่งรอบคอบ มีเหตุผล ท าใหเ้กิดการพฒันาทางสมองอยา่งต่อเน่ือง เรียกวา่ขั้นพฒันาการ การเรียนรู้ของเด็กจะเป็นไปตามพฒันาการทางสติปัญญา ซ่ึงจะพฒันาไปตามวยัต่างๆ เป็นล าดับขั้น พฒันาการเป็นส่ิงทีเป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ขา้มจาก

  • 15

    พฒันาการหน่ึงไปสู่อีกขั้นหน่ึง เพราะจะส่งผลเสียแก่เด็ก แต่การจดัประสบการณ์ถือเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สอดคล้องกับธรรมชาติและพัฒนาการแต่ละช่วงวัย ซ่ึงผู ้ที่จ ัดประสบการณ์ตอ้งมีความเขา้ใจในธรรมชาติและพฒันาการของผูเ้รียนในช่วงวยัต่าง ๆ มากกว่าที่จะไปกระตุน้เด็กใหมี้พฒันาการเร็วขึ้น กระบวนการทางสติปัญญามี 3 ขั้นตอน ดงัน้ี

    1. ขั้นตอนที่ 1 การซึมซบัหรือการดูดซบั เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เร่ืองราว ขอ้มูลต่างๆ เขา้มาสะสมเก็บไวเ้พือ่ใชป้ระโยชน์ต่อไป

    2. ขั้นตอนที่ 2 การปรับและจดัระบบ เป็นกระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ์เดิม และประสบการณ์ใหม่ให้เขา้กันเป็นระบบ หรือเครือข่ายทางปัญญาที่บุคคลสามารถเขา้ใจได ้ เกิดโครงสร้างทางปัญญาใหม่

    3. ขั้นตอนที่ 3 การเกิดความสมดุล เป็นกระบวนผสมผสานกนัอยา่งลงตวัของประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ ขั้นการพฒันาการทางสติปัญญาของเพยีเจท ์ พฒันาการทางสติปัญญาของมนุษยต์ั้งแต่แรกเกิดถึงวยัรุ่น สามารถแบ่งเป็น 4 ขั้น ดงัน้ี ขั้นประสาทสมัผสัและการเคล่ือนไหว แรกเกิดจนถึง 2 ปี เด็กในวยัน้ีจะเรียนรู้ผา่นประสาทสัมผสั และการเคล่ือนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การมอง การส่งเสียง เป็นตน้ ในวยัน้ีเด็กแสดงออกทางดา้นร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาดว้ยการกระท า กิจกรรมการคิดของเด็กวยัน้ีส่วนใหญ่ยงัคงอยูเ่ฉพาะส่ิงที่สามารถสมัผสัไดเ้ท่านั้น ขั้น การคิดก่อนปฏิบติัการ อาย ุ2-7 ปี เด็กเร่ิมมีความคิด ความเขา้ใจแบ่งเป็นขั้นยอ่ยอีก 2 ขั้นไดแ้ก่

    1. ขั้นก าหนดความคิดไวล่้วงหน้า เป็นขั้นพฒันาการของเด็กอาย ุ2-4 ปี เด็กเร่ิมมีเหตุผลเบื้องตน้ สามารถเช่ือมโยงเหตุการณ์ต่าง ๆ แต่ยงัมีขอบเขตจ ากดัอยู ่เน่ืองจากการยดึตวัเองเป็นศูนยก์ลาง ไม่ฟังความคิดและเหตุผลของผูอ่ื้น ความคิดและเหตุผลของเด็กวยัน้ีจะไม่ค่อยถูกตอ้งตามความเป็นจริงนัก ความเขา้ใจต่าง ๆ ยงัคงอยู่ในระดบัเบื้องตน้ ความคิดรวบยอดยงัไม่พฒันาเตม็ที่ แต่พฒันาการทางภาษาของเด็กจะพฒันาไดดี้ในวยัน้ี

    2. ขั้นใชค้วามคิดเอาเองโดยไม่ใช้เหตุผล เป็นขั้นพฒันาการของเด็กอาย ุ4-7 เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกบัส่ิงต่างๆ รอบตวัดีขึ้น สามารถแยกประเภท และช้ินส่วนของวตัถุ เขา้ใจความหมายของจ านวนเลข เร่ิมมีพฒันาการดา้นการอนุรักษ ์ แต่ไม่แจ่มชดันัก สามารถ

  • 16

    แกปั้ญหาเฉพาะหนา้ไดโ้ดยไม่คิดเตรียมล่วงหนา้ไวก่้อน สามารถอธิบาย แกปั้ญหา แล�