36
คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เรื่อง คูมือซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน สวนบริหารจัดการน้ําและบํารุงรักษา สํานักงานชลประทานที่ 5 กรมชลประทาน กรกฎาคม 2561

คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คูมือการปฏบัิติงาน (Work Manual)

เรื่อง คูมือซอมแซมและบํารงุรักษาอาคารชลประทาน

สวนบริหารจัดการน้ําและบํารุงรักษา สํานักงานชลประทานที่ 5 กรมชลประทาน กรกฎาคม 2561

Page 2: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง คูมือซอมแซมและบํารงุรักษาอาคารชลประทาน

รหัสคูมือ สชป.5/WM๒๕/2561

หนวยงานที่จัดทํา

ฝายปรับปรุงบํารงุรักษา สวนบริหารจัดการน้ําและบํารุงรักษา

สํานักงานชลประทานท่ี 5

ที่ปรึกษา

นายชาญวิทย กัณหะยุวะ รอง ผส.ชป.5 รักษาการในตําแหนง ผจบ.ชป.5

พิมพครั้งที่ ..๑........

จํานวน ...๑...... เลม

เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2561

หมวดหมู บริหารจัดการน้ําและบํารุงรักษา

Page 3: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง คูมอืซอมแซมและบํารงุรักษาอาคารชลประทาน

ไดผานการตรวจสอบ กลัน่กรองจากคณะทํางานตรวจสอบกลัน่กรองคูมือการปฏบิตัิงาน ของสํานักงานชลประทานท่ี 5 เรยีบรอยแลว จึงถือเปนคูมือฉบับสมบูรณ

สามารถใชเปนเอกสารเผยแพรและใชเปนแนวทางในการปฏบิัติงาน

ลงชื่อ....................................................

(นายชาญวทิย กณัหะยุวะ) ตําแหนง ประธานคณะทาํงาน ฯ

ลงชื่อ.................................................... (นายชยัณรงค สงิหยะบุศย)

ตําแหนง กรรมการคณะทํางานฯ

ลงชื่อ.................................................... (นายวชัระ บตุรคํา)

ตําแหนง กรรมการคณะทํางานฯ

Page 4: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง คูมอืซอมแซมและบํารงุรักษาอาคารชลประทาน

จัดทําโดย

ชื่อ-สกุล นายสุวภัทร โกษาแสง ตําแหนง หัวหนาฝายปรับปรุงบํารงุรักษา สังกัด สวนบรหิารจัดการน้ําและบํารุงรักษา

ชื่อ-สกุล นางสาวศศิมา กุลสุวรรณ ตําแหนง วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ สงักัด สวนบรหิารจัดการน้ําและบาํรุงรกัษา

ชื่อ-สกุล นางสาวฐิติพร ม่ังสุข ตําแหนง นักอุทกวิทยา สังกัด สวนบรหิารจัดการน้ําและบํารุงรักษา

สามารถตดิตอสอบถามรายละเอียด/ขอมูลเพิ่มเติมไดที ่ที่อยู สํานักงานชลประทานที่ 5 327 หมู 1 ต.หมูมน อ.เมือง จ.อุดรธานี

เบอรโทรศัพท 0 4212 1139 ตอ 114

Page 5: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คํานํา

ตามแผนจัดการความรูสํานักงานชลประทานที่ 5 ในปงบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคูมือปฏิบัติงาน ( Work Manual) ในระดับฝาย ของสํานักงานชลประทานที่ 5 ในปงบประมาณ 2561 มีแผนงานที่ตองการดําเนินการจัดทํา 81 คูมือแยกตามผูรับผิดชอบระดับหัวหนาฝายในสังกัด สวน/โครงการ/ศูนย

ฝายปรับปรุงบํารุงรักษา สวนบริหารจัดการนํ้าและบํารุงรักษา สํานักงานชลประทานที่ 5 ไดจัดทําคูมือการปฏิบัติงาน เรื่อง คูมือซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใชเปนแนวทางในการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน และเพ่ือใหอาคารชลประทานตางๆ มีสถานภาพที่พรอมใชงานไดตลอดเวลา จึงตองมีการดูแล ซอมแซม บํารุงรักษาตามรอบเวลา ดวยความถูกตองตามหลักวิชาการและ ประเภทของอาคารชลประทาน

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา คูมือเลมน้ีจะเปนประโยชน และเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของผูใชตอไป

ฝายปรับปรุงบํารุงรักษา สวนบริหารจัดการนํ้าและบํารุงรักษา สํานักงานชลประทานที่ 5

กรมชลประทาน

Page 6: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

สารบญั หนา วัตถุประสงค ๑

ขอบเขต ๑

คําจํากัดความ ๑

หนาที่ความรับผิดชอบ ๑

Work Flow 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6

ระบบติดตามประเมินผล 8

เอกสารอางอิง 9

แบบฟอรมที่ใช 9

ภาคผนวก ๑๐

1) การเดินสํารวจระบบชลประทาน 13

2) การดูแลบํารุงรักษาอาคารชลประทานและระบบชลประทาน 17

Page 7: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

1. วัตถุประสงค 1. เพ่ือใชเปนแนวทางในการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน 2. เพ่ือใหอาคารชลประทานตางๆ มีสถานภาพที่พรอมใชงานไดตลอดเวลา จึงตองมีการดูแล ซอมแซม

บํารุงรักษาตามรอบเวลา ดวยความถูกตองตามหลักวิชาการและ ประเภทของอาคารชลประทาน

2. ขอบเขต คูมือการปฏิบัติงานซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน เปนคูมือที่ใชเปนแนวทางในการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน เพ่ือที่จะรักษาและปองกันเขื่อน อางเก็บนํ้า หรือ ฝาย รวมทั้งอาคารประกอบตาง ๆ ใหมีสภาพมั่นคงแข็งแรงและสามารถใชงานไดดีอยูตลอดไป นอกจากน้ัน การตรวจสอบสภาพเขื่อนหรืออางเก็บนํ้าหรือฝาย อยางสม่ําเสมอ เมื่อมีบริเวณใดเริ่มชํารุดเสียหายก็จะทราบไดทันที และจัดการซอมแซมไดทันเวลา

3. คําจํากัดความ การบํารุงรักษา หมายถึง การซอมแซมหรือตกแตงสวนของอาคารหรือสิ่งกอสรางที่ชํารุดเสียหายใหมีสภาพดีดังเดิม และรวมไปถึงการปรับปรุงในลักษณะตางๆ เปนตนวา การปรับปรุงตามรูปแบบเดิมเพ่ือเติมและแกไขอาคารเพียงบางสวนหรือทั้งหมด เพ่ือใหอาคารหรือสิ่งกอสรางน้ันใชงานไดผลตามจุดมุงหมายและมีความปลอดภัย

งานบํารุงรักษา เปนงานที่มีความสําคัญเทาเทียมกับงานวางโครงการ สํารวจออกแบบและกอสราง ผูปฏิบัติงานดานน้ีจะตองหมั่นตรวจสอบสภาพอาคารและสิ่งกอสรางอยางสม่ําเสมอ มีความเขาใจถึงการวิเคราะหปญหาเพ่ือคนหาสาเหตุของการชํารุดเสียหาย และจะตองมีความสามารถในการวางแผนและกําหนดวิธีการซอมแซมหรือปรับปรุงใหเหมาะสมกับหลักวิชาการไดเปนอยางดีอีกดวย การบํารุงรักษาเขื่อน ฝาย และอาคารประกอบสวนใหญจะเปนการซอมแซม และการปรับปรุงในลักษณะตางๆดังกลาวไว เพ่ือใหตัวเขื่อน ฝาย และอาคารทั้งหมดมีสภาพมั่นคงแข็งแรง มีความปลอดภัยและสามารถใชไดดีอยูเสมอ

4. หนาที่ความรับผิดชอบ 4.1 เจาหนาที่ผูรับผิดชอบระดับคูคลอง หรือพ้ืนที่สงนํ้า ทําการตรวจสอบอาคารชลประทานในเขตที่รับผิดชอบ โดยการเดินสํารวจ และจดบันทึกในแบบฟอรม และถายรูปรายงานตอโครงการชลประทาน หรือโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา 4.2 วิศวกรชลประทาน/นายชางชลประทาน/หัวหนาฝายสงนํ้าและบํารุงรักษา ตรวจสอบความเสียหายดวยสายตา และประเมินความเสียหายของอาคารชลประทานที่ไดรับรายงานจากเจาหนาที่ผูรับผิดชอบระดับคูคลอง เพ่ือสรุปรายงานตอผูบริหารใหรับทราบ 4.3 ผอ.โครงการ/จน.โครงการ ประเมินความเสียหายเพ่ือจัดทํางบประมาณสําหรับการซอมแซม และบํารุงรักษาเสนอตอสํานักงานชลประทาน เพ่ือเสนอกรมอนุมัติงบประมาณสําหรับดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษาตอไป

คูมือการปฏิบัติงาน คูมือซอมแซมและบํารุงรกัษาอาคารชลประทาน

Page 8: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

สรุปกระบวนการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน

กระบวนการ ซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน ประกอบดวยขั้นตอนสําคัญ ดังน้ี

1. สํารวจความพรอมใชงานของอาคารชลประทาน ประเภทตางๆ เชน การตรวจสอบและบํารุงรักษาเขื่อน การตรวจสอบและบํารุงรักษาฝาย การบํารุงรักษาคูนํ้า การบํารุงรักษาสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาการบํารุงรักษาคลองสงนํ้าประเภท คลองดิน คลองดาดคอนกรีต และอ่ืนๆ

2. ประเมินคาใชจายในการซอมแซมบํารุงรักษา ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทของอาคารชลประทาน และ

ลักษณะความเสียหายของอาคารชลประทาน 3. ทําการซอมแซมบํารุงรักษา ตามลักษณะตางๆดังน้ี 3.1 การซอมแซม มี 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. การซอมแซมเล็กนอย 2. การซอมแซมประจําป 3. การซอมแซมฉกุเฉิน 3.2 การปรับปรุงแบงได 2 ลักษณะ ดังน้ี 1. การปรับปรุงตามรูปแบบเดิม 2. การปรับปรุงดวยกอสรางเพ่ิมเติมและแกไข

Page 9: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

Work Flow กระบวนการซอมแซมและบาํรุงรกัษาอาคารชลประทาน

ลําดับที ่ ผังกระบวนการ เวลา 1. 14 วัน 2. 7 วัน 3. 7 วัน 4. 150 วัน 5. 90 วัน

รวมเวลาทั้งหมด 268 วัน

หมายเหตุ ระบุคําอธิบายเพ่ิมเติม หรือ เงื่อนไขท่ีสําคัญในการดําเนินงาน (ความหมายสัญลักษณไมตองแสดงในคูมือ) จุดเริ่มตนและสิ้นสุดของกระบวนการ กิจกรรมและการปฏิบัติงาน

การตัดสินใจ เชน การตรวจสอบ การอนุมัติ แสดงถึงทิศทาง หรือการเคลื่อนไหวของงาน

จุดเชื่อมตอระหวางขั้นตอน เชน กรณีการเขียนกระบวนการไมสามารถจบไดภายใน 1 หนา)

ดําเนินการตรวจสอบความพรอมใชงานของอาคาร

ชลประทาน

สรุปจัดทําแผนการซอมแซม และบํารุงรักษา

จัดลําดับความสําคัญ ตามความเรงดวน

ขอสนับสนุนงบประมาณ ในการซอมแซม

YES

NO

ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษา

Page 10: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

5. Work Flow

ชื่อกระบวนการ : ซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน ตัวชี้วัดผลลพัธกระบวนการจัดทาํคูมือการปฏบิตังิาน: การซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน

ลําดบั ผังกระบวนการ ระยะเวลา

รายละเอียดงาน มาตรฐานคณุภาพงาน ผูรบัผดิชอบ

1.

2.

3.

14 วัน

7 วัน

7 วัน

สํ ารวจความพรอมใช งานของอาคารชลประทาน ประเภทตางๆ เชน การตรวจสอบและบํารุงรักษาเขื่อน การตรวจสอบและบํารุงรักษาฝาย การบํารุงรักษาคูนํ้า การบํารุงรักษาสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาการบํารุงรักษาคลองสงนํ้ าประ เภท คลอง ดิน คลองดาดคอนกรีต และอ่ืนๆ สรุปรายงาน พรอมภาพถาย และจัดทําแผน และประเมินงบประมาณสําหรับการการซอมแซมบํารุงรักษา จัดลําดับความสําคัญของแผนงาน ตามความเรงดวนของงาน เพ่ือไมใหเกิดความเสียหายตอการบริหารจัดการนํ้าในพ้ืนที่โครงการ

อาคารชลประทานอยูในสภาพพรอมใชงาน ผูปฏิบัติมคีวามรูและความชํานาญในการประเมินงบประมาณสําหรับการซอมแซมบํารุงรักษา จัดลําดับความสําคัญของประเภทการซอมแซม 1. การซอมแซมเล็กนอย 2. การซอมแซมประจําป 3. การซอมแซมฉุกเฉิน

เจาหนาที่ในพ้ืนที่ / สบ.

สบ.

จน./วศ

ดําเนินการตรวจสอบความพรอมใชงานของอาคาร

ชลประทาน

สรุปจัดทําแผนการซอมแซม และบํารุงรักษา

จัดลําดับความสําคัญ ตามความเรงดวน

YES

NO

Page 11: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ลําดบั ผังกระบวนการ ระยะเวลา

รายละเอียดงาน มาตรฐานคณุภาพงาน ผูรบัผดิชอบ

4.

5.

150 วัน

90 วัน

ตรวจสอบ และอนุมั ติหลักการประมาณการ เ พ่ือของบประมาณส นั บ ส นุ น ใ น ก า ร ซ อ ม แ ซ ม แ ล ะบํารุงรักษา ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทานใหถูกตองตามหลักวิชาการ ใหอาคารชลประทานสามารถกลับมาใชงานเต็มประสิทธิภาพตามเดิม

ผู ป ฏิ บั ติ มี ค ว ามรู แ ละความชํานาญในการประเมินงบประมาณสําหรับการซอมแซมบํารุงรักษา โดย Unit cost ที่ถูกตองตามหลักการ ปฏิบัติงานตามแผนงานซอมแซม ดวยระเบียบและวิธีการที่ถูกตองตามหลักวิชาการ

ผคป.,ผคบ.

วศ.,จน.,สบ.

ขอสนับสนุนงบประมาณ ในการซอมแซม

ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษา

Page 12: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏบิตัิงาน ระเบยีบ เอกสาร บันทกึ แนวทางแบบฟอรมที่ใช

ผูรบัผดิชอบ เงื่อนไขการปฏบิตัิงาน

1. ดําเนินการตรวจสอบความพรอมใชงานของอาคารชลประทาน 2. สรุปจัดทําแผนการซอมแซม และบํารุงรักษา 3. จัดลําดับความสําคัญ ตามความเรงดวน

1. การบันทึกขอมูลสํารวจ ซ่ึงการรวบรวมขอมูลทําไดหลายวิธี ไดแก การสังเกต การสอบถามจากเจาหนาท่ีและเกษตรกร สอบถามผูรู หรือผูใกลชิดเหตุการณ เปนตน 2. การสํ ารวจอาคาร พ้ืนฐาน (Essentials Structures) เชน คลอง อาคารบังคับน้ํา ตาง ๆ สะพาน ถนน คันคลอง 3. ตรวจสามารถวินิจฉัยสาเหตุท่ีทําให เกิดปญหาในระยะเ ร่ิมแรกจากปญหาเล็กนอย สามารถดําเนินการแกไขไดทันกอนท่ีความเสียหายเหลานั้นจะลุกลามใหญข้ึน ผูทําการตรวจสภาพจําเปนจะตองมีความรูและสามารถวินิจฉัยสาเหตุท่ีทําใหอาคารในระบบสงน้ําชํารุดเสียหายพรอมจดบันทึกใหชัดเจน 1. สรุปจัดทําแผนการซอมแซมบํารุงรักษา โดยระบุชื่ ออาคารชลประทาน รหัสผลผลิต /โครงการ/กิจกรรม ลักษณะงาน สถาน ท่ีดําเนินการ วงเงินงบประมาณ สถานะความพรอมโครงการ ผลประโยชนท่ีไดรับ เปนตน 1. ทบทวน ตรวจสอบ และจัดลําดับความสําคัญกอนหลัง ตามความจําเปนเรงดวนท่ีสงผลกระทบตอการสงน้ํา และการบริหารจัดการน้ําเปนหลัก หรือเปนโครงการท่ีตอบสนองนโยบาย

- หลักการสํารวจอาคารพ้ืนฐาน - แบบฟอรมการสํารวจระบบชลประทาน - แบบฟอรมรายละเอียดรายการ/โครงการท่ีเสนอขอรับก า ร ส นั บ ส นุ น ง บ ป ร ะ ม า ณรายจายประจําปงบประมาณ - หลักเกณฑการคํานวณราคากลางงานกอสรางชลประทาน กรมบัญชีกลาง - อัตราราคางานตอหนวย สํานัก

เจาหนาท่ีในพ้ืนท่ี / สบ.

สบ.

จน./วศ

ตรวจสอบสภาพคลองส งน้ํ า อาคารชลประทาน อาคารประกอบและ อ่ืนๆ กอนการสงน้ําหรือหลังการสงน้ําในแตละฤดูกาล ขอมูลในการพิจารณาวาจะตองทําอะไร ปริมาณเทาไร ใชวัสดุเทาไร แรงงานและเคร่ืองจักรเค ร่ืองมืออะไรบาง จํานวนเทาไร ใชงบประมาณเทาไร เปนตน เพ่ือใหโครงการมีประสิทธิภาพและเกิดผลทางเศรษฐกิจตามวัตถุประสงค จึงจําเปนตองมีงบประมาณอยางเพียงพอ ให

Page 13: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

รายละเอียดงาน ขั้นตอนการปฏบิตัิงาน ระเบยีบ เอกสาร บันทกึ แนวทางแบบฟอรมที่ใช

ผูรบัผดิชอบ เงื่อนไขการปฏบิตัิงาน

4. ขอสนับสนุนงบประมาณ ในการซอมแซม 5. ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษา

ของกระทรวงฯ หรือกรมฯ เปนตน 1. ทบทวน ตรวจสอบ ความถูกตองของแผนงานเพ่ือขอสนับสนุนงบประมาณ ในการซอมแซม 1. ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษาอาคารชลประทาน ตามประเภทความเสียหาย

งบประมาณ - ระเบียบ เอกสาร บันทึก แนวทางแบบฟอรมท่ีใช โดยกองแผนงานกรมชลประทาน - ห ลั ก ก า ร ซ อ ม แ ซ ม แ ล ะบํารุงรักษาใหถูกตองตามหลักวิชาการ

ผคป.,ผคบ.

วศ.,จน.,สบ.

การปฏิบัติงานตามแผนสําเร็จลุลวงไปได แตการวางแผนใหดีไดนั้น จะตองทราบขอมูลสนามเ ป น อ ย า ง ดี ด ว ย โ ด ย ก า รต ร ว จ ส อ บ ส ภ า พ อ า ค า รชลประทานของโครงการอยูเ ส ม อ เ พ่ื อ นํ า ข อ มู ล ม า ใ ชพิจารณาวางแผนบํารุงรักษาโดยกํ า ห น ด ลํ า ดั บ ค ว า ม สํ า คั ญกอนหลังในการดําเนินงาน การขอสนับสนุนงบประมาณในก า ร ซ อ ม แ ซ ม ต อ ง อ ยู ใ นระยะเวลาท่ีกําหนด การซอมแซม มี 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. การซอมแซมเล็กนอย 2. การซอมแซมประจําป 3. การซอมแซมฉุกเฉิน

Page 14: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

7. ระบบติดตามประเมินผล

กระบวนการ มาตรฐาน/คณุภาพงาน วิธีการตดิตามประเมินผล ผูตดิตาม/ ประเมินผล

ขอเสนอแนะ

1. ดําเนินการตรวจสอบความพรอมใชงานของอาคารชลประทาน 2 . ส รุ ปจั ด ทํ า แ ผนกา รซ อมแซมแล ะบํารุงรักษา 3. จัดลําดับความสําคัญตามความเรงดวน 4. ขอสนับสนุนงบประมาณในการซอมแซม 5. ดําเนินการซอมแซมและบํารุงรักษา

การตรวจสอบสภาพอาคารชลประทานของโครงการอยูเสมอ เพ่ือนําขอมูลมาใชพิจารณาวางแผนบํารุงรักษา การพิจารณาวาจะตองทําอะไร ปริมาณเทาไร ใชวัสดุเทาไร แรงงานและเคร่ืองจักรเคร่ืองมืออะไรบาง จํานวนเทาไร ใชงบประมาณเทาไร ทบทวน ตรวจสอบ และจัดลําดับความสําคัญกอนหลัง ตามความจําเปนเรงดวนท่ีสงผลกระทบตอการสงน้ํา และการบริหารจัดการน้ํา ได รับงบประมาณสนับสนุนในการซอมแซมและบํารุงรักษา อาคารชลประทานอยูในสภาพพรอมใชงานดังเดิม

ตรวจสอบบัญชีรายชื่ออาคารชลประทานท่ีอยูในความรับผิดชอบ ตรวจสอบวงเงินท่ีขอสนับสนุน ใหถูกตองตามอัตราราคาตอหนวย ดําเนินการตามนโยบายเรงดวนไดถูกตองครบถวน ดําเนินการขอสนับสนุนงบประมาณในระยะเวลาท่ีกําหนด ดําเนินการแลวเสร็จตามแผนงานซอมแซมประจําปงบประมาณ

Page 15: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

8. เอกสารอางอิง

8.1 การเดินสํารวจระบบชลประทาน 8.2 การดูแลบํารุงรักษาอาคารชลประทานและระบบชลประทาน

รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกที่แนบ

9. แบบฟอรมทีใ่ช

9.1 แบบฟอรมการสํารวจระบบชลประทาน 9.2 แบบฟอรมรายละเอียดรายการ/โครงการที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกที่แนบ

Page 16: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ภาคผนวก

๑๐

Page 17: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

การเดินสํารวจระบบชลประทาน เหตุผลและความจําเปน

โครงการชลประทานที่ใชงานมานานหรือเสื่อมสภาพมาก จะตองเนนงานดานบํารุงรักษาเปนหลัก ตามดวยงานสงนํ้า ซึ่งการที่จะสงนํ้าใหมีประสิทธิภาพไดน้ันจําเปนตองมีการบํารุงรักษาที่ดีดวย การบริหารโครงการชลประทานที่ดี จะตองมีแผนบํารุงรักษาที่ดีการดําเนินงานอยางมีระบบ เพ่ือใหโครงการมีประสิทธิภาพและเกิดผลทางเศรษฐกิจตามวัตถุประสงค จึงจําเปนตองมีงบประมาณอยางเพียงพอ ใหการปฏิบัติงานตามแผนสําเร็จลุลวงไปได แตการวางแผนใหดีไดน้ัน จะตองทราบขอมูลสนามเปนอยางดีดวย โดยการตรวจสอบสภาพอาคารชลประทานของโครงการอยูเสมอ เพ่ือนําขอมูลมาใชพิจารณาวางแผนบํารุงรักษาโดยกําหนดลําดับความสําคัญกอนหลังในการดําเนินงาน และเปนขอมูลในการพิจารณาวาจะตองทําอะไร ปริมาณเทาไร ใชวัสดุเทาไร แรงงานและเครื่องจักรเครื่องมืออะไรบาง จํานวนเทาไร ใชงบประมาณเทาไร เปนตน

วัตถุประสงค

1. เพ่ือนําขอมูลมาใชพิจารณาวางแผนงานซอมแซม ปรับปรุงและบํารุงรักษาโดยกําหนดความสําคัญกอนหลังการในการจัดทําแผนงาน

2. เพ่ือประยุกตใชในการประเมินสถานะภาพการสงนํ้าและการจัดการนํ้า 3. เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการตรวจสอบสภาพคลองสงนํ้า อาคารชลประทาน อาคาร

ประกอบและ อ่ืนๆ กอนการสงนํ้าหรือหลังการสงนํ้าในแตละฤดูกาล

หลักการ

Walk – thru เปนการแนะนํากระบวนการปฏิบัติเพ่ือการบํารุงรักษา โดยตรวจสภาพอาคารชลประทานทุกแหงในคลองแตละสายทั้งคลองสายใหญ คลองซอยและคลองแยกซอย เพ่ือนําขอมูลมาใชในการพิจารณาวางแผนบํารุงรักษาโดยกําหนดลําดับความสําคัญกอนหลังการดําเนินงาน

การเดินตรวจสภาพอาคารโดยการเดินจะไดผลมากกวาการขับรถตรวจ เพราะการเดินจะเห็นสภาพความเสียหายไดโดยละเอียด แมแตรูโพรงเล็ก ๆ ใตแผนคอนกรีตก็สามารถมองเห็นไดงาย สวนการขับรถตรวจจะพบแตความเสียหายจุดใหญ ๆ เทาน้ัน การเดินตรวจสามารถวินิจฉัยสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาในระยะเริ่มแรกจากปญหาเล็กนอย สามารถดําเนินการแกไขไดทันกอนที่ความเสียหายเหลาน้ันจะลุกลามใหญขึ้น ผูทําการตรวจสภาพจําเปนจะตองมีความรูและสามารถวินิจฉัยสาเหตุที่ทําใหอาคารในระบบสงนํ้าชํารุดเสียหายพรอมจดบันทึกใหชัดเจน

ประเภทความเสียหายที่จะตองบันทึกลงในสมุดสนามระหวางการตรวจสภาพ ควรประกอบดวย

1. ชวงความยาวของตะกอนในคลอง 2. รูโพรงใตแผนคอนกรีตที่ตองซอมแซม 3. รูโพรงที่เกิดกับตัวอาคาร เชน คอสะพานบริเวณทอสงนํ้าตาง ๆ 4. ซอมแซมรูหรือรอยแตกราวของแผนคอนกรีต 5. ดาดคอนกรีตใหมแทนแผนที่แตกเสียหาย 6. ปรับแตงผิวถนน 7. ซอมแซมหรือติดต้ังบานระบายใหม

๑๑

Page 18: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

8. ปลูกหญา

ลักษณะของปญหา การกอตัว สมมติฐานหรือสาเหตุ

1. สภาพทําเล (physical phenomena) เชน อาคารต้ังอยูในบริเวณลอแหลม อันตราย หรืออยูในบริเวณที่ถูกกระทําตลอดเวลา

2. ดินเปนดินทราย และไมมีการระบายนํ้าใตดิน (Subsurface Drainage) ประกอบกับขอบกพรองของอาคาร เชน รอยตอคอนกรีตไมสนิท สภาวะที่ดินเกาะตัวกันไมแนน ผสมกับ Hydraulic pressure จะทําใหเม็ดดินหลุดออกมาทีละนอย แลวเกิดเปนโพรงดินขึ้นจากน้ันลุกลามเปนความเสียหายใหญโต

3. head ของนํ้า head มากกวาหรือเทากับ 10 ซม. ก็จะกอปญหาไดแลว 4. รอยตอคอนกรีตไมสนิท 5. ตะเข็บรอยตอระหวางดิน/คอนกรีต เปนจุดออน เมื่อนํ้ามาปะทะขอบคอนกรีตจะเริ่มกัด

กรอนจุดออน เซาะเขาหาจุดที่ไหลสะดวก โดยทั่วไปเซาะซึมลงดิน 6. Slope หากลาดชันมาก กระแสนํ้าจะปะทะสิ่งกีดขวางไดรุนแรง และมีแรงทําลายสูง 7. โครงสรางที่มีลักษณะรวมกระแสนํ้าใหไหลพุงลงไปที่จุดเดียว จะมีแรงกัดเซาะแรง

ขั้นตอน

การบันทึกขอมูลสํารวจ การรวบรวมขอมูลทําไดหลายวิธี ไดแก การสังเกต การสอบถามจากเจาหนาที่และเกษตรกร

สอบถามผูรู หรือผูใกลชิดเหตุการณ เปนตน สาระที่ควรบันทึก 1. จุดที่สังเกตเห็นขอบกพรอง โดยทั่วไปบันทึกเปน กม. 2. ชนิดอาคารที่เกี่ยวของ 3. ขอบกพรองที่สังเกตเห็น 4. ขอวินิจฉัยสาเหตุของความบกพรอง 5. คําแนะนําในการซอมแซมแกไข 6. ความเห็นเพ่ิมเติมพิเศษ 7. รูป sketch ลักษณะเครา ๆ ของอาคาร ลักษณะปญหา

เครื่องมือที่สําคัญที่ควรพกติดตัว

1. สมุดบันทึก 2. ปากกา ดินสอ 3. ตลับเมตร การสํารวจอาคารพ้ืนฐาน (Essentials Structures) 1. คลอง ในคลองดาดควรสํารวจการกอตัวของโพรงเปนพิเศษโยเฉพาะในบริเวณดินขุด (cut bank)

เปนจุดที่คอนกรีตดาดลอแหลมตอความเสียหาย เน่ืองจากโพรงดินกอตัวไดงายเพราะนํ้าใตดินจะซึมลงสูคลองตลอดเวลา แผนคอนกรีตดาดในคลองลอย หรือคันคลองดินถม (filled bank) จะมั่นคงกวา เพราะมีการ

๑๒

Page 19: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ระบายนํ้าใตดินตามธรรมชาติ (Natural Surface Drainage) ลักษณะน้ีเปนจุดที่ควรสํารวจใหถี่ถวน เชนเดียวกับบริเวณที่มีแองนํ้าใกล ๆ คลองและระดับนํ้าในแองนํ้ามีระดับสูงกวาระดับนํ้าในคลอง

การแกไขและปองกันรอยตอที่ไมสนิท คือยารอยตอไมใหตะกอนดินไหลออก (แตนํ้าไหลได) ที่สําคัญคือในการกอสรางหรือซอมแผนคอนกรีตใหมควรหลอคอนกรีตแผนเวนแผน แลวบมคอนกรีตใหไดที่เพ่ือใหไดความแข็งแรงที่เต็มที่ แลวจึงทําการหลอแผนคอนกรีตที่เวนไว

สิ่งที่ควรตรวจในการสํารวจคลองดาดคือ - วัชพืชตามรอยตอ : รอยตอมีปญหา เพราะวัชพืชมักจะเกิดบนตะกอน เมื่อมี

วัชพืชขึ้นที่รอยตอแสดงวามีตะกอนดิน อาจเปนจุดสังเกตไดวามีดินออกมาตามรอยตอ

- การเลื่อนตัวของแผนคอนกรีต บ่ิน แตกราว หัก - สังเกตสภาพทําเลที่สรางความลอแหลมตอความเสียหายใหแผนคอนกรีต

สําหรับในคลองดิน ควรสังเกตและบันทึกรายละเอียดตาง ๆ ดังน้ี - การพังทลายที่เกิดจาก Sudden draw down - วัชพืชในคลอง - การชะหนาดิน (Erosion) - การต้ืนเขินและกัดเซาะ โดยเฉพาะบริเวณคุงนํ้า - การทิ้งสิ่งแปลกปลอมลงคลอง - ความเรียบรอยของ Staff gauge -

2. อาคารบังคับนํ้า ตาง ๆ สิ่งที่ควรตรวจสอบ 1. ดินหลังทอ หากทรุดตัวมักเกิดจากรอยตอ ทอบกพรอง 2. ตัวอาคาร 3. เครื่องกวานบานระบาย

- ชํารุด - สูญหาย - การหลอลื่นและสี - บริเวณหัว - ทายอาคารมีโพรงหรือไม - จุดออนสําคัญไดแก รอยตะเข็บดิน/คอนกรีต และจุดรวมกระแสนํ้า - จุดออนตัวแรกถัดจากตัวอาคาร เชนแผนคอนกรีตดาดแผนแรก ทายอาคาร - Staff gauge

3. สะพาน

มุมสะพาน 4 ดาน ซึ่งเปนจุดรวมกระแสนํ้ามักถูกกัดเซาะ และแนวการไหลจะพุงลงใตสะพาน ทําใหแผนคอนกรีตดาดใตสะพานเสียหาย ในคลองดินควรดูที่ผิวดินใตรูระบายนํ้าของสะพานเปนจุดที่มักถูกกัดเซาะเสียหายมาก

นอกจากน้ีควรสังเกต - บริเวณตะเข็บรอยตอดิน/คอนกรีต - จุดรวมกระแสนํ้า - จุดที่นํ้าไหลมาปะทะ

๑๓

Page 20: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

4. ถนน คันคลอง ควรสังเกตปญหาตาง ๆ ดังน้ี - มีแองนํ้าบนคันคลอง/ถนน - มีความลาดชันเปนตนเหตุการณต้ืนเขิน และในคลองดาดจะเปนตนเหตุการณ

เกิดรูโพรง - ลาดคัน/ถนนที่ลาดเขาหาคลองเปนปญหาทั้งดานการเรงใหเกิดการต้ืนเขินและ

เกิดรูโพรงหลังแผนคอนกรีตดาด - การทรุด การเกิดโพรงดิน - การมีกองดินบนคัน/ถนน

การเตรยีมการ

- ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับอาคารและคลองสงนํ้าจากบัญชีอาคารโดยละเอียด - จัดทําแบบฟอรมที่ใชพิจารณาสภาพอาคาร สะพานถนน คันคลองเพ่ือความสะดวกในการ

เก็บขอมูล - ควรวางแผนการทํางาน เชนแบงระยะเปนชวงๆ เพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการทํางาน - เมื่อทําการสํารวจพ้ืนที่ ควรบันทึกระยะกม.ของอาคารตางๆ ใหม แลวนําไปเปรียบเทียบ

กับบัญชี อาคารเพราะอาจมีการสรางอาคารใหม หรืออาคารบางตัวหายไป (ควรหมายเหตุไวดวย)

- ควรพิจารณาสภาพอาคาร สะพาน ถนน คลอง เปนกลุมตามความเหมาะสม เชน กรณี FTO ที่ไมมี บานบังคับนํ้า (มีแตทอ) และเกษตรกรมีความจําเปนตองใชประโยชนจาก FTO ตัวน้ันก็ควรจัดอยูในกลุมที่ควรปรับปรุงเรงดวน

- สําหรับอาคารบางตัวที่หาไมเจอ ควรสอบถามคนในพ้ืนที่บริเวณน้ัน เพราะบางทีสภาพพ้ืนที่เปน อุปสรรคทําใหหาที่ต้ังไมพบ

- ควรทําการสรุปขอมูลแบบวันตอวัน เพ่ือจะไดไมลืมสภาพอาคารที่ไดสํารวจมา ในกรณีมีการบันทึกขอมูลผิดพลาด

- ควรมีการถายภาพลักษณะความเสียหายของอาคารประเภทตางๆ ไวดวย ปญหาและอุปสรรคในการทํา Walk Thru

- ตําแหนงที่ต้ังในบัญชีอาคารกับตําแหนงที่ต้ังจริงมักไมตรงกันทําใหเกิดความลาชา - การวิเคราะหสภาพอาคาร สะพาน ถนน คันคลองของผูสํารวจแตละคนมีเกณฑไม

เหมือนกัน - สภาพภูมิอากาศอากาศบางครั้งไมเอ้ืออํานวย เชน วันที่ฝนตกหนัก - ถนนหรือคันคลองบางชวงเขาไมไดเน่ืองจากสภาพรกมากจึงไมสามารถเขาไปเก็บขอมูลได

หลกัเกณฑในการกาํหนดสภาพของอาคารในคลองสงน้ํา 1) อาคารที่มีสภาพดี ตองมีลักษณะดังตอไปน้ี

- ตัวอาคารไมมีการชํารุด หรือผิวคอนกรีตยังมีสภาพดี - เครื่องกวานบานระบาย, พวงมาลัยหมุนบาน, มอเตอรไฟฟา หรือ บานประตู สามารถใช

การไดดี หรือมีสภาพใหม และมีการหยอดนํ้ามันหลอลื่นเครื่องกวาน บานระบาย - สภาพดินถมเหนืออาคารดานเหนือนํ้าและทายนํ้าไมมีการกัดเซาะ หรือโพรงดิน

๑๔

Page 21: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

- สภาพคอนกรีตดาดบริเวณทายอาคารยังมีสภาพใหม ไมมีการชํารุด หรือผุกรอน - บริเวณอาคารดานเหนือนํ้าและทายนํ้าไมมีวัชพืชปกคลุม - สําหรับ ปตร. ตางๆ staff gauge อยูในสภาพเรียบรอย สามารถอานคาไดอยางชัดเจน - สําหรับ Operating deck ตอมออยูในสภาพดี พ้ืนผิวสะพาน และราวสะพานไมมีการ ชํารุด หรือ ผุกรอนใดๆ

2) อาคารที่มีสภาพพอใช ตองมีลักษณะดังตอไปน้ี - ตัวอาคาร, ผิวคอนกรีตของตัวอาคาร, สภาพคอนกรีตดาดทายอาคารอยูในสภาพ

คอนขางดี หรือเสียหายไมมากนัก - เครื่องกวานบานระบาย, พวงมาลัยหมุนบาน, มอเตอรไฟฟา หรือบานประตู อยูในสภาพที่

สามารถใชการได - สภาพดินถมเหนืออาคารดานเหนือนํ้าและทายนํ้าไมมีการกัดเซาะ หรือทรุดเปนโพรงดิน

จนเห็นไดอยางชัดเจน - บริเวณอาคารดานเหนือนํ้าและทายนํ้ามีวัชพืชปกคลุมไมมากนัก - สําหรับ ปตร. ตางๆ ตองมี staff gauge ที่สามารถใชการได - Operating deck ตอมออยูในสภาพดี พ้ืนผิวสะพาน หรือราวสะพานอาจมีการชํารุดผุ

กรอนไดเล็กนอย 3) อาคารที่อยูในสภาพควรซอมแซม มีลักษณะดังตอไปน้ี

- ตัวอาคาร, ผิวคอนกรีตของตัวอาคาร, คอนกรีตดาดทายอาคาร มีการผุกรอนหรือแตกราว - เครื่องกวานบานระบาย, พวงมาลัยหมุนบาน, มอเตอรไฟฟา หรือ บานประตู เสียหายใช

การไมไดบางสวน - มีการกัดเซาะหรือทรุดเปนโพรงดิน บริเวณดินถมเหนืออาคาร - บริเวณอาคารดานเหนือนํ้าและทายนํ้ามีวัชพืชปกคลุมหนาแนน - กรณี ปตร. จะไมมี staff gauge หรือ staff gauge เสียหาย - Operating deck สภาพพ้ืนผิวสะพาน หรือราวสะพานมีการชํารุดผุกรอน

4) อาคารที่อยูในสภาพควรปรับปรุงดวน มีลักษณะดังน้ี - ตัวอาคาร, ผิวคอนกรีตของตัวอาคาร, คอนกรีตดาดทายอาคาร มีการเสียหายอยางหนัก

หรือไมมีคอนกรีตดาดทาย - ไมมีเครื่องกวานบานระบาย , พวงมาลัยหมุนบาน หรือชํารุดเสียหายใชงานไมได - บริเวณดินถมเหนืออาคารมีการทรุดเปนหลุมบอหรือมีการกัดเซาะอยางหนัก - บริเวณอาคารมีวัชพืชปกคลุมอยางหนาแนน - สําหรับ ปตร. ในคลองสงนํ้า ไมมี staff gauge ติดต้ัง - สภาพพ้ืนผิวสะพาน หรือราวสะพานมีการเสียหายอยางหนัก จนไมสามารถใชการได

หลักเกณฑในการกําหนดสภาพคลองสงน้ํา

1) คลองสงนํ้าสภาพดี คือ คลองที่ไมมีการกัดเซาะเกิดขึ้น ไมมีวัชพืชหรือขยะในคลอง และบริเวณริมตลิ่งมีวัชพืชขึ้นนอย หากเปนคลองดาด สภาพคอนกรีตดาดคลองตองไมเกิดการเสียหาย หรือผุกรอนใดๆ มีการตัดหญาบนคันคลองเรียบรอยตลอดสาย

๑๕

Page 22: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

2) คลองสงนํ้าสภาพพอใช คือ คลองที่มีการกัดเซาะ และอาจมีวัชพืชในคลอง หรือบริเวณริมตลิ่งเล็กนอย กรณีคลองดาด คอนกรีตดาดคลองตองมีการแตกราวเสียหายบาง แตสามารถใชงานไดไมเปนอุปสรรคตอการสงนํ้า

3) คลองสงนํ้าที่ควรซอมแซม ไมเชนน้ันจะสงนํ้าไมได คือ คลองมีวัชพืชปกคลุมคอนขางมาก และมีการกัดเซาะ มีขยะ บริเวณริมตลิ่งมีทางขึ้นลงที่อาจทําใหหนาดินเกิดการพังทลายกรณีคลองดาด สภาพคอนกรีตดาดคลองมีการแตกหักเสียหาย

4) คลองสงนํ้าที่ควรปรับปรุงดวน คือ คลองที่มีวัชพืชขึ้นเต็มคลอง ตลิ่งพังทลายและมีการกัดเซาะมาก ต้ืนเขิน กรณีคลองดาดสภาพคอนกรีตเสียหายมาก พังทลาย

หลักเกณฑในการกําหนดสภาพถนน

1) ถนนสภาพดี คือ ถนนมีผิวเรียบไมมีหลุมบอ สามารถใชสัญจรไดปกติ มีหลักกันโคง ทาสีขาว-ดํา สีสะทอนแสง และมีปายเตือนตางๆ แสดงชัดเจน

2) ถนนสภาพพอใช คือ ถนนที่มีไมมีหลุมบอหรือมีบางเล็กนอย ถนนไมแคบจนเกินไป สามารถใชได หลักกันโคงและปายเตือนตางๆ ชํารุดเสียหายบางเล็กนอย

3) ถนนที่ควรซอมแซม/ปรับปรุง คือ ถนนที่มีหลุมบอมาก พ้ืนถนนมีการทรุด วัชพืชขึ้นรกตามทางหรือขางทางเปนอุปสรรคตอการสัญจร ถนนแคบ, ขรุขระ

4) ถนนที่ควรปรับปรุงดวน คือ ถนนที่มีหลุมบอมาก ยานพาหนะไมสามารถเขาไดโดยสะดวก ผิวถนนขรุขระเสียหายมาก มีหญาขึ้นหนาแนนตามทางหรือขางทาง

๑๖

Page 23: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

การดูแลบํารงุรักษาอาคารชลประทานและระบบชลประทาน

เน่ืองจากแหลงนํ้า โดยทั่วไปมักจะมีการกอสรางในลักษณะของเขื่อนดิน โดยทาเปนอางเก็บนํ้า หรือ ฝายทดนํ้า ดังน้ัน ควรมีการตรวจสอบสภาพและซอมแซมสวนที่อาจชํารุดเสียหายอยูเปนประจํา เพ่ือที่จะรักษาและปองกันเขื่อน อางเก็บนํ้า หรือ ฝาย รวมทั้งอาคารประกอบตาง ๆ ใหมีสภาพมั่นคง แข็งแรงและสามารถใชงานไดดีอยูตลอดไป นอกจากน้ัน การตรวจสอบสภาพเขื่อนหรืออางเก็บนํ้า หรือ ฝาย อยางสม่ําเสมอ เมื่อมีบริเวณใดเริ่มชํารุดเสียหายก็จะทราบไดทันที และจัดการซอมแซมไดทันเวลา

การบํารุงรักษา หมายถึง การซอมแซม หรือตกแตงสวนของอาคารหรือสิ่งกอสรางที่ชํารุดเสียหายใหมีสภาพดีดังเดิม และรวมไปถึงการปรับปรุงในลักษณะตางๆ เปนตนวา การปรับปรุงตามรูปแบบเดิมเพ่ือเติมและแกไขอาคารเพียงบางสวนหรือทั้งหมด เพ่ือใหอาคารหรือสิ่งกอสรางน้ัน ใชงานไดผลตามจุดมุงหมายและมีความปลอดภัย

งานบํารุงรักษา เปนงานที่มีความสําคัญเทาเทียมกับงานวางโครงการ สํารวจออกแบบและกอสราง ผูปฏิบัติงานดานน้ีจะตองหมั่นตรวจสอบสภาพอาคารและสิ่งกอสรางอยางสม่ําเสมอ มีความเขาใจถึงการวิเคราะหปญหาเพ่ือคนหาสาเหตุของการชํารุดเสียหาย และจะตองมีความสามารถในการวางแผน และกําหนดวิธีการซอมแซม หรือปรับปรุงใหเหมาะสมกับหลักวิชาการไดเปนอยางดีอีกดวย

การบํารุงรักษาเขื่อน ฝาย และอาคารประกอบสวนใหญจะเปนการซอมแซม และการปรับปรุง ในลักษณะตางๆดังกลาวไว เพ่ือใหตัวเขื่อน ฝาย และอาคารทั้งหมดมีสภาพมั่นคงแข็งแรง มีความ

ปลอดภัยและสามารถใชไดดีอยูเสมอ

การซอมแซม

การซอมแซมมี 3 ลักษณะดังน้ี

1. การซอมแซมเล็กนอย หมายถึงการซอมบํารุงหรือตกแตงสวนที่ตรวจสอบพบวามีการชํารุดเสียหาย หรือมีความผิดปกติไปจากสภาพเดิมไมมากนัก การซอมแซมเพียงเล็กนอยควรปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ หรือกระทําทันทีเมื่อตรวจพบ โดยไมปลอยทิ้งไว จนการชํารุดเสียหายน้ันลุกลามขยายตัวไปมาก

การซอมแซมเล็กนอย จะสามารถกระทําไดดีและครบถวน ควรมีการตรวจสภาพตัวเขื่อนและอาคารสวนตางๆ อยางสม่ําเสมอเปนประจํา เฉพาะอยางย่ิงในชวงเวลาสําคัญ เชน ตอนชวงฤดูฝน เมื่อเขื่อนดินกักกันนํ้าสูงเต็มที่ และระหวางหรือหลังจากมีนํ้าจํานวนมากไหลผานอาคารนํ้าระบายนํ้าลน เปนตน รวมทั้งความเอาใจใสของผูปฏิบัติงานและผูรับผิดชอบดวย

2. การซอมแซมประจําป หมายถึงการซอมแซมใหญประจําป จนทั่วตลอดทั้งตัวเขื่อน ฝายและอาคาร ในบริเวณที่มีการชํารุดเสียหายใหสภาพดีเชนเดิม สําหรับเขื่อนดิน ฝาย และอาคารทุกแหง ควรมีการกําหนดแผนซอมแซมสิ่งบกพรองตางๆ ที่อาจหลงเหลืออยูใหมีสภาพสมบูรณครบถวนหรือใกลเคียงกับสภาพตอนสรางเสร็จใหมๆ การละเลยตอการซอมแซม กับสวนใดสวนหน่ึงของเขื่อนดินและอาคารประกอบซึ่งกําลังชํารุดเสียหายเปนเวลาหลายปติดตอกัน มักเปนสาเหตุสําคัญทําใหตองมีการกอสรางเพ่ือปรับปรุงดวย

๑๗

Page 24: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

คาใชจายสูง หรือดวยวิธีการที่ยากลําบากย่ิงขึ้น ดังปรากฏใหเห็นในปจจุบัน ซึ่งมีเขื่อนดินหลายแหงกําลังมีการปรับปรุงเพ่ิมเติมเพ่ือแกไขใหพนจากสภาพในระดับอันตราย

3. การซอมแซมฉุกเฉิน หมายถึง การซอมแซมสวนใดสวนหน่ึงของตัวเขื่อน ฝาย และอาคารประกอบที่ชํารุดเสียหายในทันทีทันใด เพราะหากปลอยทิ้งไวเขื่อนหรืออาคารประกอบน้ันจะไดรับอันตราย ซึ่งการซอมแซมลักษณะน้ีอาจเปนการซอมไวเพียงช่ัวคราวเพราะความเรงดวน หลังจากน้ันจะทําการซอมแซมใหเรียบรอยตามแผนประจาปตอไป

การปรับปรงุ

การปรับปรุงแบงได 2 ลักษณะ 1. การปรับปรุงตามรูปแบบเดิม หมายถึง การกอสรางเพ่ือปรับปรุงใหทั้งหมด หรือเกือบ

ทั้งหมดตามรูปแบบเดิมในกรณีที่อาคารน้ันไดกอสรางและใชงานมานานจนหมดอายุ หรือเสื่อมโทรมไปมากตามอายุไขตามวัสดุที่ใชกอสราง การปรับปรุงลักษณะน้ีมักไมคอยพบ สําหรับงานเขื่อนดินกักเก็บนํ้าและอาคารประกอบ

2. การปรับปรุงดวยกอสรางเพ่ิมเติมและแกไข หมายถึง การปรับปรุงดวยการกอสราง

เพ่ิมเติม หรือแกไขสวนใดสวนหน่ึง หรือทําการกอสรางใหมทั้งหมดโดยเปลี่ยนรูปแบบไปจากเดิมสําหรับงานเขื่อนดินและอาคารประกอบมักจะมีการปรับปรุงโดยการกอสรางเพ่ิมเติมหรือแกไข เปลี่ยนแปลงเพียงสวนใดสวนหน่ึงเสมอ เพ่ือใหตัวเขื่อนและอาคารมีความมั่นคงเข็งแรงดีหรือเพ่ือใหใชงานไดผลตามที่วางโครงการไว สวนการปรับปรุงใหมทั้งหมดโดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบเดิม จะมีอยูบางกับอาคารของโครงการเขื่อนกักเก็บนํ้าบางแหง ในกรณีที่ขอกําหนดของการออกแบบไดกําหนดไวไมสอดคลองกับการปฏิบัติงานที่เหมาะสมหรือเมื่อตองการเปลี่ยนแปลงเคาโครงงานสวนใหญของโครงการ 1. การตรวจสอบและบํารุงรักษาเขื่อน

1) ทําการตรวจสภาพและมีการบํารุงรักษาอยูเสมอ เฉพาะอยางย่ิงในระยะที่เริ่มทําการเก็บกักนํ้าไวสูงเต็มที่ และในชวงเวลาที่ฝนตกชุก

2) ควรจะมีการตรวจสภาพและทําการซอมใหญจนทั่วตลอดทั้งเขื่อนและอาคารในบริเวณที่มี

การชํารุดเสียหายใหมีสภาพดีเชนเดิม อยางนอยปละหน่ึงครั้ง 3) ขณะที่ทําการเก็บกักนํ้าไวจนสูงเต็มที่น้ัน ใหหมั่นตรวจสอบสภาพดินธรรมชาติ บริเวณทาย

เขื่อนอยูเสมอวาจะมีนํ้ารั่วซึมลอดใตเขื่อนผานดินฐานรากจนพัดพาดินและตะกอนทราย ใหหลุดลอยไปในลักษณะคลายนํ้าพุบางหรือไม ถาหากพบบริเวณใดแลวใหรีบทําการปองกันทันที โดยดําเนินการดังน้ี

3.1) จัดหาทรายหยาบและกรวด (หรือหินเกล็ด) มีสวนผสมในอัตราสวนเทากันโดย

ปรมิาตร นํามาปูทับคลุมบริเวณนํ้าไหลพุออกใหทั่ว รวมความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร

๑๘

Page 25: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

3.2) จัดหาหินยอยและหินใหญที่มีขนาดตางๆ คละกัน นํามาปูปดทับช้ันทรายและกรวดใหทั่วบริเวณน้ันอีกความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร ซึ่งจะสามารถปองกันดินและตะกอนทรายไมใหนํ้าพัดพาหลุดออกไปได สวนนํ้าก็จะไหลซึมออกมาตามปกติและไมเปนอันตรายตอตัวเขื่อน

4) ที่ลาดเขื่อนดานทายบริเวณตอนลางจนถึงพ้ืนดินธรรมชาติอาจจะเปยกแฉะหรือมีสภาพ

อ่ิมตัวดวยนํ้าที่ซึมผานเขื่อน หากปลอยทิ้งไวนานลาดเขื่อนบริเวณน้ันอาจจะเลื่อนทลายลงแลวลุกลามสูงขึ้นไป เมื่อไดไดตรวจสอบพบแลวควรรีบทําการแกไขโดยดวน โดยดําเนินการ ดังน้ี

4.1) จัดหาทรายหยาบและกรวด (หรือหินเกล็ด) มีสวนผสมในอัตราสวนเทากัน โดย

ปริมาตร นํามาปูทับคลุมลาดเขื่อนบริเวณที่มีนํ้าซึม ไปจนถึงพ้ืนดินธรรมชาติใหมีความหนาประมาณ 30เซนติเมตร

4.2) จัดหาหินยอยและหินใหญที่มีขนาดตางๆ คละกันนามาปูทับช้ันทรายและกรวด

อีกความหนาประมาณ 40 เซนติเมตร ซึ่งจะสามารถปองกันดินที่ลาดเขื่อนไมใหเลื่อนไหลและไมมีนํ้าเปยกแฉะที่ลาดเขื่อนดังกลาวตอไปอีก

4.3) ถาหากดินที่เปยกแฉะมีการเลื่อนทลาย เน่ืองจากนํ้าที่ไหลซึมออก อาจทําการ

ซอมปรับปรุงตามขอ 4.1) และขอ 4.2) ในขณะที่เขื่อนกําลังเก็บกักนํ้าอยูในระดับสูงไดไมเรียบรอยนัก ควรดําเนินการดังน้ี

ก. ซอมปองกันฉุกเฉิน โดยการนาทรายและกรวดบรรจุถุงจํานวนมากไปถมกด

ทับที่บริเวณดินเลื่อนและมีนํ้าไหลแฉะน้ันใหเต็ม จนเกินพนแนวลาดเขื่อนออกมาใหหนาพอสมควร เพ่ือปองกันไมใหดินเขื่อนเลื่อนทลายตอไปอีก

ข. สําหรับการซอมปรับปรุงตามแผนซอมปรับปรุงแบบถาวร ใหดําเนินการตอน

ชวงระดับนํ้าในอางลดลงตํ่าแลว และบริเวณที่ชํารุดเสียหายไมมีนํ้าซึมออกมาดวยวิธีการตอไปน้ี - ถากตัดดินบริเวณหลุมบอและดินออนถูกนากัดเซาะจนหมดดินออน เปนแนว

เอียงขนานกับแนวลาดเขื่อน ต้ังแตระดับตํ่ากวาพ้ืนดินธรรมชาติเล็กนอยขึ้นไปจนพนแนวดินที่ถูกกัดเซาะ - ถมดินบดอัดแนนดวยเครื่องจักร หรือดวยแรงคน ใหมีความแนนตามเกณฑ

มาตรฐานจนเสมอกับแนวลาดเขื่อนทั่วไป - ปูทับลาดเขื่อนดวยช้ันกรวดทรายหนา 30 เซนติเมตร ตามลาดเขื่อนที่

ปรับปรุงใหม หลังจากน้ันจึงปูปดดวยหินยอยและหินขนาดใหญที่มีขนาดตางๆ คละกันอีกดวยความหนาประมาณ 40 เซนติเมตร ทั้งน้ีจากระดับพ้ืนดินธรรมชาติทายเขื่อนขึ้นมาตามลาดถึงระดับขอบบนที่เคยมีนํ้าไหลซึมออกมา

5) ที่ลาดดานทายนํ้า หากถูกนํ้ากัดเซาะจนเปนรองหลุม ทั้งน้ีเพราะขาดการดูแลทะนุบํารุง

หญาที่ปลูกไวใหอยูในสภาพดี และลาดเขื่อนดานทายนํ้าอีกหลายแหงเชนกัน ที่มีการปองกันนํ้าฝนกัดเซาะลาด

๑๙

Page 26: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

เขื่อนไวดวยหินทิ้ง แลวปรากฏวาดินใตหินทิ้งน้ันถูกนาฝนซึ่งไหลลงตามลาดกัดเซาะเปนรองลึกจนหินที่ปูปดทับยุบลงเปนแหงๆ ไป ซึ่งการซอมปรับปรุงลาดเขื่อนที่ชํารุดเสียหายควรพิจารณาดําเนินการใหเหมาะสมแลวแตกรณีดังตอไปน้ี

5.1) บริเวณที่เริ่มจะถูกนาฝนกัดเซาะเปนบางแหง เน่ืองจากหญาที่ปลูกไวดวย หรือ

ปลูกไมขึ้น ควรรีบซอมเสริมใหดีอยูอยางสม่ําเสมอ โดยไมปลอยทิ้งไวเพราะอาจจะลุกลามมากขึ้น ก. จัดหาดินผิวหนา (top soil) มาปูรองพ้ืนดวยความหนา 10-15 เซนติเมตร

จนทั่วบริเวณที่ไมมีหญา ข. นําหญามาปลูกแบบเปนแผนปดทับใหทั่วบริเวณที่ไมมีหญา ค. หมั่นรดนํ้าหญาที่ปลูกใหม จนตนหญาเจริญงอกงามดี 5.2) บริเวณที่ถูกนากัดเซาะเปนรองแลวเน่ืองจากการละเลยไมจัดการซอมตามขอ 1

น้ันใหรีบดําเนินการทันทีโดยไมปลอยทิ้งไวอีก เพราะรองตางๆ เหลาน้ันจะขยายมีขนาดใหญมากขึ้นอยางรวดเร็วในฤดูฝน แลวจะทําใหการซอมแซมตอไปมีความยากลําบาก หรือตองเสียคาใชจายแพงโดยไมจําเปน

ก. ถมดินบดอัดแนนกลบรองใหเต็ม ข. ปูดินผิวหนา (top soil) ดวยความหนา 10-15 เซนติเมตร จนทั่วบริเวณ ค. นําหญามาปลูกแบบเปนแผนปดทับใหทั่วบริเวณ แลวหมั่นรดนํ้าหญาที่ปลูก

จนเจริญงอกงามดี

5.3) สําหรับลาดเขื่อนดานทายนํ้าซึ่งปลอยใหดินถูกนํ้าฝนกัดเซาะเปนรองหลุมปรากฏกระจัดกระจายไปทั้งลาดเขื่อน เน่ืองจากการไมเคยดูแลและซอมแซมสวนที่ถูกนํ้ากัดเซาะเลยหลังจากสรางเขื่อนแลวซึ่งไดแกการซอมปรับปรุงตามขอ 1 และขอ 2 ดังที่กลาวไวขางตนน้ัน จึงจําเปนตองมีการปรับปรุงลาดเขื่อนครั้งใหญตามรูปแบบเดิม หรือมีการเปลี่ยนไปบางตามเหมาะสมดังตอไปน้ี ก. ถากตัดดินลาดเขื่อนบริเวณรองหลุมตลอดความยาวเขื่อนใหแนวเอียงขนานกับแนวลาดเขื่อน โดยมีความลึกของดินที่ถูกตัดถากจนพนจากรองหลุมน้ัน ดินที่ถากตัดออกแลวใหเกลี่ยทับลงมาเพ่ือบดอัดแนนใหมดวยการรดนํ้าใหมีความช้ืนใกลเคียงกับเกณฑมาตรฐาน ข. ถากตัดดินออกแลวนามาบดอัดแนนใหมต้ังแตระดับฐานเขื่อนที่พ้ืนดินจนถึงสวนบนของตัวเขื่อนที่พนบริเวณรองหลุม ใหมีความลาดเทและสัดสวนตามที่ออกแบบไวแตเดิมเปนอยางนอย (อาจมีลาดและสัดสวนเปลี่ยนแปลงได ตามผลการวิเคราะหและออกแบบปรับปรุงครั้งใหม) ค. หลังจากตัดและถมบดดินลาดเขื่อนเสร็จเรียบรอยแลว กอนจะเริ่มงานปลูกหญาใหถมดินผิวหนา (top soil) ความหนา 10-15 เซนติเมตร แลวจึงปลูกหญาแบบปูพรมปดผิวดินทั้งหมด

๒๐

Page 27: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

หามการปลูกหญาไวเปนหยอมๆ อยางเด็ดขาด เพราะดินลาดเขื่อนที่ปรับปรุงใหมแลวน้ีจะตองถูกนํ้ากัดเซาะใหเวาแหวงจนเปนรองลึกกลับไปเหมือนสภาพเดิมกอนปรับปรุงอีกภายในเวลา 1-2 ป ง. แผนงานปรับปรุงดังกลาวขางตน ตองวางแผนการทาใหเสร็จไดภายในฤดูแลง น่ันคือการปลูกหญาทั้งหมดจะตองเสร็จเรียบรอยกอนยางเขาฤดูฝน จ. หญาที่ปลูกเสร็จเรียบรอยแลว ใหจัดการรดนํ้าหญาที่ปลูกใหมน้ีอยางนอยสัปดาหละหน่ึงครั้ง เพ่ือเลี้ยงหญาไมใหแหงเฉามากจนกวาจะไดรับฝนตนฤดู 5.4) ดินลาดเขื่อนทายนาเมื่อถูกนาฝนอาจเกิดการกัดเซาะลักษณะที่เปนรูโพรงลึกลงไปในตัวเขื่อน ซึ่งเปนลักษณะการถูกกัดเซาะของดิน Dispersive Soil (ดินกระจายตัว) ซึ่งหลังจากการตรวจสภาพดินทางดานกายภาพและดานเคมีแลว พบวาดินบริเวณรูโพรงน้ันเปน Dispersive Soil (ดินกระจายตัว) ใหดําเนินการดังน้ี ก. เมื่อพบรูโพรงเพ่ิงเกิดมีขึ้นจํานวนไมกี่แหงตามลาดเขื่อน ใหรีบจัดการซอมอุดทันทีโดยการขุดตัดดินออนที่ขางและกนหลุมใหเรียบทุกแหง แลวใชดินซึ่งผสมปูนขาวจํานวน 2% โดยนํ้าหนัก (ดินผสมปูนขาวดังกลาวตองใหมีความช้ืนเทากับ optimum moisture content (ความช้ืนที่ความหนาแนนสูงสุด) แลวบมไว 3-4 วันกอนจึงจะนําไปใชได) ถมอัดแนนลงในหลุมจนเต็ม หลังจากน้ันจึงปูดินผิวหนา (top soil) ความหนา 10-15 เซนติเมตร ใหเรียบรอย แลวจึงปลูกหญาปดแบบปูพรมเชนเดียวกัน ข. สําหรับลาดเขื่อนซึ่งเปนรูโพรงจานานมาก กระจัดกระจายไปตลอดทั้งความยาวเขื่อน ใหถากตัดดินลาดเขื่อนสวนที่เปนรูโพรงใหหมดแลวนํามาบดอัดแนนใหมดวยวิธีการเชนเดียวกับขอ 3 หลังจากน้ันจึงถมดินซึ่งผสมปูนขาวจํานวน 2% โดยนํ้าหนัก ความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร ปูปดทับดินอีกช้ันหน่ึง แลวปูดินผิวหนา (top soil) ความหนา 10-15 เซนติเมตร และปลูกหญาแบบปูพรมเปนอันดับสุดทาย การดําเนินงานปรับปรุงทั้งหมดจนถึงขั้นปลูกหญาใหเรียบรอยดังกลาว ตองดําเนินการใหเสร็จกอนยางเขาฤดูฝน และระหวางที่ฝนยังไมตกก็ตองมีการรดนํ้าหญาที่ปลูกใหมอยางสม่ําเสมอไมนอยกวาสัปดาหละหน่ึงครั้งดวยเชนกัน 5.5) ลาดเขื่อนซึ่งไดปองกันนํ้าฝนกัดเซาะไวดวยหินทิ้งแลว แตปรากฏวาดินใตหินทิ้งถูกนํ้าฝนกัดเซาะเปนรอง ควรพิจารณาซอมแซมดังน้ี ก. หากใตดินทิ้งไมมี bedding (ช้ันรองพ้ืน) หรือสรางหินทิ้งไวดวยหินที่มีขนาดใหญใกลเคียงเสมอกัน จะไมสามารถยับย้ังไมใหนํ้าฝนไหลกัดเซาะดินได ควรรื้อหินทั้งหมดออกแลวแตงดินที่ลาดเขื่อนใหเรียบรอย หลังจากน้ันใหปูช้ันทรายหยาบผสมกรวดความหนาประมาณ 2 เซนติเมตร เปนbedding (ช้ันรองพ้ืน) สวนหินใหญที่มีขนาดคอนขางเสมอกันน้ันใหเปลี่ยนเปนหินมีขนาดเล็กใหญคละกัน (ตามสัดสวนที่ระเบิดได) ความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร

๒๑

Page 28: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ข. หากรองหรือโพรงใตหินทิ้งมีจํานวนมากและลึก กระจัดกระจายไปทั่วบริเวณตามลาดเขื่อนที่มีหินทิ้งน้ัน ใหรื้อหินทิ้งออกแลวดําเนินการถากตัดดินออกแลวบดอัดแนนเขาไปใหมตามวิธีการที่กลาวในขอ 3 เสียกอนหลังจากน้ันจึงปู bedding (ช้ันรองพ้ืน) ความหนา 20 เซนติเมตรแลวทับดวยหินทิ้งขนาดเล็กใหญคละกันความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร เชนเดียวกับที่กลาวมาแลวขางตน

5.6) ที่ลาดเขื่อนดานทายนํ้าหากดินลาดเขื่อนเลื่อนทลาย ควรซอมปรับปรุงในชวงฤดูแลงขณะที่นํ้าในอางลดลงตํ่า ซึ่งจําเปนตองมีการวิเคราะหคํานวณหาความมั่นคงของลาดเขื่อนน้ีใหมดวยเพ่ือกําหนดรูปแบบการซอมปรับปรุงใหเหมาะสม

1) อาจตองปรับปรุงลาดเขื่อนต้ังแตแนวบนของลาดเขื่อนที่ดินเลื่อนน้ันใหความลาดเท

แบนราบกวาเดิมหรือเสริมดินบดอัดแนนเขากับลาดเขื่อนเปน berm (ชานคลอง) อยางใดอยางหน่ึงตามความเหมาะสม

2) ในการซอมปรับปรุงจะตองขุดถากดินสวนที่เลื่อนออกจนหมด แลวถมดินบดอัด

แนนกลับเขาไปใหมใหไดขนาดและสัดสวนตามรูปแบบที่กําหนดในขอ 1 น้ัน 5.7) บริเวณสันเขื่อนหากมีกรณียุบเปนหลุมบอ ใหถมดินลูกรังบดอัดแนนลงในหลุมจนเต็ม

โดยลูกรังที่ใชควรเลือกชนิดที่มีดินเหนียวผสมอยูนอยที่สุด หลังจากน้ันตามสันเขื่อนสวนอ่ืนก็ควรตรวจสอบและเสริมลูกรังบนสันเขื่อนใหมีความหนารวม 20-30 เซนติเมตร โดยตลอดดวยแลวแตงสันเขื่อนใหมีความลาดเทประมาณ 2% ลงไปทางดานอางเก็บนํ้าและดานทายเขื่อนเพ่ือการระบายนาฝนทิ้งไปไดสะดวก

5.8) ลาดเขื่อนดานเหนือนํ้าสวนใหญจะมีหินทิ้งรองดวย bedding (ช้ันรองพ้ืน) ปูปดดินลาด

เขื่อนไวเพ่ือปองกันคลื่นกัดเซาะ แตเขื่อนดินขนาดเล็กซึ่งมีงบประมาณกอสรางจํานวนนอยอาจมีการปองกันคลื่นกัดเซาะดินลาดเขื่อนไวดวยการปลูกหญา โดยปลูกใหขึ้นงอกงามเต็มที่กอนจะมีการเก็บกักนํ้า และถึงแมวาหลังจากที่นํ้าในอางมีระดับสูงแลวทวมหญาที่ปลูกไวตาย แตรากของหญาที่ยึดเกาะดินไวแนนแลวจะชวยยึดดินไวไดบาง ซึ่งพอระดับนํ้าในอางลดลง หญาก็อาจจะงอกขึ้นมาใหมตามเดิม

ทั้งสองกรณีหากปรากฏวาลาดเขื่อนตอนใดถูกคลื่นกัดเซาะเวาแหวงไปควรดําเนินการ

ซอมแซมดังน้ี 5.8.1) ลาดเขื่อนที่เปนหินทิ้งแลวถูกคลื่นกัดเซาะดินขางใตจนเปนรองเวาแหวงอาจจะ

เน่ืองมาจากสาเหตุที่หินทิ้งน้ันมีขนาดคอนขางสม่ําเสมอ จนไมสามารถกรอง bedding (ช้ันรองพ้ืน) ไมใหไหลทะลักเลื่อนตามคลื่นออกไปได หรือใตหินทิ้งดังกลาวไมมี bedding (ช้ันรองพ้ืน) แลวแตกรณี ควรดําเนินการดังน้ี

ก. ปใดที่วางแผนจะซอมแซม ในปน้ันควรตัดสินใจระบายนาออกจนระดับนํ้าใน

อางลดลงตํ่าใหมากที่สุด (ตองคํานึงถึงการใชนํ้าในฤดูแลง ซึ่งจะตองจัดการใหเหมาะใหควรและการระบายนํ้าออกจากอางน้ีก็พึงระวังเรื่องการเลื่อนทลายของลาดเขื่อนดวย)

ข. รื้อหินทิ้งทั้งหมดออกแลวแตงลาดเขื่อนใหเรียบรอย

๒๒

Page 29: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ค. ปูช้ันทรายหยาบผสมกรวด ความหนาประมาณ 20 เซนติเมตร เปน

bedding (ช้ันรองพ้ืน) ง. ปูทับ bedding (ช้ันรองพ้ืน) ดวยหินใหญคละหินเล็กขนาดตางๆ ตามความ

หนาที่กําหนด 5.8.2) ลาดเขื่อนดินขนาดเล็กซึ่งปลูกหญาไวแลวถูกคลื่นกัดเซาะเปนแนวยาวควร

ดําเนินการดังน้ี ก. ถมดินกลบรองจนเต็ม แลวปลูกหญาใหงอกงามและมีสภาพดินดีตามเดิม

หรือ ข. จัดหาดินขนาดเล็กใหญคละกันถมในรองหลุมที่ถูกกัดเซาะจนเต็มตลอดตาม

แนวเขื่อนซึ่งการซอมลาดดานเหนือนํ้าที่มีการปลูกหญาปองกันคลื่นกัดเซาะน้ี หากมีการดูแลและซอมสวนที่ถูกนํ้ากัดเซาะอยางสม่ําเสมอเปนประจําทุกปแลว จะสามารถรักษาลาดเขื่อนใหมีสภาพมั่นคงดีตลอดไปได

5.9) กรณีพ้ืนดินดานทายเขื่อนออนตัวและยุบไปมา เมื่อตรวจพบใหรีบดําเนินการซอมแซม

ฉุกเฉินทันที เชนเดียวกับพ้ืนดินทายเขื่อนที่มีนํ้าไหลพุงออกมา ซึ่งการที่พ้ืนดินออนตัวยุบไปมาน้ีจะมาจากถูกแรงดันนํ้าขางใตกระทํา และบริเวณดินออนตัวมักเกิดรวมกับการมีนํ้าไหลพุงดานทายเขื่อนน้ันเสมอ หลังจากการซอมปองกันแบบฉุกเฉินแลว ก็ตองวางแผนและกําหนดวิธีการ ซอมปรับปรุงทั้งหมดโดยดวนตอไปดวย ทั้งการซอมแซมฉุกเฉินและการซอมแซมปรับปรุงใหมีสภาพมั่นคงตลอดไปน้ัน ควรดําเนินการตามลําดับดวยวิธีการเหมือนกับการซอมปรับปรุงกรณีพ้ืนที่ดินทายเขื่อนที่มีนาไหลพุงออกมา

5.10) ดินดานทายเขื่อนทะลักปูดขึ้นเน่ืองจากลาดของเขื่อนเลื่อนทลาย ควรซอมแซมควบคู

กับการซอมลาดเขื่อนที่เลื่อนทลาย โดยหลักการแลว ที่บริเวณดานทายเขื่อนน้ีจะตองมีการถมดินจนสูงขึ้นมา เพ่ือใหมีนํ้าหนักกดทับมาก เปนการเพ่ิมแรงตานทานการเลื่อนทลาย จนสามารถตานทานนํ้าหนักดินลาดเขื่อนที่พยายามกดผลักลาดเขื่อนสวนน้ัน ลาดเขื่อนจึงไมเลื่อนลงอีก การซอมปรับปรุงลักษณะน้ีจะตองมีการวิเคราะหและคํานวณใหถูกตองเพ่ือหาความหนาดินที่จะกดทับใหเหมาะสม

5.11) ใหหมั่นตรวจสอบสภาพลาดเขื่อนดานเหนือนาที่ระดับผิวนํ้า เพราะอาจจะถูกคลื่นกัด

เซาะจนเวาแหวง ควรใชหินที่มีขนาดเล็กใหญคละกันปูทับบริเวณที่เวาแหวงน้ันใหเต็ม หรือใหมีความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร

5.12) ใหหมั่นรดนํ้าหญาที่ปลูกไวตามลาดเขื่อนเพ่ือปองกันนํ้าฝนกัดเซาะ ใหตนหญามีการ

เจริญงอกงามดี ถาหากพบวาบริเวณใดไมมีหญาหรือหญาตายก็ควรปลูกซอมเสียแลวรดนํ้าใหโตเต็มที่ กอนที่จะยางเขาฤดูฝน

๒๓

Page 30: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

5.13) ถาตรวจพบวาดินลาดเขื่อนไดถูกนํ้ากัดเซาะเปนรอง ควรจะถมดินกลบรองใหเต็มแลวปลูกหญา ไมควรปลอยทิ้งไว เพราะรองตางๆ เหลาน้ันจะขยายมีขนาดใหญมากขึ้นอยางรวดเร็วในฤดูฝน แลวจะทําใหการซอมแซมตอไปมีความยากลาบาก หรือตองเสียคาใชจายแพงขึ้นอีกโดยไมจําเปน

5.14) บนสันเขื่อนควรมีการปูปดทับดินลูกรังบดอัดแนนใหมีความหนาประมาณ 20

เซนติเมตร ตลอดแนวเขื่อน เพ่ือปองกันสันเขื่อนไมใหแตก ซึ่งนํ้าฝนจะไหลลงไปขังหรือกัดเซาะใหเปนรูโพรง และในกรณีที่ใชสันเขื่อนเปนทางสําหรับรถว่ิงก็ควรจะหมั่นดูแลดวยคอยเพ่ิมดินลูกรังไมใหสันเขื่อนเกิดหลุมหรือเปนแองใหนํ้าฝนขังอยูได

5.15) ควรตรวจสอบสภาพของรองนํ้าทายอาคารระบายนํ้าลนทุกป เพราะอาจจะถูกนํ้าไหล

กัดเซาะเขามาจนเปนอันตรายตอพ้ืนอาคาร การซอมแซมจะนิยมทิ้งหินขนาดใหญปองกันไวจนทั่วบริเวณที่ถูกนํ้ากัดเซาะตามความเหมาะสม

5.16) คอนกรีตของอาคารสวนที่เปนรองนํ้าบางแหงอาจจะถูกกระแสนํ้ากัดเซาะจนชํารุด

เสียหาย จึงตองหมั่นซอมใหมีสภาพมั่นคงใหเข็งแรงดีอยูเสมอ 2. การตรวจสอบและบํารงุรักษาฝาย

1) ทําการตรวจสอบสภาพและมีการบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะอยางย่ิงหลังจากที่นํ้าจํานวนมากไดไหลผานฝายแลวทุกครั้ง ถาพบวาฝายและตลิ่งที่บริเวณใกลกับฝายสวนใดชํารุดก็ควรจะรีบซอมแซมทันท ี

2) ควรจะมีการตรวจสอบและทําการซอมใหญ จนทั่วตลอดทั้งฝายและอาคารในบริเวณที่มี

การชํารุดเสียหายใหมีสภาพดีเหมือนเดิม ปละหน่ึงครั้งเปนอยางนอยเชนกัน 3) ใหหมั่นตรวจสอบสภาพหินกอที่พ้ืนฝายและที่ลาดดานขางทางบริเวณทายฝายวาจะมี

นํ้าซึมออกมาจากรูเล็กๆบางหรือไม ถามีใหซอมหินกอบริเวณน้ันเสียใหม 4) ในกรณีที่ปลายฝายทั้งสองขางมีเกาะสําหรับปองกันปกฝายไมใหไดรับอันตรายในขณะที่นํ้า

ไหลมาตามลํานํ้ามีระดับสูงกวาตลิ่ง จะตองหมั่นตรวจสอบแลบํารุงรักษาคันดินและหินปูปองกันลาดคันดินน้ัน ใหอยูในสภาพที่เรียบรอยดีตลอดเวลาดวย

5) ใหหมั่นตรวจสภาพลํานํ้าทางดานทายฝาย ตลอดจนหินที่ลาดตลิ่งและทองนํ้าซึ่งใชสําหรับ

ปองกันไมใหกระแสนํ้ากัดเซาะ โดยเฉพาะชวงฤดูฝนที่มีนํ้าไหลขามฝายจํานวนมาก ถาพบวาหินที่ไดกอสรางไวแลวมีความหนาไมเพียงพอหรือถูกนํ้าพัดพาไป จะตองจัดหามาทิ้งเพ่ิมใหมีความหนามากขึ้น มิฉะน้ันการกัดเซาะอาจจะลุกลามเขาไปถึงพ้ืนและลาดทายฝายที่เปนสวนหน่ึงของอาคารจนพังลงได

6) ฝายที่สรางไวทุกแหงมักจะมีปญหาเก่ียวกับตะกอนทรายที่จะตกจมอยูทางดานหนาฝาย

ถึงแมวาจะมีการกอสรางประตูระบายทรายไวแลวก็ตาม อาจจะระบายทรายผานออกไปไดไมหมดจน เหลือตก

๒๔

Page 31: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

ทับถมและมีปริมาณมากขึ้นๆ ควรจะมีการขุดลอกตะกอนดานหนาฝายออกบางในชวงฤดูแลง ที่นํ้าดานหนาฝายมีระดับตํ่า เปนครั้งคราวไปตามความเหมาะสม 3. การบํารงุรักษาคลองสงน้ําประเภท คลองดิน คลองดาดคอนกรีต และอ่ืนๆ

ปญหาสําคัญที่มักจะเกิดขึ้นกับคลองสงนํ้าคือ ปญหาการตกตะกอน การเกิดโพรงคอนกรีตเน่ืองจากการกัดเซาะของนํ้า ปญหาการรั่วซึมของนํ้าผานคลองดิน รวมทั้งการเจริญเติบโตของวัชพืชนํ้าเชนกัน

สําหรับระบบคลองสงนํ้ามีความจําเปนที่จะตองไดรับการซอมแซมและบํารุงรักษาตามสภาพ

ซึ่งปญหาที่พบไดบอยๆ เชน - การทําลายคันก้ันคลอง หรือติดต้ังทอระบายนํ้าตํ่ากวาตลิ่ง เพ่ือดึงนํ้าออกจากระบบไปใช

มากกวาคนอ่ืน - การสรางสิ่งกีดขวางในลําคลอง จะสามารถยกระดับนํ้าในคลองใหสูงขึ้นโดยจะสงผลให

สามารถนํานํ้าไปใชมากและสะดวกขึ้นเชนกัน - การติดต้ังทอปลอยนํ้าเพ่ิม เพ่ือที่จะทําใหรับนํ้าไดปริมาณมากขึ้น - การขาดการบํารุงรักษาระบบสงนํ้า และระบบระบายนํ้าในพ้ืนที่ - การไมสามารถปฏิบัติตามตารางกําหนดการสงนํ้า - การปลอยใหสัตว เชน โค กระบือ ขามหรือลงไปเลนนํ้าในคลองสงนํ้า - การเคลื่อนยายคอนกรีต หินเรียง หรืออิฐที่ใชในการดาดคลองออกและนําไปใชงานอยางอ่ืน

ดวยความรูเทาไมถึงการณ - การเคลื่อนยายไมวัดระดับนํ้า (Staff Gauges)

๒๕

Page 32: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

รูปที่ 1 แผนภาพแสดงชวงเวลาของงานบํารุงรักษาคลองสงนํ้า

สําหรับงานในการบํารุงรักษาและซอมแซมจะมีลักษณะแตกตางกันไปตามลักษณะและสภาพ ของปญหาดังน้ี 3.1 งานขุดลอกตะกอนและกําจัดวัชพืชในคลองสงน้ํา เปนการทําความสะอาดคลองสงนํ้าชนิดคลองดิน และดาดคอนกรีตที่มีตะกอนอยูในลําคลองซึ่งควรทําการขุดลอกตะกอนออกจากลําคลอง ใหทองคลองปราศจากดินตะกอนหรือวัชพืชทุกครั้ง กอนมีการสงนํ้าควรขุดลอกตะกอนออกใหหมด คลองดินและคลองดาดคอนกรีต โดยปกติแลวจะออกแบบเพ่ือปองกันมิใหเกิดการตกตะกอนและเกิดการกัดเซาะในลํานํ้า นอกจากบริเวณอาคารขวางคลอง ตะกอนสวนมากอาจจะเกิดจากตะกอนสวนเกินจากอางเก็บนํ้าหรือในลํานํ้าสาขา กอนจะมีการขุดลอกตะกอน ควรมีการตรวจสอบขนาดและรูปรางของหนาตัดคลอง ทั้งหนาตัดตามยาวและหนาตัดตามขวาง เพ่ือกําหนดระดับความลึกของตะกอนตลอดความยาวคลองที่ถูกตอง ตะกอนที่ถูกขุดขึ้นมาแลวนําไปทิ้งใหหางจากคลองสงนํ้าหรือโดยการบดอัดใหแนน เพ่ือปองกันมิใหตะกอนถูกพัดพาลงมาในคลองอีก โดยทั่วไปวัชพืชจะหย่ังรากลึกลงไปในดิน และเติบโตตามความลาดชันของคลอง เชนเดียวกับวัชพืชนํ้าจะเจริญเติบโตในนํ้าและอาจหย่ังรากลึกลงไปในช้ันตะกอนดินในนํ้า การกําจัดพืชและวัชพืชที่เกิดในคลองสงนํ้าโดยทั่วไปแลว จะใชแรงงานคนในการกําจัด ซึ่งจะเห็นไดวามีประสิทธิภาพมากกวาการใชใบมีดตัด เพราะสามารถกําจัดไดถึงราก ดังน้ันจะเห็นวาไมจําเปนตองใชเครื่องมือใดๆ หากเปนไปไดควรมีการตรวจสอบรอยรั่วที่เกิดขึ้นในคลองดวย เปนการลดการสูญเสียนํ้าในคลองในชวงฤดูการสงนํ้าดวย สําหรับคลองดาด วัชพืชที่เจริญเติบโตสามารถกําจัดโดยการขุดลอกตะกอนดินในคลองสงนํ้าออก และปองกันมิใหตะกอนเขามาในคลองไดอีกในอนาคต วัชพืชที่หลงเหลือมักพบบริเวณรอยแตกของคอนกรีตดาดคลอง สามารถแกไขโดยการอุดหรือซอมแซมรอยแตกที่ตรวจพบ

๒๖

Page 33: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

3.2 งานซอมแนวคลองสงนํ้า เปนการซอมแซมรอยแตกราวของคลองสงนํ้าสายตางๆหรือรอยแยกของคอนกรีตระหวางรอยตอการซอมแซมจุดรอยแตกราว ใหทําทุกจุดทุกสายของคลอง และกอนจะมีการสงนํ้าทุกครั้ง คาใชจายในการซอมแซมคลองชลประทานที่เกิดความเสียหายเปนโพรงน้ันคอนขางสูงเน่ืองจากกอนที่จะมีการเติมดินลงไปน้ัน จะตองทําการขุดโพรงขยายออกไปในแตละขางอยางนอย 1-3 เมตร เพ่ือใหมีขนาดที่เหมาะสมที่จะบดอัดดินใหมได ในกรณีที่เปนคลองดาดสามารถทําได โดยนํา ช้ินสวนที่เสียหายของวัสดุที่ดาดคลองออก จนสามารถมองเห็นเปนโพรงที่เกิดขึ้นได หากเปนโพรง ขนาดใหญควรจะเอาดินดานบนออกดวยจนกลายเปนรูเปดขนาดใหญ ในกรณีที่สามารถแกไขปญหาได โดยการนําดินเหนียวหรือดินรวนปนดินเหนียวมาทําการบดอัดลงในรูเปดน้ันโดยใชแรงงานคน หากมีเฉพาะดินทราย ควรทําการผสมดวยปูนซีเมนต จากน้ันเพ่ิมสวนผสมของดินลงไปในโพรง และบดอัดใหแนนจนเต็มพ้ืนที่ ในกรณีที่ไมสามารถสังเกตเห็นโพรงที่เกิดขึ้นบริเวณดานบนของแนวผนังที่ดาด พบแตเพียงรอยราวขนาดเล็กที่จุดตอเช่ือมของการดาดคอนกรีต การสังเกตอาจใชไฟฉายไดหากจําเปน วิธีการแกไขปญหา คือการใชวัสดุที่เหมาะสมเช่ือมรอยราวน้ัน โดยการอัดฉีด (grout) หรือการใชสวนผสมของปูนซีเมนตกับดิน (soil - cement) เติมลงไปในรอยราวน้ัน 3.3 งานซอมคันคลองสงน้ําและการปลูกหญาเพื่อรักษาคันคลอง ดินคันคลองจะมีโอกาสพังทลายเน่ืองจากถูกนํ้าฝนชะลางออกหรือถูกยานพาหนะว่ิงยา ทําใหดินหอหุมคลองสงนํ้าทั้งสองขางพังทลายจําเปนตองนาดินมาเสริมแตงไหลคลองถึงฐานคลองใหเกิดความหนาแนนปองกันคลองทรุดแตกราว ปญหาของคันคลองดาดมักจะพบความเสียหาย เน่ืองจากแรงดันของนํ้าซึ่งเกิดจากการไหล ของนํ้าผานรอยตอระหวางการดาด และการทรุดตัวของดินเน่ืองจากเกิดรอยราวบนแนวคอนกรีตดาดคลองปญหาคันคลองดินถมมักจะเกิดจากการกัดเซาะจากนํ้าฝน ปญหาหลักสําหรับคันคลองดินถม คือ ปญหาการรั่วซึมจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูบริเวณเหนือเสนผิวนํ้า เชน หนู ซึ่งทําใหเกิดโพรง รูรั่ว โดยสามารถสังเกตไดเมื่อระดับนํ้าในคลองสูงกวารูรั่ว จะมีนํ้ารั่วซึมออกมา ควรรีบทําการซอมแซมปญหารูรั่วที่เกิดขึ้น ควรทําการหาจุดที่มีการรั่วมีการซึม และใชแรงงานคนขุดออกและเติม ดินลงไปแลวทําการบดอัดใหม สําหรับคลองดาดที่เกิดปญหารอยแตกตามแนวนอน เน่ืองจากปญหาการบดอัดดินๆไมเหมาะสม หากผนังที่ดาดของคลองอยูในสภาพที่เปนอันตราย อาจจะตองทําการขุดเทากับครึ่งหน่ึงของความสูง และบดอัดใหมใหแนนดวยดินคุณภาพดีช้ันละประมาณ 10-15 เซนติเมตร หากพบวามีโพรงเกิดขึ้น การบํารุงรักษาที่เหมาะสมในขั้นตอนแรก ควรจะถมดินลงไปหลังจากขุดคันคลองขึ้นมา และทําการซอมแซมคันคลองใหม การปองกันการกัดเซาะคันคลองที่ดีที่สุด คือการปลูกหญาคลุมดินซึ่งในระยะยาว สามารถลดปริมาณตะกอนในคลองสงนํ้าได และเมื่อทําการปลูกหญาแลวสิ่งจําเปนคือ การดูแลรักษาหญาคลุมดินโดยการปลูกหญาจะตองพิจารณาความเหมาะสมหลายดาน คือชนิดของพืชที่ เหมาะสมตอสภาพแวดลอมบริเวณคลองสงนํ้าน้ันพืชจะเจริญเติบโตไดดีในดินที่อุดมสมบูรณ และในปแรกควรมีการใสปุยและรดนํ้าเพ่ือใหหญาคลุมดินมีรากที่มั่นคงและควรปองกันมิใหสัตวเขาไปทําลายในบริเวณที่มีการเพาะปลูกใหม เปนเวลาอยางนอย 1 ป

๒๗

Page 34: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

3.4 งานกําจัดวัชพชืบนคันคลองสงน้ํา เปนการกําจัดวัชพืชที่ปรากฏตามดินคันคลองสงนํ้าทั้งสองขาง เพ่ือปองกันมิใหเกิดความเสียหายตอแผนคอนกรีต โดยทําการขุดรากวัชพืชออกใหหมด แลวนําดินมาเสริมแตงใหทําพรอมกันกับเวลาซอมดินคันคลอง 4. การบํารุงรกัษาคูน้าํ การบํารุงรักษาระบบชลประทานในไรนา ซึ่งไดแก คูสงนํ้า คูระบายนํ้า อาคารชลประทาน และถนนบนคันคู เปนหนาที่โดยตรงของผูใชนํ้าทุกคน ที่จะตองชวยกันดูแลบํารุงรักษา เพ่ือใหสิ่งกอสรางเหลาน้ันมีอายุการใชงานยาวนาน 1) การบํารุงรักษาเชิงปองกัน 1.1) ปลูกหญาคลุมหลังคันคู เพ่ือปองกันนาฝนกัดเซาะดิน 1.2) อยาปลูกตนไมบางชนิดบนคันคู เพราะรากไมจะทาใหคันคูเปนรูโพรง 1.3) อยาใหสัตวเหยียบยาบนคันคู ควรนําสัตวขามตรงทางขามที่กําหนดไว 1.4) ไมทิ้งเศษของตางๆ หรือสิ่งกีดขวางการไหลของนํ้าลงในคูนํ้า 1.5) รีบซอมแซมอุดรูรั่วที่คันคูทันทีที่พบเห็น เพ่ือไมใหขยายกวางออกไปจนเกิดความเสียหายได 1.6) อยาเปดอาคารปากคูสงนํ้า เพ่ือรับนํ้าเขาดวยปริมาณมาก ๆ โดยทันทีทันใด เพราะจะทําใหกระแสนํ้ากัดเซาะคันคูเสียหายได 1.7) อยาเปดหรืออัดนาเขาคูสงนํ้าจนลนหลังคันคู เพราะจะทาใหคูสงนํ้าและอาคาร ชลประทานเสียหายได 1.8) อยาฟนหรือเจาะคันคูเพ่ือรับนํ้า เพราะจะทําใหคูสงนํ้าไดรับความเสียหาย 1.9) อยาอัดนํ้าที่อาคารในคูที่ไมมีชองใหอัดนํ้า เชน อาคารทอทางขามเขาแปลงเพาะปลูกเพราะแรงดันของนํ้าจะทําใหอาคารพังเสียหาย

๒๘

Page 35: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

2) การบาํรุงรกัษาตามปกต ิ 2.1) กําจัดวัชพืชในคูนํ้า และขุดลอกคูที่ต้ืนเขิน ระวังอยาขุดลอกตํ่ากวาระดับกนคูตามทีก่อสรางไวเดิม เพราะจะทําใหระดับนํ้าในคูลดตํ่าลง 2.2) อุดรูโพรงที่คันคูนํ้า 2.3) ซอมแซมอาคารในคูนํ้า ขั้นตอนการบาํรุงรกัษา 1) หัวหนาคู ออกสํารวจสภาพคูสงนํ้าและอาคารชลประทาน เพ่ือพิจารณาวิธีการซอมแซมและบํารุงรักษา 2) หัวหนาคู แจงนัดสมาชิกผูใชนํ้าใหมารวมกันทําการบํารุงรักษา 3) หัวหนาคู ตรวจสอบรายช่ือผูที่มารวมทําการบํารุงรักษา 4) สมาชิกรวมกันทําการบํารุงรักษาตามกําหนดเวลา ภายใตคําแนะนําของหัวหนาคู 5) หัวหนาคู บันทึก สรุปผล แจงตอหัวหนาคลอง การดแูลเพือ่มิใหมีการทาลายคูน้าํ รัฐและเกษตรกรผูใชนํ้ารวมสรางคูนํ้าและอาคารชลประทาน เพ่ือใหเกษตรกรผูใชนํ้าไดใชประโยชน หากผูใด ทาใหคูนํ้าและอาคารสิ่งกอสรางชํารุดเสียหาย ยอมมีความผิดตามกฎหมาย ผูใชนํ้าทุกคนมีหนาที่ในการดูแลรักษา และปองกันการเสียหายโดย

1) บอกลูกหลาน และบุคคลใกลชิดใหชวยกันรักษาไว อยาทาลาย

2) อยาใหผูใดมากระทําใหเกิดความเสียหายแกคูนํ้า และอาคารสิ่งกอสรางตาง ๆ

3) รีบแจงผูใหญบาน หัวหนาคู และเจาหนาที่ของสวนราชการที่เกี่ยวของ ใหทราบทันทีที่พบ เห็นความเสียหาย หรือการกระทําใด ๆ ทีจ่ะกอใหเกิดความเสียหาย 5. การบํารุงรกัษาสถานีสบูน้ําดวยไฟฟา สถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา ถือวาเปนสมบัติของทุกคน ดังน้ัน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและเกษตรกร (สมาชิกผูใชนํ้า) จะตองชวยกันดูแล ซอมแซม และบํารุงรักษาสิ่งเหลาน้ีใหคงสภาพใชงานไดดีอยูเสมอ ทั้งน้ี เพ่ือผลประโยชนของเกษตรกรผูใชนํ้าเพราะถาหากวานาไมสามารถไหลไดสะดวก หรือเกิดการ

๒๙

Page 36: คู มือการปฏิบัติงาน Work Manual) · 5 ในป งบประมาณ 2561 และแผนการจัดทําคู มือ ปฏิบัติงาน

รั่วไหลเน่ืองจากคลองสงนํ้าไมไดรับการดูแล บํารุงรักษาที่ดีพอ เกษตรกรผูใชนํ้าที่อยูตอนปลายคลองจะไดรับความเดือดรอน เน่ืองจากไมสามารถรับนํ้าจากโครงการได และยังจะเกิดการสูญเสียนํ้าโดยเปลาประโยชน ซึ่งจะเปนผลกระทบกับคากระแสไฟฟาที่ทางสมาชิกผูใชนํ้าตองรับผิดชอบดวย ในการซอมแซมและบํารุงรักษาสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาและระบบสงนํ้าน้ันแตละทองถิ่นสามารถจะกําหนดขอบเขตหรือหนาที่ความรับผิดชอบแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับขอตกลงของทองถิ่นน้ันๆ แตโดยทั่วไปการซอมแซมและบํารุงรักษามีดังน้ี 1. ซอมแซมคลองดาดคอนกรีต ทอสงนํ้า และอาคารชลประทานที่ชํารุดเสียหายจากการใชงาน 2. ซอมบํารุงรกัษาเครื่องสูบนํ้า และอุปกรณสูบนํ้า 3. ซอมบํารุงรกัษาอุปกรณไฟฟาที่เกี่ยวของกับการสูบนํ้า ที่ชํารุดเสียหายจากการใชงาน 4. ซอมแซมดินคันคลองที่ชํารุดเสียหาย หรอืเปนหลุม ซึ่งอาจเกิดจากนาฝน การเหยียบย่ําของสัตวหรือเครื่องมือทางการเกษตร ควรซอมแซมใหเรยีบรอย 5. ขุดคลองดินสงนํ้า กรณีทียั่งไมไดกอสราง คลองดาดคอนกรีต 6. ขุดลอกดินทองคลองดาดคอนกรีต กอนเริ่มตนฤดูกาลสูบนํ้าทุกครั้ง 7. ถางหญาตามแนวคันคลองสงนํ้า 8. ขุดลอกคลองซอย คลองแยกซอยใหใชงานไดตามปกติ 9. ชวยถอดเคลื่อนยาย และตอทอยางสงนํ้า หลังจากสมาชิกผูใชนํ้า ไดทําการซอมแซมบํารุงรักษาแลวเสร็จ พนักงานสูบนํ้ารวมกับประธานสมาชิกกลุมผูใชนํ้า จะไปตรวจสอบผลงานอีกครั้งหน่ึงในกรณีที่การบํารุงรักษาไมเรียบรอย สถานีสูบนํ้าจะยังไมสงนํ้าไปใหในสวนดังกลาว ซึ่งพนักงานสูบนํ้าจําเปนตองชวยกํากับดูแลใหเปนไปตามน้ีดวย เพ่ือเปนการชวยใหการบํารุงรักษาระบบสงนํ้าเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และใหกลุมผูใชนํ้าเขามามีสวนรวมมากขึ้นเมื่อสิ้นการสงนํ้าในแตละฤดู ควรใหหัวหนากลุมผูใชนํ้าเปนผูสํารวจ และแจงความเสียหายของระบบสงนํ้า และอาคารประกอบในสวนที่ตนรับผิดชอบโดยใชแบบฟอรม รายงานความเสียหายของอาคาร แลวเสนอไปถึงประธานกลุมผูใชนํ้า เพ่ือจะไดพิจารณาและแนะนาเขาสูที่ประชุมหรือทําบันทึกถึงพนักงานสูบนํ้าเพ่ือดําเนินการตอไป

๓๐