92
เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานในตาแหน่ง นักตรวจสอบภายใน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ในวันที่ 7 กรกฎาคม 2559 สานักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาสมรรถนะผู้ปฏิบัติงานในต าแหน่ง

นักตรวจสอบภายใน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ในวันที่ 7 กรกฎาคม 2559

ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 2: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

โครงการ

การพฒันาสมรรถนะผ ูป้ฏิบติังานในต าแหน่งนกัตรวจสอบภายใน

“การสืบเสาะหาขอ้มลูในการตรวจสอบความถกูตอ้ง

ตามกระบวนงานเพ่ือการด าเนินงานเชิงรกุอยา่งมีประสิทธิภาพ”

มหาวิทยาลยัมหาสารคาม

Page 3: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

กิจกรรมการใหค้วามเช่ือมัน่และการใหค้ าปรึกษาอย่าง

เท่ียงธรรมและเป็นอิสระ ซ่ึงจัดให้มีข้ึนเพ่ือเพ่ิมคณุค่าและ

ปรบัปรงุการปฏิบติังานของสว่นราชการใหดี้ข้ึน การตรวจสอบ

ภายในจะช่วยใหส้ว่นราชการบรรลถึุงเป้าหมายและวตัถปุระสงค์

ท่ีก าหนดไว้ด้วยการประเมิน และปรบัปรงุประสิทธิผลของ

กระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคมุและการก ากบัดแูล

อยา่งเป็นระบบ

การตรวจสอบภายใน

Page 4: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

กระบวนการตรวจสอบ ( Audit Process )

การวางแผน ( Planning )

การปฏิบติังานภาคสนาม ( Field Work )

การรายงานผลงาน ( Communicating Results )

การติดตามผล ( Follow - up )

แนวการตรวจสอบ ( Audit Program )

สิ่งท่ีตรวจพบ ( Audit Findings )

รายงานผลการเสนอแนะ ( Report of Recommendation )

รายงานการตรวจสอบ ( Audit Report )

Page 5: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

กระบวนการปฏิบติังานตรวจสอบภายใน ( Internal Audit Process )

การประเมินผลระบบการควบคมุภายใน

การวางแผน การส ารวจขอ้มลูเบ้ืองตน้

การประเมินความเสี่ยง

การวางแผนการตรวจสอบ

การวางแผนการปฏิบติังาน

กอ่นเริม่การปฏิบติังานตรวจสอบ

ระหว่างการปฏิบติังานตรวจสอบ

เม่ือเสรจ็สิ้นการปฏิบติังานตรวจสอบ

รายงานผลการปฏิบติังาน

การติดตามผล

การปฏิบติังาน

การจดัท ารายงานและ

การติดตามผล

กระดาษ

ท าการ

Page 6: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

แบ่งไดเ้ป็น 2 ลกัษณะ คือ

1. การใหบ้รกิารความเช่ือมัน่

(Assurance Services)

2. การใหบ้รกิารค าปรกึษา

(Consulting Services)

ประเภทของการตรวจสอบภายใน

Page 7: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบทางการเงิน (FINANCIAL AUDITING)

การตรวจสอบการปฏิบติัตามขอ้ก าหนด

(COMPLIANCE AUDITING)

การตรวจสอบการบรหิาร (MANAGEMENT AUDITING)

การตรวจสอบผลการด าเนินงาน (PERFORMANCE AUDITING)

การตรวจสอบเทคโนโลยสีารสนเทศ (INFORMATION TECHNOLOGY AUDITING)

การตรวจสอบพิเศษ

(SPECIAL AUDITING)

ประเภทของการใหบ้รกิารความเช่ือมัน่

Page 8: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การแสวงหา สืบหา ค้นหาข้อเท็จริง หรือ

รายละเอียดต่างๆ ของหลกัฐาน เพ่ือเป็นขอ้มลู

ประกอบการพิจารณาในการตดัสินใจ

การสืบเสาะ

Page 9: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การสรา้งความสนใจ (Engage)

การส ารวจและคน้ควา้ (Explore)

การอธิบาย(Explain)

การขยายหรอืต่อยอด (Explore)

การประเมินผล (Evaluate)

ขัน้ตอนการสืบเสาะ

Page 10: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ค าถามท่ีมกัใช ้

1. ท าอะไร ?

2. ท าเพ่ืออะไร ?

3. ใครเป็นคนท า ?

4. ท าอยา่งไร ?

Page 11: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ค าถามท่ีมกัใช ้ ( ต่อ )

5. ท าเม่ือไร ?

6. ท าท่ีไหน ?

7. มีการติดตามหรอืควบคมุอยา่งไร ?

Page 12: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ขอ้มลูพ้ืนฐาน

• ความเป็นมาของหน่วยรบัตรวจ

• หนา้ท่ีความรบัผิดชอบ

• ขอ้มลูทางการเงิน

• ระบบการปฏิบติังานและการควบคมุภายใน

• วิธีการปฏิบติังาน

• จดุท่ีเป็นปัญหาหรอืจดุอ่อน

• จดุท่ีเป็นสาระประโยชนห์รอืน่าสนใจ

Page 13: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

What is done? ด าเนินการเกี่ยวกบัอะไร

Why it is done? เหตผุลท่ีตอ้งด าเนินการ

By whom? ด าเนินการโดยใคร

How it is done? ด าเนินการดว้ยวิธีอยา่งไร

When it is done? ด าเนินการเม่ือใด

Where it is done? ด าเนินการท่ีไหน

How it is monitored มีวิธีการอยา่งไรในการควบคมุ

or controlled? และติดตามผลการด าเนินการ

Page 14: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

13

Why * ท าไม เราจึงตอ้งตรวจสอบ หน่วยงาน/โครงการ น้ี

(วตัถปุระสงคท์ัว่ไป)

* ท าไม เราจึงตอ้งตรวจสอบ กระบวนการ/หวัขอ้ น้ี

(วตัถปุระสงคเ์ฉพาะ)

* ท าไม เราจึงตอ้งตรวจสอบ ขัน้ตอน น้ี

(วตัถปุระสงคย์อ่ย)

Page 15: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

What/How much * ปฏิบติังานตรวจสอบอะไร/เป็นจ านวนเท่าใด

ตวัอยา่ง

ตรวจสอบกระบวนการและหนว่ยปฏิบตังิานที่ส าคญั

ทัง้หมดในหนว่ยงานหรือสว่นงาน

ตรวจสอบรายการค าสัง่ซ้ือจากเลขที่ 1-1-XX ถึง

เลขที่ 12-31-XX

สุม่ทดสอบรายการที่เกิดขึน้ระหว่างวนัที่ 1 ต.ค. 25X1

ถึง วนัที่ 31 ธ.ค. 25X2

Page 16: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

How

* บรรลวุตัถปุระสงคข์องงานตรวจสอบท่ีตอ้งการ

ไดอ้ยา่งไร

* เลือกตวัอยา่ง อยา่งไร

•ท าการทดสอบ อยา่งไร

ตวัอยา่ง

สอบทานค าสัง่ซ้ือ 30 รายการ เปรยีบเทียบกบัตวัอยา่งลายเซ็นผ ูมี้อ านาจอนมุติั

ตรวจนบัเงินสดในต ูนิ้รภยั

สงัเกตการท างานของเจา้หนา้ท่ีรบัเงินเปรยีบเทียบกบัท่ีมีอย ูใ่นค ู่มือปฏิบติังาน

Page 17: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ขอ้มลูท่ีน าใชใ้นการวิเคราะห ์

แหลง่ท่ีมาภายนอก

• ความเสี่ยงและแนวทางการควบคมุขององคก์ร (ERM) • รายงานการประชมุ / รายงานสรปุปัญหา / KPI • แผนภาพหรือแผนผงัทางเดนิของงาน (Flowchart) • ภารกิจหรือหนา้ที่ของหนว่ยงานตา่งๆ (Job Function)

แหลง่ท่ีมาภายในหน่วยงาน • ผลการตรวจสอบที่ผา่นมา • การประเมนิความเสี่ยง (Risk assessment)

Page 18: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ความเสี่ยงที่มอียูใ่นหนว่ยงานหรือกจิกรรม

นโยบายของผูบ้ริหาร และวตัถปุระสงคข์องแตล่ะกจิกรรม

วิธีการควบคมุทัง้ที่มอียูแ่ละไมม่ ี

จดุอ่อนและจดุแข็งของวิธีการควบคมุ

โอกาสในการที่จะปรบัปรงุแกไ้ข

เกณฑห์รือมาตรฐานของหนว่ยงานหรือกจิกรรม

Page 19: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

Inquiries

Observations

Documentation Tests

Physical Examinations

Audit Procedures

? ? ?

?

Page 20: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เทคนิคการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบที่ดทีี่ผูต้รวจสอบภายใน

ควรน ามาใชห้รือเลือกใชเ้พื่อใหง้านตรวจสอบ

ไดผ้ลดแีละเป็นที่ยอมรับของผูป้ฏิบตังิาน

เทคนิค

วิธีการท่ีน ามาใชเ้พ่ือใหง้านนัน้ไดผ้ลส าเรจ็

Page 21: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เทคนิคการตรวจสอบท่ีดี

เป็นวิธีการตรวจสอบที่ผูต้รวจสอบเลือกใชใ้น

การรวบรวมขอ้มลูหลกัฐานตา่งๆ เพื่อใหไ้ดห้ลกัฐาน

ที่ดีและเสียค่าใชจ้่ายนอ้ย โดยการตรวจสอบเป็นไป

ตามวัตถปุระสงคแ์ละแผนการตรวจสอบที่ก าหนดไว ้

Page 22: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การส ุม่ตวัอยา่ง

การตรวจนบั

การยืนยนั

การตรวจสอบเอกสารใบส าคญั

การค านวณ

การตรวจสอบการผา่นรายการ

การตรวจสอบบญัชียอ่ยและทะเบียน

Page 23: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การตรวจสอบหารายการผิดปกติ

การตรวจสอบความสมัพนัธข์องขอ้มลู

การวิเคราะหเ์ปรยีบเทียบ

การสอบถาม

การสงัเกตการณ ์

การจดัท าแผนภาพ

Page 24: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการเลือกขอ้มลูแต่เพียงบางสว่นท่ีจะใชเ้ป็น

ตวัแทนของขอ้มลูทัง้หมด เพ่ือน ามาตรวจสอบ

ขอ้จ ากดั

ขอ้มลูท่ีเก็บไดจ้ากตวัอยา่งท่ีเป็นเพียงตวัแทนของ

ขอ้มลูท่ีมีอย ูเ่ท่านัน้

Page 25: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การเลือกตวัอยา่งส ุม่แบบง่าย

(Simple Random Sampling) การเลือกตวัอยา่งแบบเป็นระบบ

(Systematic Sampling) การเลือกตวัอยา่งแบบแบ่งชัน้ภมิู

(Stratified Sampling) การเลือกตวัอยา่งแบบกล ุม่

(Cluster Sampling) การเลือกตวัอยา่งแบบหลายชัน้

(Multi-stage Sampling) การเลือกตวัอยา่งแบบตามล าดบั

(Sequential Sampling)

Page 26: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นเลือกกล ุม่ตวัอยา่งจ านวนหน่ึงจากขอ้มลูทัง้หมด

โดยมีโอกาสท่ีจะไดร้บัเลือกเท่าเทียมกนัและยติุธรรม

1 2 3 4

5 6 7 8

9 10 11 12

13 14 15 16

2 7

11 16

ขอ้มลูทัง้หมด กล ุม่ตวัอยา่ง

Page 27: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
Page 28: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

หลกัเกณฑ ์

ใหห้มายเลขแกแ่ต่ละหน่วยประชากร คือ 1 – N

เลือกหน่วยตวัอยา่งหน่วยแรก โดยท่ีให ้ K = N / n

แลว้เลือกเลขส ุม่ท่ีมีค่าตัง้แต่ 1 ถึง K

เลือกหน่วยถดัไปใหห้่างจากหน่วยท่ีเพ่ิงถกูเลือกเป็นช่วงเท่าๆ กนั จนครบ n หน่วย

การเลือกตวัอยา่งแบบเป็นระบบ

(Systematic Sampling)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

ขอ้มลูทัง้หมด

กล ุม่ตวัอยา่ง

5 10 15

Page 29: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เลือกตวัอยา่งโดยการก าหนดระยะหรือช่วงตอนของตวัอยา่ง

ความห่างของระยะหรอืช่วงตอนข้ึนอย ูก่บัจ านวนขอ้มลูและจ านวนตวัอยา่งท่ีตอ้งการ

9 ขอ้มลู

2 3 4 5 7 6 8 10 1 16 15 14 13 12 11

ตวัอยา่ง 5 10 15

ขอ้มลูตอ้งมีคณุสมบติัเหมือนกนัและมีการจดัเรยีงล าดบั

อยา่งถกูตอ้งครบถว้น

การเลือกตวัอยา่งแบบเป็นระบบ

(Systematic Sampling)

Page 30: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การเลือกตวัอยา่งแบบแบ่งชัน้ภมิู

(Stratified Sampling)

เป็นการแบ่งประชากรออกเป็นกล ุม่ โดยจะเรยีกแต่ละ

กล ุม่ว่า ชัน้ภมิู (Stratum) ซ่ึงจะใหห้น่วยต่างๆ ท่ีอย ู่

ในชัน้ภมิูเดียวกนัเหมือนกนัหรอืใกลเ้คียงมากท่ีสดุ

การเลือกตวัอยา่งจากแต่ละชัน้ภมิูจะเป็นอิสระกนั

ขนาดตวัอยา่งทัง้หมดจะเป็นผลรวมของขนาดตวัอยา่ง

จากแต่ละชัน้ภมิูและตอ้งเลือกตวัอยา่งจากทกุชัน้ภมิู

Page 31: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

A A A A

A A A A

A A A A

A A A A

ขอ้มลูทัง้หมด

C C C C

C C C C

C C C C

C C C C

B B B B

B B B B

B B B B

B B B B

A A

A A

B B

B B

C C

C C

A B C C B C A C C B C A

B A C A C A C B B C A C

A B A B A C B A A B A B

B C A C B B A B C A B C

Page 32: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ประชากรท่ีมีหน่วยแตกต่างกนั

กล ุม่ตวัอยา่ง

แบ่งชัน้ภมิู

Page 33: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การเลือกตวัอยา่งแบบกล ุม่

(Cluster Sampling)

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

เลือกตวัอยา่งของขอ้มลูท่ีมีคลา้ยคลึงกนั

แบ่งขอ้มลูออกเป็นกล ุม่โดยก าหนดจ านวนเท่ากนั เรยีกว่า CLUSTER ถือต าแหน่งท่ีตัง้หรอืการเก็บรวบรวมรายการเป็นเกณฑข์อ้มลู เช่น กล ุม่เกษตรกรใน

หมูบ่า้น กล ุม่ครวัเรอืนในต าบล

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

A B C D

E F G H

Page 34: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การเลือกตวัอยา่งแบบหลายชัน้

(Muit-stage Sampling)

เป็นการส ุม่ตวัอยา่งในทกุขัน้ตอน โดยแบ่งเป็นชัน้ๆ จาก

หน่วยใหญ่ มา เป็นหน่วยยอ่ยๆ เช่น

ภาค

จงัหวดั

อ าเภอ

ต าบล

หมูบ่า้น

Page 35: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การเลือกตวัอยา่งแบบตามล าดบั

(Sequential Sampling)

วิธีท่ีไมก่ าหนดลว่งหนา้ว่า จะตอ้งท าการส ุม่กี่ครัง้ จ านวนตวัอยา่ง

เท่าใด ถา้กล ุม่แรกใหข้อ้มลูไมพ่อ จึงจะเลือกตวัอยา่งเพ่ิมเติมจากกล ุม่

ต่อไปเรื่อยๆ ซ่ึงมกัจะใชศึ้กษาเปรยีบเทียบระหว่าง 2 ทางเลือก

Page 36: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการพิสจูนจ์ านวนและสภาพของสิ่งท่ีตรวจนบัว่า

มีอย ูค่รบถว้น สภาพของสิ่งนัน้เป็นอยา่งไร มีการเก็บ

รกัษาอยา่งไร

ขอ้จ ากดั

ตอ้งเป็นทรพัยส์ินท่ีเป็นรปูรา่ง หรือมีหลกัฐานท่ีสามารถ

แสดงภาพได ้

ไมเ่ป็นเครือ่งพิสจูนก์รรมสิทธ์ิของทรพัยสิ์นเสมอไป

Page 37: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการขอใหบ้คุคลภายนอกซ่ึงทราบเรื่องเก่ียวกบั

หลกัฐานต่างๆ ใหก้ารยนืยนัเป็นลายลกัษณอ์กัษรมายงั

ผ ูต้รวจสอบภายในโดยตรง เช่น การยืนยนัยอดเงินฝาก

ธนาคาร ลกูหน้ีและเจา้หน้ี สินคา้และสินทรพัยท่ี์อย ูใ่น

ความครอบครองของบคุคลภายนอก

ขอ้จ ากดั

อาจไม่ไดร้บัความรว่มมือจากกล ุม่เป้าหมายท่ีเป็น

บคุคลภายนอก

Page 38: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการตรวจสอบความถกูตอ้งของเอกสาร

หลกัฐานท่ีประกอบการบนัทึกบญัชี เพ่ือพิสจูนว่์า

เป็นเอกสารจรงิ มีการบนัทึกรายการโดยถกูตอ้ง

ครบถว้น และมีการอนมุติัรายการตามระเบียบ

ขอ้จ ำกดั

เอกสารอาจมีการปลอมแปลง แกไ้ข หรอืจดัท าใหม่

เอกสารใบส าคญัไมไ่ดแ้สดงภาพท่ีมีอย ูจ่ริง

Page 39: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการพิสจูนค์วามถกูตอ้งของตวัเลข ซ่ึงถือ

เป็นหลกัฐานท่ีเช่ือถือไดม้ากท่ีสดุ เช่น การบวกเลขใน

สมดุบญัชีและรายงาน การค านวณยอดคงเหลือใน

บญัชีแยกประเภท

ขอ้จ ากดั

พิสจูนไ์ดเ้พียงความถกูตอ้งของผลลพัธ ์ แต่ไม่ได้

พิสจูนแ์หลง่ท่ีมา

Page 40: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการตรวจสอบความถกูตอ้งและครบถว้น

ของการผา่นรายการจากสมดุบนัทึกรายการขัน้ตน้ไป

ยงัสมดุบนัทึกรายการขัน้ปลาย

ขอ้จ ากดั

ไม่ไดพิ้สจูนค์วามสมบรูณข์องรายการท่ีปรากฎ

Page 41: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการตรวจสอบว่า ยอดคงเหลือและ

รายการในบญัชียอ่ยและทะเบียน มีความสมัพนัธ์

กบับญัชีคมุหรอืไม่

ขอ้จ ากดั

ไม่ไดพิ้สจูนค์วามถกูตอ้งครบถว้นของ

รายการท่ีปรากฎ

Page 42: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ขอ้จ ากดั

รายการผิดปกติท่ีพบมิใช่หลกัฐานแต่เป็น

เครือ่งช้ีใหท้ราบถึงความจ าเป็นว่าจะตอ้งหา

หลกัฐานดว้ยเทคนิคอ่ืน

เป็นการตรวจสอบรายการในสมดุบญัชีหรอื

แหลง่ขอ้มลูอ่ืนๆ ว่า มีรายการผิดปกติหรอืไม่

Page 43: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการตรวจสอบความสมัพนัธข์องรายการ

ท่ีเกี่ยวขอ้งสมัพนัธก์นั

ขอ้จ ากดั

ไม่ไดพิ้สจูนค์วามถกูตอ้งครบถว้นของ

รายการท่ีปรากฎ

Page 44: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการศึกษาและเปรยีบเทียบความสมัพนัธ์

และความเปลี่ยนแปลงของขอ้มลูต่างๆ ว่าเป็นไป

ตามท่ีสมควรหรอืไม่ เช่น

- เปรยีบเทียบขอ้มลูของงวดปัจจบุนักบัปีกอ่น

- เปรยีบเทียบขอ้มลูของงวดปัจจบุนักบั

ประมาณการ

Page 45: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการสอบถามผ ูท่ี้เกี่ยวขอ้ง เพ่ือใหไ้ด้

ขอ้เท็จจรงิต่างๆ ซ่ึงท าไดท้ัง้เป็นลายลกัษณอ์กัษร

หรอืดว้ยวาจา

ขอ้จ ากดั

เป็นเพียงหลกัฐานประกอบเท่านัน้ จะตอ้งมี

การพิสจูนด์ว้ยเทคนิคอ่ืนๆ ต่อไป

Page 46: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ผ ูใ้หข้อ้มลู ผ ูร้บัผิดชอบโดยตรง

ในเรือ่งท่ีสอบถาม

ผ ูส้อบถาม

ระดบัของผ ูใ้หข้อ้มลู

ความซบัซอ้นของเรือ่งท่ีสอบถาม

ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในหน่วยงานท่ีสอบถาม

ประมาณการเวลา จ านวนค าถามและค าตอบ

ท่ีคาดว่าจะไดร้บั

Page 47: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

นดัหมายเวลาและแจง้รายละเอียดของประเด็นท่ีจะ

สอบถามใหก้บัผ ูใ้หข้อ้มลูลว่งหนา้

แจง้ผ ูใ้หข้อ้มลูทราบวตัถปุระสงคข์องการสอบถาม

สอบถามตามประเด็นหวัขอ้การสอบถามท่ีเตรยีมไว ้

บนัทึกขอ้มลูท่ีไดจ้ากการสอบถาม

สอบยนัขอ้มลูท่ีบนัทึกกบัผ ูใ้หข้อ้มลู

Page 48: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ค าถามแบบเปิด

• เพ่ือใหไ้ดร้บัการอธิบาย

รายละเอียดของเรื่อง

ท่ีตอ้งการทราบ

• สอบถามความเห็นหรือ

แนวคิดต่างๆ จาก

ผ ูท่ี้เก่ียวขอ้ง

Page 49: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ค าถามแบบปิด

•สอบถามขอ้มลูท่ีเฉพาะ

เจาะจงลงไป

•ลดจ านวนค าถามใหอ้ย ู ่

ในวงแคบเพ่ือใหไ้ดค้ าตอบ

ท่ีตรงประเด็น ขอบเขตของ

ขอ้มลูท่ีคาดว่า

จะไดร้บัมีจ ากดั

Page 50: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

การบนัทึกขอ้มลูท่ีไดจ้ากการสมัภาษณ ์

ใคร

ท าหนา้ท่ีอะไร

สอบถาม ณ เวลาสถานท่ีใด

ขอ้มลูอะไรท่ีไดร้บัจากการสอบถาม

Page 51: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

แบบสอบถาม คือ เครือ่งมือท่ีใชใ้นการเก็บ

รวบรวมขอ้มลูท่ีตอ้งการทราบ ซ่ึงอาจจะเป็น

ขอ้เท็จจรงิ (fact)

ความคิดเห็น (opinion)

ความร ู ้ (knowleage)

ขอ้มลูท่ีไดเ้ป็นขอ้มลูปฐมภมิู (primary data)

การสรา้งแบบสอบถาม

Page 52: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ ตามวิธีการเก็บขอ้มลู

1. แบบสอบถามชนิดสง่ทางไปรษณีย ์เป็น one

way communication จากผ ูถ้ามไปยงัผ ูต้อบ

2. แบบสอบถามชนิดมีผ ูส้มัภาษณ ์

แบบสอบถาม

Page 53: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการสงัเกตใหเ้ห็นดว้ยตา เพ่ือใหท้ราบ

ขอ้เท็จจรงิท่ีเป็นอย ู ่ โดยใชค้วามระมดัระวงัใน

การบนัทึกสิ่งต่างๆท่ีเห็นไว ้

ขอ้จ ากดั

ขอ้เท็จจรงิเฉพาะในช่วงท่ีสงัเกตเท่านัน้

ซ่ึงอาจจะไมใ่ช่ขอ้เท็จจรงิทัง้หมด

Page 54: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เป็นการเขียนแผนภาพแสดงล าดบัเหตกุารณ์

ของขัน้ตอนการปฏิบติังานต่างๆ ตัง้แต่เริม่ตน้จน

เสรจ็สิ้นขัน้ตอนของงาน มี 2 แบบ

- แบบแนวตัง้ (Vertical Form) - แบบแนวนอน (Horizontal Form)

Page 55: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ปฏิบติัการดว้ยมือ

บนัทึกขอ้มลู

การประมวลผล

แสดงผลลพัธ ์

ทางเลือก

แฟ้ม

จดุเช่ือม

เรยีงล าดบั

Page 56: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ชดุเอกสาร

ใบสลิปรวมยอด แผน่ดิสก ์

ทางเดินเอกสาร ค าอธิบาย

เอกสาร

Page 57: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
Page 58: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

จากบนลงลา่ง , ซา้ยไปขวา

รปูภาพ ตอ้งเช่ือมต่อดว้ยเสน้และลกูศร

สญัลกัษณข์องแผนผงัแสดงไวด้า้นบนสดุ

การตดัสินใจมีทางเลือกอยา่งนอ้ย 2 ทาง

จดุเช่ือมระหว่างหนา้

จดุสิ้นสดุอย ูด่า้นลา่ง

Page 59: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
Page 60: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ตวัอยา่ง : วตัถปุระสงค ์- เทคนิคการตรวจสอบ

ความมีอย ูจ่รงิ

ของทรพัยส์ิน

การตรวจนบั

การยนืยนั

การตรวจสอบ

เอกสาร

ความถกูตอ้ง

ครบถว้นของรายการ

การตรวจสอบ

เอกสาร

การตรวจสอบการ

ผา่นรายการ

ความถกูตอ้งของ

ตวัเลข

การค านวณ

การตรวจสอบ

เอกสาร

การยนืยนั

การปฏิบติัตาม

ขอ้ก าหนด

การสงัเกตการณ ์

การตรวจสอบ

เอกสาร

การสอบถาม

Page 61: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ตวัอยา่งวิธีการตรวจสอบ

ความมีอย ูจ่รงิ

ของทรพัยส์ิน

การตรวจนับ

การยืนยนั

การตรวจสอบเอกสาร

วตัถปุระสงคก์ารตรวจสอบ : เพ่ือพิสจูนค์วามมีอย ูจ่รงิของลกูหน้ี

วิธีการตรวจสอบ :

1.สง่หนงัสือยืนยนัยอด

2.ตรวจสอบการรบัช าระหนี ้ภายหลงัวนัที่ในงบการเงนิ

3.ตรวจสอบหลกัฐานการเป็นหนี ้เชน่ ใบแจง้หนี้

วตัถปุระสงคก์ารตรวจสอบ : พิสจูนค์วามมีอย ูจ่รงิของสินคา้คงเหลือ

วิธีการตรวจสอบ :

1.ตรวจนบัสินคา้

2.ตรวจสอบหลกัฐานการซ้ือ

Page 62: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

วตัถปุระสงคก์ารตรวจสอบ : ความครบถว้นของการบนัทึกรายการขาย

วิธีการตรวจสอบ : (Tracing)

1.ตรวจสอบใบสง่ของ

2.ตรวจสอบการผา่นรายการจากใบสง่ของมาบันทึกขาย

วตัถปุระสงคก์ารตรวจสอบ : พิสจูนค์วามถกูตอ้งของการบนัทึกเจา้หน้ี

วิธีการตรวจสอบ : (Vouching)

1.ตรวจสอบรายการบันทึกเจา้หนี ้

2.ตรวจสอบหลกัฐานใบแจง้หนี ้/ หลกัฐานการรบัสินคา้/บริการ

ความถกูตอ้ง

ครบถว้น

การตรวจสอบ

การผา่นรายการ

การตรวจสอบ

เอกสาร

ตวัอยา่งวิธีการตรวจสอบ

Page 63: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

-

- การด าเนินงานลา่ชา้กว่าแผน

- การปฏิบติังานไม่เป็นไปตามขอ้ก าหนด

- ขอ้มลูทางการเงินไม่ถกูตอ้ง / ไม่ครบถว้น / ไม่เป็นปัจจบุนั

- ไม่ไดผ้ลผลิต/ผลงานเป็นไปตามเป้าหมาย

- ผลผลิต / ผลงานไม่ไดใ้ชป้ระโยชน ์

- มีความซ ้าซอ้นในการด าเนินงาน

- เป็นประเด็นท่ีจะมีผลกระทบท่ีเป็นตวัแปรส าคญัต่อความส าเรจ็หรอื

ลม้เหลวของกิจกรรม

- มีดชันีช้ีวดัผลส าเรจ็ของกิจกรรมท่ีชดัเจนและประเมินผลได ้

- สามารถเสนอแนวทางแกไ้ขท่ีเป็นรปูธรรมและปฏิบติัได ้

ขอ้ควร

ค านึงถึง

ตวัอยา่งประเด็นการตรวจสอบ

Page 64: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

63

โครงการจดัซ้ือถงัไฟเบอรก์ลาส บรรจนุ ้า 2,000 ลิตร

วตัถปุระสงคข์องโครงการ

1. เพ่ือเก็บกกัน ้าฝนและน ้าจากธรรมชาติไวใ้ชใ้นช่วงฤดแูลง้

2. เพ่ือเก็บกกัน ้าไวใ้ชใ้นการป้องกนัไฟป่า

3. เพ่ือปรบัปรงุคณุภาพ มาตรฐาน และเพ่ิมปรมิาณผลผลิต

ตวัช้ีวดัความส าเรจ็ของโครงการ

1. รอ้ยละของเกษตรผ ูเ้ขา้รว่มโครงการสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพดา้นการผลิต

ผลไม ้ไมน่อ้ยกว่ารอ้ยละ 60

2. รอ้ยละ 60 ของเกษตรกรสามารถเพ่ิมศกัยภาพการผลิตท่ีใหผ้ลตอบแทน

เพ่ิมข้ึนไมน่อ้ยกว่า รอ้ยละ 10

ขอ้มลูเบ้ืองตน้ของกิจกรรมท่ีจะตรวจสอบ

Page 65: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

64

ระยะเวลาด าเนินโครงการ

1 ปี พ.ศ.25xx

งบประมาณด าเนินโครงการ

1,640,000.- บาท

ผ ูร้บัผิดชอบโครงการ

ส านกังาน..........................................

ขอ้มลูเบ้ืองตน้ของกิจกรรมท่ีจะตรวจสอบ (ต่อ)

Page 66: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

65

ประเด็นการตรวจสอบ

1. การจดัท าแผนโครงการยงัไม่เหมาะสม

2. การด าเนินงานตามแผน.........มีความลา่ชา้

3. การใชป้ระโยชนย์งัไม่ค ุม้ค่าเท่าท่ีควร

4. การด าเนินงานไมบ่รรลเุป้าหมายโครงการ

ประเด็นการตรวจสอบ

ก าหนดวตัถปุระสงคแ์ละขอบเขตการตรวจสอบใหส้อดคลอ้ง

กบัประเด็นการตรวจสอบ

Page 67: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

66

แนวทางการปฏิบติังานตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

1. ศึกษาขอ้มลูเบ้ืองตน้ของโครงการ จากเอกสารและรายงาน

ท่ีเกี่ยวขอ้งกบัโครงการ

2. ตรวจสอบเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้งกบัการบรหิารจดัการโครงการ

3. สมัภาษณ ์

- ผ ูบ้รหิาร

- เจา้หนา้ท่ีผ ูร้บัผิดชอบโครงการ

- เจา้หนา้ท่ีหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวขอ้ง และประชาชนท่ีเกี่ยวขอ้ง

4. สงัเกตการณพ้ื์นท่ีด าเนินการว่าเป็นอยา่งไร

5. ประมวลผลและวิเคราะหข์อ้มลู

Page 68: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

67

สรปุขอ้ตรวจพบ

กิจกรรมท่ีตรวจสอบ

โครงการจดัซ้ือถงัไฟเบอรก์ลาส บรรจนุ ้า 2,000 ลิตร

ขอบเขตการตรวจสอบ

ประเด็นการตรวจสอบ

การใชป้ระโยชนไ์มเ่หมาะสม

หลกัเกณฑ/์ส่ิงท่ีควรจะเป็น

เกษตรท่ีเขา้รว่มโครงการสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพดา้นการผลิตผลไม ้

และไดร้บัผลตอบแทนเพ่ิมมากขึ้น

Page 69: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

68

สรปุขอ้ตรวจพบ

ขอ้เท็จจรงิท่ีตรวจพบ/ส่ิงท่ีเป็นอย ู ่

จากการส ุม่ตรวจสอบเกษตรกรท่ีไดร้บัถงัไฟเบอรก์ลาสไป จ านวน 52 ราย

พบว่าไมไ่ดน้ าไปใชใ้นสวนผลไมจ้ านวน 14 ราย สญูหายจากอทุกภยั

จ านวน 12 ราย สว่นท่ีเหลือน าไปใชเ้พ่ือพกัน ้า ท่ีสบูจากแหลง่น ้า

เช่น แมน่ ้า ล าคลองฯลฯแลว้ใชส้ายยาง ปลอ่ยน ้ารดในสวน

ผลกระทบ

- รฐัตอ้งสญูเสียงบประมาณและโอกาสท่ีจะน าเงินงบประมาณไปใชใ้นการด าเนินงาน

กิจกรรมอ่ืน

- ประชาชนไมไ่ดมี้คณุภาพชีวิตท่ีดี ไมมี่รายไดเ้พ่ิมข้ึน ขาดความเช่ือถือสว่นราชการ

Page 70: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

69

สรปุขอ้ตรวจพบ ต่อ

สาเหต ุ

1. ถงัมีขนาดเล็ก น ้าในถงัไมพ่อกบัการใชง้านเกษตรตอ้งสบูน ้า

ใสถ่งับ่อยครัง้วนัละ 2 – 3 ครัง้

2. เกษตรบางสว่นไมมี่แหลง่น ้าส ารองเพียงพอจึงไมไ่ดใ้ชป้ระโยชน ์

จากถงั

3. ผลผลิตท่ีได ้ไดแ้ก ่ลางสาด ล าไย ราคาตกต ่า เกษตรจึง

ไมเ่อาใจใสเ่ท่าท่ีควร

Page 71: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

70

สรปุขอ้ตรวจพบ ต่อ

ขอ้เสนอแนะ

1. เจา้หนา้ท่ีผ ูร้บัผิดชอบโครงการควรมีการส ารวจความตอ้งการ

ท่ีแทจ้รงิหรอืปัญหาท่ีเกษตรประสบอย ูก่อ่นท่ีจะเริม่โครงการ

และควรมีการติดตามประเมินผลการด าเนินงานโครงการดว้ย

2. ควรมีวางแผนและประสานงานกบัหน่วยงานต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ง

เพ่ือจะไดห้าตลาดรองรบัผลผลิตท่ีเกษตรสามารถผลิตเพ่ิมได ้เป็นตน้

Page 72: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

71

รายงานผลการปฏิบติังานตรวจสอบ (ต่อ)

(บทสรปุส าหรบัผ ูบ้รหิาร เฉพาะสรปุขอ้ตรวจพบและขอ้เสนอแนะ)

ขอ้ตรวจพบท่ี 1

จากการส ุม่ตรวจสอบเกษตรกรท่ีไดร้บัถงัไฟเบอรก์ลาสไป จ านวน 52 ราย

พบว่าไมไ่ดน้ าไปใชใ้นสวนผลไมจ้ านวน 14 ราย สญูหายจากอทุกภยั

จ านวน 12 ราย สว่นท่ีเหลือน าไปใชเ้พ่ือพกัน ้า ท่ีสบูจากแหลง่น ้า

เช่น แมน่ ้า ล าคลองฯลฯแลว้ใชส้ายยาง ปลอ่ยน ้ารดในสวน สาเหตเุกิดจาก

ไมไ่ดส้ ารวจถึงสภาพปัญหาท่ีแทจ้รงิ หรอืความตอ้งการของประชาชนรวมทัง้

ไมไ่ดติ้ดตามประเมินผลการด าเนินงานเป็นระยะดว้ย

Page 73: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

72

รายงานผลการปฏิบติังานตรวจสอบ (ต่อ)

(บทสรปุส าหรบัผ ูบ้รหิาร เฉพาะสรปุขอ้ตรวจพบและขอ้เสนอแนะ)

ขอ้เสนอแนะ

1. เจา้หนา้ท่ีผ ูร้บัผิดชอบโครงการควรมีการส ารวจความตอ้งการ

ท่ีแทจ้รงิหรอืปัญหาท่ีเกษตรประสบอย ูก่อ่นท่ีจะเริม่โครงการ

และควรมีการติดตามประเมินผลการด าเนินงานโครงการดว้ย

2. ควรมีวางแผนและประสานงานกบัหน่วยงานต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ง

เพ่ือจะไดห้าตลาดรองรบัผลผลิตท่ีเกษตรสามารถผลิตเพ่ิมได ้เป็นตน้

Page 74: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ขอ้เท็จจรงิต่างๆ ท่ีผ ูต้รวจสอบภายในรวบรวมข้ึนจาก

การปฏิบติังาน เพ่ือใชพิ้สจูนห์รอืยืนยนัขอ้มลูต่างๆ จน

สามารถสรปุผลการตรวจสอบและขอ้เสนอแนะในรายงาน

ผลการตรวจสอบได ้

สิ่งท่ีอย ูใ่นลกัษณะของขอ้เท็จจรงิ เป็น ขอ้มลู เอกสาร

จากแหลง่ขอ้มลูภายในและภายนอกองคก์ร เช่น ระเบียบ

ค าสัง่ รายงาน การประชมุ ฯลฯ หรอืลกัษณะอ่ืน เช่น ผล

การสมัภาษณ ์ รายงาน การสงัเกตการณ ์ฯลฯ

Page 75: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เอกสารการบนัทึกท่ีรวบรวมขอ้มลูหรอื

ขอ้เท็จจริง เพ่ือเป็นหลกัฐานการตรวจสอบท่ี

จดัท าข้ึนหรอืไดร้บัมาในช่วงท่ีปฏิบติัภารกิจ

การตรวจสอบ

กระดาษท าการ (Working Papers)

Page 76: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

วตัถปุระสงค ์

1. บนัทึกขอ้มลู/หลกัฐานท่ีผ ูต้รวจสอบท าไปแลว้หรือ

ท่ีเลือกมาตรวจสอบ

2. ช่วยในการควบคมุและสอบทานงาน

3. เป็นแหลง่ขอ้มลูสนบัสนนุการท ารายงาน

4. เป็นหลกัฐานอา้งอิงต่อหน่วยงานท่ีไดร้บัการตรวจ

และฝ่ายบริหารในกรณีท่ีมีขอ้สงสยั

Page 77: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ช่วยในการปฏิบติังานและควบคมุงานตรวจสอบ

เป็นแนวทางในการตรวจสอบครัง้ต่อไป

ใชว้ดั/ประเมินความสามารถหรอืผลการปฏิบติังาน

ช่วยในการฝึกอบรม (On the job training)

Page 78: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ประเภทของกระดาษท าการ

• ผ ูต้รวจสอบภายในจดัท าข้ึนเอง

• หน่วยรบัตรวจจดัท า

• ผ ูต้รวจสอบภายในไดร้บัจากบคุคลภายนอก

Page 79: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ช่ือหน่วยรบัตรวจ

เรือ่งหรอืประเด็นการตรวจสอบ

รอบระยะเวลาท่ีตรวจสอบ

รหสัหรอืดชันีอา้งอิง

ช่ือผ ูจ้ดัท า และผ ูส้อบทาน วนัเดือนปีท่ีจดัท า และสอบทาน

วตัถปุระสงคก์ารตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

รายละเอียดของเรือ่ง/หลกัฐาน/ขอ้มลูท่ีตรวจสอบ

สรปุผลการตรวจสอบ

Page 80: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

กระดาษท าการท่ีจะใชต้อ้งมีความสอดคลอ้งกบั

แผนการปฏิบติังานตรวจสอบ โดยผ ูต้รวจสอบ

อาจจะด าเนินการ ดงัน้ี

ใชร้ปูแบบกระดาษท าการในปีท่ีแลว้

ปรบัปรงุรปูแบบปีกอ่นใหส้อดคลอ้งกบังานท่ี

ตรวจสอบปัจจบุนั

ใชร้ายละเอียดท่ีหน่วยรบัตรวจจดัท า

ก าหนดรปูแบบใหมท่ัง้หมด

Page 81: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

1. แฟ้มปัจจบุนั (Current File)

รวบรวมกระดาษท าการท่ีเกี่ยวกบัการตรวจสอบในรอบระยะเวลา

หนึง่ๆ หรือรอบปีบญัช ี เชน่ กระดาษท าการตรวจสอบเงนิสด และ

เงนิฝากธนาคาร แบบสอบถามการควบคมุภายใน เป็นตน้

2. แฟ้มถาวร (Permanent File)

รวบรวมกระดาษท าการที่เป็นประโยชนต์อ่การตรวจสอบในระยะยาว

เชน่ โครงสรา้งองคก์ร อ านาจหนา้ท่ีความรบัผดิชอบของหนว่ยงาน

นโยบายบริหารงาน นโยบายบญัชแีละระบบบญัช ี เป็นตน้

Page 82: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ถือเป็นสมบติัและความลบัของหน่วยตรวจสอบภายใน

เปิดเผยต่อหน่วยรบัตรวจเฉพาะสว่นท่ีเกี่ยวขอ้งใน

รายงาน

จดัเก็บตามเวลาท่ีกฎหมายหรอืระเบียบของหน่วยงาน

จดัเก็บเฉพาะท่ีส าคญัท่ีอา้งอิงถึงในรายงาน

Page 83: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ส่ิงท่ีควรพิจารณา

ใหต้รงกบัประเภทของแฟ้มกระดาษท าการ

โดยเรยีงล าดบัตามรหสัดชันีกระดาษท าการ

การเก็บรกัษาแฟ้มกระดาษท าการ

o ก าหนดวิธีการเก็บรกัษาแฟ้มกระดาษท าการอยา่งเหมาะสม

o จดัสถานท่ีเก็บรกัษากระดาษท าการใหป้ลอดภยั

o ระบรุะยะเวลาในการเก็บ โดยทัว่ไปมีอาย ุ5 ปี จนถึง 10 ปี ส าหรบั

แฟ้มปัจจบุนั

ส าหรบัแฟ้มถาวร เก็บตลอดไปส าหรบัหน่วยรบัตรวจท่ียงัคงอย ูใ่น

ความรบัผิดชอบในปฏิบติังานตรวจสอบ

Page 84: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เพ่ือแสดงใหท้ราบว่า ผ ูต้รวจสอบใชวิ้ธีการ

หรอืเทคนิคใดในการตรวจสอบ โดยอาจจะใช้

เครือ่งหมายทางคณิตศาสตร ์ ตวัอกัษร

หมายเลข หรอืเครือ่งหมายถกูผิด รวมถึงการใช้

ดินสอสี

Page 85: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ตวัอยา่ง

สญัลกัษณห์รอืเครือ่งหมายในการตรวจสอบ

หมายถึง ตรวจกบัยอดบญัชี หมายถึง ตรวจทานอีกครัง้ ヘ หมายถึง บวกเลขตามแนวตัง้

หมายถึง บวกเลขจากซา้ยไปขวา Δ หมายถึง สงัเกตการปฏิบติังานจรงิ Ø หมายถึง เปรยีบเทียบการยืนยนัหรอืการตรวจนบั A หมายถึง เปรยีบเทียบกระดาษท าการปีกอ่น Z หมายถึง ทดสอบการค านวณแลว้

Page 86: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เพ่ือใหส้ามารถคน้หา อา้งอิง และจดัเก็บได้

อยา่งเป็นระเบียบ ซ่ึงอาจท าได ้ ดงัน้ี

1. ใชต้วัเลข/ตวัอกัษร ต่อเน่ืองตามล าดบั

2. ใชต้วัเลขขยาย หรอืตวัอกัษรรว่มกบัตวัเลข

ส าหรบักระดาษท าการประกอบ (ยอ่ย)

Page 87: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ตวัอยา่งเช่น

ก าหนดรหสัหรอืดชันีเรียงตามรายการในงบการเงิน

ไดแ้ก ่

- บญัชีเงินสดในมือ ใหร้หสั 1

- บญัชีเงินฝากธนาคารในงบประมาณ ใหร้หสั 2

- บญัชีเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ ใหร้หสั 3

- บญัชีเงินฝากคลงั ใหร้หสั 4

ฯลฯ

Page 88: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

หรอืใชต้วัเลขส าหรบักระดาษท าการหลกั

สว่นกระดาษท าการประกอบใชต้วัเลขขยาย

เช่น

กระดาษท าการหลกั : กระดาษท าการตรวจสอบบญัชีเงินสด ใหร้หสั 1

กระดาษท าการประกอบ : ใบตรวจนบัเงินสด ให้รหสั 1-1

Page 89: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

ขอ้มลูในกระดาษท าการ ควรมีการสรปุผลการตรวจสอบ

1. การสรปุผลแตล่ะสว่นงาน

2. การสรปุแบบสถิต ิการสรปุผลจากการทดสอบรายการ

3. การสรปุผลการประชมุ การแลกเปลี่ยนขอ้คิดเห็นกบั

ผูร้บัผดิชอบในหนว่ยงาน

4. การสรปุตามแนวทางการตรวจสอบ

5. การสรปุขอ้บกพร่องของขอ้เท็จจริงในระบบงานหนึง่ๆ จะเป็น

พื้นฐานในการเสนอแนะ

Page 90: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

งบทดลอง ส ำหรับปีสิน้สุดวันที่ 30 กันยำยน พ.ศ. .............

รหสับัญชี

รำยกำรบัญชี

ยอดคงเหลือ ก่อนปรับปรุง

รำยกำรปรับปรุงและจัดประเภทบัญชี โดยผู้ตรวจสอบ

ยอดคงเหลือ หลังปรับปรุง

หมำยเหตุ

เดบิต

เครดิต W/P Ref.

เดบิต W/P Ref.

เครดิต

เดบิต

เครดิต

หน่วยรบัตรวจ ............................. กระดาษท าการงบทดลอง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.

...........................

G ตรวจสอบกบับญัชแียกประเภททัว่ไป / ทดสอบการค านวณ จากการตรวจพบวา่ มรีายการปรบัปรุง จ านวน ........

รายการ ได้แก ่1. ..............................................จ านวน xxx บาท 2. ..............................................จ านวน xxx บาท

สรุปผลการตรวจสอบ ..........................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

ผู้จดัท า ............................................ ผู้สอบทาน............................................

วนัที.่................................................. วนัที่.......................................................

รหสัดชันี.......... 1

2

3

Page 91: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
Page 92: ส านักตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม · กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

[INTERNAL AUDIT] ปรึกษาได้ เข้าใจงาน