400

6สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการ ......นางสาวนางสาวจ ฬาร ฏ เม องโคตร กองบรรณาธ

  • Upload
    others

  • View
    17

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    1

    “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความย่ังยืน”

    กองบรรณาธิการ ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภุชงค ์เสนานุช บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวดี พูลพอกสิน กองบรรณาธิการ นายณัฐพล จันทร์เหล็ก กองบรรณาธิการ นางสาวอุษณีย์ น้อยอยู่นิตย์ กองบรรณาธิการ นางสาวสุธิมา วุฒิการ กองบรรณาธิการ นางสาวนางสาวจุฬารัฏ เมืองโคตร กองบรรณาธิการ คณะกรรมการพิจารณาบทความวิชาการภายในสถาบัน ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล นิราทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พเยาว์ ศรีแสงทอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวดี พูลพอกสิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์เทพ สันติกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณลักษณ ์เมียนเกิด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรินทร์รัตน์ กาญจนกุญชร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิไลภรณ์ โคตรบึงแก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาด ีลิ่มสกุล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นราเขต ยิ้มสุข มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรพรรณ นฤภัทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นหทัย หนูนวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยา รุจิเสถียรทรัพย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขุมา อรุณจิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ ดร.มาลี จิรวัฒนานนท์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์ ดร.ปรินดา ตาสี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะกรรมการพิจารณาบทความวิชาการภายนอกสถาบัน ศาสตราจารย์ศศิพัฒน์ ยอดเพชร ข้าราชการบ านาญ ศาสตราจารย์ ดร.สุวัจฉรา เปี่ยมญาติ ข้าราชการบ านาญ ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โรมรตันพันธ์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อ๊ึงภากรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์ วิทยาลัยสหวิทยาการ รองศาสตราจารย์สุรางค์รัตน์ วศินารมณ์ ข้าราชการบ านาญ รองศาสตราจารย์กิตติยา นรามาศ ข้าราชการบ านาญ รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญประภา ภัทรานุกรม มหาวิทยาลัยเกริก รองศาสตราจารย์ ดร.โกนิฏฐ์ ศรีทอง มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.จตุรงค ์บุณยรัตนสุนทร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสรี วรพงษ์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์ มหาวิทยาลัยมหิดล อาจารย์ ดร.อุดมโชค อาษาวิมลกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ ดร.กฤตวรรณ สาหร่าย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาจารย์ ดร.ศุภมาส ชุมแก้ว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    2

    สารบัญ

    หน้า

    ค้าน้า 5

    ค้ากล่าวรายงาน โดย รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ 7

    ค้ากล่าวเปิดงาน โดย คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ 9

    ก้าหนดการ 11

    บทความวิชาการ

    มิติของความเหลื่อมล ้าในสังคมไทยปัจจุบัน

    1. สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครองกับการลดความเหลื่อมล้ า 14

    กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์

    2. สังคมสงเคราะห์ชุมชนลดความเหลื่อมล้ าทางสังคมได้อย่างไร 28

    กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง

    3. ความเหลื่อมล้ าทางสุขภาพ: มองผ่านตัวชี้วัดในรายงานสุขภาพคนไทย 39

    วรรณวดี พูลพอกสิน

    4. การพัฒนานวัตกรรมเพ่ือผู้สูงอายุกับทางเลือกการลดความเหลื่อมล้ าของผู้สูงอายุไทย 53

    ระพีพรรณ ค าหอม, วรลักษณ์ เจริญศรี และเล็ก สมบัติ

    5. การพัฒนานวัตกรรมเพ่ือผู้สูงอายุกับการลดความเหลื่อมล้ าของผู้สูงอายุในบริบทเขตเมือง 69

    ภุชงค์ เสนานุช และธนาชัย สนุทรอนันตชัย

    ห้องย่อยที่ 1: ความเหลื่อมล ้าด้านนโยบายสวัสดิการสังคม: ความเป็นธรรมในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

    1. การพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่มีความเป็นธรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ า 83

    กฤษฎา ศุภกิจไพศาล

    2. งานสังคมสงเคราะห์ในระบบงานยุติธรรม: บทบาท หน้าที่ของนักสังคมสงเคราะห์ 100

    ในกระบวนการยุติธรรมเพื่อสร้างความปลอดภัยและความสงบสุข และลดความเหลื่อมล้ า

    ของสังคมไทยภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงยุติธรรมระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)

    เสาวธาร โพธิ์กลัด

    3. ความต้องการพัฒนาศักยภาพเพ่ือก้าวเข้าสู่ความเป็นนานาชาติ 116

    ของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ทองศิริ ก าแดง

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    3

    หน้า

    4. ความคิดเห็นของผู้บริหารส านักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด 129

    ต่อการเป็นเจ้าภาพงานด้านสังคมในระดับจังหวัด

    ศิริกานต์ ชาวห้วยหมาก

    5. การศึกษาความเป็นไปได้ต่อการมีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนของสังคมไทย 145

    สุรศักดิ์ ไกรศร และคณะ

    ห้องย่อยที่ 2: ความเหลื่อมล ้าด้านสุขภาพ: การพัฒนาความรู้สู่ความเสมอภาคในกลุ่มผู้ใช้บริการ

    1. สังคมสงเคราะห์ปฏิบัติงานกับผู้ป่วยภาวะไตเรื้อรัง 159

    กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์

    2. การใช้แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็ก (CDI) และแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า 178

    ในวัยรุ่น (CES-D) ในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ของบ้านพักเด็กและครอบครัว

    กมลพรรณ ค าชู

    3. การตัดสินใจของครอบครัวในการรับผู้ป่วยจิตเภทไปดูแลต่อเนื่อง 194

    และความต้องการการสนับสนุนทางสังคม

    สุพรรณี สายบุตร

    4. ความรอบรู้ด้านสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต่อการใช้กัญชา 211

    ในทางการแพทย์

    ศิริลักษณ์ อัคพิน และคณะ

    5. บทเรียนรู้จากการใช้วิธีการวิจัยในตัวอย่างเปราะบาง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 223

    วรรณวดี พูลพอกสิน

    ห้องย่อยที่ 3: ความเหลื่อมล ้าในกลุ่มเด็กและเยาวชน: การลดความแตกต่างเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

    1. โปรแกรมการพัฒนาสมรรถภาพทางสังคมเด็กและเยาวชนโดยใช้ฐานแนวคิดการบ าบัด 236

    โดยการแสดงออก (Expressive Therapy): กรณีศึกษาสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุรินทร์

    สถาพร อิ มเอม

    2. คุณภาพชีวิตการท างานของพ่ีเลี้ยงในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนสังกัดกรมกิจการเด็ก 251

    และเยาวชน

    เกศวดี ไกรนอก

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    4

    หน้า

    3. การสนับสนุนการน ามาตรฐานสภาเด็กและเยาวชนไปใช้ในการด าเนินงานของสภาเด็ก 264

    และเยาวชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

    จิราพรรณ ปิ่นนาค

    4. การวิเคราะห์สถานการณ์เด็กและสถานการณ์ครอบครัวในประเทศไทย 276

    กรณีศึกษามูลนิธิเด็กโสสะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์

    ธันยา รุจิเสถียรทรัพย์, มาดี ลิ มสกุล และพัชชา เจิงกลิ นจันทร์

    5. แนวทางการสร้างเครือข่ายชุมชนในการมีส่วนร่วมดูแลเด็กปฐมวัยอย่างยั่งยืน 295

    กฤษณา จุลสงค์ และปิ่นหทัย หนูนวล

    ห้องย่อยที่ 4: ความเหลื่อมล ้าในกลุ่มเปราะบาง: การคุ้มครองทางสังคมเพื่อกลุ่มที่มีความหลากหลาย

    1. แนวทางพัฒนาสถานสงเคราะห์คนชราในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 312

    เพ่ือรองรับสังคมสูงอายุของประเทศไทย

    ทิพย์วารี พาณิชย์กุล

    2. แรงงานผู้สูงอายุ: อคติช่วงวัยกับความไม่เป็นธรรมทางสังคม 328

    สุขุมา อรุณจิต

    3. ผู้หญิงกับประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัว กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล 342

    ปพิชญา สุนทรพิทักษ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์

    4. องค์กรของผู้ค้าแผงลอย: เส้นทางสู่การคุ้มครองทางสังคมแนวเปลี่ยนรูป 359

    นฤมล นิราทร

    5. การติดตามการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ กรณีศึกษาคนพิการ 379

    จากสถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบ้านนนทภูมิ จังหวัดนนทบุรี

    ปิยะรัตน์ เทียงปา

    ดัชนีรายชื่อผู้น้าเสนอ (เรียงล้าดับตามตัวอักษร) 388

    ค้าสั่งแต่งตั งคณะกรรมการจัดงานวันสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ครบรอบ 66 ปี 391

    ค้าสั่งแต่งตั งคณะกรรมการประเมินผลงานวิชาการการจัดงานสถาปนา 397

    คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ครบรอบ 66 ปี

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    5

    ค้าน้า

    หนังสืองานสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครบรอบ 66 ปี เรื่อง “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล้ าสู่ความยั่งยืน” มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม สนับสนุนงานวิชาการสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ในรอบปี 2562 ท่ีผ่านมาให้กับนักศึกษา คณาจารย์ และนักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาสมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท างาน รวมทั้งการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ตอบโจทย์ สถาณการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสังคมดิจิทัล เนื้อหาของหนังสือประกอบด้วย 5 ส่วนได้แก่ ส่วนท่ี 1 เป็นบทความวิชาการ เริ่มจากสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ (Productive Welfare) และสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครองกับการลดความเหลื่อมล้ าของ ศาสตราจารย์ ดร.กิติพัฒน์ นนทปัทมดุลย์ สังคมสงเคราะห์ชุมชนลดความเหลื่อมล้ าทางสังคมอย่างไร ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง ขณะที่งานของ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวดี พูนพอกสิน มองความเหลื่อมล้ าทางสุขภาพผ่านตัวชี้วัดรายงานสุขภาพคนไทย โดยเฉพาะระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่สะท้อนถึงการเข้าถึงระบบสุขภาพของคนจนอย่างถ้วนหน้าถือเป็นการลดความเหลื่อมล้ าด้านสุขภาพของคนไทย และบทความวิจัยของ ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม เป็นงานวิจัยชุดโครงการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อลดความเหลื่ยมล้ าของผู้สูงอายุ และงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภุชงค์ เสนานุช น าเสนอการพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อลดความเหลีอ่มล้ าของผู้สูงอายุในบรบิทเขตเมอืง การน าเสนอผลงานใน 4 ห้องย่อย ห้องละ 5 เรื่องดังต่อไปนี้ งานของห้องที่ 1 ความเหลื่อมล้ าด้านนโยบายสวัสดิการสังคม: ความเป็นธรรมในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น งานของกฤษฏา ศุภกิจไพศาล การพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมที่มีความเป็นธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ า งานของห้องที่ 2 ความเหลื่อมล้ าด้านสุขภาพ: การพัฒนาความรู้สู่ความเสมอภาคในกลุ่มผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์คลินิกในประเด็นภาวะซึมเศร้าในเด็กกับแบบคัดกรอง การดูแลผู้ป่วยจิตเภทของครอบครัวผู้ป่วยภาวะไตเรื้อรัง และบทเรียนการวิจัยในตัวอย่างเปราะบาง งานของห้องที่ 3 ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเด็กและเยาวชน: การลดความแตกต่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น งานของสภาพร อิ่มเอม เรื่อง โปรแกรมการพัฒนาสมรรถภาพทางสังคมเด็กและเยาวชนโดยใช้ฐานแนวคิดการบ าบัดโดยการแสดงออก (Expressive Therapy) กรณีนักศึกษาสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดสุรินทร์ งานของห้องท่ี 4 ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเปราะบาง: การคุ้มครองทางสังคมเพื่อกลุ่มที่มีความหลากหลาย เช่น งานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุขุมา อรุณจิต เรื่อง แรงงานผู้สูงอายุ: อคติช่วงวัยกับความไม่เป็นธรรมทางสังคม และงานของ รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล นิราทร เรื่อง องค์กรของผู้ค้าแผงลอย: เส้นทางสู่การคุ้มครองทางสังคมแนวเปลี่ยนรูป รวมทั้งการน าเสนองานวิจัยในช้ันเรียนของนักศึกษาปริญญาตรีซึ่งเป็นผลงานของนักศึกษาเพิ่มอีก 1 ห้อง กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้เข้าร่วมสัมมนาทางวิชาการครอบรอบ 66 ปี ของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์คงได้รับสาระความรู้ ประโยชน์และเป็นจุดประกายต่อการตั้งค าถามของงานครั้งนี้ว่า การปลดล็อกความเหลื่อมล้ า งานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม จะใช้วิธีการสังคมสงเคราะห์ใดเป็นเครือ่งมือการปลดปล่อยปัญหาเชิงโครงการสร้างสังคมที่เป็นต้นเหตุของความเหลื่อมล้ า การปลดล็อกความเหลื่อมล้ าจึงจ าเป็นต้องท างานแบบองค์รวมตั้งแต่ต้นน้ า ผ่านนโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) มาตรการและกลไกลการท างานของภาคประชาสังคม การปลดล็อกกลางน้ าเป็นการขับเคลือนตามยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการขององค์กรภาคประชาสังคม เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนในตัวช้ีวัดที่ 10 ลดความเหลื่อมล้ าทั้งภายในและระหว่างประเทศ (Reduced Inequalities) ที่ต้องใช้กลยุทธ์ กลไกการขับเคลื่อนผ่านแผนกลยุทธ์ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว การปฏิบัติการทางสังคมสงเคราะห์กับองค์กร กลุ่มเป้าหมายจึงเป็นกระบวนการที่ต้องท าอย่างต่อเนื่อง จริงจังเพื่อบรรลุตัวช้ีวัดที่ 10 การปลดล็อกปลายน้ า การน าผลลัพธ์ที่ยังไม่บรรลุไปปรับปรุง พัฒนาบริการลดช่องว่างที่เกิดขึ้น รูปธรรมของการปลดล็อก

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    6

    ความเหลื่อมล้ าไปสู่ความยั่งยืน จึงเป็น “วาระชาติที่ต้องใช้ความร่วมมือของภาคียุทธศาสตร์ภาคประชาสังคมร่วมกันต่อไป” ส าหรับท่านใดที่สนใจรูปเล่มของหนังสือ ท่านสามารถแจ้งความประสงค์ได้ที่ E-mail: [email protected] รวมทั้งท่านสามารถอ่านเอกสารได้จากคิวอาร์โค้ดอีกช่องทางหนึ่งด้วย หากมีข้อผิดพลาดประการใด กองบรรณาธิการขอน้อม

    รับไว้เพื่อปรับปรุงในการประชุมวิชาการปี 2564 ต่อไป(ศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม) ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    1

    ค ำกล่ำวเปิดงำน กำรสัมมนำทำงวิชำกำรเนื่องในโอกำสครบรอบ 66 ป ี

    ของกำรสถำปนำคณะสังคมสงเครำะห์ศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร ์เรื่อง “สังคมสงเครำะห์และสวัสดิกำรสังคม: กำรปลดล็อกควำมเหลื่อมล ำสู่ควำมย่ังยืน”

    โดย ศำสตรำจำรย ์ระพีพรรณ ค ำหอม คณบดีคณะสังคมสงเครำะห์ศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์

    ณ หอประชุมศรีบูรพำ และอำคำรคณะสังคมสงเครำะห์ศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตรศ์ูนย์ท่ำพระจันทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร

    วันศุกร์ที่ 24 มกรำคม พ.ศ.2563 *************************************

    เรียน ผู้บริหำร คณำจำรย ์ศิษย์เก่ำ นักศึกษำ และแขกผู้มีเกียรติทุกท่ำน ขอขอบคุณทุกท่านที่มาร่วมงานสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 66 ของการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในวันนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ได้มีบทบาทส าคัญในการเป็นผู้น าทางวิชาการและวิชาชีพด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ร่วมขับเคลื่อนการท างานด้านสังคมในประเด็นต่างๆ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน ตลอดจนส่งเสริมสิทธิและความเสมอภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้ าทางสังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี จากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และศิษย์เก่า ที่ได้มีบทบาทส าคัญในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เป็นแหล่งฝึกภาคปฏิบัติ ร่วมส่งเสริมการวิจัย และบริการวิชาการของคณะ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์ความรู้และน าไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาทางสังคมทั้งเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ ท่ามกลางสถานการณ์ปัญหาค่าฝุ่นละอองเกิน 2.5 และความท้าทายของสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Flagship คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เพื่อรองรับกับความท้าทายที่เกิดขึ้นในช่วงระหว่าง ปี 2562-2564

    ในช่วงเวลา 5 เดือนที่ดิฉันรับต าแหน่งคณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เข็มมุ่งที่ส าคัญคือ “การน าพาคณะสังคม

    สงเคราะห์เป็น “ผู้น าทางวิชาชีพและวิชาการ ร่วมมือกับองค์กรภาคีระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค ร่วม

    สร้างนวัตกรรมทางสังคม สู่การแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ” การท างานที่มุ่งเน้น (1) พัฒนานักศึกษาเป็นผู้น ารุ่นใหม่

    ที่มีความสามารถแข่งขันในเวทีระดับชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับนานาชาติ การผลักดันให้มีสถานที่ท างาน

    ของ “สมาคมนักศึกษาเก่าสังคมสงเคราะห์ศาสตร์” ที่ศูนย์รังสิต การส่งเสริมให้นักศึกษาและคณาจารย์มีการ

    แลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติ (2) พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาชีพสังคมสงเคราะห์และ

    สวัสดิการสังคมระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ (3) สร้างงานวิชาการงานวิจัยและนวัตกรรมทางสังคม

    เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอดในปี 2564 (4)พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานทางวิชาชีพ (5) สร้างทีมงานรุ่น

    ใหม่ที่มีความพร้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ ซึ่งการที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจะต้องได้รับความร่วมมือ

    จากภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมการประชุมในวันนี้

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    8

    เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นองค์ปาฐก จากนั้นจะเป็นจะเป็นการสัมมนากลุ่มย่อย แบ่งออกเป็น 3 ห้อง ห้องที่ 1 ณ หอประชุมศรีบูรพา เร่ือง “ปลดล็อกความเหลื่อมล้ า มิติสวัสดิการสังคมสู่ความยั่งยืน” วิทยากรได้แก่ นางแรมรุ้ง วรวัธ (รองอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ) รองศาสตราจารย์ ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล (รองผู้อ านวยการด้านนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ สกสว.) ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม (คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ.) ด าเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณลักษณ์ เมียนเกิด (ผู้อ านวยการหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและนโยบายสวัสดิการ) ห้องที่ 2 ณ ห้องประชุม สค.302 ชั้น 3 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เร่ือง “ปลดล็อกความเหลื่อมล้ า มิติเศรษฐกิจสู่ความยั่งยืน” วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชล บุนนาค (คณะเศรษฐศาสตร์ มธ.) นางสาวสฤณี อาชวานันทกุล (นักวิชาการอิสระด้านเศรษฐศาสตร์) ด าเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญลักษณ์ วีระสมบัติ (ผู้อ านวยการหลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ.) ห้องที่ 3 ณ ห้องประชุม สค.205 ชั้น 2 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เร่ือง “ปลดล็อคความเหลื่อมล้ า มิติการพัฒนาเมืองและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยืน” วิทยากรโดย ผศ.ดร.ชุมเขต แสวงเจริญ (รองอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษา มธ.) ผศ.ดร.นิรมล กุลศรีสมบัติ (ผู้อ านวยการศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง) คุณจุฤทธิ กังวาลภูมิ ผู้จัดการโครงการไชน่าทาวน์ย่านน่าเดิน (บริษัทปั้นเมือง) ด าเนินรายการโดย ผศ.กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง (รองคณบดีฝ่ายการฝึกภาคปฏิบัติ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ส้าหรับภาคบ่าย จะเป็นการน าเสนอผลงานวิชาการของ นักวิชาการ คณาจารย์ นักศึกษา ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์จากทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีผลงานวิชาการที่ผ่านการประเมินคุณภาพและได้รับการคัด เลือกให้น าเสนอจ านวน 20 เร่ือง ณ ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ดังนี้ ห้องย่อยที่ 1: (ห้อง สค.102) ความเหลื่อล้ าด้านนโยบายสวัสดิการสังคม: ความเป็นธรรมในผู้มีส่วนได้เสีย มี 5 บทความ ห้องย่อยที่ 2: (ห้อง สค.205) ความเหลื่อมล้ าด้านสุขภาพ :การพัฒนาความรู้สู่ความเสมอภาคในกลุ่มผู้ใช้บริการ มี 5 บทความ ห้องย่อยที่ 3: (ห้อง สค.302) ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเด็กและเยาวชน : การลดความแตกต่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต มี 5 บทความ ห้องย่อยที่ 4 (สค.501) ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเปราะบาง : การคุ้มครองทางสังคมเพื่อกลุ่มที่มีความหลากหลาย และในภาคค่้า เป็นการจัดงานคืนสู่เหย้า “รวมพลสังคมสงเคราะห์ 66 ปี แห่งความหวัง พลัง ยิ่งรู้จัก ยิ่งรักเธอ” บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ผมใคร่ขอเรียนเชิญ ศาสตราจารย์ระพีพรรณ ค าหอม คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ กล่าวเปิดงานสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ครบรอบปีที่ 66 และเป็นประธานในการมอบโล่รางวัลประเภทต่างๆ ตามล าดับด้วย

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    9

    ค้ากล่าวเปิดงาน การสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 66 ป ี

    ของการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์เรื่อง “สิทธิและความเสมอภาค : ความท้าทายของสังคมไทยในกระแสการเปลี่ยนผ่าน”

    โดย ศาสตราจารย ์ระพีพรรณ ค้าหอม คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ณ หอประชุมศรีบูรพา และอาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรศ์ูนย์ท่าพระจันทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

    วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2563 *************************************

    เรียน ผู้บริหาร คณาจารย ์ศิษย์เก่า นักศึกษา และแขกผู้มีเกียรติทุกท่าน ขอขอบคุณทุกท่านที่มาร่วมงานสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ 66 ของการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในวันนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ได้มีบทบาทส าคัญในการเป็นผู้น าทางวิชาการและวิชาชีพด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ร่วมขับเคลื่อนการท างานด้านสังคมในประเด็นต่างๆ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน ตลอดจนส่งเสริมสิทธิและความเสมอภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้ าทางสังคมมาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี จากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม และศิษย์เก่า ที่ได้มีบทบาทส าคัญในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เป็นแหล่งฝึกภาคปฏิบัติ ร่วมส่งเสริมการวิจัย และบริการวิชาการของคณะ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์ความรู้และน าไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาทางสังคมทั้งเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ ท่ามกลางสถานการณ์ปัญหาค่าฝุ่นละอองเกิน 2.5 และความท้าทายของสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว Flagship คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์เพื่อรองรับกับความท้าทายที่เกิดขึ้นในช่วงระหว่าง ปี 2562-2564

    ในช่วงเวลา 5 เดือนที่ดิฉันรับต าแหน่งคณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เข็มมุ่งที่ส าคัญคือ “การน าพาคณะสังคม

    สงเคราะห์เป็น “ผู้น าทางวิชาชีพและวิชาการ ร่วมมือกับองค์กรภาคีระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค ร่วม

    สร้างนวัตกรรมทางสังคม สู่การแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ” การท างานที่มุ่งเน้น (1) พัฒนานักศึกษาเป็นผู้น ารุ่นใหม่

    ที่มีความสามารถแข่งขันในเวทีระดับชาติ ระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับนานาชาติ การผลักดันให้มีสถานที่ท างาน

    ของ “สมาคมนักศึกษาเก่าสังคมสงเคราะห์ศาสตร์” ที่ศูนย์รังสิต การส่งเสริมให้นักศึกษาและคณาจารย์มีการ

    แลกเปลี่ยนกับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติ (2) พัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายวิชาชีพสังคมสงเคราะห์และ

    สวัสดิการสังคมระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ (3) สร้างงานวิชาการงานวิจัยและนวัตกรรมทางสังคม

    เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอดในปี 2564 (4)พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานทางวิชาชีพ (5) สร้างทีมงานรุ่น

    ใหม่ที่มีความพร้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ ซึ่งการที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวจะต้องได้รับความร่วมมือ

    จากภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมการประชุมในวันนี้

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    10

    ขอแสดงความยินดีกับทุกท่านที่ได้รับโล่รางวัลและทุนการศึกษา ขอขอบคุณองค์ปาฐก ศาสตราจารย์ ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอขอบคุณท่านวิทยากรทุกท่านได้แก่ (1) นางสาวแรมรุ้ง วรวัธ รองอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอายุ (2) รองศาสตราจารย์ ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล รองผู้อ านวยการด้านนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ สกสว. กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชล บุนนาค คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (4) นางสาวสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระด้านเศรษฐศาสตร์ (5) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุมเขต แสวงเจริญ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการนักศึกษามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ์(6) นายจุฤทธิ์ กังวานภูมิ ผู้จัดการโครงการไซน่าทาวน์ ย่านน่าเดิน บริษัท ปั้นเมือง ขอบคุณคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ทุกท่าน นักศึกษา และศิษย์เก่าที่เป็นก าลังส าคัญในการสนับสนุนคณะฯ มาอย่างต่อเนื่อง และขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้เกียรติมาร่วมงาน และร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินคุณภาพผลงานวิชาการในครั้งนี้อีกด้วย บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ดิฉันขอเปิดงานสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ครบรอบ 66 ปีเร่ือง “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ าสู่ความยั่งยืน” ได้ ณ บัดนี้

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    11

    ก้าหนดการสัมมนาทางวิชาการ เนื่องในโอกาสวันสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครบรอบ 66 ปี

    เรื่อง “สังคมสงเคราะหแ์ละสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสูค่วามยั่งยืน” Social work and social welfare: Mechanisms to unlock social inequality towards sustainability

    วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2563 ณ หอประชุมศรีบูรพา และอาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ทา่พระจันทร์

    เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ------------------------------------------------------

    พิธีการทางศาสนา เวลา 07.00 – 07.30 น. บวงสรวงพระภูมิ และสักการะพระบวรราชานุสาวรยี์สมเด็จพระบวรราชเจา้มหาสุรสิงหนาท เวลา 07.30 – 08.00 น. ถวายสังฆทานพระสงฆ์ 9 รูป ณ ห้องบรรยาย สค.102 ชั้น 1 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ภาคเชา้ ชว่งที่ 1 ณ หอประชุมศรีบูรพา (หอประชุมเล็ก) มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร ์ เวลา 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียนสัมมนาวิชาการ (ภาคเช้า) เวลา 08.30 – 09.00 น. พิธีเปิดการสัมมนา - รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพนัธ์ กลา่วรายงาน - คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ กล่าวเปิดงาน - พธิีมอบรางวัล รางวัลนักวิจยัดีเด่น รางวัลนักศึกษาดีเด่น รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น รางวัลบุคลากรดีเด่น และการมอบทุนการศึกษา เวลา 09.00 – 09.45 น. ปาฐกถา เร่ือง “สังคมสงเคราะห์และสวสัดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ าสู่ความยั่งยืน” โดย ศาสตราจารย ์ดร.อารยะ ปรีชาเมตตา คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    พิธีกรด าเนินรายการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ชลายนนาวิน และอาจารย์ ดร.สรสิช สว่างศิลป์ ภาคเชา้ ชว่งที่ 2 การสัมมนากลุ่มย่อย เวลา 10.00 – 12.00 น. การสัมมนากลุ่มย่อย แบ่งออกเป็น 3 หอ้ง คือ

    ห้องที่ 1 ณ หอประชุมศรีบูรพา เร่ือง “ปลดล็อกความเหลื่อมล้ า มิติสวัสดกิารสงัคมสู่ความยั่งยืน” วิทยากรโดย นางสาวแรมรุ้ง วรวธั รองอธิบดีกรมกิจการผู้สูงอาย ุ ศาสตราจารย์ระพพีรรณ ค าหอม คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ด าเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณลักษณ์ เมียนเกิด ผู้อ านวยการหลกัสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม

    คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ห้องที่ 2 ห้องประชุม สค.302 ชั้น 3 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เร่ือง “ปลดล็อกความเหลื่อมล้ า มิติเศรษฐกจิสู่ความยั่งยืน” วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย ์ชล บุนนาค คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. นางสาวสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระด้านเศรษฐศาสตร์

    ด าเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญลกัษณ์ วีระสมบัติ ผู้อ านวยการหลกัสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ห้องที่ 3 ห้องประชุมนวลนาฎ อมาตยกุล (ห้องประชุม สค.205) ชั้น 2 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

    เร่ือง “ปลดล็อกความเหลื่อมล้ า มิติการพัฒนาเมืองและสิ่งแวดล้อมสู่ความยั่งยนื” วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุมเขต แสวงเจริญ ผู้ช่วยอธิการบดีฝา่ยการนักศึกษา มธ.

    นายจุฤทธิ์ กังวานภูมิ ผู้จัดการโครงการไซน่าทาวน ์ย่านนา่เดิน บริษัท ปั้นเมือง ด าเนินรายการโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง รองคณบดีฝ่ายการศึกษาฝกึภาคปฏิบัติ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ.

    เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    12

    ภาคบ่าย ณ อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เวลา 13.00 – 13.30 น. ลงทะเบียนสมัมนาวิชาการ (ภาคบ่าย) เวลา 13.30 – 16.00 น. การน าเสนอผลงานวิชาการ (ห้องยอ่ย 1-4)

    ห้องย่อยที่ 1 ณ หอ้งบรรยาย สค.102 ชั้น 1 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เร่ือง “ความเหลื่อมล้ าด้านนโยบายสวัสดิการสังคม: ความเป็นธรรมในผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย”

    ผู้ด าเนินรายการ รองศาสตราจารย ์ดร.พงษ์เทพ สันติกุล และอาจารย ์ดร.ปรินดา ตาส ีห้องย่อยที่ 2 ณ หอ้งประชุมนวลนาฎ อมาตยกุล (ห้องประชุม สค.205) ชั้น 2 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

    เร่ือง “ความเหลื่อมล้ าดา้นสุขภาพ: การพัฒนาความรู้สู่ความเสมอภาคในกลุ่มผู้ใช้บริการ” ผู้ด าเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภุชงค์ เสนานุช, รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวดี พูลพอกสิน

    และนายกรวิชญ ์พิพัฒนกุล ห้องย่อยที่ 3 ณ หอ้งบรรยาย สค.302 ชั้น 3 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์

    เร่ือง “ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเด็กและเยาวชน: การลดความแตกต่างเพื่อการพฒันาคุณภาพชีวิต” ผู้ด าเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยา รุจิเสถยีรทรัพย ์ และอาจารย ์ดร.กาญจนา รอดแกว้

    ห้องย่อยที่ 4 ณ หอ้งบรรยาย สค.501 ชั้น 5 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เร่ือง “ความเหลื่อมล้ าในกลุ่มเปราะบาง: การคุ้มครองทางสังคมเพื่อกลุ่มที่มีความหลากหลาย”

    ผู้ด าเนินรายการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นราเขต ยิ้มสุข และอาจารย ์ดร.สรสิช สว่างศิลป ์เวลา 16.00 – 16.30 น. พิธีมอบประกาศนยีบัตรส าหรับผู้น าเสนอผลงานวิชาการ ณ หอ้งสัมมนาย่อยที่ 1-4 ภาคค้่า ณ บริเวณสนามฟุตบอล มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เวลา 18.00 – 22.00 น. งานคืนสู่เหย้า “รวมพลคนสังคมสงเคราะห์ 66 ป ีแห่งความหวัง พลัง ยิ่งรู้จัก ยิง่รักเธอ”

    **************************************************************

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    13

    มิติของความเหลื่อมล ้าในสังคมไทยปัจจุบัน

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    14

    สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครองกับการลดความเหลื่อมล ้า Productive and Protective Welfare for Reducing Inequality

    ศาสตราจารย์ ดร.กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์1

    Professor Kitipat Nontapattamadul, Ph.D.2

    Abstract Productivist Welfare Capitalism was launched by Ian Holliday (2000) two decades ago. Its appearance is to fill the gap of three worlds of welfare regimes which explain well among the Western societies but not the cases of East Asia and Southeast Asia. Productivist welfare capitalism or productive welfare is more appropriate for explaining welfare systems in, for examples, South Korea, China, Japan, Malaysia, Singapore, and Thailand. On the one hand, the productive welfare implies an intention not to follow classical welfare states as happens in the Northern Europe. Social democracy is the underpinning philosophy of classical welfare states including protective welfare. The productive welfare however tends to support the neo-liberalism which strongly deny the protective welfare. The productive welfare prefers the decreasing social welfare benefits while encourages people entering into labor market. However, on the other hand, scholars recommend neither trade-off nor separate the two from each other. Instead, the co-existence of these two welfare models must be considered in terms of make them balance and support each other. In Thailand, Department of Social Development and Welfare launched a program for promoting the local administrations to organize the productive welfare which reflects the idea of enhancing human dignity. The best practice of Don Kaew Sub-District Administration, MaeRim, Chiang Mai shows a well balance between productive and protective welfare provisions. Finally, there is a research studied on productive and protective welfare provisions among 29 nations which are non-OECD membership including Thailand. The results confirm that protective welfare support productive welfare and both are able to some extent reduce an inequality. Keywords: Productive welfare, protective welfare, reducing inequality

    บทคัดย่อ รูปแบบสวัสดิการผลิตภาพนิยม (Productivist welfare capitalism) อุบัติขึ้นเมื่อสองทศวรรษจากงานเขียนของ

    เอียน ฮอลลิเดย์ (Ian Holliday, 2000) โดยเป็นการอุดช่องว่างของรูปแบบการอธิบายการจัดสวัสดิการในสังคมตะวันตก สามรูปแบบที่มีมาก่อนหน้านั้น สวัสดิการผลิตภาพนิยมหรือสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ ใช้อธิบายได้ดีกับกลุ่มประเทศในเอเซียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ อาทิ เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น มาเลเซีย สิงคโปร์และไทย ในด้านหนึ่ง อุบัติการณ์ของสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพมีนัยของการเลือกที่จะหลีกเลี่ยงแนวทางรัฐสวัสดิการแบบยุโรปเหนือ ที่มีฐานคิ ดปรัชญาสังคมประชาธิปไตย (Social Democracy) กล่าวคือ รัฐสวัสดิการเป็นการเน้นการจัดสวัสดิการตามสิทธิของประชาชนหรือสวัสดิการที่เน้นการ

    1 อาจารย์ประจ า คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2 Lecturer, Faculty of Social Administration, Thammasat University, Thailand E-mail: [email protected]

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    15

    คุ้มครอง (Protective welfare) แต่สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ จะโอนเอียงไปทางลัทธิเศรษฐกิจเสรนีิยมใหม่ ที่ปฏิเสธสวัสดิการที่เน้นคุ้มครอง มีนัยของการลดงบประมาณด้านการให้ความช่วยเหลือประชาชนทางสังคม (social assistance) โดยเน้นการให้สวัสดิการที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนเข้าสู่ตลาดแรงงานหรือมีส่วนร่วมในการผลิต อย่างไรก็ตาม ในอีกด้านหนึ่ง นักวิชาการไม่ได้เสนอให้เลือกแลก (trade-off) หรือแยกแยะสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพออกจากสวัสดิการที่เน้นคุ้มครอง-อย่างเด็ดขาด แต่มองว่าท้ังสองรูปแบบต้องด ารงอยู่ด้วยกันอย่างมีสมดุล และเสริมสร้างสนับสนุนซึ่งกันและกัน ในประเทศไทย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ โดยส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ ด าเนินการส่งเสริมการจัดสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ ท่ีมีนัยในการเติมเต็มศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของประชาชน มีรูปธรรมในการจัดการอย่างมีสมดุลจากกรณีศึกษาที่เป็นต้นแบบการปฏิบัติที่เป็นเลิศ คือ องค์การบริหารส่วนต าบลดอนแก้ว อ าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และมีการสัมมนาระดับชาติ-ระดับภูมิภาคที่สะท้อนให้เห็นการขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการที่มีสมดุลระหว่างรูปแบบสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและรูปแบบสวัสดิการที่เน้นคุ้มครอง และในท้ายที่สุดมีการศึกษาวิจัยถึงรูปแบบสวัสดิการทั้งสองรูปแบบกับการลดความเหลื่อมล้ าในประเทศนอก OECD 29 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ผลการวิจัยยืนยันว่าสวัสดิการที่เน้นคุ้มครองช่วยสนับสนุนสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและน าไปสู่การลดความเหลื่อมล้ าได้ ค้าส้าคัญ: สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ, สวัสดิการที่เน้นคุ้มครอง, การลดความเหลื่อมล้ า

    ค้าน้า การศึกษารูปแบบสวัสดิการในประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมทั่วโลกที่เป็นที่แพร่หลายกัน ได้แก่ การจ าแนก

    รูปแบบของสวัสดิการในระบบทุนนิยมออกเป็นสามรูปแบบ โดยกอสตา เอสปิง-แอนเดอร์เซ่น (GØsta Esping-Andersen, 1990) อย่างไรก็ตาม ต่อมาได้มีนักวิชาการช้ีให้เห็นข้อจ ากัดของการจ าแนกรูปแบบสวัสดิการทั้งสามรูปแบบ ว่ายังไม่สามารถใช้อธิบายกับบรรดาประเทศในเอเซียตะวันออก (และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้) ได้อย่างเหมาะสมเพียงพอ เอียน ฮอลลิเดย์ (Ian Holliday, 2000) เสนอรูปแบบที่สี่ที่เรียกว่า รูปแบบสวัสดิการผลิตภาพนิยม (Productivist welfare capitalism) นับตั้งแต่นั้นมามีงานเขียน งานวิจัยและบทความทางวิชาการ ที่ใช้รูปแบบสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพในการอธิบายระบบสวัสดิการในเกาหลีใต้ จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และแพร่กระจายไปอธิบายในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย

    พิจารณาในด้านหนึ่ ง สวัสดิการที่ เน้นผลิตภาพเหมือนเป็นการหลีกเลี่ยงที่จะไปใช้รูปแบบสวัสดิการที่ เน้นการคุ้มครอง (Protective welfare) ที่มีลักษณะเป็นการเน้นการจัดสวัสดิการที่ เน้นสิทธิและลดการเป็นสินค้า (decommodification) ทั้งนี้ สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพเป็นการให้สวัสดิการที่มุ่งให้ประชาชนเข้าสู่ตลาดแรงงานหรือมีรายได้หรือมีผลิตภาพ เพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประชาชนไม่เป็นภาระด้านงบประมาณ อย่างไรก็ตาม นักวิชาการ ด้านนโยบายสวัสดิการมองว่าในทุกประเทศล้วนมีทั้งสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพและสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครอง ทว่าสัดส่วนความสมดุลและการหน้าที่ของรูปแบบสวัสดิการทั้งสองยังต้องมีการศึกษาวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การหน้าที่ของรูปแบบ ทั้งสองในการลดความเหลื่อมล้ าในสังคม รูปแบบสวัสดิการในโลกตะวันตกสามรูปแบบ

    ในการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและรูปแบบของการจัดสวัสดิการสังคมหรือรัฐสวัสดิการนั้น มีวิธีการจ าแนกรูปแบบสวัสดิการที่แพร่หลายและคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี ได้แก่ การจ าแนกรูปแบบสวัสดิการในระบบทุนนิยมในโลกออกเป็น 3 รูปแบบ ใน The Three Worlds of Welfare Capitalism ของกอสตา เอสปิง-แอนเดอร์เซ่น (GØsta Esping-Andersen, 1990) อันได้แก่ (1) รูปแบบสวัสดิการแบบเสรีนิยม (Liberal welfare regime) (2) รูปแบบสวัสดิการอนุรักษ์นิยม (Conservative welfare regime) และ (3) รูปแบบสวัสดิการแบบสังคมประชาธิปไตย (Social democratic welfare

  • “สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม : การปลดล็อกความเหลื่อมล ้าสู่ความยั่งยนื”

    16

    regime) วิธีจ าแนกระบบสวัสดิการในโลกทุนนิยมของเอสปิง-แอนเดอร์เซ่นเป็นที่ยอมรับในวงการนโยบายสังคมและนโยบายสวัสดิการสังคมอย่างแพร่หลาย รูปแบบสวัสดิการผลิตภาพนิยม

    ในปลายทศวรรษ 1990 เริ่มมีนักวิจัยนโยบายสังคมตั้งข้อสังเกตว่า ทั้งสามรูปแบบไม่เพียงพอที่จะน าไปใช้อธิบายประเทศอื่นๆ นอกจากประเทศทางตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มประเทศเอเซียตะวันออก อาทิ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย เป็นต้น นักวิชาการบางท่านเสนอการอธิบายสวัสดิการสังคมในเอเซียตะวันออกว่าเป็นรูปแบบรัฐสวัสดิการแบบลัทธิขงจื้อ (Confucian welfare states) (Jones, 1990 cited in Kuypers, 2014, p.3) บางท่านเสนอรูปแบบรัฐสวัสดิการเชิงการพัฒนา (Developmental welfare states) (Kwon, 2009 cited in Kuypers, 2014, p.3)

    นักวิชาการบางท่านอ้างอิงการประกาศวิสัยทัศน์ด้านนโยบายสังคมของประธานาธิบดีคิมแดจุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลีหรือเกาหลีใต้ ในวันฉลองอิสรภาพ (Liberation Day) เมื่อ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1999 ว่าสาธารณรัฐเกาหลีจะยึดแนวทางสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ หลังจากท่ีเกาหลีใต้ประสบวิกฤตการเงินการคลังครั้งใหญ่ในปี 1997 (Kunhle, 2002) อย่างไรก็ตาม นักวิชาการหลายท่านยกให้ เอียน ฮอลลิเดย์เป็นคนแรกที่ใช้ค าว่า สวัสดิการผลิตภาพนิยม ระบอบสวัสดิการทุนนิยมที่เน้นผลิตภาพ (Productivist Welfare Pluralism) แตกแขนงออกมาจากรูปแบบสวัสดิการสามรูปแบบของกอสตา เอสปิง-แอนเดอร์เซ่น โดยฮอลลิเดย์เห็นว่า นโยบายสังคมผลิตภาพนิยม (productivist social policy) นั้นเป็นนโยบายสวัสดิการที่ด าเนินการโดยเป็นกลไกส าคัญของรัฐบาลที่รวมศูนย์ไปที่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการแสวงหาความชอบธรรมทางการเมืองเป็นส าคัญ (Holliday 2005, p.148 cited in Wilding, 2008, p.22) แนวคิดทางสายที่สามของกิดเดนส์กับสวัสดิการที่เน้นผลิตภาพ

    สวัสดิการที่เน้นผลิตภาพหรือรูปแบบสวัสดิการผลิตภาพนิยมนั้น มีความสอดคล้องกับทฤษฎีซ้ายใหม่ (The New Left) หรือทฤษฎีทางสายที่สาม (The Third Way) ของแอนโทนี กิดเด้นส์ (Anthony Giddens) ที่สะท้อนการประนีประนอมกับแนวคิดขวาใหม่ (The New Right) ของพรรคแรงงานในสหราชอาณาจักรสมัยนายโทนี แบลร์ เป็นนายกรัฐมนตรี ความสอดคล้องนี้เห็นได้จากการเรียกขาน นโยบายสวัสดิการสังคมแบบผลิตภาพนิยมของเกาหลี ว่า “ทางสายที่สามของเกาหลี” (Korea’s Third Way) (Han, 2002 cited in Jo, 2014, p.5) ทั้งนี้ ทฤษฎีทางสายที่สามไม่นิยมการเก็บภาษีอัตราก้าวหน้าในอัตราที่สูงและเน้นให้รัฐลดภาระด้านสวัสดิการ โดยหันไปสนับสนุนระบบสวัสดิการพหุลักษณ์ กลับไปเน้นให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน สถาบันประเพณีดั้งเดิม ศาสนา การกุศลเข้ามาแบ่งเบาภาระของรัฐบาล สหราชอาณาจักรไม่จ าเป็นต้องมีรัฐสวัสดิการที่เข้มข้นอย่างในสมัยที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีความรุนแรงอีกต่อไปแล้ว

    อันที่จริง ชุดทฤษฎีและแนวคิดของกิดเด้นส์ที่สอดคล้องกับรูปแบบสวัสดิการผลิตภาพนิยม ยังรวมไปถึงทฤษฎีการสร้างโครงสร้าง (Theory of structuration) และแนวคิดความมั่นคงทางภววิทยา (Ontological Security) อีกด้วย ท้ังนี้ กิดเด้นส์อธิบายความมั่นคงทางภววิทยาของบุคคล เน้นไปที่แบบแผนการด าเนินชีวิตประจ าวัน ที่บุคคลแสวงหาความมั่นคงในกิจวัตรประจ าวันด้วยตนเอง เพื่อลดความไม่แน่นอนในชีวิต บุคคลจะผลิตซ้ ากลไ�