21
บทที่ 8 ปญหาที่เกิดจากการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันแลววานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กลไกสําคัญใน การพัฒนาประเทศทุกๆ ดาน โดยเฉพาะการศึกษา จึงเปนหนาที่ของรัฐบาลทุกประเทศในการพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเทาเทียมกับนานาอารยประเทศ เพื่อความเจริญ ความมั่นคง และเสริมสรางศักยภาพของประชาชนใหกาวไปสูพลโลก แตในทางกลับกันนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ ก็สงผลกระทบเชิงลบตอประชาชนในประเทศที่ไมมีการประสานความรวมมือระหวาง ภาครัฐ เอกชนและความรวมมือกับประเทศที่เปนผูสรางเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเกิดปญหาขึ้นกับ ประเทศไทย ทั้งทางดานการศึกษา ดานสังคม การติดตอสื่อสารที่ทําใหปฏิสัมพันธระหวางคนใน สังคมแปลกแยกออกไป และการใชเทคโนโลยีที่ไมใสใจตอสุขภาพ รวมถึงคาใชจายที่ตามมาอยาง มากมาย เทคโนโลยีเหลานี้เปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมของมนุษย การแกไขปญหาดังกลาวไดดี ที่สุดคือความตระหนักถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล ปจจุบันจากวิวัฒนาการอันกาวหนาและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ยุคนี้จึงถือวาเปนยุคของ ขอมูลสารสนเทศและความรู (Information and Knowledge Society) ความไมเทาเทียมกันของ บุคคลในสังคม ที่มีความสามารถในการเขาถึงขอมูล ขาวสารสามารถสรางความแตกตางกัน จะทําให รายได สถานภาพทางสังคม และการเรียนรู แตกตางกันเปนเปนอยางมาก ความไดเปรียบในการ เขาถึงขอมูลขาวสารได จะนําไปสูความเหลื่อมล้ําดานการศึกษา สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ จึงเรียกวาเปน ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล (digital divide) ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล กิดานันท มลิทอง (2548) กลาววา หมายถึง ความมี และ ความไมมี อันทําใหเกิดชองวาง ระหวาง ผูมีสารสนเทศ และ ผูไรสารสนเทศ (information haves and have-nots) คือ บุคคลที่เขาถึงและรับรูขาวสารความรู และบุคคลที่ไมมีโอกาสไดรับขาวสาร อยางเทาเทียมกัน โดยเนนถึงการที่บุคคลสามารถใชหรือเขาถึงอินเทอรเน็ต (internet access) ได หรือไม และรวมถึงประสิทธิภาพการรูไอซีทีของแตละบุคคลดวย จากการศึกษารายงานสุขภาพคนไทย พ.ศ.2556 จากเว็บไซต http://www.hiso.or.th สรุปไดวา ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทอยางมากในทุกกิจกรรมประจําวันของคนเรา โดยเฉพาะการใชโทรศัพทมือถือ และการเขาถึงอินเทอรเน็ตหรือใชสังคมออนไลน เชน เฟซบุค ทวีต เตอร และอินสตาแกรมเพิ่มสูงขึ้นทุกป แตคนไทยมีอัตราการเขาถึงอินเทอรเน็ตต่ําและต่ํากวาหลาย ประเทศในภูมิภาค ไมวาจะเปนสิงคโปร มาเลเซีย บรูไนเวียดนาม และฟลิปปนส ซึ่งในมุมมองของ การพัฒนาประเทศ รวมถึงการพัฒนามนุษยถือเปนความทาทายที่สําคัญ จึงควรตองเรงสงเสริมเพื่อ

บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

บทท่ี 8

ปญหาท่ีเกิดจากการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันแลววานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กลไกสําคัญในการพัฒนาประเทศทุกๆ ดาน โดยเฉพาะการศึกษา จึงเปนหนาที่ของรัฐบาลทุกประเทศในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเทาเทียมกับนานาอารยประเทศ เพื่อความเจริญ ความมั่นคง และเสริมสรางศักยภาพของประชาชนใหกาวไปสูพลโลก แตในทางกลับกันนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็สงผลกระทบเชิงลบตอประชาชนในประเทศที่ไมมีการประสานความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชนและความรวมมือกับประเทศที่เปนผูสรางเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเกิดปญหาข้ึนกับประเทศไทย ทั้งทางดานการศึกษา ดานสังคม การติดตอสื่อสารที่ทําใหปฏิสัมพันธระหวางคนในสังคมแปลกแยกออกไป และการใชเทคโนโลยีที่ไมใสใจตอสุขภาพ รวมถึงคาใชจายที่ตามมาอยางมากมาย เทคโนโลยีเหลาน้ีเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมของมนุษย การแกไขปญหาดังกลาวไดดีที่สุดคือความตระหนักถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล

ปจจุบันจากวิวัฒนาการอันกาวหนาและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ยุคน้ีจึงถือวาเปนยุคของขอมูลสารสนเทศและความรู (Information and Knowledge Society) ความไมเทาเทียมกันของบุคคลในสังคม ที่มีความสามารถในการเขาถึงขอมูล ขาวสารสามารถสรางความแตกตางกัน จะทําใหรายได สถานภาพทางสังคม และการเรียนรู แตกตางกันเปนเปนอยางมาก ความไดเปรียบในการเขาถึงขอมูลขาวสารได จะนําไปสูความเหลื่อมล้ําดานการศึกษา สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ จึงเรียกวาเปน ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล (digital divide)

ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล กิดานันท มลิทอง (2548) กลาววา หมายถึง ความมี และ ความไมมี อันทําใหเกิดชองวาง ระหวาง ผูมีสารสนเทศ และ ผูไรสารสนเทศ (information haves and have-nots) คือ บุคคลที่เขาถึงและรับรูขาวสารความรู และบุคคลที่ไมมีโอกาสไดรับขาวสารอยางเทาเทียมกัน โดยเนนถึงการที่บุคคลสามารถใชหรือเขาถึงอินเทอรเน็ต (internet access) ไดหรือไม และรวมถึงประสิทธิภาพการรูไอซีทีของแตละบุคคลดวย

จากการศึกษารายงานสุขภาพคนไทย พ.ศ.2556 จากเว็บไซต http://www.hiso.or.th

สรุปไดวา ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทอยางมากในทุกกิจกรรมประจําวันของคนเรา โดยเฉพาะการใชโทรศัพทมือถือ และการเขาถึงอินเทอรเน็ตหรือใชสังคมออนไลน เชน เฟซบุค ทวีตเตอร และอินสตาแกรมเพิ่มสูงข้ึนทุกป แตคนไทยมีอัตราการเขาถึงอินเทอรเน็ตตํ่าและตํ่ากวาหลายประเทศในภูมิภาค ไมวาจะเปนสิงคโปร มาเลเซีย บรูไนเวียดนาม และฟลิปปนส ซึ่งในมุมมองของการพัฒนาประเทศ รวมถึงการพัฒนามนุษยถือเปนความทาทายที่สําคัญ จึงควรตองเรงสงเสริมเพื่อ

Page 2: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

228

เพิ่มศักยภาพทางเทคโนโลยีสารสนเทศและความสามารถในการแขงขันของประเทศในระดับภูมิภาค ถึงแมวาการขยายตัวอยางรวดเร็วของการใชอินเทอรเน็ตและสังคมออนไลนของคนไทยในชวงที่ผานมา ซึ่งถือเปนเรื่องที่ดี แตก็มีสิ่งที่ตองใหความสําคัญ น่ันคือการเรงสรางความตระหนักและจิตสํานึกของคนไทยใหใชอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆอยางสรางสรรค เพื่อใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาประเทศ รวมถึงเพื่อเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาตนเองโดยเฉพาะในกลุมเด็ก เยาวชนและวัยรุน (อายุ 6 - 14 ป และ 15 - 24 ป) ซึ่งเปนกลุมที่มีสัดสวนสูงที่สุด ดังภาพที่ 8.1

ภาพท่ี 8.1 การใชโทรศัพทมือถือและอินเทอรเน็ต ป พ.ศ.2548-2555

ท่ีมา: http://www.hiso.or.th

Page 3: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

229

ภาพท่ี 8.2 จํานวนผูใช facebook ป พ.ศ.2555

ท่ีมา: http://www.hiso.or.th

ภาพท่ี 8.3 จํานวนผูใชอินเทอรเน็ต ป พ.ศ.2555 ท่ีมา: http://www.hiso.or.th

สาเหตุของการเกิดความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล เน่ืองจากความแตกตางกันทั้งฐานะความเปนอยูของบุคคล สภาพครอบครัว ระดับการศึกษา การอยูในทองถ่ินหางไกลจากความเจริญไมมีไฟฟาหรือโทรศัพทใช แมวาจะมีคอมพิวเตอรใชแตก็ไมสามารถเช่ือมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ตได ดวยเหตุของโครงสรางพื้นฐานดานการสื่อสารโทรคมนาคมยังไปไมถึง หรือไมคุมกับการลงทุนของหนวยงานที่เกี่ยวของ ความเหลื่อมล้ําทางดานดิจิทัล เปนคําที่เกิดข้ึนในชวงกลางทศวรรษที่ 1990s โดยสะทอนใหเห็นถึงชองวางขนาดใหญ ระหวางผูมีคอมพิวเตอรและเขาถึงอินเทอรเน็ตกับผูไมมีโอกาสใช โดยเฉพาะอยางย่ิงในชวงแรกๆ ที่คอมพิวเตอรยังมีราคาสูงและเวิลดไวดเว็บ ยังเปนการใชงานอยูในแวดวงจํากัดของนักวิทยาศาสตรและผูมีฐานะดีเทาน้ัน จึงทําใหผูมีรายไดปานกลางและรายไดนอยแทบที่จะไมมีโอกาสใชประโยชนจากเว็บไซตไดเลย แมวาในเวลาตอมาคอมพิวเตอรจะมีราคาถูกลงและการบรกิารอนิเทอรเน็ตมีมากข้ึน แตยังคงมีความเหลือล้ําเน่ืองมาจากปจจัยตางๆ มาก ดังที่ ดนุวศิน เจริญ (2551) ไดสรุปถึงสาเหตุของความเหลื่อมล้ํา ดังภาพที่ 8.4

Page 4: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

230

ภาพท่ี 8.4 สาเหตุของความเหลือ่มล้ําดานดิจิทลั ท่ีมา: http://mba.nida.ac.th/cec

จากภาพที่ 8.4 สรุปปญหาของความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัลไดวา การขาดแคลนนโยบายสนับสนุนจากรัฐ หรือ การใชนโยบายที่ไมเหมาะสม สงผลใหจํานวนผูใหบริการมีจํากัด รวมทั้งสองปจจัยน้ีนําไปสูความไมทั่วถึงของโครงสรางพื้นฐานเชน คอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต อุปกรณและการใหบริการที่มีราคาแพง สําหรับปจจัยดานอายุ และปจจัยดานการศึกษา นําไปสู การขาดความรูความชํานาญในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังน้ันสถานการณความเหลื่อมล้ําทางดิจิทัล ของประเทศไทยอยูในเกณฑที่นาเปนหวงและมีความจําเปนอยางย่ิงที่ตองไดรับการแกไข เน่ืองจากความสามารถในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศและความรู ผานทางคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต เปนตัวแปรที่สําคัญในการขจัดความยากจนและพัฒนาเศรษฐกิจใหเปนไปอยางย่ังยืน

สําหรับแนวทางการแกไขปญหาความเหลื่อมล้าํดานดิจิทัลน้ัน จําเปนตองทําไปดวยกันทั้งระบบทั้งภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ (NGO) รวมทั้งระบบการศึกษา และโครงสรางพื้นฐาน การลดชองวางทางเทคโนโลยีสารสนเทศดวยเพียงการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร หรือติดต้ังระบบอินเทอรเน็ตเขาไปยังกลุมคนยากจน หรือผูดอยโอกาสไมใชการแกปญหาในระยะยาว ดังภาพที่ 8.5

Page 5: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

231

ภาพท่ี 8.5 แนวทางแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําดานดิจทิัล ท่ีมา: http://mba.nida.ac.th/cec

การแกปญหาที่ย่ังยืนควรเปนการแกปญหาที่เนนไปที่ตัวบุคคลและชุมชน โดยใหโอกาสผูดอยโอกาสรวมถึงผูที่ไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศไดโดยงาย เชน ผูพิการและผูสูงอายุ ใหเขาใจถึงเทคโนโลยีสารสนเทศรวมถึงวิธีการที่จะสามารถประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศเหลาน้ันในการทํางานและวิถีชีวิตของตนเอง มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังตอไปน้ี

1. ลดอัตราคาใชบริการอินเทอรเน็ตใหมีราคาถูกลง 2. ปรับปรุงคุณภาพในการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหทั่วถึงทุกภูมิภาค 3. เพิ่มทักษะและความรูของประชาชนในการใชอินเทอรเน็ตและวิจารณญาณในการใช 4. สามารถเขาถึงและใชบริการอินเทอรเน็ตในสถานที่ทํางาน โรงเรียน และบาน 5. มีขอมูลสารสนเทศที่เปนประโยชนสอดคลองกับความตองการของประชาชน

ดังน้ันรัฐบาลและหนวยงานที่เกี่ยวของ ควรดําเนินการดวยนโยบายดังตอไปน้ี 1. กําหนดใหการขยายโครงขายบริการโทรคมนาคมสําหรับบริการโทรคมนาคม

พ้ืนฐานโดยท่ัวถึง สามารถรองรับการใหบริการอินเทอรเน็ตดวยความเร็วและคุณภาพท่ีเหมาะสม โดยรัฐบาลตองผลักดันใหประเทศไทยเปนสังคมแหงการเรียนรู และกําหนดใหการขยายโครงขายบริการโทรคมนาคมทุกพื้นที่ที่โครงสรางพื้นฐานสามารถเขาถึงได สามารถรองรับการใชงานอินเทอรเน็ตดวยความเร็วที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เพราะจะเปดโอกาสใหประชาชนในพื้นที่หางไกลสามารถมีทางเลือกในการเขาถึงบริการอินเทอรเน็ตไดอยางเทาเทียมกัน รวมถึงคอมพิวเตอรและอุปกรณเช่ือมตอดวยเทคโนโลยีตางๆ ควรราคาถูก เพราะเปนปจจัยหน่ึงที่จะชวยลดชองวางความเหลื่อมล้ําทางดิจิทัล ควรเปนการรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชนในการนําเสนอคอมพิวเตอรฮารดแวรและซอฟตแวรราคาถูก ใหกับผูที่มีรายไดนอย เพื่อที่จะเขาถึงและใชเทคโนโลยีสารสนเทศได

2. สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือใหมีการใช เทคโนโลยีโครงขายความเร็วสูง เน่ืองจากสื่อตางๆ ในปจจุบันมีรูปแบบการใชงานขอมูลในลักษณะมัลติมีเดีย เชน เพลง วิดีโอ และโปรแกรมประยุกตอื่นๆผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต จึงตองการระบบเครือขายที่มีความรวดเร็วในการรับสงขอมูล (Bandwidth) สูง ซึ่งในขณะน้ีหนวยงานองคกรของภาครัฐบาล โดยเฉพาะสถานศึกษา ยังคงใชระบบเครือขายที่มีความรวดเรว็ในการรบัสงขอมูลตํ่า ไมสามารถใชประโยชนจากสื่อมัลติมีเดียดังกลาวในการจัดการเรียนการสอนได

3. การนําเครื่องคอมพิวเตอรกลับมาใชงานใหม ซึ่งควรเปนความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชนในรูปแบบเครือขาย มีการประชาสัมพันธใหองคกรตางๆบริจาคเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานแลว เพื่อนําไปใชในชุมชนที่ดอยโอกาส และยังชวยลดผลกระทบตอสภาพแวดลอมจากการ

Page 6: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

232

กําจัดอุปกรณคอมพิวเตอรเหลาน้ันดวย รวมถึงลดคาใชจาย และภาระทางกฎหมายที่บังคับใหรีไซเคิลเครื่องคอมพิวเตอรเกาอีกดวย เชน มูลนิธิกระจกเงา ไดดําเนินงานโครงการคอมพิวเตอรเพื่อนอง เน่ืองจากมูลนิธิพบวา โรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ตางจังหวัด ยังคงขาดแคลนสื่อการเรียนการสอน หน่ึงในน้ันคือ อุปกรณคอมพิวเตอร ซึ่งเปนเครื่องมือในการศึกษา เพื่อใหนักเรียนคนควาหาขอมูลประกอบการเรียน จากสภาพปญหาการขาดแคลนคอมพิวเตอรของโรงเรียนในพื้นที่ตางจังหวัด เมื่อเปรียบเทียบกับการใชคอมพิวเตอรของคนเมืองน้ันถือวามีความรวดเร็วตอการเขาถึงเทคโนโลยีสมัยใหม เปนเหตุใหมีการเปลี่ยนรุนการใชงานอยูบอยครั้ง มูลนิธิกระจกเงา ไดทําการเปดรับบริจาคคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงทุกสภาพการใชงาน โดย เจาหนาที่จะนํามาซอมบํารุงตรวจสอบสภาพกอนที่จะสงมอบตอใหกับโรงเรียน ขนาดเล็กที่ขาดแคลน นอกจากจะเปนการแบงปน เทคโนโลยีเพื่อนักเรียนไดศึกษาใชงานแลว ยังไดเปนการนําทรัพยากรเครื่องมือเดิมที่มีอยูกลับมาใชประโยชนตอไดอีกครั้ง ดังภาพที่ 8.6

ภาพท่ี 8.6 โครงการคอมพิวเตอรเพื่อนองของมลูนิธิกระจกเงา ท่ีมา: http://www.oknation.net

4. รัฐควรจัดใหมีบริการท่ีสอดคลองกับชุมชน เชน โครงการอินเทอรเน็ตตําบล และ โครงการอินเทอรเน็ตในสถานศึกษา ซึ่งผลการดําเนินงานตามโครงการตางๆ ของรัฐบาลที่ผานมา พบวาการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศของประชาชน บางสวนมัก

Page 7: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

233

ดําเนินการในลักษณะการนํานโยบายจากสวนกลางไปใชในลักษณะเดียวกันทุกพื้นที่ การดําเนินการในลักษณะดังกลาวอาจไมสอดคลองกับความตองการที่แทจริงของประชาชนในชุมชนแตละพื้นที่ซึ่งอาจมีความตองการ และความพรอมที่แตกตางกัน จึงสงผลใหขาดการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชน และมีผลกระทบใหบางโครงการไมประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่ไดต้ังไว จึงมีลักษณะการบริหารงานแบบ จากบนสูลาง (Top-Down) หรือลักษณะการสั่งการจากหนวยงานหรือองคกร โดยไมมีการวิเคราะหความตองการในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนในชุมชนอยางแทจริง

5. สงเสริมใหมีเน้ือหาของสารสนเทศและซอฟตแวรท่ีเหมาะสม ในสวนน้ีเปนบทบาททั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาซอฟตแวรรวมถึงเว็บไซตที่เหมาะสมและงายตอการใชงานของกลุมเปาหมายที่แตกตางกัน โดยการสงเสริมใหมีผูใหบริการเน้ือหา (Content Providers) และขยายขอบเขตกิจกรรมบนเครือขายอินเทอรเน็ตใหครอบคลุมความตองการของประชาชนในชนบท ควรมีการสํารวจความตองการในดานเน้ือหาที่จําเปนและเปนที่ตองการในแตละพื้นที่ สนับสนุนใหใชอินเทอรเน็ตเปนเครื่องมือทางการศึกษา การพาณิชย การสาธารณสุข และการใหบริการของภาครัฐมากข้ึน และควรสนับสนุนการใชช่ือโดเมน (Domain Name) ภาษาไทย รวมทั้งควรมีการจัดทําซอฟตแวรภาษาไทย และเว็บไซตภาษาไทยใหมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากสาเหตุอยางหน่ึงของการที่ประชาชนไมตองการใชอินเทอรเน็ตเน่ืองมาจากขอจํากัดในดานความสามารถการใชภาษา ภาครัฐควรมีการจัดทําขอตกลงกับบริษัทพัฒนาซอฟตแวรและเว็บไซตตางๆ ทั้งไทยและในภูมิภาค ใหสามารถนําเสนอเปนภาษาไทยไดดวยนอกจากจะนําเสนอเปนภาษาของตนเอง รวมถึงของประเทศไทยที่ควรเพิ่มการนําเสนอเปนภาษาอื่นๆ เชน ภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศในภูมิภาคอาเซียนดวย

6. พัฒนาชองทางการเขาถึงอินเทอรเน็ตใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เน่ืองจากในปจจุบันการเขาถึงอินเทอรเน็ต ไมจําเปนที่จะจํากัดเฉพาะการเขาถึงผานการใชคอมพิวเตอรต้ังโตะหรือพกพาเทาน้ัน การเขาถึงอินเทอรเน็ตสามารถกระทําไดผานทางอุปกรณอื่นๆ เชน โทรศัพทมือถือ เครื่องเลน MP3 วิดีโอเกม หรือแมกระทั่งทีวี อีกทั้งราคาที่มีแนวโนมที่ตํ่าลงพรอมกับฟงกช่ันการทํางานที่เพิ่มข้ึน โทรศัพทมือถือเหลาน้ีสามารถที่จะเปนชองทางในการเขาถึงอินเทอรเน็ตไดเปนอยางดี และขณะน้ีเปนยุคของโทรศัพทมือถือยุคที่ 3 (3G) ซึ่งมีชองทางในการรับและสงสัญญาณที่สูงข้ึน (Broadband Connection) ทําใหการเขาถึงอินเทอรเน็ตสามารถเปนไปไดทุกที่และรวดเรว็ และควรพิจารณาเพิ่มชองทางในการเขาถึงของผูพิการดวย เชน ผูพิการทางสายตาควรมีโอกาสในการเขาถึง

ขอมูลผานทางเสียง เชน Spoken Web Site หรือ Voice E‐mail เปนตน 7. ควรสงเสริมยกระดับการศึกษาและขีดความสามารถในการใชงานอินเทอรเน็ตของ

ประชาชน โดยมอบใหเปนหนาที่ของภาครัฐ เอกชนและสถาบันการศึกษา ในการใหการฝกอบรม เพื่อใหประชาชนในกลุมเปาหมายตางๆโดยเฉพาะกลุมคนพิการ กลุมผูสูงอายุ และเกษตรกรซึ่งยังมีสัดสวนการใชงานอินเทอรเน็ตคอนขางตํ่า เมื่อเทียบกับประชากรกลุมอื่นๆสามารถเขาถึงและใชขอมูลสารสนเทศทางอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการฝกอบรมความมีการออกแบบหลักสูตรใหตรงกับพื้นฐาน และความตองการของประชาชนในแตละกลุมเปาหมาย ทางเลือกอยางหน่ึงคือ ควรมีการสงเสริมใหมีการเรียนการสอนทางไกล ไปยังกลุมประชากรที่มีความเสียเปรียบในการเขาถึงขอมูลสารสนเทศ นอกจากน้ีควรมีการสงเสริมใหมีศูนยใหบริการอินเทอรเน็ตในพื้นที่ตางๆ

Page 8: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

234

ในรูปแบบบริการสาธารณะ ไปยังระดับหมูบาน โดยการออกแบบศูนยดังกลาว ควรออกแบบใหตรงกับความตองการในแตละพื้นที ่และหนวยงานที่มีหนาที่จดัการฝกอบรม ควรจัดชองทางการเรียนการสอนผานทางอินเทอรเน็ตในรูปแบบของอีเลิรนนิงในพื้นที่ เพื่อสงเสริมการคนหาและเรียนรูขอมูลสารสนเทศผานทางอินเทอรเน็ต เชน โครงการทรูปลูกปญญา ดังภาพที่ 8.7

ภาพท่ี 8.7 โครงการทรูปลูกปญญา ท่ีมา: http://www.trueplookpanya.com

ผลกระทบเชิงลบของการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ แมจะมีประโยชนและถือวามีความจําเปนในวิถีชีวิตจองประชาชนในศตวรรษที่ 21 ก็ตาม แตอีกดานหน่ึงก็มีผลกระทบเชิงลบตอผูใช นํามาซึ่งโทษภัย เชน ปญหาดานสุขภาพ สิ่งแวดลอม ความไมเทาเทียมกันในสังคม การกาวกายสิทธิสวนบุคคล และการหลอกลวงในโลกไซเบอร ผลกระทบดังกลาว ทําใหประเทศไทยตองตราพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 รายละเอียดในแตละประเด็น มีดังตอไปน้ี

1. ปญหาดานสุขภาพ เปนผลกระทบโดยตรงตอผูใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพทั้งกาย ใจ และสังคมรอบขาง โดยสวนใหญแลว ผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศเอง จะไมรูตัวจนกวาจะเกิดปญหาดานสุขภาพข้ึน ประชาชนผูใชงานคอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต รวมทั้ งโทรศัพทมือถือ แท็บเล็ต จึงควรระมัดระวังในการใชอุปกรณเหลาน้ีอยางเหมาะสม ถูกวิธี เพื่อปองกันการเกิดผลเสียตอสุขภาพซึ่งอาจรายแรงจนเกินกวาจะรักษาได นอกจากน้ีสนามแมเหล็กไฟฟาจากโทรศัพทเคลื่อนที่และเสาอากาศทําใหมีการแผรังสี เปนตนเหตุของการเกิดมะเร็งและโรครายอื่นได

Page 9: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

235

ทางการแพทยไดวิจัยความเช่ือมโยงระหวางการใชคอมพิวเตอรมากเกินไปกับความเจ็บปวยดานสุขภาพ พบวา การน่ังทํางานหนาจอคอมพิวเตอรนานๆ ทําใหเกิดความเมื่อยลาของกลามเน้ือดวงตา มีผลกระทบทําใหเมื่อยตา สายตาเสื่อมลง ปวดกลามเน้ือและปวดศีรษะ คลื่นไส เปนตน เน่ืองมาจากการกระพริบและแสงสะทอนจากจอมอนิเตอร สวนผลกระทบทางระบบประสาท ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส อึดอัด และนอนไมหลับ เปนตน โรคที่เกิดจากทาน่ัง เชน กลุมอาการปวดขอตางๆ

และจากการเคลื่อนไหวขอมือและแขนมากเกินไป จะทําใหขอมือลาและนําไปสูการบาดเจ็บตึงเครียดของกลามเน้ือได รวมถึงโรคที่เกิดจากเช้ือโรคที่มีอยูในคอมพิวเตอร เชน โรคภูมิแพ จากฝุนละอองที่สะสมอยูในตัวเครื่องคอมพิวเตอร และถูกใบพัดระบายความรอนเปาออกมาตลอดเวลาที่ใชงาน มีการวิจัยคนพบวาสารเคมีจากจอคอมพิวเตอรกอให เกิดโรคภูมิแพ ได สารน้ีมี ช่ือวา Triphenyl Phosphate ที่ใชกันอยางแพรหลายทั้งในจอวิดีโอและคอมพิวเตอร สามารถกอใหเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ เชน คัน คัดจมูก และปวดศีรษะ ผลวิจัยพบวา เมื่อจอคอมพิวเตอรรอนข้ึนจะปลอยสารเคมีดังกลาวออกมา โดยเฉพาะหากสภาพภายในหองทํางานที่มีเน้ือที่จํากัด เครื่องคอมพิวเตอรอาจจะเปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดโรคภูมิแพได

นอกจากอาการบาดเจ็บที่เห็นไดชัดแลว ยังมีความเจ็บปวยทางดานความคิดและจิตใจอันเกิดจากการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต รวมถึงการไดรับสารสนเทศมากเกินไป จนทําใหเกิดความกดดันและความสับสนทางจิต เชน โรคทนรอไมได (Hurry Sickness) มักจะเกิดกับผูที่เลนอินเทอรเน็ต ที่ทําใหกลายเปนคนข้ีเบื่อ หงุดหงิดงาย ใจรอน เครียดงาย เชน ทนรอเครื่องดาวนโหลดนานๆ ไมได กระวนกระวาย หากมีอาการมากๆ ก็จะเขาขายโรคประสาทได จึงควรปรับเปลี่ยนลักษณะงานและพยายามควบคุมอารมณตนเอง โดยการใชคอมพิวเตอรใหนอยกวา 1-2 ช่ัวโมง ตอครั้งเพื่อพักกลามเน้ือตา หากนานกวาน้ีสายตาจะพรา อาจปวดกระบอกตา แสบตา ตาแดง นํ้าตาไหล ปวดคอ ปวดบา ปวดไหล

2. ปญหาดานสิ่งแวดลอม ปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงประเภทตางๆ ที่ไมใชงานแลวถูกทิ้งใหเปนขยะจํานวนมาก อันเปนผลใหเกิดมลพิษดานสิ่งแวดลอมและสืบเน่ืองไปถึงปญหาดานสุขภาพดวย อุปกรณไอซีทีเหลาน้ีไมวาจะเปนเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องแสกนเนอร จอภาพ เปนตน ไดแพรสารตะกั่วและสารหนูที่เปนพิษตอรางกาย ที่เพียงบางสวนของอุปกรณเหลาน้ีเทาน้ันที่สามารถทําลายหรือนํามาใชใหมได ทําใหสวนที่ไมถูกทําลายถูกนํ้าชะลางซึมลงพื้นดินกอใหเกิดมลภาวะและเปนอันตรายตอสุขภาพ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไดมีนโยบายลดการใชกระดาษ สงเสริมใหมีการใชกระดาษซ้ํา (Recycle) โดยการปรับปรุงกระบวนการทํางานภายในดวยระบบอิเล็กทรอนิกส การจํากัดการใชหมึก เพื่อลดปริมาณคารบอนที่เกิดข้ึนจากการพิมพเอกสาร การจัดเก็บและสงตอเอกสารในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ซึ่งเปนสวนหน่ึงของการนําระบบไอทีมาปรบัใชในกระบวนการทาํงานมาตรการลดการใชพลังงานในสวนของพลังงานดานไฟฟา และนํ้ามันโดยวัดระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน

3. ความไมเทาเทียมกันในสังคม ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัลระหวางบุคคลในชาติเดียวกันและระหวางประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา ลวนกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันในสังคมระดับประเทศและระดับโลก จากผลการศึกษาเรื่องความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัลพบวา ผูมี

Page 10: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

236

รายไดสูงเปนกลุมที่ใชอินเทอรเน็ตมากกวากลุมผูมีรายไดนอย แผนการพัฒนาสังคมแหงความเทาเทียมดวยไอซีที พ.ศ.2551-2553 ระบุสาเหตุที่ทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัลวา เน่ืองจากสังคมยังมีผูที่ขาดแคลนอุปกรณ เทคโนโลยี และวิธีการเขาถึงขอมูลขาวสารหรือองคความรู ซึ่งเปนสวนสําคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต จึงเกิดความแตกตางและความเหลื่อมล้ําทางดานความรูข้ึนมาในสังคม โดยเฉพาะผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ คําถามคือจะทําอยางไรที่จะทําใหชองวางที่เกิดข้ึนลดลง แผนการพัฒนาสังคมฯ ดังกลาว จึงกําหนดกรอบแนวทางและแผนงานใหผูดอยโอกาสสามารถเขาถึงแหลงบริการและขาวสารขอมูลไดอยางเทาเทียม โดยการลดขอจํากัดการใชเว็บไซต (เพิ่ ม Web Accessibility) เพิ่ มการใช เทคโนโล ยีสิ่ งอํานวยความสะดวก (พัฒ นา Assistive Technology) และ เพิ่มแหลงเขาถึงอินเทอรเน็ต (เพิ่ม Access Channels)

ความเหลื่อมล้ําของสังคมในประเทศไทย ที่เกิดจากการพัฒนาการทางเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารอยางรวดเร็ว ซึ่งเรียกวา ความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงสารสนเทศและความรูผานเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สังคมจึงไดรับผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ในเชิงบวก ไอซีทีบางสวนไดรับการพัฒนาโดยคํานึงถึงการเขาใชของผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและเปนสวนหน่ึงของสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู เชนเดียวกับสมาชิกอื่นในสังคม ไดรับความสะดวกมากข้ึนในดานการสื่อสารสาธารณะ บริการโทรศัพท การใชบริการทั้ง หลายที่ผานระบบขอมูลขาวสารอิเล็กทรอนิกสเครื่องบริการทํารายการอัตโนมัติ (Interactive Transaction Machines :ITM) ฯลฯ สิ่งเหลาน้ีลวนแตเปนการเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ

สําหรับผลกระทบในเชิงลบน้ัน แมวาผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ เขาถึงไอซีทีไดโดยสะดวกข้ึน แตอาจตกเปนเหย่ือพวกมิจฉาชีพที่มุงกออาชญากรรมดานไอซีที อาจเปนการเปดชองทางและโอกาส ทําใหเขาไดรับอันตรายหรือรับขอมูลที่เปนภัยตอตนเองได ดังน้ัน การชวยใหประชาชนกลุมน้ีขาถึงสารสนเทศ จึงตองมีการคํานึงถึงแนวทางที่จะพิทักษผูดอยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ ไมตกเปนเหย่ืออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

4. การกาวกายสิทธิสวนบุคคล ดวยสมมรรถนะของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวงที่มีขนาดเล็ก เชน กลองดิจิทัลและโทรศัพทเคลื่อนที่ ซึ่งมีกลองถายรูปขนาดเล็กติดต้ังอยู ทําใหผูประสงครายสามารถแอบถายภาพบุคคลในลกัษณะอนาจาร หรือนําไปตัดตอเปนภาพที่นําความเสื่อมเสียช่ือเสียงมาใหกับบุคคลน้ัน แลวนําไปเผยแพรทางอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดความเขาใจผิดแกผูชม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 35 ระบุวา "สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง ตลอดจนความเปนอยูสวนตัวยอมไดรับความคุมครองการกลาวหรือไขขาวแพร หลายซึ่งขอความหรือภาพไมวาดวยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเปนการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง หรือความเปนอยูสวนตัวจะกระทํามิได เวนแตกรณีที่เปนประโยชนตอสาธารณะ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับความคุมครองจากการแสวงประโยชนโดยมิชอบจาก

Page 11: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

237

ขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ" แมแตการสงอีเมลในลักษณะ spam และอีเมลขยะ (junk mail) จํานวนมากโดยที่ผูรับไมตองการ รวมถึงการปลอยไวรัสไปตามเครือขายคอมพิวเตอรตางๆ เปนการกาวกายและลิดรอนสิทธิสวนบุคคลอยางย่ิง

5. การหลอกลวงในโลกไซเบอร จากรายงานของ 2012 NORTON CYBERCRIME REPORT; Norton by Symantec, 2012 ระบุวาอาชญากรรมไซเบอร ป พ.ศ. 2555 ผูใชบริการออนไลนในโลกไซเบอรกวา 1.3 หมื่นคน จาก 24 ประเทศ ทั่วโลก Symantec รายงานขอคนพบอยางนาสนใจวาแตละวัน เหย่ือของอาชญากรรมในโลกไซเบอร มีถึง 1.5 ลานคนทั่วโลก คิดเปน 18 คนตอวินาที คิดเปนคาความเสียหายถึง 110 พันลานเหรียญสหรัฐตอป รูปแบบของอาชญากรรมผานเครือขายสังคมออนไลนและเครื่องมือสื่อสารพกพา โดยเฉพาะโทรศัพทมือถือมีแนวโนมเพิ่มข้ึนอยางมาก มีความซับซอนคาดไมถึง และความสามารถในการเตรียมการรับมือไดยากมากย่ิงข้ึน ชองทางของการกออาชญากรรมไซเบอรที่สําคัญ ไดแก ชองทางอีเมล การรักษาความลับเกี่ยวกับรหัสผาน รวมถึงการต้ังคารหัสผานความปลอดภัย ยังคงเปนกุญแจหลักที่สําคัญในการปองกันตนเองของผูใชบริการจากอาชญากรรมไซเบอรที่เกิดข้ึนได

จากรายงานสุขภาพคนไทย พ.ศ.2556 การหลอกลวงในโลกไซเบอรเกิดข้ึนกับกลุมผูใชงานคอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ตในระดับองคกร ซึ่งเปนกลุมคนที่ใชคอมพิวเตอรมากที่สุด และเปนกลุมที่เสี่ยงกับการโจมตีโดยผูไมหวังดี เพื่อลวงเอาขอมูลความลับ หรือ ทําลายระบบไอทีที่เปนแกนสําคัญในการดําเนินธุรกิจยุคใหม รายละเอียดของภัยคุกคามทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีดังตารางที่ 8.1

ตารางท่ี 8.1 ประเภทภัยคุกคามทางระบบคอมพิวเตอร

ประเภทภัยคุกคาม คําอธิบาย 1. การหลอกลวง หรือฉอโกงเพื่อผลประโยชน (Fraud)

เกิ ดได ในหลายลักษณ ะ เชน เว็บ ไซตปลอม (Phishing) การลักลอบใชงานระบบหรือทรัพยากรทางสารสนเทศที่ ไม ไดรับอนุญาตเพื่อแสวงหาผลประโยชนของตนเอง

2. โปรแกรมไมพึงประสงค (Malicious Code)

เกิดจากโปรแกรมหรอืซอฟตแวรที่ถูกพัฒนาข้ึนเพือ่สงใหเกิดผลลัพธที่ไมพึงประสงค กับผูใชงานหรือระบบ เชน เกิดความขัดของหรือเสียหายกับระบบ เชน Virus, Worm, Trojan หรือ Spyware ตางๆ

3. ความพยายามจะบุกรุกเขาระบบ (Intrusion Attempts)

เกิดจากความพยายามจะบุกรุก/เจาะเขาระบบ เพื่อจะไดเขาครอบครองหรอืทําใหเกิดความขัดของกับบริการตางๆ ของระบบภัยคุกคามน้ีรวมถึงความพยายามจะบุกรุก/เจาะระบบผานชองทางการตรวจสอบ บัญชีช่ือผูใชงานและรหัสผาน (Login) ดวย

Page 12: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

238

ท่ีมา: ศูนยประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอรประเทศไทย: ThaiCERT, 2555 ตารางท่ี 8.1 (ตอ)

ประเภทภัยคุกคาม คําอธิบาย 4. ความพยายามรวบรวมขอมูลของระบบ (Information Gathering)

เกิดจากความพยายามในการรวบรวมขอมลูจดุออนของระบบของผู ไมประสงค ดี (Scanning) เชน ขอมูลเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ ระบบซอฟตแวรที่ติดต้ังหรือใชงาน ขอมูลบัญชีช่ือผูใชงาน (User Account) ที่มีอยูบนระบบเปนตน

5. ภัยคุกคามอื่นๆ ภัยคุกคามอื่นๆ เชน เน้ือหาที่เปนภัยคุกคาม การโจมตีสภาพความพรอมใชงานของระบบการเขาถึงและเปลี่ยนแปลงขอมูลโดยไมไดรับอนุญาต

ภาพท่ี 8.8 ภัยคุกคามทางระบบคอมพิวเตอร ป พ.ศ.2555 ท่ีมา: http://www.hiso.or.th

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550

Page 13: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

239

ภัยคุกคามที่เกิดข้ึนจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนไดเพิ่มจํานวนสูงข้ึน เน่ืองจากการใชงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศมากข้ึนซึ่งสงผลใหเกิดการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรมากข้ึนดวยเชนกัน ดังน้ัน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 หมวดคอมพิวเตอร จึงถูกบัญญัติข้ึนเพื่ออธิบายลักษณะของการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและบทลงโทษ ทั้งน้ีเพื่อสรางความเขาใจแกประชาชนและชวยเหลือประชาชนเมื่อตกเปนเหย่ือของการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร นอกจากน้ียังสงเสริมใหประชาชนมีความรูและตระหนักถึงบทกฎหมายและบทลงโทษ เพื่อที่จะสามารถปองกันตนเองจากการตกเปนเหย่ือ และปองกันไมใหตนเองกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรทั้งโดยเจตนาหรือไมเจตนา ประเภทของการกระทําความผิดทีเ่กี่ยวกับคอมพิวเตอร ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร แบงไดเปน 2 แบบ คือ

1. อาชญากรรมคอมพิวเตอรในรูปแบบด้ังเดิม ซึ่งเปนการกระทําความผิดตอตัวขอมูล หรือระบบคอมพิวเตอรโดยตรงตามมาตรา 5-13 เชน การเจาะระบบ การดักขอมูล หรือการกอวินาศกรรมคอมพิวเตอรดวยการเผยแพรโปรแกรมทําลาย

2. ความผิดที่วาดวยตัวเน้ือหาของขอมูลที่นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดตามมาตรา 14-16 เชน การเผยแพรภาพลามก การเผยแพรขอมูลที่ขัดตอความมั่นคง หรือการหมิ่นประมาทดวยการตัดตอภาพ เปนตน

ในดานกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย ไดมีการรางกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งสิ้น 6 ฉบับ ไดแก

1) กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส 2) กฎหมายลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส 3) กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร 4) กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส 5) กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล และ 6) กฎหมายลําดับรองรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 หรือกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสราง

พื้นฐานสารสนเทศ เทคโนโลยีเปนเครื่องมือของการเรียนรู ในศตวรรษที่ 21 ในขณะเดียวกัน หากนําไปใช

ในทางที่ผิดกฎหมาย ก็จะถือวาผิดจริยธรรม การกําหนดนโยบายเกี่ยวกับจริยธรรมการใชคอมพิวเตอรและเครือขายจึงเปนสิ่งจําเปนหนวยงานตางๆ ควรกําหนดระเบียบ กฎเกณฑเปนลายลักษณอักษรเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกัน และผูใชควรที่จะปฏิบั ติตามระเบียบอยางเครงครัด รวมถึงชวยสอดสอง ดูแลและปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร อยางสม่ําเสมอ เพื่อใหประชาชนในสังคมอยูกันอยางสงบสุข การกระทําดังตอไปน้ี ถือวาเขาขายการใชคอมพิวเตอรที่ผิดกฎหมาย ใชไปในทางที่ผิดและผิดจรรยาบรรณ

Page 14: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

240

1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร (computer crime) หมายถึง การกระทําที่ผิดกฎหมายโดยการใชคอมพิวเตอร การทําลายคอมพิวเตอร หรือ การลักลอบเขาใชระบบคอมพิวเตอร (hack)

2. ชนิดของอาชญากรรมคอมพิวเตอร (type of computer crime) จากขาวการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรที่ผานมา สามารถแยกชนิดของความผิดไดดังน้ี

2.1 การโกงขอมูล (data diddling) เปนการปรับเปลี่ยนและจัดเก็บขอมูลในระบบคอมพิวเตอรโดยไมไดรับอนุญาต เชน ลักลอบเขาไปในระบบฐานขอมูลเกรดนักศึกษา แลวไปเปลี่ยนแปลงขอมูล เปนตน

2.2 เทคนิคแบบมาโทรจัน (Trojan horse technique) มาจากกลยุทธทางสังคมระหวางกรีซกับทรอย ในคริสตศตวรรษที่ 16 กอนคริสตกาล ที่ลักลอบทหารใสไวในมาไมแลวนําไปมอบใหกับกรีซ พอพลบคํ่าก็ออกมาเปดประตูใหกับทหารทรอยเขาโจมตีกรีซ จากหลักการน้ีเอง อาชญากรคอมพิวเตอรจะแฝงชุดรหัส (code) คอมพิวเตอร ฝงไวในโปรแกรมที่มีลิขสิทธ์ิ และตอมา code ดังกลาวจะทํางานโดยไมไดรับอนุญาตและสรางความเสียหายแกระบบคอมพิวเตอร

3. การใชคอมพิวเตอรในทางท่ีผิด (computer abuse) หมายถึง การกระทําที่ไมผิดกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร แตผิดดานจริยธรรม เชน การแพรไวรัส การขโมยขอมูล หรือทําใหระบบเครือขายคอมพิวเตอรหยุดชะงักหรือลม เปนตน

4. คนท่ีใชคอมพิวเตอรในทางท่ีผิดกฎหมาย (hacker) คําวา hacker เปนช่ือที่ใชเรียกบุคคลที่มีความชํานาญในการใชคอมพิวเตอรไปในทางที่ผิดกฎหมาย เชน แอบขโมยขอมูลจากระบบเครือขายคอมพิวเตอร แอบแกไขตัวเลขในบัญชีธนาคารของตนเองหรือบุคคลอื่น หรือการปรับแกไข ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร (crack) โดยไมถูกตองตามกฎหมาย

5. ไวรัสคอมพิวเตอร (computer virus) ไวรัสคือโปรแกรมคอมพิวเตอร ที่ซอนตัวอยูในโปรแกรมหลัก หรือระบบปฏิบัติการของผูใชงาน และจะถูกกําหนดใหเริ่มทํางาน โดยรบกวนขอมูล แฟมขอมูลในเวลาที่ผูใชกําลังทํางาน หากไมมีโปรแกรมโปรแกรมทําลายไวรัส โปรแกรมไวรัสก็จะกระจาย และแพรไปยังอุปกรณบนัทึกขอมลู จากเครื่องหน่ึงไปยังอกีเครือ่งหน่ึงหรือจากเครือขายหน่ึงไปยังอีกเครือขายหน่ึง เปนตน

การเจริญเติบโตอยางรวดเร็วของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประเทศไทยสงผลใหชีวิตประจําวันของผูคนในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความรวดเร็วและสะดวกสบาย นอกจากจะเปนประโยชนมหาศาลที่ผูใชไดรับจากเทคโนโลยีทันสมัยน้ี สิ่งที่แฝงมาดวยคือภัยรายที่อาจคุกคามชีวิตและทําใหสูญเสียทรัพยสินได ที่เรียกวาจากอาชญากรรมคอมพิวเตอร (computer crime หรือ cyber crime) คือการกระทําที่ผิดกฎหมายโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เชน การโจรกรรมขอมูลหรือความลับของหนวยงาน การบิดเบือนขอมูลการฉอโกง การฟอกเงิน การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร รวมถึงการกอกวนโดยกลุมแฮกเกอร (hacker) เชน ไวรัสคอมพิวเตอร การทําลายขอมูลและอุปกรณ เปนตน

ตารางท่ี 8.2 บทกําหนดโทษตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

Page 15: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

241

ตารางท่ี 8.3 การกระทําความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

ฐานความผิด

ตัวอยาง รูปแบบการกระทําความผิด

ตัวอยางผลกระทบตอ ความม่ันคงปลอดภัย

(Information Security) & ความเสียหาย

มาตรา ๕ เขาถึงระบบคอมพิวเตอร มาตรา ๖ เปดเผยมาตรการปองกันระบบ มาตรา ๗ เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอร มาตรา ๘ ดักรับขอมูลคอมพิวเตอร

สปายแวร (Spyware) สนิฟเฟอร (Sniffer)

- การสอดแนมขอมูลสวนตัว - การแอบดักฟง packet

มาตรา ๙ รบกวน/ทําลายขอมูลคอมพิวเตอร มาตรา ๑๐ รบกวน/ทําลายระบบคอมพิวเตอร

การใชชุดคําส่ังในทางมิชอบ (Malicious Code) เชน Viruses, Worms, Trojan Horses

- การตั้งเวลาใหโปรแกรมทําลายขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอร - การทําใหระบบคอมพิวเตอรทํางานผิดปกติไปจากเดิม หรือหยุดทํางาน (Denial of Service)

มาตรา ๑๑ สแปมเมล การทําสแปม (Spamming)

รบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรตามปกติ อาจถึงขั้นทําใหเปน Zombie

มาตรา ๑๒ เหตุฉกรรจ อันเกิดจากการกระทําขางตน

BOT หรือ BOTNET

- ผลกระทบตอความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ

Page 16: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

242

หรือทางเศรษฐกิจ - ความปลอดภัยสาธารณะ - การบริการสาธารณะ - อาจเกิดสงครามขอมูลขาวสาร (Information Warfare)

มาตรา ๑๓ การจําหนายหรือเผยแพรชุดคําส่ังไมพึงประสงค

Hacking Tools

- การสอดแนมขอมูลสวนตัว - การแอบดักฟง packet

มาตรา ๑๔ การนําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงขอมูลคอมพิวเตอรปลอม, เท็จ หรือไมเหมาะสม หรือการสงตอขอมูล (forward) น้ัน

การใชชุดคําส่ังในทางมิชอบ (Malicious Code) เชน Viruses, Worms, Trojan Horses, Phishing

- การตั้งเวลาใหโปรแกรมทําลาย ขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอร - การทําใหระบบคอมพิวเตอรทํางานผิดปกติ ไปจากเดิม หรือหยุดทํางาน (Denial of Service)

ตารางท่ี 8.3 (ตอ)

ฐานความผิด

ตัวอยาง รูปแบบการกระทําความผิด

ตัวอยางผลกระทบตอ ความม่ันคงปลอดภัย

(Information Security) & ความเสียหาย

มาตรา ๑๕ ความรับผิดฐานสนับสนุนการกระทําความผิดของผูใหบริการ

การโพสตหรือนําเขาขอมูล คอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๔

ความเสียหายกับบุคคลอ่ืน

มาตรา ๑๖ การตัดตอภาพ เปนเหตุใหถูก ดูหม่ิน ถูกเกลียดชัง หรืออับอาย

การตัดตอภาพ

ผูถูกกระทําถูกดูหม่ิน ถูกเกลียดชังหรอือับอาย

วิธีปองกันการเขาถึงขอมูลและคอมพิวเตอรจากบุคคลอื่นที่ไมไดรับอนุญาต มีดังน้ี 1. การใชช่ือผูใช (username) และรหัสผาน (password) 2. การใชวัตถุใดๆ เพื่อการเขาสูระบบ ไดแก บัตรหรือกุญแจ 3. การใชอุปกรณทางชีวภาพ (biometric device) เปนการใชอุปกรณที่ตรวจสอบ

ลักษณะสวนบุคคลเพื่อการอนุญาตใชโปรแกรม ระบบ หรือการเขาใชหองคอมพิวเตอร 4. ระบบเรียกกลับ (callback system) เปนระบบที่ผูใชระบุช่ือและรหัสผานเพื่อขอใช

ระบบปลายทาง

จริยธรรมในการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประสงค ปราณีตพลกรัง และคณะ (2541) ใหความหมายของคําวา จริยธรรม (ethics) คือ ความถูกตองหรือไมถูกตองที่เปนตัวแทนศีลธรรมที่เปนอิสระในการเลือกที่จะชักนําพฤติกรรมบุคคล อันเน่ืองมาจากเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) และระบบสารสนเทศ

Page 17: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

243

(information system) ทําใหเกิดปญหาความแตกตางกันระหวางบุคคลและสงัคม สามารถทําใหเกิดการบุกรุกสิทธิสวนบุคคลของผูอื่นหรือของคูแขงขัน การตกงาน การประกอบอาชญากรรมขอมูล ตลอดจนการเกิดนวัตกรรมใหมๆ ทําใหเกิดการผูแพ ผูชนะ ผูไดประโยชน ผูเสียประโยชน จากภาวะเชนน้ีทําใหเกิดการกระทําที่เปนความรับผิดชอบดานจริยธรรมและดานสังคมข้ึน ขอควรพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมของผูใชคอมพิวเตอร มีดังตอไปน้ี

1. การพิจารณาถึงจริยธรรมของผูใชคอมพิวเตอร (ethical considerations) จริยธรรม

ของนักคอมพิวเตอรหรือผูใชคอมพิวเตอร เกี่ยวของกับความชอบธรรม เน่ืองจากบุคคลตองรับรูดวยตนเองอยูแลววาสิ่งใดควรหรือไมควรกระทํา เชน การคัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธ์ิมาใชเพื่อการคา หรือการขโมยความลับทางสารสนเทศของบุคคลอื่น ไมวาจะเปนรหัสผูใชและรหัสผาน เปนตน

2. ความสัมพันธระหวางคอมพิวเตอรและปญหาดานจริยธรรม (computer-related ethical issues) ผูที่ทํางานทางดานคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศ ตองระมัดระวังและมีจรรยาบรรณ ดังที่ ศรีไพร ศักด์ิรุงพงศากุล และเจษฎาพร ยุทธนวิบูลยชัย (2549) กลาวถึงจริยธรรมในสังคมสารสนเทศ วา หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาที่กําหนดข้ึนเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใชระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ซึ่งเปนหลักเกณฑและมาตรฐานที่ประชาชนใชในการตัดสินใจเพื่อการกระทาํในสิ่งทีถู่กและหลกีเลีย่งในการกระทําผดิตอผูอืน่ที่อยูรวมกันในสังคม โดยมีหลักการที่เรียกวา PAPA ประกอบดวย

2.1 ความเปนสวนตัว (information privacy) หมายถึง สิทธิที่จะอยูตามลําพัง และเปนสิทธิที่เจาของสามารถที่จะควบคุมขอมูลของตนเองในการเปดเผยใหกับผูอื่น สิทธิน้ีใชไดครอบคลุมทั้งปจเจกบุคคล กลุมบุคคล และองคกรตางๆ

2.2 ความถูกตอง (information accuracy) หมายถึง ความนาเช่ือถือไดของขอมูลโดยพิจารณาวาใครจะเปนผูรบัผดิชอบตอความถูกตองของขอมูลที่จดัเก็บและเผยแพร ดังน้ันในการจัดทําขอมูลและสารสนเทศใหมีความถูกตอง นาเช่ือถือน้ัน ขอมูลควรไดรับการตรวจสอบความถูกตองกอนที่จะนําเขาฐานขอมูล รวมถึงปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัยอยู เสมอ รวมถึงการใหสิทธิแกบุคคลในการเขาไปตรวจสอบความถูกตองของขอมูลของตนเองได

2.3 ความเปนเจาของ (intellectual property) หมายถึง กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพยสินที่จับตองได เชน คอมพิวเตอร รถยนต และทรัพยสินทางปญญาที่จับตองไมได เชน บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร ที่สามารถถายทอดและบันทึกลงสือ่ตางๆ ได เชน สิ่งพิมพ เทป ซีดีรอม เปนตน

2.4 การเขาถึงขอมูล (data accessibility) หมายถึง การเขาใชงานโปรแกรมหรือระบบคอมพิวเตอร ที่มีการกําหนดสิทธิตามระดับของผูใชงาน เพื่อปองกันการเขาไปดําเนินการตางๆ กับขอมูลของผูใชที่ไมมีสวนเกี่ยวของ และเปนการรักษาความลับของขอมูล ดังน้ันจึงไมควรเขาถึงขอมูลของผูอื่นโดยไมไดรับความยินยอม เพราะจะเปนการละเมิดขอมูลของบุคคลอื่น

สําหรับสิทธิทางดานทรัพยสินทางปญญาน้ัน เปนทรัพยสินที่จับตองไมได ถูกสรางโดยบุคคลหรือบริษัท และอยูภายใตการคุมครองของกฎหมาย 3 ประการ ดังน้ี ความลับทางการคา

Page 18: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

244

(trade secrets) ลิขสิทธ์ิ (copyright) และ สิทธ์ิบัตร (patents) การคุมครองทั้ง 3 แบบเปนการคุมครองที่แตกตางกันในเรื่องของซอฟตแวร (software)

วิสัยทัศนของแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ.2552-2556 กําหนดไววา “ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT” โดยนิยามคําวา "สังคมอุดมปญญา" คือ สังคมที่มีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียวฉลาด (smart) และรอบรูสารสนเทศ (information literacy) สามารถเขาถึง และใชสารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ และรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและสังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีธรรมาภิบาล (smart governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางย่ังยืนและมั่นคง

บทสรุป ในบทน้ีไดนําเสนอความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล ซึ่งเกิดข้ึนจากชองวางของบุคคลที่เขาถึงและรับรูขาวสารความรู และบุคคลที่ไมมีโอกาสไดรับขาวสารอยางเทาเทียมกัน โดยเนนถึงการที่บุคคลสามารถใชหรือเขาถึงอินเทอรเน็ตไดหรือไม รวมถึงประสิทธิภาพการรูไอซีทีของแตละบุคคลดวย สําหรับผลกระทบเชิงลบของการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแก 1) ดานสุขภาพ 2) ดานสิ่งแวดลอม 3) ดานความไมเทาเทียมกันในสังคม 4) ดานการกาวกายสิทธิสวนบุคคล และ 5) การหลอกลวงในโลกไซเบอร สุดทายนําเสนอลักษณะการกระทําผิดทางคอมพิวเตอรและบทลงโทษ ตาม พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผดิเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 และจริยธรรมในการใชคอมพิวเตอร ซึ่งเปนหลักเกณฑและมาตรฐานที่ประชาชนใชในการตัดสินใจเพื่อการกระทําในสิ่งที่ถูกและหลีกเลี่ยงในการกระทําผิดตอผูอื่นที่อยูรวมกันในสังคม

กรณีศึกษาการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

อาชญากรคอมพิวเตอรที่สรางความหายนะให เครือขายคอมพิวเตอร ณ สถาบันเทคโนโลยีแหงแมซซาชูเซด ขอมูลจากเว็บไซต http://elearning.northcm.ac.th รายงานวา ในป ค.ศ.1988 นายโรเบิรด ที มอริส ไดเขาศึกษาในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ณ มหาวิทยาลัยคอรแนลซึ่งหลายๆคนยอมรับวาเขาเปนนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่เกงมากคนหน่ึง นายมอริส ไดเขียนโปรแกรมไวรัสคอมพิวเตอรที่เปนที่รูจักกันดีในนาม หนอนคอมพิวเตอร (worm) หรือบางทีเรียกวา หนอนอินเทอรเน็ต (Worm internet) โปรแกรมดังกลาวยากตอการตรวจพบหรือลบทิ้งโดยนักเขียนโปรแกรมคนอื่นๆ

วอรม ถือวาเปนโปรแกรมคอมพิวเตอรชนิดหน่ึงที่สามารถกระจายจากเครื่องคอมพิวเตอรหน่ึงสูอีกเครื่องหน่ึง โดยผู ใชเปนผูนําพา แตไมทําใหระบบปฏิบัติการ (operating system) ของคอมพิวเตอรเสียหายซึ่งตางจากไวรัส (virus) ที่เปนโปรแกรมที่กระจายและฝงตัวบนระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอรที่รับไวรัสน้ันเขาไป และจะกระจายไปยังเครื่องอื่นๆ ที่ใชไฟล (file) ขอมูลของเครื่องที่ติดเช้ืออยูแลว

Page 19: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

245

นายมอริส ตองการใหเกิดความเช่ือมั่นวา วอรม ตัวน้ีจะไมทําอะไรที่ซ้ําตัวของมันเองบนเครื่องคอมพิวเตอรที่มันฝงตัวเขาไป การทําซ้ําของวอรม (repeat worm) หลายๆ ครั้งจะสงผลใหเครื่องคอมพิวเตอรติดขัดหรืออาจทําใหเครื่องคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานได แตงายตอการตรวจจับ ดังน้ันนายมอริส จึงไดออกแบบวอรม ใหมโดยสามารถถามเครื่องคอมพิวเตอรที่มันฝงตัวอยูวามีสําเนาของวอรม หรือไม หากพบวา "ไมมี" มันก็จะทําสําเนาบนเครื่องคอมพิวเตอรน้ัน หากตอบวา "มี" มันก็จะไมทําสําเนา (copy) ลงไปอยางไรก็ดี นายมอริสก็กลัววาวอรม ที่ตนไดพัฒนาข้ึนจะถูกทําลายโดยนักเขียนโปรแกรมคนอื่นๆ ได ถาหากเจาของแกลงใหเครื่องสั่งวา “มี” ดังน้ันเขาจึงเขียนโปรแกรมใหวอรม สามารถทําซ้ําไดเพียง 7 ครั้งเทาน้ัน หากไดรับคําตอบวา “มี” อยูภายในเครื่องแลว อยางไรก็ตามนายมอริสอาจลืมคิดไปวาเครื่องคอมพิวเตอรอาจถูกถามคําถามเดียวกันหลายๆ ครั้งได ซึ่งเขาคิดวาวอรม จะถูกทําลาย แตเขาก็คิดวาคงไมมีผลเสียหายมากนัก

นายมอริส ไดใสวอรม น้ีเขาไปในระบบปฏิบัติการยูนิกส (Unix) ที่สถาบันเทคโนโลยีแมซซาชูเซต [Massachusetts Institute of Technology (MIT)] เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 เน่ืองจากตองการอําพรางตัวเอง เพราะเขาอยูที่มหาวิทยาลัยคอรแนล (Cornell) อยางไรก็ดีเรื่องนายมอริสไมคาดคิดไวก็ไดเกิดข้ึน เมื่อวอรม ไดแพรระบาดรวดเร็วเกินคาด และเมื่อนายมอริสพยายามจะรวมมือกับเพื่อนของเขาที่มหาวิทยาลัยฮารวารด โดยสงจดหมายไปบนเครือขายถึงวิธีการกําจัดวอรม น่ันเอง จดหมายขาวดังกลาวจึงไมสามารถสงไปได เหตุการณที่เกิดข้ึนจึงสายเกินกวาที่จะแกไขได

เครือขายคอมพิวเตอรที่เช่ือมโยงสถาบันการศึกษาในสหรัฐอเมริกา หนวยงานทหาร ศูนยวิจัยในสหรัฐอเมริกาลวนแตไดรับผลรายจากการระบาดของวอรม ตัวน้ีทั้งสิ้น ในที่สุดนายมอริสก็ถูกจับได และถูกตัดสินจําคุกเปนเวลา 3 ป แตศาลไดรอลงอาญาไว นอกจากน้ันยังไดถูกสงตัวไปใหบริการสังคมเปนเวลา 400 ช่ัวโมง หรือประมาณ 50 วันทําการ และถูกปรับเปนจํานวนเงิน 10,050 ดอลลารสหรัฐ หรือประมาณ 350,000 บาท

ปญหาและขออภิปรายเก่ียวกับกรณีศึกษา กรณีศึกษาผลที่เกิดจากสรางความหายนะใหเครือขายคอมพิวเตอร ณ สถาบันเทคโนโลยี

แหงแมซซาชูเซด ขางตน นักศึกษามีความคิดเห็นอยางไรกับประเด็นดังตอไปน้ี 1. ความคึกคะนองและอยากลองวิชาของนักศึกษา โดยเฉพาะการเขียนโปรแกรม

คอมพิวเตอรเพื่อไปสรางความเสียหายใหแกหนวยงานอื่นน้ัน นับวามีผลเสียหายอยางมากตอทรัพยสินและความรูสึกของผูใชคอมพิวเตอรเครือขาย หากนักศึกษาเปนผูที่อยูในสถาบันการศึกษา

Page 20: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

246

นักศึกษาจะมีมาตรการปองกันและปราบปรามผูไมประสงคดีที่บอนทําลายระบบเครือขายคอมพิวเตอรในหนวยงานของนักศึกษาอยางไร

2. จากงานวิจัยเรื่องการรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร กรณีศึกษา ณ สหรัฐอเมริกา พบวา 2 ใน 3 ของผูบุกรุกที่ไมประสงคดี และแอบขโมยขอมูลภายในหนวยงานและองคกรตางๆ น้ันมาจากคนภายในองคกรเองนักศึกษาจะมีแนวทางในการรักษาความปลอดภัยของขอมูลภายในองคกรอยางไร

กรณีตัวอยางอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในประเทศไทย

กรณีตัวอยางอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรในประเทศไทย ขอมูลจากเว็บไซต http://202.29.22.164/e-learning พบวา มีกรณีศึกษาที่นาสนใจ 2 กรณี ดังตอไปน้ี

1. กรณี Sanook.com กรณี Sanook.com เปนการแอบอางช่ือ สงขอมูลไปแจงขอแกไข IP address ที่

InterNic ซึ่งทาง InterNic น้ันใชเครื่องคอมพิวเตอรทํางานรับขอมูลและแกไขแบบอัตโนมัติแทนคนทั้งหมด ลักษณะ Robot โดยไดแกเปน IP หมายเลขอื่นๆ ที่ไมมีตัวตนจริง หลังจากน้ัน InterNic จะกระจายขอมูลไปยัง Root ตางๆ ใหเปลี่ยนแปลง ดังน้ัน เมื่อคนทั้งโลก จะเขาเว็บของ Sanook.com ก็จะช้ีไปยัง IP ปลอมดังกลาว ทําใหไมสามารถเขาเว็บจริงได ทั้งๆที่ เว็บของ Sanook ก็ยังเปดใชบริการอยูตามปกติ กรณีน้ี ไดสืบทราบวา ผูทําคือใคร ใชบัญชีลูกคา (account) ของ ผูใหบริการเครือขาย (ISP) รายใด ใชหมายเลขโทรศัพทใด แตไมอาจดําเนินคดีได ในชวงเวลาดังกลาวน้ัน มีเว็บไซตช้ันนําหลายราย ก็ถูกกระทําในลักษณะน้ี เชน Thaimail.com ฯลฯ

2. กรณี Thailand.com เปนกรณีของผูใชช่ือวา ซอนยา รักไทย ข้ันแรก สงขอมูลไปที่ InterNic ขอแกไข

หมายเลขโทรศัพทและที่ติดตอ เพื่อไมใหติดตอกลับได แตยังใชช่ือเจาของเดิม ข้ันตอมา ไดแจงใหเปลี่ยนช่ือเจาของเปน ซอนยา รักไทย และที่อยูใหม โดยอางวาไดซื้อโดเมนน้ันมาจากเจาของเดิม แลวต้ังเว็บใหมบนเครื่องใหม โดยใชโดเมนวา Thailand.com ตอมาเมื่อเจาของเดิมทักทวง ก็อางวาไดซื้อมาและพรอมจะขายคืนใหในราคาเดิมคือ 5 ลานบาท และไดสงเอกสารการซื้อขาย บัตรประชาชนปลอมของเจาของเดิม (บัตรเปนภาษาอังกฤษ) และหนังสือยืนยันรับรองมีตราประทับของหนวยราชการ (ไมมีตัวตน) ไปให InterNic จนในที่สุดเจาของเดิมตองแสดงหลักฐานตางๆ ยืนยันพรอมคํารับรองของบริษัทผูรับฝากเว็บในสหรัฐอเมริกา ไปให InterNic จึงไดโดเมนน้ันกลับคืนมา เจาของเดิมไมอาจใชเว็บน้ันไดประมาณ 1 เดือนเศษ

ปญหาและขออภิปรายเก่ียวกับกรณีศึกษา หากนักศึกษาเปนบุคคลที่ไดรับผลกระทบและไดรับความเสยีหายดังกลาว นักศึกษาคิดวา

ควรเพิ่มบทลงโทษเพื่อเปนการปองปรามมิใหเกิดการกระทําความผิดเชนน้ีอีกอยางไร ?

Page 21: บทที่ 8 · 2017-09-24 · บทที่ 8 ป ญหาที่เกิดจากการใช นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

247

คําถามทบทวน 1. ความเหลื่อมล้ําดานดิจิทัล คืออะไร โดยใหอธิบายตามความเขาใจและยกกรณีศึกษาที่เกิดข้ึนจริงในสังคมประกอบการอธิบาย 2. ผลกระทบเชิงลบของการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปจจุบันมีอะไรบาง ขอใหนักศึกษานําเสนอแนวทางในการปองกันหรือแกไข มา 1 กรณี 3. ผลกระทบเชิงลบของการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานใดถือวาสงผลทําใหประเทศไทยจําเปนตองมี พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 จงอธิบาย 4. ประชาชนชาวไทยควรมีจริยธรรมในการใชคอมพิวเตอร อะไรบาง และพฤติกรรมในลักษณะใดที่ถือวาขาดจริยธรรมในการใชคอมพิวเตอร

หัวขอคนควา : ใหเขียนรายงานการคนควาหัวขอเรื่อง ดังตอไปน้ี 1. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย 2. อาชญากรรมคอมพิวเตอรในประเทศไทย 3. แนวทางในการปองกันอาญากรรมคอมพิวเตอรในประเทศไทย