17
บทที9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หน้า 106 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวัน บททีบทที9 9 ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต วัตถุประสงค์การเรียนรู ้เชิงพฤติกรรม สามารถอธิบายความหมายของซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตได้ รู้จักซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตต่าง ๆ รู้จักการทางานพื ้นฐานของ

บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 106 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

บทที่ บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตอินเตอร์เน็ต

วตัถปุระสงคก์ารเรียนรู้เชิงพฤติกรรม สามารถอธิบายความหมายของซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่าย

อนิเตอรเ์น็ตได ้ รูจ้กัซอฟตแ์วรป์ระยกุตบ์นเครอืขา่ยอนิเตอรเ์น็ตต่าง ๆ รูจ้กัการท างานพืน้ฐานของ

Page 2: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 107 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

บทน า หลังจากที่ได้ท าเรียนรู้เกี่ยวกับเครือข่ายเบื้องต้น และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแล้ว ในบทเรียนนี้จะ

อธิบายถึงโปรแกรมประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน โดยแบ่งออกตามชนิดของบริการ

1. โ แ ม ะ ุ ต บ ค ื ข่า ต ในเคร ือข่ายอินเทอร ์เน ็ต โปรแกรมประยุกต ์หลายชนิดมีการท างานร่วมกันระหว ่างเครื ่อง

คอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน การท างานของโปรแกรมประยุกต์เหล่านี้มีลักษณะโครงสร้างการท างานที่คล้ายกันและมีชื ่อเรียกเฉพาะว่ามีสถาปัตยกรรมแบบ Client/Server

1 า ต มแบบ Client/Server

สถาปัตยกรรมแบบ Client/Server เป็นสถาปัตยกรรมของโปรแกรมที่ประกอบขึ้นด้วยโปรแกรมสองชุด ชุดแรกเป็นโปรแกรมที่ท าหน้าที่ในการให้บริการอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า ผู้ให้บริการหรือ Server ส่วนโปรแกรมอีกชุดหนึ่งเรียกว่าผู้ขอใช้บริการหรือ Client การท างานแบบ Client/Server จะเกิดขึ้นเมื่อโปรแกรมผู้ขอใช้บริการที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื ่องใดเครื่องหนึ่งส่งค าร้องขอใช้บริการซึ ่งเรียกว่า Request ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรมผู้ให้บริการอยู่ เมื่อโปรแกรมผู้ให้บริการได้รับค าร้องขอใช้บริการแล้วจะด าเนินการประมวลผลตามความต้องการที่ได้รับ เมื่อด าเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะท าการส่งผลของบริการนั ้นซึ่งเรียกว่า Reply กลับไปให้ผู ้ขอใช้บริการ การด าเนินการระหว่างผู้ขอใช้บริการและผู้ให้บริการเป็นไปดังรูปภาพที่ 8-1 โปรแกรมประยุกต์ที่มีการท างานในลักษณะการขอใช้บริการและการให้บริการ (Client/Server) ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลายชนิด เช่น Telnet (การจ าลองเครื ่องคอมพิวเตอร ์ที ่ใช ้งานอยู ่เป ็นแป้นพิมพ์และจอภาพของเครื ่องคอมพิวเตอร ์เครื ่องอื ่น หร ือ Virtual Terminal) FTP (การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์) Electronic Mail (ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์) และ World Wide Web เป็นต้น อย่างไรก็ดีเนื่องจากการขอใช้บริการและการรับบริการของโปรแกรมประยุกต์เหล่านี้เป็นบริการที่ต้องมีการรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ าย ดังนั้นจึงต้องมีข้อก าหนดในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ขอใช้บริการและผู้ให้บริการที่แน่นอนและชัดเจน ทั้งนี้เพื่อให้สามารถรับส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ข้อก าหนดเช่นนี้เรียกว่า โพรโตคอล (Protocol) โปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรม มีโพรโตคอลที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของบริการ ดังนั้นโปรแกรมผู้ใช้บริการเรื่องใดเรื่องหนึ่งจึงสามารถติดต่อขอใช้บริการได้เฉพาะจากโปรแกรมผู้ให้บริการในเรื่องเดียวกัน เช่น โปรแกรมผู้ขอใช้บริการ Telnet

Page 3: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 108 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

สามารถขอใช้บริการได้จากโปรแกรมผู้ให้บริการ Telnet เท่านั้น แต่ไม่สามารถขอใช้บริการจากโปรแกรมผู้ให้บริการ FTP ได้ เนื่องจากมีโพรโตคอลที่ต่างกัน

8-1 The Client/Server Model

2. บ า ว ด วด ว บ WWW (World Wide Web) รู้จักกันดีในชื่อเครือข่ายใยแมงมุม เป็นบริการในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีผู้ใช้

กันมากท่ีสุดในปัจจุบัน เป็นสถาปัตยกรรมโครงข่ายส าหรับเชื่อมโยงเอกสารที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์จ านวนมากในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือให้สามารถสืบค้นได้ง่ายโดยมีการท างานในลักษณะผู้ขอใช้บริการ-ผู้ให้บริการ (Client/Server) เกิดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1989 โดย Tim Berners-Lee เจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัย European Particle Physics (CERN) ในเจนิวา ตอนแรก Tim ต้องการพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลงานวิจัยในด้านฟิสิกส์ แต่พบว่าข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ไม่เหมาะกับการจัดเก็บลงฐานข้อมูลแบบเดิมที่มีใช้งานอยู่ในขณะนั้น Tim จึงได้หันมาใช้วิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลแบบ Hypertext (Hypertext Network of Information) ซึ่งท าให้เอกสารต่างๆที่มีอยู่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้

โปรแกรมที่ใช้ดูเอกสาร Hypertext หรือโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ CERN เป็นผู้สร้างขึ้นครั้งแรกเกิดขึ้นในปีค.ศ. 1990 แต่เริ่มแจกจ่ายให้กับหน่วยงานอ่ืนๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปีค.ศ. 1991 และเมื่อถึงปลายปีค.ศ. 1992 โปรแกรมเว็บบราวเซอร์กว่า 30 โปรแกรมที่ท างานอยู่บนระบบปฏิบัติการ Unix ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดย CERN และหน่วยงานในมหาวิทยาลัยทั้งสหรัฐอเมริกาและยุโรป ในปีค.ศ.1993 Marc Andressen นิสิตมหาวิทยาลัย Illinois เป็นผู้น าทีมนิสิตพัฒนา Mosaic โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ที่มีการแสดงผลแบบกราฟฟิกส์ตัวแรกของโลกขึ้นในฐานะส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย National Center for Supercomputing Applications (NCSA) ของมหาวิทยาลัย Illinois ในปลายปีค.ศ. 1993 Mosaic ได้เริ่มถูกใช้งานอย่างแพร่หลายและได้รับการพัฒนาให้สามารถท างานได้บนระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆเช่น Unix, MS Windows, Macintosh เป็นต้น ขณะนั้นมีจ านวนโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในโลกสูงถึง 200 กว่าโปรแกรม

ในปีค.ศ. 1994 Andressen เพ่ือนร่วมงานส่วนหนึ่งลาออกจาก NCSA ไปตั้งบริษัทและได้พัฒนาโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ในรูปแบบการค้าชื่อ Netscape ขึ้น นอกจากนี้ยังมีบริษัทซอฟต์แวร์อีกหลายบริษัทได้ถูกจัดตั้งขึ้น ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาอันสั้นนี้แสดงให้เห็นว่า WWW ได้เปลี่ยนโฉมหน้าของวงการคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่

Page 4: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 109 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

อย่างสิ้นเชิง โครงการ NCSA ได้สิ้นสุดลงในปีค.ศ. 1996 แต่ในขณะเดียวกัน Netscape และไมโครซอฟต์ต่างเริ่มลงทุนด้วยเม็ดเงินหลายร้อยล้านเพื่อพัฒนาโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ของตนให้ดีและมีส่วนแบ่งในการใช้งานมากยิ่งขึ้น

2.1 ผู้ขอใช้บริการ(Client)

ในมุมมองของผู้ขอใช้บริการ ระบบเวิลด์ไวด์เว็บประกอบขึ้นด้วยเอกสารจ านวนมาก เอกสารแต่ละหน้าเรียกว่าเอกสารเว็บ (Web Page) นอกจากจะมีเนื้อหาของตนเองแล้ว ยังอาจมีจุดเชื่อมโยง (Link) ไปยังเอกสารอ่ืนที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจอยู่ในเครื่องเดียวกัน หรือเครื่องอ่ืนใดที่อยู่ในเครือข่ายก็ได้ เอกสารเว็บ แต่ละหน้าอาจมีการเชื่อมโยงไปยังเอกสารอ่ืนได้หลายหน้าซึ่งแต่ละหน้าอาจอยู่ในเครื่องให้บริการต่างกัน ท าให้เกิดเป็นระบบเอกสารหลายมิติ (Hypertext) ขึ้น เมื่อผู้ใช้เลือกจุดเชื่อมโยงที่อยู่ในเอกสารใดเอกสารหนึ่ง ระบบจะท าการเชื่อมต่อไปยังเครื่องที่ให้บริการเพ่ือน าเอกสารนั้นมาแสดงโดยอัตโนมัติ ท าให้การสืบค้นเอกสารของผู้ใช้สะดวกและง่ายดาย

การแสดงผลเอกสารเว็บ ท าได้โดยใช้โปรแกรมค้นผ่าน (Browser) เช่น Firefox และ Microsoft Internet Explorer เป็นต้น โดยผู้ใช้ต้องระบุตัวชี้แหล่งทรัพยากรสากล หรือยูอาร์แอล (Universal Resource Locator หรือ Uniform Resource Locator เรียกย่อว่า URL) เช่น http://www.buu.ac.th/index.html (ยูอาร์แอลของผู้ให้บริการของมหาวิทยาลัยบูรพา) โปรแกรมค้นผ่านซึ่งเป็นผู้ขอใช้บริการจะท าหน้าที่สร้างการติดต่อและส่งความต้องการไปยังผู้ให้บริการ เมื่อผู้ให้บริการได้รับค าร้องแล้วจะส่งเอกสารเว็บนั้นมายังผู้ขอใช้บริการเพ่ือแสดงผลให้ผู้ใช้ต่อไป ตัวชี้แหล่งทรัพยากรสากล หรือยูอาร์แอลนี้โดยทั่วไปประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบสามส่วนคือ โพรโตคอลหรือวิธีการที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ชื่อโดเมนของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ และชื่อแฟ้มของเอกสารเว็บที่ต้องการ เช่น http://www.buu.ac.th/index.html มี http เป็นชื่อโพรโตคอล www.buu.ac.th เป็นชื่อโดเมนของเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ และ index.html เป็นชื่อแฟ้มของเอกสารเว็บ เอกสารเว็บนี้เขียนขึ้นตามข้อก าหนดของภาษาเอชทีเอ็มแอล (HyperText Markup Language- HTML) ซึ่งประกอบด้วยข้อความธรรมดา และป้ายระบุ (Tag) ใช้ก าหนดวิธีการแสดงผลส าหรับโปรแกรมค้นผ่าน ป้ายระบุนี้นอกจากจะใช้ก าหนดวิธีการแสดงผล เช่น ขนาด ลักษณะ และสีของตัวอักษร การจัดย่อหน้า และการแสดงรายการแบบต่างๆแล้ว ยังใช้ในการก าหนดจุดเชื่อมต่อ (Link) ไปยังเอกสารอ่ืน และใช้ในการแทรกแฟ้มชนิดอ่ืนในเอกสาร เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ และแถบเสียง เป็นต้น ท าให้เอกสารเว็บมีลักษณะเป็นเอกสารแบบสื่อประสม (Hypermedia) และเมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศก้าวหน้าขึ้น ท าให้ชนิดของแฟ้มในระบบคอมพิวเตอร์มีความหลากหลายมากขึ้น และเมื่อเวลาผ่านไปจ านวนชนิดของแฟ้มก็ยิ่งมากขึ้น จนเกินกว่าที่จะก าหนดวิธีการแสดงผลไว้ในโปรแกรมค้นผ่านทั้งหมดได้ จึงต้องก าหนดให้โปรแกรมค้นผ่านสามารถอ่านโปรแกรมจากภายนอกเข้าไปใช้เสริมการแสดงผลได้ โปรแกรมภายนอกเช่นนี้เรียกว่า หน่วยเสียบเข้า (Plug-in) ตัวอย่างเช่น โปรแกรม Adobe Acrobat ส าหรับใช้ในการแสดงผลเอกสารประเภท PDF (Portable Document File Format) เป็นต้น บ า ว บ Web Server)

Page 5: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 110 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

ผู้ให้บริการเป็นโปรแกรมที่ท างานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมผู้ใช้บริการ เช่น Apache และ Microsoft IIS เป็นต้น โปรแกรมเหล่านี้ท าหน้าที่ รอคอยเพ่ือให้บริการ เมื่อได้รับการเชื่อมต่อและชื่อแฟ้มเอกสารเว็บจากผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการจะท าการค้นแฟ้มที่ก าหนดจากระบบแฟ้มในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตน และท าการส่งเอกสารหลัก หรือเอกสารที่เขียนตามข้อก าหนดของภาษาเอชทีเอ็มแอลไปยังผู้รับบริการให้แล้วเสร็จก่อน จากนั้นจึงท าการส่งแฟ้มอ่ืนๆที่มีการอ้างอิงถึงในเอกสารเว็บไปยังผู้ขอใช้บริการ ด้วยเหตุนี้โปรแกรมค้นผ่าน (ผู้รับบริการ) จึงมีการแสดงผลข้อความก่อนที่จะแสดงข้อมูลชนิดอ่ืนๆ เช่น รูปภาพ และเสียง และเมื่อผู้ให้บริการส่งข้อมูลให้ผู้ขอใช้บริการครบถ้วนแล้ว จะยกเลิกการติดต่อกับผู้ขอใช้บริการ

8-2 ลักษณะการท างานของบริการเวิลด์ไวด์เว็บ 2.3 การสืบค้นข้อมูลในเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ

เพ่ือช่วยให้ผู้ใช้ในระบบเวิลด์ไวด์เว็บสามารถสืบค้นเอกสารที่ต้องการได้โดยสะดวก จึงมีผู้สร้างระบบเว็บที่ให้บริการสืบค้นข้อมูล (Search Engine) เช่น www.google.co.th และ www.answers.com เป็นต้น ผู้ให้บริการสืบค้นข้อมูลท าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารเว็บทั้งหมดในระบบท าดัชนี และจัดหมวดหมู่ เมื่อผู้ใช้ต้องการค้นข้อมูลเรื่องใด ก็เพียงแต่สร้างการเชื่อมต่อไปยังเว็บของ ผู้ให้บริการ และพิมพ์ค าส าคัญ (Keyword) ที่ต้องการใช้ในการค้นหา โปรแกรมสืบค้นจะท าการตรวจสอบกับฐานข้อมูลที่มีอยู่และรายงานผลเป็นยูอาร์แอลที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งตัวอย่างข้อความของเอกสารเว็บที่อยู่ใกล้กับค าส าคัญนั้น รายละเอียดการใช้งานของผู้ให้บริการสืบค้นแตกต่างกันไป เมื่อต้องการใช้บริการของผู้ให้บริการรายใดขอให้ศึกษาเป็นรายกรณีไป

The Internet

Client

Web Browser

Web Server HTML

DOCUMENT

index.html

REQUEST

index.html

WEB PAGE

http://www.buu.ac.th/index.html

HTTP

HTTP

HTML DOCUMENTS/

LINKED FILES

Page 6: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 111 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

3. Google Service บริษัท Google เป็นบริษัทโฆษณาและพัฒนา Online Application โดยรายได้หลักของ Google นั้นได้จากการโฆษณาเป็นหลัก บริการที่มีชื่อเสียงคือ การค้นหาข้อมูล (Search Engine) (url:http://www.google.com) Google มีบริการอ่ืนที่น่าสนใจอีกหลายบริการตัวอย่างเช่น บริการอีเมลล์, บริการ Messenger, บริการปฏิทิน, บริการบล็อค, บริการเอกสารออนไลน์, บริการอัลบั้มรูปออนไลน์และบริการวิดีโอออนไลน์ บริการที่กล่าวมาต่างก็มีผลกระทบต่อชีวิตสังคมของมนุษย์ทั้งสิ้น รวมถึงเป็นส่วนในการน าเสนอตัวตนของแต่ละบุคคลให้กับสังคมได้รับรู้ บริการของ Google จึงเป็นบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตของคนในปัจจุบันไปโดยปริยาย

รูปที่ 8-3 บริการการค้นหาที่น่าสนใจของ Google 3.1 บริการการค้นหาข้อมูล บริษัท Google เป็นผู้ให้บริการด้านการสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตรายใหญ่รายหนึ่ง ที่มีผู้ใช้จ านวนมาก เหตุผลของการใช้บริการของ Google เนื่องจาก Google ได้รวมบริการต่างๆ ไว้เป็นจ านวนมาก ดังนั้นคนที่ใช้งาน Google บริการด้านการค้นหาข้อมูลใน Google เริ่มต้นจากการค้นหาเว็บในอินเทอร์เน็ตและได้ขยายความสามารถออกเป็นบริการในการค้นหาตามเรื่องท่ีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสนใจ ตัวอย่างเช่น Google รูปภาพ ใช้ในการค้นหารูปภาพ, Google แผนที่ ใช้ในการค้นหาสถานที่, Google บล็อค ใช้ในการค้นหาบทความในบล็อก บริการที่อยู่ใน Search Engine ของ Google ประกอบด้วย 3.1.1 การค้นหาเว็บด้วยค าค้น (keyword search)

การค้นหาด้วย keyword หรือค าค้นใน Google เป็นบริการแรกที่มีการใช้งานมากท่ีสุด การ

Page 7: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 112 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

ค้นหาเว็บเริ่มจากผู้ใช้คิดหาค าค้นที่เหมาะสมกับการค้นหา และเริ่มพิมพ์ Google จะบริการหาค าข้างเคียงและค าท่ีเกี่ยวข้องให้ผู้ใช้สามารถค้นหาได้ง่าย นอกจากนั้นหลังจากการค้นหาแล้ว Google ยังมีวิธีการจัดเรียงที่มีประสิทธิภาพท าให้สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการค้นหาขึ้นมาอยู่ในล าดับบนมากท่ีสุด

รูปที่ 8-4 บริการค้นหาเว็บของ Google 3.1.2 การค้นหาหนังสือ (Book Search)

เป็นบริการค้นหาหนังสือแบบออนไลน์จาก http://books.google.com โดยระบุชื่อหนังสือท่ี ต้องการค้นหา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-5 บริการค้นหาหนังสือของ Google

Page 8: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 113 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

3.1.3 การค้นหารูปภาพ (Images) เป็นระบบการค้นหารูปภาพตามค าค้นที่ระบุ โดยเลือกจากหมวด “รูปภาพ” ในหน้าเว็บของ

Google ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-6 บริการค้นหารูปภาพของ Google 3.1.4 การค้นหาเพลง (Music Search)

เป็นการค้นหาเพลงหรือว่าดนตรีที่มีให้บริการฟังเพลงออนไลน์หรือว่าดาวน์โหลดเพลงจากท่ัวโลก โดยสามารถเข้าถึงได้จาก http://www.googlemusicsearch.com ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-7 บริการค้นหาเพลงออนไลน์ของ Google 3.1.5 การค้นหาภาพยนต์ (Movie Search)

เป็นบริการค้นหาภาพยนตร์หรือไฟล์วีดีโอต่างๆ โดยสามารถเข้าไปรายการภาพยนตร์หรือ

Page 9: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 114 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

ตารางโปรแกรมฉายแบบออนไลน์ได้ โดยสามารถเข้าใช้บริการผ่าน URL http://video.google.com ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-8 บริการค้นหาวีดีโอและภาพยนต์ของ Google 3.1.6 บริการค้นหาแผนที่ (Google Maps) เป็นบริการค้นหาแผนที่ในประเทศต่างๆ ข้อมูลธุรกิจท้องถิ่น ภาพจากดาวเทียม รวมถึงเส้นทางการเดินทางโดยสามารถก าหนดจุดเริ่มต้นและปลายทางได้ สามารถเข้าใช้บริการได้จาก URL http://maps.google.com ดังตัวอย่างต่อไปนี้

Page 10: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 115 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

รูปที่ 8-9 บริการค้นหาแผนที่ของ Google 3.2 เครื่องค านวณ (Calculator)

เป็นเครื่องค านวณที่สามารถค านวณสมการทางคณิตศาสตร์พ้ืนฐานได้ โดยป้อนสมการทาง คณิตศาสตร์ลงในช่องค้นหาของ Google แล้วคลิ้กหาค าตอบที่ต้องการได้เลย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-10 บริการเครื่องค านวณใน Google 3.4 บริการแปลงหน่วยมาตราเงิน (Currency Conversion)

เป็นบริการแปลงหน่วยมาตราเงินส าหรับระบบแลกเปลี่ยนเงินตราต่างๆ สามารถใช้บริการนี้ได้จาก http://www.google.com/finance/converter ดังตัวอย่างต่อไปนี้

รูปที่ 8-11 บริการแปลงหน่วยเงินตราของ Google 3.5 บริการแปลภาษาจากหน้าเอกสารเว็บ (Web Page Translation)

เป็นบริการแปลหน้าเอกสารเว็บ โดยสามารถระบุ URL เพ่ือให้ Google ท าการแปลเอกสารได้ สามารถใช้บริการได้จาก URL http://translate.google.com ดังตัวอย่างต่อไปนี้

Page 11: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 116 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

รูปที่ 8-12 บริการแปลเอกสารเว็บของ Google

3.6 บริการอีเมลล์ Gmail (url:http://www.gmail.com) บริการเมลล์ของบริษัท Google เริ่มต้นก่อตั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 เป็นการให้บริการอีเมลล์ฟรีใน

รูปแบบเว็บเมลล์มีการให้บริการทั้ง IMAP และ POP เมื่อผู้ใช้เข้าสมัครเพื่อใช้งาน Gmail แล้วจะเป็นจุดเริ่มต้นของบริการอ่ืน ใน Google อีกด้วย

รูปที่ 8-13 บริการอิเล็กทรอนิกส์เมล์ของ Google ในระบบเมลล์ของ Google จะเป็นตัวเชื่อมโยงไปยังบริการอ่ืน ของ Google

Page 12: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 117 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

3.7 Blogger (url:http://www.blogger.com) บริการเผยแพร่บันทึกผ่านเว็บไซด์ได้ง่าย และยังเป็นช่องทางในการแสดงความคิด บันทึกความรู้

ในชีวิตผ่านเว็บไซด์ Blogger รูปแบบการใช้งานผู้ใช้สามารถบันทึกข้อมูลได้ง่านในรูปแบบที่ก าหนดได้ผ่าน WYSIWYG Editor ท าให้การท าเว็บไซด์ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เมื่อบันทึกแล้วผู้ใช้สามารถก าหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูล รวมทั้งสมาชิกคนอ่ืนสามารถเข้ามาอ่านและวิจารณ์ผ่าน url http://ชื่อ.blogspot.com

รูปที่ 8-14 บริการในการสร้าง Blog ของ Google 3.8 ปฏิทินออนไลน์ Google Calendar

ปฏิทินใช้งานวางแผนงานในชิวิตประจ าวัน ใช้งานง่าย สามารถเข้าถึงได้หลายทางท้ังเว็บไซด์ ผ่านระบบมือถือ มีการแจ้งเตือนหลายทางทั้ง SMS, Email ท าให้ชีวิตและเพ่ือนร่วมงานสามารถท างานได้ง่ายยิ่งขึ้น

Page 13: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 118 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

รูปที่ 8-15 ตัวอย่างหน้าจอGoogle Calendar 3.9 เอกสารออนไลน์ Google Docs

งานเอกสารสามารถแสดงจัดการแก้ไขผ่านเว็บแอปลิเคชันทั้งเอกสารรายงาน เอกสารตารางและ งานน าเสนอ สามารถสร้างฟอร์มเพ่ือใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้ง่าย รวมถึงการท างานแบบแก้ไขรวมกันผ่านระบบเครื่อข่าย มีความสามารถในการใช้งานทดแทนโปรแกรมส านักงานทั่วไปได้อย่างไม่แตกต่าง

Page 14: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 119 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

รูปที่ 8-16 บริการงานเอกสารออนไลน์ Google Doc 3.10 iGoogle (was Google Personalized Homepage)

iGoogle เป็นหน้า Google ที่ถูกตั้งไปตามความต้องการของละบุคคล ผู้ใช้สามารถน าเอาฟีด RSS

หรือข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่งของเว็บอื่น ตัวอย่างเช่น Video จาก Youtube, เนื้อหาใน Blog, นาฬิกา , ปฏิทิน และอีกมากมาย ที่ให้บริการมาเพ่ิมเติมใส่เว็บ iGoogle ของตัวเองได้เรียกว่า Gadgets

รูปที่ 8-17 เว็บไซด์ iGoogle 3.11 Picasa Web Albums Picasa Web Albums เป็นบริการสร้างอัลบัมรูปออนไลน์ โดยผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกของ Google ทุกคนมีสิทธิสร้างอัลบัมรูปของตนเองได้ทันที

รูปที่ 8-18 บริการอัลบั้มรูปออนไลน์

Page 15: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 120 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

YouTube แหล่งรวมรวมและเผยแพร่วิดีโอที่มีผู้ใช้และการรวบรวมสังคม เป็นแหล่งที่ใช้ในการแสดงและ

น าเสนอความสามารถและตัวตนของแต่ละคน มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม

รูปที่ 8-19 เว็บไซด์ youtube.com

4. โ แ ม (Electronic Mail)

โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นบริการรับส่งจดหมายผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งให้บริการได้สะดวกและรวดเร็วกว่าการใช้บริการไปรษณีย์ธรรมดามาก สามารถรับส่งข่าวสารได้ทั้งแบบตัวอักษร ภาพ และเสียง ท าให้การติดต่อสื่อสารไม่มีขีดจ ากัด และเป็นระบบที่ได้รับความนิยม ในการใช้บริการสูงในเครือข่ายปัจจุบัน

ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบที่ส าคัญ 2 ส่วนคือ ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้ เรียกว่า User Agent ซึ่งเป็นส่วนที่ผู้ใช้คุ้นเคยและรู้จักกันดี โดยมากมักจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมใช้งาน เช่นโปรแกรม Pine ในระบบปฏิบัติการ UNIX และโปรแกรม Thunderbird ในระบบปฏิบัติการ Windows โปรแกรมเหล่านี้ช่วยอ านวยความสะดวกในการอ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ ช่วยในการจัดเตรียมจดหมายและจัดส่ง รวมถึงอ านวยความสะดวกในการจัดเก็บที่อยู่(Email Address) ของผู้ใช้ที่มีการติดต่อบ่อยครั ้ง องค์ประกอบที่ส าคัญอีกส่วนหนึ่งได้แก่ส่วนการรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเครื ่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เรียกว่า Message Transfer Agent

Page 16: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 121 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

องค์ประกอบส่วน User Agent เป็นเพียงตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้และระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั ้นจึงอาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไปได้มาก ส าหรับองค์ประกอบส่วน Message Transfer Agent ซึ ่งท าหน้าที ่สร้างการติดต่อกับเครื ่องคอมพิวเตอร์อื่นในระบบเพื่อรับส่งไปรณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนที่ต้องมีโพรโตคอลในการติดต่อที่ชัดเจน และท าหน้าที่เป็นทั้ง ผู้ให้บริการและผู้ขอใช้บริการในโปรแกรมเดียวกัน โปรแกรมในส่วนนี้ที่นิยมใช้ในระบบปฏิบัติการ UNIX ได้แก่ Sendmail ซึ่งเป็นโปรแกรมที่เป็นไปตามโปรโตคอลมาตรฐาน SMTP (Simple Mail Transfer Protocol)

4 า า า ื า ข

1. การพิมพ์จดหมาย เป็นส่วนที่ใช้ในการพิมพ์เนื้อความของจดหมาย ซึ่งมีการท างานคล้ายกับ

โปรแกรมประเภท Word Processor เพียงแต่มีขีดความสามารถน้อยกว่า และมีส่วนที่ส าคัญที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถท าการจ่าหน้า (Address : To) ของผู้รับได้สะดวก หากเป็นการตอบจดหมายที่มีผู้ส่งมาองค์ประกอบส่วนนี้จะสร้างจ่าหน้าของผู้รับให้โดยอัตโนมัติ

2. การส่งจดหมาย เป็นการส่งจดหมายจากผู้ส่งไปยังผู้รับในเครือข่าย การท างานในส่วนนี้ เป็นการสร้างช่องทางการส่งผ่านข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ในบางครั้งเครือข่ายของผู้ส่งและผู้รับไม่ได้ต่อถึงกันโดยตรง ระบบจะต้องหาช่องทางในการส่งผ่านไปยังเครือข่ายที่อยู่ระหว่างทางเพ่ือให้เครือข่ายนั้นช่วยส่งข่าวสารต่อกันไปเป็นทอดๆ จนกว่าจะถึงจุดหมายปลายทาง ระบบการท างานดังกล่าวนี้เป็นระบบที่ท างานโดยอัตโนมัติและโปร่งใสในสายตาของผู้ใช้

3. การรายงาน เป็นองค์ประกอบที่ใช้ส าหรับรายงานต่อผู้ใช้ว่าจดหมายที่ได้รับสามารถส่งไป ยังผู้รับปลายทางได้ส าเร็จหรือไม่ โดยทั่วไปแล้วหากการส่งจดหมายประสบความส าเร็จมักจะไม่มีข่าวสารใดแจ้งให้ทราบ หากการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไม่ส าเร็จ เช่นชื่อหรือที่อยู่ของผู้รับไม่ถูกต้อง ระบบจะส่งข่าวสารแจ้งให้ผู้ใช้ทราบ

4. การอ่านจดหมาย เป็นองค์ประกอบที่ใช้ในการแสดงผลไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับ ใน รูปแบบที่ผู้ใช้สามารถอ่านได้สะดวก ระดับของการแสดงผลแตกต่างกันไปตามโปรแกรม บางโปรแกรมอาจสามารถแสดงผลได้เฉพาะตัวอักษร หากมีข้อมูลภาพและเสียงที่มีส่งประกอบมาด้วยต้องใช้โปรแกรมพิเศษในการแสดงผล บางโปรแกรมอาจสามารถแสดงผลข้อมูลทุกชนิดที่มีในไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้ในคราวเดียว

5. การจัดการกับจดหมายที่อ่านแล้ว องค์ประกอบส่วนนี้ใช้จัดการกับจดหมายที่ผู้ใช้อ่าน เรียบร้อยแล้วตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งอาจจะเก็บจดหมายที่อ่านแล้วไว้ในรายชื่อจดหมายที่เข้ามาใหม่ แยกเก็บไว้ต่างหากเพ่ือใช้อ่านหรืออ้างอิงในวันข้างหน้า หรือลบทิ้งไปในกรณีที่เป็นจดหมายที่ไม่ส าคัญ ส าหรับในกรณีที่มีการจัดเก็บแยกไว้ต่างหาก ส่วนการแสดงผลต้องสนับสนุนการอ่านจดหมายที่จัดเก็บแยกไว้ด้วย

ในระบบคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยทั่วไประบบจะกันพ้ืนที่ ส่วนหนึ่งไว้เป็นตู้รับจดหมาย เรียกว่า Mailbox ของผู้ใช้แต่ละคน พ้ืนที่นี้เป็นสิทธิและความรับผิดชอบของผู้ใช้

Page 17: บทที่ 99 ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ประยุกต์บนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตthararat/IT_daily_life/lecture/chapter_9.pdf ·

บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน้า 122 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน

ที่จะท าการดูแลและจัดการให้เรียบร้อย เช่น ท าการลบจดหมายที่อ่านแล้วทิ้งไป หรือท าการจัดเก็บจดหมายที่ส าคัญเป็นแฟ้มแยกต่างหาก เพ่ือให้มีพ้ืนที่ของ Mailbox เพียงพอในการรับจดหมายที่จะมีการส่งเข้ามาใหม่ ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่อ านวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้ในการจัดท าบัญชีรายชื่อผู้รับ เรียกว่า Mailing List ซึ่งเหมาะส าหรับการจัดส่งจดหมายให้แก่ผู้รับจ านวนมาก เช่น ประกาศเรื่องแจ้งให้ทราบ การจัดส่งรายละเอียดของสินค้ารุ่นใหม่ให้แก่ลูกค้าเป็นต้น 3 แ วความค ด ื า ข

แนวความคิดที่ส าคัญส าหรับระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์คือการแยกองค์ประกอบของจดหมายออกเป็นส่วนของซองบรรจุ (Envelope) และข่าวสารที่บรรจุภายในซอง (Content) ซองบรรจุประกอบด้วยข้อมูลที่จ าเป็นในการการจัดส่ง เช่น ที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง เส้นทางในการจัดส่ง ระดับค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร จั ด ส่ ง แ ล ะ ร ะ ดั บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง จ ด ห ม า ย เ ป็ น ต้ น ที่ 8-3

8-20 (b) ส าหรับการใช้งานของผู้ใช้ทั่วไปจะสนใจแต่เฉพาะการใช้งานโปรแกรมในส่วนที่เป็น User Agent เท่านั้น

โปรแกรมที่ท าหน้าที่เป็น User Agent ที่นิยมใช้ในระบบ UNIX มีหลายโปรแกรม เช่น mail, pine และ web mail เป็นต้น รายละเอียดการใช้งานโปรแกรมเหล่านี้สามารถศึกษาและทดลองได้จากเนื้อหาส่วนปฏิบัติการ