72
จัดทําโดย บริษัท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัด ภูเก็ต มกราคม มิถุนายน 2555 198/6 ซอย วิภาวดีรังสิต 22 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตจักร กรงเทพฯ 10900

โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

จัดทําโดย

บรษัิท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัด ภูเก็ต

มกราคม – มิถุนายน 2555

198/6 ซอย วิภาวดีรังสิต 22 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Page 2: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานผผลการปฏิฏบิติัตามเงื่ผลกระ

งือ่นไขขอะทบสิ่งแว

งมาตรกาวดลอม

รปองกนัแและแกไข

แลละมาตรกาารติดตามมตรวจสอบคุณภาพพสิ่งแวดลออม

เลขที ่ 198/6 ซอยทอองหลอ (วิภาวดีรังสิต 22) ถนน วภิาวดีรังสิต แขวงจจอมพล

โรงงแรม เดอะะ รอยัล ภูเกก็ตยอชทคคลับ หาดดไนหาน ตําบบลราไวย อําเภภอเมือง จังหวดัภูเก็ต

ปรระจําเดือน มมกราคม ถึง มิถุนายน 25555

โทรศศัพท 0-2938--6604 - 5 โทรรสาร 0-2513--4538 E-

ดําเนินนิการจัดทําาโดย

บริษัท ไออ.เอ.เคมีคอลส จาํกัด

เขตจตจุัจักร กรุงเทพฯฯ 10900

-Mail address

s : [email protected]

Page 3: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

หนังสือรับรองการจัดทํารายงาน

ผลการปฏบิัตติามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

โรงแรมเดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ ประจําเดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555

25 มิถุนายน 2555

หนังสือรับรองฉบับน้ีขอรับรองวา บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด เปนผูจัดทํารายงานผลการปฏิบัติ

ตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม โรงแรมเดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ ประจําเดือน มกราคม ถึง มิถุนายน 2555

โดยมีคณะผูจัดทํารายงานดังตอไปน้ี

ผูจัดทํารายงาน ลายมือชื่อ นายชัยพร น่ิมโวหาร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดลอม) นายชัยพร น่ิมโวหาร

นางสาวกัลยา อุตตมาภรณสกุล ศิลปศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร) นางสาวกัลยา อุตตมาภรณสกุล

………………………………..…………… (นายวิรัตน สมัครพงศ)

กรรมการผูจัดการ

Page 4: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

สารบัญ

เร่ือง หนา บทท่ี 1 บทนําและรายละเอียดโครงการ

1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน 1-1 1.2 ขอมูลทั่วไป 1-1 1.3 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป 1-2

1.3.1 ลักษณะ/ประเภทโครงการ 1-2 1.3.2 ที่ต้ังโครงการ 1-2 1.3.3 ขนาดโครงการ 1-2 1.3.4 การใชประโยชนพ้ืนที่โครงการ 1-3 1.3.5 ระบบนํ้าใชของโครงการ 1-4 1.3.6 ระบบบําบัดนํ้าเสีย 1-6 1.3.7 ระบบระบายนํ้าและปองกันนํ้าทวม 1-7 1.3.8 ระบบกําจัดขยะมูลฝอย 1-8 1.3.9 ระบบจราจร 1-8

1.3.10 ระบบไฟฟา /ระบบปรับอากาศ 1-8 1.3.11 ระบบปองกันอัคคีภัย 1-9

บทท่ี 2 แผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอม 2.1 แผนการดําเนินงานเพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-1 2.2 แผนการดําเนินงานเพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมในปจจุบัน 2-2

สรุปเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 2.3 2-6 บทท่ี 3 รายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไข

3.1 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม 3-2 3.2 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-9

บทท่ี 4 รายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไข 4.1 นํ้าใช (นํ้าบอ) 4-1 4.2 นํ้าใช (ในหองครัวและหองพักแขก) 4-1 4.3 นํ้าด่ืม 4-2 4.4 นํ้าทะเล 4-3 4.5 ระบบสระวายนํ้า 4-4 4.6 ระบบบําบัดนํ้าเสีย 4-5 4.7 คุณภาพนํ้าจากเครื่องทํานํ้าแข็ง 4-7 4.8 การตรวจวัดปริมาณเช้ือลีจิโอเนลลา 4-8

Page 5: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

สารบัญ (ตอ)

เร่ือง หนา

บทท่ี 5 ขอเสนอแนะ และ แนวทางแกไข 5-1

บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก : ภาพถายประกอบรายงาน ภาคผนวก ข : ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้า ภาคผนวก ค : เอกสารประกอบรายงาน ภาคผนวก ง : มาตรฐานคุณภาพนํ้า ภาคผนวก จ : เอกสารสําคัญของทางบริษัท

Page 6: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา ตารางท่ี 1-1 ปริมาณนํ้าใชของโครงการ 1-4 ตารางท่ี 1-2 ปริมาณนํ้าเสียในโรงแรมบริเวณอาวไนหาน 1-6 ตารางท่ี 1-3 ปริมาณนํ้าเสียในโรงแรมบริเวณบานใสยวน 1-6 ตารางที่ 2-1 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําผิวดิน 2-2 ตารางที่ 2-2 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําใช 2-3 ตารางที่ 2-3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําด่ืม 2-3 ตารางที่ 2-4 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเล 2-4 ตารางที่ 2-5 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําในสระวายนํ้า 2-4 ตารางที่ 2-6 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําเสียกอนการบําบัด 2-5 ตารางที่ 2-7 การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําเสียและนํ้าทิ้งจากระบบบําบัดนํ้าเสีย 2-5 ตารางที่ 2-8 แผนการติดตามตรวจสอบการวิเคราะหเช้ือ Legionella spp. 2-6 ตารางที่ 2-9 รายละเอียดการเพ่ิมเติมและเปล่ียนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 2-7 ตารางที่ 3-1 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม 3-2 ตารางที่ 3-2 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม 3-9 ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใช (Pond Water) 4-1 ตารางที่ 4-2 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใชในหองครัวและหองพักแขก 4-2 ตารางที่ 4-3 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าในด่ืม (UV Water) 4-3 ตารางที่ 4-4 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าทะเล 4-3 ตารางที่ 4-5 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า 4-4 ตารางที่ 4-6 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าเสียกอนเขาสูระบบบําบัดนํ้าเสีย (Influent) 4-5 ตารางที่ 4-7 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าทิ้งหลังผานระบบบําบัดนํ้าเสีย (Effluent) 4-6 ตารางที่ 4-8 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าจากเครื่องทํานํ้าแข็ง 4-7 ตารางที่ 4-9 ผลการตรวจวัดเช้ือลีจิโอเนลลา ในนํ้าด่ืมและน้ําใช 4-8

Page 7: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

สารบัญรูป รูปท่ี หนา รูปที่ 4-1 ประสิทธิภาพการทํางานของระบบบําบัดนํ้าเสีย เดือนมกราคม ถึง มิถุนายน 2555 4-7

Page 8: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

บทที่ 1 บทนํา และ รายละเอียดโครงการ

Page 9: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-1

บทท่ี 1 บทนํา และรายละเอียดโครงการ

1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต เปนโรงแรมและบานพักตากอากาศขนาด 110 หอง จึงจัดเปนโรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศท่ีมีจํานวนหองพักต้ังแต 80 หองขึ้นไป ที่ตองมีการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และตองจัดทํารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม ในชวงเวลาดําเนินกิจการตามท่ีไดเสนอไวในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมที่ผานความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 46-51

รายงานฉบับน้ี เปนรายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไขของมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ของโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ของบริษัท ปุระวนา โฮเทลส จํากัด ฉบับประจําเดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 ตามหนังสือแจงผลการพิจารณารายงานท่ี วว 0804/17233 ลงวันที่ 23 ธันวาคม 2541 ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยโครงการมอบหมายให บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด จัดทํารายงานติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม เพ่ือนําเสนอสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณา ฯ โดยโครงการไดนําเสนอรายงาน ฯฉบับลาสุด ฉบับประจําเดือน กรกฎาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2554 1.2 ขอมูลโดยท่ัวไป

ช่ือโครงการ โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต เจาของโครงการ บริษัท ปุระวนา โฮเทลส จํากัด

โทรศัพท : 076-380200 โทรสาร : 076-380280 ที่ต้ังโครงการ หาดไนหาน ตําบลราไวย อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ผูประสานงานโครงการ คุณดุสิต วิวัฒสวัสดินนท

ตําแหนง Junior Chief Engineer โทรศัพท 0-7638-0200 โทรสาร 0-7638-0280

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 10: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-2

1.3 รายละเอียดโครงการโดยสังเขป

1.3.1 ลักษณะ/ประเภทของโครงการ

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต เปนโรงแรมและบานพักตากอากาศขนาด 110 หอง จึงจัดเปนโรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศท่ีมีจํานวนหองพักต้ังแต 80 หองขึ้นไป ที่ตองมีการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และตองจัดทํารายงานการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม ในชวงเวลาดําเนินกิจการตามท่ีไดเสนอไวในการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมที่ผานความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 46-51 และจัดเปนอาคารประเภท ข (โรงแรมที่มีจํานวนหองพักมากกวา 60 หองแตไมเกิน 200 หอง) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม การระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 122 ตอนที่ 125ง วันที่ 29 ธันวาคม 2548

1.3.2 ท่ีต้ังโครงการ

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ต้ังอยูทางทิศใตของเกาะภูเก็ต อยูทางดานทิศเหนือของอาวไนหาน อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต อยูหางจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 18 กิโลเมตร เปนโรงแรมและสถานที่พักตากอากาศที่ประกอบดวยพ้ืนที่ประมาณ 12 ไร อาคารสรางอิงเชิงเขาซึ่งทอดลงชายฝงทะเลมีความยาวไปตามแนวฝงประมาณ 200 เมตร และความกวางประมาณ 90 เมตร ทิศเหนือ เปนเชิงเขา ซึ่งลาดชันลงมาถึงชายฝงทะเล มีสภาพเปนปาไมไมมีบานพักอาศัย

ทิศใต เปนชายฝงทะเลตอนเหนือของอาวไนหาน ซึ่งเปนหาดหิน ทิศตะวันออก เปนชายฝงทะเลตอนเหนือของอาวไนหานเชนกัน ไกลออกไปประมาณ 30เมตร เปน

หาดทรายท่ีสวยงาม ทิศตะวันตก เปนชายฝงทะเลตอนเหนือของอาวไนหานเชนกัน

สวนที่สอง คือ พ้ืนที่บานพักพนักงานและแหลงนํ้าที่บานใสยวนประมาณ 12 ไร เปนพ้ืนที่ราบตํ่าลอมรอบดวยทิวเขาทางดานทิศเหนือและทิศตะวันออก พ้ืนที่ทางทิศใตเปนพ้ืนที่ตํ่าสุดและเปนพ้ืนที่รับนํ้าจากหุบเขารอบๆ ขาง

1.3.3 ขนาดของโครงการ - อาคารโรงแรมท่ีอาวไนหานมีหองพักทั้งหมด 110 หอง - อาคารบานพักพนักงานที่บานใสยวนมีหองพักทั้งหมด 40 หอง

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 11: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-3

1.3.4 การใชประโยชนพื้นท่ีโครงการ

1.3.4.1 สวนตัวอาคารโรงแรมที่อาวไนหาน ประกอบดวย อาคารที่พัก เปนอาคารเรือนแถวคอนกรีตเสริมเหล็ก สรางลดหลั่นไปตามเชิงเขาโดยหันหนา

อาคารออกสูทะเล มีหองพักทั้งหมด 110 หอง โดยแบงเปน 8 แถว คือ แถว A,B,C,D,E,F,G และ H ทุกแถวของอาคารเช่ือมตอกันเปนแนวระเบียง

- แถว A ประกอบดวย จํานวนหอง 17 หอง จํานวน 9 ช้ัน และหองนวด spa - แถว B ประกอบดวย จํานวนหอง 17 หอง จํานวน 9 ช้ันและหองนวด spa - แถว C ประกอบดวย จํานวนหอง 17 หอง จํานวน 9 ช้ัน และศูนยฟตเนต - แถว D ประกอบดวย จํานวนหอง 13 หอง จํานวน 7 ช้ัน - แถว E ประกอบดวย จํานวนหอง 12 หอง จํานวน 6 ช้ัน และรานขายของที่ระลึก - แถว F ประกอบดวย จํานวนหอง 12 หอง จํานวน 6 ช้ัน และรานขายของที่ระลึก - แถว G ประกอบดวย จํานวนหอง 12 หอง จํานวน 6 ช้ัน - แถว H ประกอบดวย จํานวนหอง 10 หอง จํานวน 5 ช้ัน - อาคารบริการ(Main utility) เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ช้ัน ประกอบดวยหองประชุม

หองครัว หองอาหาร หองเครื่อง - อาคารแผนกตอนรับ (Reception) - สระวายนํ้า ขนาด 300 ลูกบาศกเมตร และที่พักผอน - ออฟฟต อยูช้ันลางของอาคารหองพักแถว H - พลาซา อยูบริเวณพ้ืนที่ดานหนาของโรงแรม - ที่จอดรถดานหนาของโรงแรม สามารถจอดรถไดประมาณ 30 คัน

1.3.4.2 สวนอาคารท่ีพักที่บานใสยวน

อาคารทีพั่กที่บานใสยวน หางจากพ้ืนที่อาคารโรงแรมประมาณ 3 กิโลเมตร พ้ืนที่ทั้งหมดประมาณ 12 ไร โดยแยกเปน 2 สวนคือ สวนที่กอสรางบานพักพนักงาน และสวนพ้ืนที่แหลงนํ้าใชของโครงการมีรายละเอียดดังน้ี

(1) พ้ืนที่ปลูกสิ่งกอสราง ประมาณ 9 ไร ประกอบดวย - บานพักพนักงาน มีพนักงานพักอยูจํานวน 59 คน - อาคารโรงอาหารประกอบดวย หองอาหาร หองครัว และหองเก็บของ - อาคาร Workshop ประกอบดวย หองซักผา Liven storage , Engineer office,

Maintenance workshop, General storage, หองนํ้าชายหญิง, ลานตากผา - ลานจอดรถยนตและรถจักรยานยนต สนามเทนนิส - ถงัสูงเก็บนํ้าที่จะจายไปยังอาคารที่พัก และ ระบบบําบัดนํ้าเสีย

(2) พ้ืนที่เก็บนํ้าประมาณ 3 ไร อยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของพื้นที่สิ่งปลูกสรางประกอบดวย อางนํ้าขนาดใหญ และบอนํ้าผิวดิน 3 บอ ลึกประมาณ 8 เมตร และอาคารหองเครื่อง 1 หลัง พ้ืนที่ที่เหลือ เปนที่ราบตํ่า ใชสํารองไวเปนพ้ืนที่เก็บนํ้า

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 12: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-4

1.3.5 ระบบนํ้าใชของโครงการ

1.3.5.1 แหลงนํ้าใช

1.3.5.1 นํ้าใชสําหรับอาคารโครงการบริเวณอาวไนหาน

โครงการใชนํ้าจากบอนํ้าต้ืนของพ้ืนที่ในหาดราไวย ซึ่งมีบอนํ้าต้ืน จํานวน 4 บอ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 2.5 เมตร ลึก 8 เมตร โดยนํ้าที่ไดจากบอจะผานการปรับปรุงคุณภาพนํ้าเพ่ือเปนนํ้าประปาที่ใชในโครงการ ซึ่งนํ้าที่ผานการปรับปรุงคุณภาพแลว จะสงผานทอขนาดเสนผาศูนยกลางขนาด 4 น้ิว เปนระยะทาง 7 กิโลเมตรไปยังอาคารโรงแรมบริเวณอาวไนหาน

1.3.5.2 นํ้าใชสําหรับบานพักพนักงานที่บานใสยวน บริเวณบานพักพนักงานที่บานใสยวน จะใชนํ้าจากบอต้ืนที่ต้ังอยูบริเวณสระนํ้าธรรมชาติ โดยมี

บอขนาดเสนผาศูนยกลาง 2.5 เมตร ลึก 8 เมตร จํานวน 3 บอ ซึ่งนํ้าดังกลาวจะใชสําหรับกิจกรรมในบานพักพนักงาน และงานซักรีดของโรงแรม

1.3.5.2 ปริมาณนํ้าใชของโครงการ

ตารางที่ 1-1 ปริมาณนํ้าใชของโครงการ

สถานที่ ประมาณปริมาณ นํ้าใช(ลิตร /คน/วัน)

PE (คน)

ปริมาณนํ้าใช(ม3 / วัน)

หมายเหตุ

1.นํ้าใชในโรงแรม

: อาคาร Utility - การใชนํ้าจากครัว 12.5 300 3.75

- การใชนํ้าของพนักงาน 110 30 3.3

:Guest House E,F,G,H 300 96 28.8 แขก 2 คนตอหอง

:Guest House A,B,C,D 300 144 43.2 แขก 2 คนตอหอง :การใชงานเบ็ดเตล็ด - - 11

รวมปริมาณนํ้าใชในโรงแรม - - 90

2.นํ้าใชในบานใสยวน

:บานพักพนักงาน 200 88 17.6

:หองอาหาร - - 5

:หองซักผา 600 ลิตร/ครั้ง/เครื่อง 2 เครื่อง 18 15 ครั้ง/เครื่อง :หองนํ้าพนักงาน 200 34 6.8

รวมปริมาณนํ้าใชในบานใสยวน - - 50 หมายเหตุ :PE = Population equivalent (สมมูลยประชากร)

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 13: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-5

1.3.5.3 ระบบประปา

1.3.5.3.1 ระบบประปาของโครงการบริเวณอาวไนหาน

แหลงนํ้าดิบที่นํามาปรับปรุงคุณภาพเปนนํ้าประปา คือ นํ้าจากพ้ืนที่หาดราไวย ซึ่งจะผานระบบปรับปรุงคุณภาพนํ้าประปา โดยนํ้าจากบอนํ้าต้ืน 4 บอ จะถูกสูบเขาผสมกับสารละลายคลอรีน (คลอรีนผงละลายกับนํ้า) หลังจากน้ัน นํ้าที่ผานการเติมคลอรีนแลวจะถูกสงไปเก็บที่บอเก็บนํ้าใช จํานวน 10 บอ และจะมีการสงนํ้าไปยังโรงแรมบริเวณอาวไนหานตอไป

นํ้าที่จายมาจากหาดราไวย จะถูกเก็บไวที่ถังนํ้าใตดินบริเวณดานหนาโครงการ ซึ่งมีขนาด 120 ลูกบาศกเมตร หลังจากน้ันนํ้าจะถูกสูบขึ้นไปเก็บที่ถังเก็บนํ้าที่อยูช้ันบนสุดของอาคาร D ซึ่งมีขนาดบรรจุ 80 ลูกบาศกเมตร โดยผานถังกรองทรายกอน ตอจากน้ัน นํ้าในถังเก็บนํ้าจะจายไปตามอาคารตางๆ โดยใชถังอัดความดัน (Pressure tank) ขนาด 5 ลูกบาศกเมตร เพ่ือเพ่ิมแรงดันในการสงจายนํ้า ซึ่งถังกรองทรายมีการทํา Back wash สัปดาหละ 1 ครั้ง

นํ้าใชสําหรับทํานํ้าแข็งและหองครัว จะผานระบบการปรับปรุงคุณภาพ คือ นํ้าจากถังเก็บนํ้าขนาด 80 ลูกบาศกเมตร จะผานถังกรองคารบอน ถังกรองผา เครื่องอัลตรา-ไวโอเลต กอนสงไปท่ีหองครัวและเครื่องทํานํ้าแข็ง

นํ้าใชสําหรับทํากาแฟ จะผานระบบการปรับปรุงคุณภาพคือ นํ้าจากถังเก็บนํ้าขนาด 80 ลูกบาศกเมตร จะผานถังแมงกานีส ถังกรองคารบอน ถังกรองผา เครื่องอุลตราไวโอเลต กอนสงไปใชสําหรับทํากาแฟ

1.3.5.3.2 ระบบประปาของบานพักพนักงานที่บานใสยวน

ระบบประปาของบานพักพนักงานที่บานใสยวน จะสูบนํ้าจากบอนํ้าผิวดินขึ้นไปยังถังสูง ซึ่งหางจากบอประมาณ 50 เมตร ขนาดถังจุได 80 ลูกบาศกเมตร นํ้าในถังสูงน้ีจะจายใชในบานใสยวน ในอัตราวันละ 50 ลูกบาศกเมตรตอวัน โดยผานถังกรองแมงกานีส ถังแอนทราไซด ใชสําหรับกิจกรรมของพนักงานในบานพักพนักงานและการซักอบรีดของโรงแรม มีการทํา Back wash สัปดาหละ 1 ครั้ง และเปล่ียนทรายปละ 1 ครั้ง

สวนนํ้าใชสําหรับทํานํ้าแข็งและหองครัว จะผานระบบการปรับปรุงคุณภาพ คือ จะผานถังกรองแมงกานีสและผานเครื่องอุลตราไวโอเลต กอนสงไปผลิตนํ้าแข็ง โดยถังกรองแมงกานีสจะมีการทํา Back wash สัปดาหละ 1 ครั้ง

1.3.5.4 ระบบทํานํ้ารอนของโครงการบริเวณอาวในหาน

ระบบการทํานํ้ารอนเพ่ือจายใชในโรงแรมบริเวณอาวในหานจะทําโดยนํ้าจากถังอัดความ

ดัน (Pressure tank) จะถูกจายเขาเครื่องทํานํ้าออน (Softener) แลวผานเขา Hot Water Heater นํ้าที่ผาน Hot Water Heater จะถูกสงไปเก็บไวที่ถังพักนํ้ารอนแลวจายไปตามหองตางๆ ในกรณีที่ไมมีผูใชนํ้า นํ้ารอนจากถังจะถูกสงกลับไป Hot Water Heater เปนแบบระบบหมุนเวียน

Hot Water Heater ภายในโครงการมีทั้งสิ้น 8 ตัว อยูบริเวณ Floor 7 จํานวน 3 ตัว และท่ีหอง Boiler 5 ตัว มีขนาดตางๆกัน ดังน้ี

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 14: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-6

- Rheem ขนาด 3.6 กิโลวัตต ความจุ 315 ลิตร 1 ตัว อยูบริเวณ Floor 7 - Vulcan ขนาด 4.0-4.8 กิโลวัตต ความจุ 325 ลิตร 2 ตัว อยูบริเวณ Floor 7 - Vulcan ขนาด 3.6 กิโลวัตต ความจุ 315 ลิตร 3 ตัว อยูบริเวณหอง Boiler - Rheem ขนาด 4.8 กิโลวัตต ความจุ 325 ลิตร จํานวน 2 ตัว อยูบริเวณหอง Boiler

1.3.6 ระบบบําบัดนํ้าเสีย

1.3.6.1 แหลงท่ีมาและปริมาณนํ้าเสีย

การดําเนินกิจการของโรงแรม แบงเปน 2 สวน คือ อาคารโรงแรมบริเวณอาวในหาน และบานพักพนักงานและการซักอบรีด บริเวณบานใสยวน แหลงที่มาและปริมาณนํ้าเสียจึงตางกันดังน้ีคือ

1) อาคารโรงแรมบริเวณอาวในหาน

ตารางที่ 1-2 ปริมาณนํ้าเสียในโรงแรมบริเวณอาวในหาน

สถานที่ ประมาณปริมาณ

นํ้าเสีย (ลิตร /คน/วัน) PE

(คน) ปริมาณนํ้าเสีย

(ม3 / วัน) หมายเหตุ

1.นํ้าเสียในโรงแรม

: อาคาร Utility

- การใชนํ้าจากครัว 10 300 3

- การใชนํ้าของพนักงาน 88 30 2.64 : Guest House E,F,G,H 200 96 19.2 แขก 2 คนตอหอง : Guest House A,B,C,D 200 144 28.8 แขก 2 คนตอหอง รวมปริมาณนํ้าใชในโรงแรม - - 54 หมายเหตุ : PE = Population equivalent (สมมูลยประชากร)

2) บานพักพนักงานบริเวณบานใสยวน

ตารางที่ 1-3 ปริมาณนํ้าเสียในโรงแรมบริเวณบานใสยวน

บริเวณ ประมาณปริมาณนํ้าเสีย คิด PE ปริมาณนํ้าเสีย

(ลิตร/คน/วัน) (คน) (ม3/วัน) บานพักพนักงาน 80 88 7.04 บานพักพนักงาน 80 88 7.04

โรงอาหาร 0.68 ม3/ชม. 6 ชม./วัน 4 600 ลิตร/ครั้ง/เครื่อง 2 เครื่อง

หองซักผา 18 48 นาที/ครั้ง/เครื่อง 12 ช่ัวโมง

หองพนักงาน 80 34 2.72

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 15: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-7

1.3.6.2 ระบบบําบัดนํ้าเสีย

ระบบบําบัดนํ้าเสียของโครงการแยกเปน 2 สวน คือสวนโครงการท่ีอาวไนหาน และบานพักพนักงานที่บานใสยวน โดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

1.3.6.2.1 ระบบบําบัดนํ้าเสียจากอาคารท่ีอาวไนหาน แบงออกเปน 2 สวน ดังน้ีคือ

- ระบบบําบัดสวนที่ 1 : รับนํ้าทิ้งจากอาคารบริการ (Utility) อาคาร A, B, C, D,E และ F - ระบบบําบัดสวนที่ 2 : รับนํ้าทิ้งจาก อาคาร H

ระบบบําบัดนํ้าเสียของนํ้าสวนที่ 1 ในสวนที่เปนนํ้าจากครัว จะผานบอดักไขมัน

กอนเขาไปรวมกันกับนํ้าจากหองนํ้า โดยเขาสูบอเกรอะและบอหินกรองตามลําดับ หลังจากน้ันนํ้าสวนน้ีจะผานเขาสูบอเติมอากาศบอที่ 1 และบอที่ 2 ตามลําดับ กอนผานเขาสูบอเติมอากาศบอที่ 3

ระบบบําบัดนํ้าเสียของน้ําสวนที่ 2 จะไหลเขาบอเกรอะ ผานบอหินกรองและบอเติมอากาศ หลังจากน้ัน นํ้าสวนน้ีจะถูกรวบรวมไวที่บอพักนํ้ากอนที่จะสงไปรวมกับนํ้าในสวนที่ 1 ในบอเติมอากาศบอที่ 3

หลังจากที่นํ้าสวนที่ 1 และ 2 จะไปรวมกันที่บอเติมอากาศแลวจะผานเขาสูบอตกตะกอน และจะถูกรวบรวมท่ีบอพักนํ้าที่ 1 กอนจะปลอยเขาสูถังกรองทรายท่ี 1 จํานวน 2 ถัง และผานเขาสูถังกรองทรายที่ 2 จํานวน 2 ถัง ตามลําดับ หลังจากน้ันนํ้าสวนน้ีจะผานเขาบอพักนํ้าที่ 2 และทําการเติมคลอรีนกอนที่จะระบายนํ้าทิ้ง ซึ่งจะนําไปรดนํ้าตนไมบริเวณดานหลังโรงแรมและบริเวณโครงการ

สวนกากตะกอนนํ้าเสีย มีการกําจัดโดยจางเหมาเอกชนมาสูบกากตะกอนจากบอสูบตะกอน พรอมกับสูบไขมันจากบอดักไขมันเพ่ือนําไปกําจัดตอไป โดยทําการกําจัดกากตะกอนและไขมันทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง

1.3.6.2.2 ระบบบําบัดนํ้าเสียบานพักพนักงานที่บานใสยวน

นํ้าเสียของบานพักพนักงานที่บานใสยวน มี 2 แหลง คือ นํ้าเสียจากการซักรีด และนํ้าเสียจากบานพักพนักงาน การบําบัดนํ้าเสียจากการซักรีด จะเขาสูบอพักตะกอน ซึ่งมีตะแกรงกรองเศษผาออกจากน้ําเสีย หลังจากน้ันนํ้าท่ีผานการกรองแลวจะเขาสูบอไรออกซิเจน บอเติมอากาศ บอตกตะกอน นํ้าทิ้งที่ออกจากระบบจะเก็บในบอพัก มีการเติมคลอรีนและใชในการรดนํ้าตนไมของโครงการ สวนการบําบัดนํ้าเสียจากบานพักพนักงาน จะทําการผานนํ้าเขาบอเกรอะ กอนเขาสูบอเติมอากาศของระบบบําบัดนํ้าเสียเดียวกันกับนํ้าเสียจากการซักรีด

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 16: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

1-8

1.3.7 ระบบระบายนํ้าและปองกันนํ้าทวม

โรงแรมต้ังอยูอิงเชิงเขามีตนไมปกคลุมอยูโดยรอบ การระบายนํ้าเปนไปตามธรรมชาติ โดยเปนการระบายนํ้าจากที่สูงลงสูที่ตํ่า ลงสูทะเลซึ่งเปนอาวไนหานอยูดานลางโครงการเปนพ้ืนที่รับนํ้าจากเขาบริเวณขางเคียงซึ่งเปนพ้ืนที่เขตปาสงวนแหงชาติ โรงแรมจึงสรางรางรับนํ้า (Gutter) และทอระบายนํ้าเพ่ือระบายนํ้าฝนที่ไหลมาจากบนภูเขา และนอกจากนี้ยังมีการปรับแตงดินบริเวณไหลเขาเปนช้ัน ๆ แตละช้ันกอกําแพงหินกันดินทลาย และใชพืชคลุมดินและตนไมชวยยึดผิวดินไมใหพังทลายลง ในแตละช้ันจะมีรางรับนํ้าฝนแลวไหลไปลงรองนํ้าธรรมชาติที่มีอยูแลว เพ่ือระบายออกสูทะเลทั้ง 2 ดาน ทั้งทิศตะวันตกซึ่งเปนแนวเขตของโครงการและทิศตะวันออกซึ่งเปนบริเวณดานหนาของโครงการ

1.3.8 ระบบกําจัดขยะมูลฝอย

เน่ืองจากโรงแรมอยูนอกเขตบริการของเทศบาลและสุขาภิบาล จึงไมมีรถเก็บขนขยะบริการดังน้ันโรงแรมจึงทําการเก็บขนขยะและหาวิธีการกําจัดเอง ขยะที่เกิดจากโรงแรมสามารถแยกตามลักษณะของขยะไดเปน 2 ประเภท คือ ขยะแหง ไดแก ขยะที่เกิดจากหองพักของโรงแรม รวมท้ังจากสํานักงานตางๆ ภายในโรงแรม สวนใหญของขยะเปนพวกเศษกระดาษ และขยะเปยก เปนขยะที่เกิดจากหองครัว หองอาหาร และภัตตาคาร ขยะเหลาน้ีสวนใหญจะเปนพวกเศษอาหาร เศษผัก และผลไม เมื่อเก็บรวบรวมขยะแลวนํามาแยกประเภท เปน ขยะเปยก และขยะแหง แลวเก็บไวในหองเก็บขยะมูลฝอย ขนาด 5x5 เมตร จํานวน 2 หอง มีประตูปดมิดชิด ขยะเปยกมีการควบคุมอุณหภูมิประมาณ 22-24 องศาเซลเซียส เพ่ือรอนําไปจําหนายและรอการนําไปกําจัดโดยการจางเหมาเอกชน

1.3.9 ระบบจราจร

สภาพถนนและ การจราจรภายในโครงการ เปนถนนลาดยาง จํานวน 2 เลน ระยะสั้นๆจากทางเขาโครงการมายังอาคารตอนรับ ซึ่งจะใชเปนที่รับสงผูมาขอรับบริการ และจากบริเวณอาคารตอนรับลอดใตอาคารภัตตาคารและที่รับแขกรถสามารถว่ิงสวนทางกันได เพ่ือใหรถที่ใชสําหรับภายในโครงการ เชนรถขนของและอาหาร รถเก็บขนขยะมูลฝอย รถจางเหมากําจัดสิ่งปฏิกูลและไขมัน เพ่ือไปเก็บขนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของโครงการ สถานท่ีจอดรถ ประกอบดวย บริเวณดานหนาของอาคารตอนรับ สามารถจอดรถยนต สวนบุคคลไดประมาณ 30 คัน บริเวณดานหนาอาคารภัตตาคาร ดานติดกับชายทะเล สามารถจอดรถจักรยานยนตไดประมาณ 100 คัน

1.3.10 ระบบไฟฟา /ระบบปรับอากาศ

การใชไฟฟาภายในโรงแรมท่ีหาดไนหาน เปนการใชเก่ียวกับทางดานแสงสวาง เครื่องปรับอากาศ เครื่องสูบนํ้า หองครัวและอื่นๆ ประกอบดวย

1) หมอแปลงไฟฟา โรงแรมรับกระแสไฟฟาจากการไฟฟาสวนภูมิภาค ดวยระบบแรงดัน 33 KVFโครงการมีหมอแปลงไฟฟาขนาด 1000 KVA 400/230 V 3 เฟส 4 สาย จํานวน 1 ชุด ลดแรงดันไฟฟาเหลือ 220 V

เครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองขนาด 150 KVA จํานวน 1 เครื่อง ใชนํ้ามันดีเซลเปนเช้ือเพลิง 2)

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 17: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม - มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

1-9

3) ระบบปรับอากาศใช ระบบแยกสวน (Split Type) ขนาด 18,500 บีทียู จํานวน 1 เครื่องของหองพักธรรมดา และ 2 เครื่องสําหรับหองสูท ขนาด 22,500 บีทียู และ ขนาด 18,500 บีทีย ู

4) ระบบระบายอากาศ อุปกรณที่ใชในการระบายอากาศของหองครัว คือ พัดลมดูดอากาศขนาด 5,000 ลูกบาศกฟุตตอนาที จํานวน 2 เครื่อง ซึ่งใชดูดอากาศจากสวนเบเกอรี่ และหองครัว โดยจะตอเขากับทอเมนไปสูปลองระบายอากาศผาน เครื่อง IONIZER ของ Smog Hog 2 เครื่อง ที่ต้ังอยูปลายปลอง ซึ่งใชกําจัดกล่ินและควัน โดย เครื่อง IONIZER ของ Smog Hog จะมี filter กรองอากาศ และมีการทําความสะอาด filter 15 วันตอครั้ง นอกจากน้ียังมีพัดลมดูดอากาศเพ่ือดูดอากาศดีเขามาภายในหองครัว โดยพัดลมดูดอากาศดีมีทั้งหมด 2 ชุด ขนาด 3,000 ฟุตตอนาที และขนาด 7,000 ฟุตตอนาที

สวนพ้ืนที่บริเวณบานใสยวนมีหมอแปลงขนาด 250 KVA 400/230 V 3 เฟส 4 สาย จํานวน 1 ชุด และมีเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารอง (Generater) ที่ใชดีเซลเปนเช้ือเพลิง ขนาด 80 KVA 1 เครื่อง

1.3.11 ระบบปองกันอัคคีภัย

ระบบปองกันอัคคีภัยของโครงการมี 2 ระบบ คือ 1) ระบบสัญญาณเตือนภัย

โครงการมีระบบแจงเพลิงไหมแบบกริ่งสัญญาณเตือนภัย และแบบกดดวยมือ (Pull down) ติดต้ังบริเวณทั่วไปตามทางเดินของอาคารท้ังหมด และมี Smoke detector ติดต้ังที่หองพักแขกจํานวน 1 ตัวตอหอง

2) ระบบดับเพลิง ระบบดับเพลิงของโครงการมีทั้งระบบดับเพลิงแบบใชนํ้าและระบบดับเพลิงแบบใชสารเคมี เครื่องสูบนํ้าดับเพลิงที่ใชในโครงการเปนแบบใชไฟฟา และโครงการมี เครื่องสูบนํ้าดับเพลิงแบบ

เคล่ือนที่ที่ใชเบนซินเปนเช้ือเพลิง จํานวน 2 เครื่อง โดยมีที่โครงการสวนโรงแรม 1 เครื่อง และที่บานใสยวน 1 เครื่อง มีการทดสอบการติดเครื่อง 2-3 เดือนตอครั้ง

การตรวจสอบระบบถังดับเพลิงแบบเคมี จะมีการตรวจสอบเดือนละ 1 ครั้ง และมีการเปล่ียนนํ้ายาเคมีปละ 1 ครั้ง และมีการตรวจสอบกริ่งสัญญาณเตือนภัย ทุกเดือน อีกทั้งยังมีการฝกซอมการดับเพลิง โดยทําการฝกซอมปละ 1 ครั้ง ใหแกพนักงานและผูมาขอรับการบริการ รวมทั้งยังมีการฝกอบรมพนักงานดับเพลิง หลักสูตร 9 เดือน ปละ 1 ครั้ง

Page 18: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

บทที่ 2 แผนการติดตามคณุภาพส่ิงแวดลอม

Page 19: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-1

บทท่ี 2 แผนการติดตามคุณภาพส่ิงแวดลอม

จากรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ ซึ่งจัดทําโดยบริษัท เซาทอีส

เอเซียเทคโนโลยี จํากัด (พฤษภาคม 2529) ไดกําหนดมาตรการปองกัน แกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการการติดตามคุณภาพสิ่งแวดลอมไวดังน้ี 2.1 แผนการดําเนินงานเพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอม

2.1.1 การตรวจสอบคุณภาพนํ้าท่ีบอนํ้าซับ และนํ้าบาดาล ควรกระทําดังรายละเอียดตอไปน้ี

• คุณลักษณะ คุณสมบัติทางกายภาพ เชน สี ความขุน ความเปนกรด-ดาง และการนําไฟฟา , ความกระดาง, ปริมาณสารทั้งหมด, คลอไรด, เหล็ก และ มังกานีส, ไนเตรท, โคลิฟอรมแบคทีเรีย, Pesticide (บอนํ้าซับ)

• ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบ ในชวงเปดดําเนินการปแรก ควรตรวจวัดอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง ในชวงตอ ๆ ไป ควรตรวจวัด ฤดูกาลละ 2 ครั้ง (มกราคม เมษายน กรกฎาคม ตุลาคม)

• มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมสําหรับคุณภาพนํ้าบาดาลที่กําหนด โดยกระทรวงอุตสาหกรรม

2.1.2 คุณภาพนํ้าท่ีโครงการในหาน

2.1.2.1 คุณภาพนํ้าทิ้ง

• ตรวจสอบประสิทธิภาพของหนวยบําบัดนํ้าเสียที่ 1,2,3 ในโครงการท่ีในหาน

• จุดเก็บตัวอยาง บอสูบของหนวยบําบัดนํ้าเสียที่ 1,2,3

• คุณลักษณะที่ตองตรวจสอบ คือ pH , Suspended Solids , Total Solids , BOD5 , Nitrogen , Phosphorus , Coliform Bacteria

• ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบ ในชวง 1 ปแรก ของการดําเนินการควรเก็บตัวอยางเดือนละ 1 ครั้ง

• มาตรฐาน ใชมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม สําหรับคุณภาพนํ้าทิ้งที่กําหนดโดยคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

2.1.2.2 คุณภาพนํ้าใช

• ตรวจสอบคุณภาพนํ้าใชในบริเวณโครงการ หลังจากผานการปรับปรุงคุณภาพโดยใชระบบหมอกรอง

• จุดเก็บตัวอยาง ในหองพักแบบสุมตัวอยาง 1 ตัวอยาง หองครัว 1 ตัวอยาง

• คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH , Turbidity , Total Solids , Coliform Bacteria

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 20: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-2

• ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบ เหมือนการตรวจสอบแหลงนํ้าดิบที่ใสยวน

• มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมสําหรับคุณภาพนํ้าบริโภค

2.1.2.3 คุณภาพนํ้าทะเล

• จุดเก็บตัวอยาง จุด Outfall จากหนวยบําบัดนํ้าทิ้งที่ 1 (ของอาคารบริการ) จํานวน 1 ตัวอยาง

• จุดบริเวณชายหาดไนหานจํานวน 1 ตัวอยาง จุดหางจากฝง (บริเวณอาว) หางจากฝงประมาณ 500 เมตร 1 ตัวอยาง

• คุณลักษณะที่ตองตรวจวัด pH , Temperature , Turbidity , Suspended Solids , DO , BOD5 , Coliform Bacteria

• ชวงเวลาในการตรวจสอบ อยางนอย 2 เดือนตอ 1 ครั้ง

• มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล (อาวกระรน จ.ภูเก็ต) ของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ 2.2 แผนการดําเนินงานเพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดลอมในปจจุบัน

2.2.1 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใช (บอนํ้า)

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใชทั้งสองจุดไดแก บอนํ้าที่บานใสยวนและหาดราไวย โดยการวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะห โดยนําคามาเปรียบเทียบกับคา นํ้าประปานครหลวง (ตามคําแนะนําขององคการอนามัยโลก 2006) โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ี (ตามตารางที่2-1)

ตารางที่ 2-1 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใช (นํ้าบอ)

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

pH pH meter

นํ้าในบอต้ืนที่บานใสยวนและหาดราไวย

1 ครั้ง / 3 เดือน ไมมีกําหนดแนนอน Iron Phenanthroline

Total Hardness EDTA Titration Choride Argentometric

Total coliform MPN

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 21: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-3

2.2.2 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใช

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใช ณ จุดเก็บตัวอยาง 2 จุด ไดแก นํ้าใชในหองครัวและนํ้าใชในหองพักแขก โดยการวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะห เปรียบเทียบคุณภาพของนํ้าใชกับกับมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้าบริโภค, มอก. 257-2549โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ี ตามตารางที่ 2-2

ตารางที่ 2-2 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใช

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

pH pH meter

นํ้าใชในหองครัวและหองพัก

1 ครั้ง / 3 เดือน ไมมีกําหนดแนนอน Iron Phenanthroline

Total coliform MPN Total Solids Drying 103-105๐C

Turbidity Turbidity Meter

2.2.3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าดื่ม

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าด่ืมโดยการวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพของนํ้าด่ืมกับกับคามาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้าบริโภค, มอก. 257-2549 โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ี ตามตารางที่ 2-3

ตารางที่ 2-3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าดื่ม

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

Total Coliform MPN 1 ครั้ง / 3 เดือน

หลังผานแสง UV ไมมีกําหนดแนนอน

E.coli MPN Lead AAS

1 ครั้ง / 6 เดือน

Total Mercury AA-Hydride Arsenic AA-Hydride

Selenium AA-Hydride Chromium AAS

Cyanide Distill&Color Cadmium AAS

Total Solids Drying 103-105๐C Total Hardness EDTA Titrimetric

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 22: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-4

2.2.4 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเล

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลโดยการวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพของน้ําทะเลกับ ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2549) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลมที่ 124 ตอนที่ 11 ง วันที่ 1 กุมภาพันธ 2550 (ประเภทที่ 4 เพ่ือการนันทนาการ) ออกตามความในพระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ี ตามตารางที่ 2-4

ตารางที่ 2-4 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเล

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

pH pH meter

นํ้าทะเล ดานหนาโครงการ

1 ครั้ง / 3 เดือน ไมมีกําหนดแนนอน Dissolved Oxygen Azide Modification Suspended Solids GF/C & Drying 103-105 ๐C

Oil & Grease Partition &Gravimetric Total Coliform MPN

2.2.5 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเลโดย

การวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพของน้ําในสระวายนํ้ากับคามาตรฐานคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า ตามขอบังคับ กรุงเทพมหานครวาดวยหลักเกณฑการประกอบการคา ซึ่งเปนที่นารังเกียจหรืออาจเปนอันตรายแกสุขภาพ ประเภทการจัดต้ังสระวายนํ้า พ.ศ.2530 (ขอบังคับกรุงเทพฯ สําเนา) โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ี ตามตารางที่ 2-5 ตารางที่ 2-5 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

Standard Plate Count Pour Plate

สระวายนํ้ารวม 1 ครั้ง / 2 เดือน ไมมีกําหนดแนนอน E.coli MPN

Total coliform MPN pH pH Mter

Turbidity Turbidity Meter

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 23: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-5

2.2.6 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าเสียและนํ้าท้ิงจากระบบบําบัดนํ้าเสีย

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าเสีย ทั้งจุดกอนการบําบัด และหลังการบําบัด โดยการวาจางบริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพนํ้าทิ้งหลังการบําบัดกับ คามาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข.) ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม การระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 122 ตอนที่ 125ง วันที่ 29 ธันวาคม 2548 โดยมีรายละเอียดดัชนี และความถ่ีที่ตรวจสอบนํ้าทิ้งกอนการบําบัด ตามตารางท่ี 2-6 และน้ําทิ้หลังการบําบัด ดังตารางที่ 2-7 ตารางที่ 2-6 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าเสียกอนการบําบัด

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการตรวจวัด ความถี่ในการตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

pH pH meter

Waste water before sand filter 1 ครั้ง/เดือน ไมมีกําหนดแนนอน

BOD 5 DAYS Azide Modification

Method

Suspended solids GF/C & Drying

103-105 ๐C

ตารางที่ 2-7 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าท้ิงจากระบบบําบัดนํ้าเสีย

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวัด บริเวณท่ีทําการ

ตรวจวัด ความถี่ในการตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

pH pH meter

Waste water after sand filter

1 ครั้ง/เดือน ไมมีกําหนดแนนอน

BOD 5 Azide Modification Method Suspended solids GF/C & Drying 103-105 ๐C

N-Organic Kjeldahl Method Oil & Grease Partition & Gravity

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 24: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

2-6

2.2.7 การตรวจสอบเช้ือ Legionella spp.

โครงการดําเนินการติดตามปริมาณเช้ือลีจิโอเนลลา ในระบบนํ้าใช เปนประจํา ตามประกาศกรมอนามัย เรื่อง ขอปฏิบัติการควบคุมเช้ือลีจิโอเนลลาในหอผ่ึงเย็นของอาคารในประเทศไทย รายละเอียดดังตารางที่ 2-8

ตารางที่ 2-8 แผนการติดตามตรวจสอบการวิเคราะหเชื้อ Legionella spp.

ดัชนีคุณภาพ สิ่งแวดลอม

วิธีการตรวจวิเคราะห บริเวณท่ีทําการ ตรวจสอบ

ความถี่ในการ ตรวจวัด

ชวงเวลาท่ีทําการ ตรวจวัด

Legionella spp.

การเพาะเช้ือ DMSc SOP 13 02 129 ของศูนยวิทยาศาสตร

การแพทยภูเก็ต

นํ้าฝกบัวหองพักแขก นํ้าหองครัวโรงแรม ถังนํ้าช้ัน 7 โรงแรม

ถังนํ้ารอนช้ัน 7 โรงแรม

ปละ 1-2 ครั้ง ไมไดกําหนดแนนอน

2.3 สรุปเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ในปจจุบันโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ไดมีการปรับปรุงมาตรการในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยไดยกเลิกมาตรการการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าบาดาลแลว เน่ืองจากมิไดนํานํ้าบาดาลมาใชประโยชนแลว นอกจากน้ียังเพ่ิมมาตรการในการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าด่ืม, มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า และมาตรการในการติดตามตรวจสอบปริมาณเช้ือลีจิโอเนลลาในระบบนํ้าใช รวมทั้งมีการปรับปรุงดัชนีที่ใชในการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 2-9

Page 25: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

ตารางที่ 2-9 รายละเอียดการเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

มาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

รายละเอียดตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ( EIA)

รายละเอียดการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง หมายเหตุ

โครงการมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําใช ทั้งที่สวนราไวย (Pond Water at Ra Wai 1 จุดและใสยวน(Pond Water at Sai Yuan 1 จุด)

1. การตรวจสอบคุณภาพน้ําที่บอน้ําซับ และน้ําบาดาล

การตรวจสอบคุณภาพน้ําที่บอน้ําซับ และน้ําบาดาล มีรายละเอียดตอไปนี้

- คุณลักษณะทางกายภาพ เชน สี ความขุน ความเปนกรด-ดาง และการนําไฟฟา, ความกระดาง, ปริมาณสารทั้งหมด, คลอไรด, เหล็ก และ แมงกานีส, ไนเตรท, โคลิฟอรมแบคทีเรีย , Pesticide (บอน้ําซับ)

- ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบในชวงเปดดําเนินการปแรก ควรตรวจวัดอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง ในชวงตอ ๆ ไป ควรตรวจวัด ฤดูกาลละ 2 ครั้ง (มกราคม เมษายน กรกฎาคม ตุลาคม)

- คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH , Tubidity , Condutivity, Total Solids, Total Iron, Total Hardness, Chloride, Total coliform

- ระยะเวลาในการตรวจสอบเปนประจําทุก ๆ 3 เดือน

-โครงการยกเลิกการตรวจติดตามคุณภาพน้ําบาดาล เนื่องจากการดําเนินการในปจจุบันมิไดมีการนําน้ําบาดาลมาใชประโยชน

Page 26: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-8

ตารางที่ 2-ต (ตอ) รายละเอียดการเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

มาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

รายละเอียดตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ( EIA)

รายละเอียดการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง หมายเหตุ

- โครงการทําการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสีย โดยการวิเคราะหคุณภาพน้ํากอนและหลังการบําบัด โดยดัชนีที่ตรวจสอบ มีดังตอไปนี้

- 2. คุณภาพน้ําทิ้ง ตรวจสอบประสิทธิภาพของหนวยบําบัดน้ําเสียที่ 1,2,3 ในโครงการที่ในหาน

- จุดเก็บตัวอยาง บอสูบของหนวยบําบัดน้ําเสียที่ 1,2,3

- - น้ําเสียกอนบําบัดวิเคราะหคา pH, BOD5 , SS คุณลักษณะที่ตองตรวจสอบ คือ pH , Suspended Solids , Total Solids , BOD5 , Nitrogen ,Phosphorus, Coliform Bacteria

- น้ําทิ้งหลังบําบัดวิเคราะหคา pH , BOD5 , SS ,Settleable Solids, N-organics , Oil&Grease

- - ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบ ในชวง ปแรกของการดําเนินการควรเก็บตัวอยาง เดือนละ 1 ครั้ง

ระยะเวลาในการตรวจสอบเปนประจําทุกเดือน ๆ

- -โครงการตรวจสอบคุณภาพน้ําใชหลังจากผานการปรับปรุงคุณภาพ ที่จุดหองพักและ หองครัว

3. คุณภาพน้ําใช ตรวจสอบคุณภาพ น้ํ า ใช ในบริ เ วณโครงการหลังจากผานการปรับปรุงคุณภาพ

- - - จุด เ ก็บ ตัวอย า งในหอง พักแบบสุ มตัวอยาง 1 ตัวอยาง หองครัว 1 ตัวอยาง

คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH, Turbidity ,Total Solid , Total Iron , Total Coliform

- - - คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH, Turbidity, Total Solids, Coliform Bacteria

ระยะเวลาในการตรวจสอบเปนประจําทุก ๆ 3 เดือน

- ชวงระยะเวลาในการตรวจสอบเหมือนการตรวจสอบแหลงน้ําดิบที่ใสยวน

-

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 27: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

2-9

ตารางที่ 2-9 (ตอ) รายละเอียดการเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

มาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

รายละเอียดตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ( EIA)

รายละเอียดการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง หมายเหตุ

4.คุณภาพน้ําดื่ม - โครงการทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําดื่มหลังผาน UV โดยวิเคราะหคา E.coli, Standard และPlate Count ทุก ๆ 3 เดือน และวิเคราะหคา Pb , Hg , As , Se , Cr6+ , CN- , Cd, TS , Hardness ทุก ๆ 6 เดือน

วิเคราะหเพิ่มเติม เพื่อใหการตรวจติดตามมีความครอบคลุมมากขึ้นตามมาตรฐานผลิตภัณฑ อุตสาหกรรม น้ําบริโภค, มอก. 257 - 2549

- โครงการทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลในบริเวณหนาโครงการจํานวน 1 จุด

5.คุณภาพน้ําทะเล จุดเก็บตัวอยาง จุด Outfall จากหนวยบําบัดน้ําทิ้งที่ 1 (ของอาคารบริการ) จํานวน 1 ตัวอยาง จุดบริเวณชายหาดไนหานจํานวน 1 ตัวอยาง จุดหางจากฝง (บริเวณอาว) หางจากฝงประมาณ 500 เมตร 1 ตัวอยาง

- คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH , DO , SS ,Oil & Grease , Total Coliform

- ระยะเวลาในการตรวจสอบเปนประจํา ทุก ๆ 3 เดือน - คุณลักษณะที่ตองตรวจวัด pH, Temp,

Turbidity, Suspended Solids, DO, BOD5 , Coliform Bacteria

- ชวงเวลาในการตรวจสอบ อยางนอย 2 เดือนตอ 1 ครั้ง

-

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 28: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

2-10

ตารางที่ 2-9 (ตอ) รายละเอียดการเพิ่มเติมและเปลี่ยนแปลงมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

มาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

รายละเอียดตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ( EIA)

รายละเอียดการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลง หมายเหตุ

5. คุณภาพน้ําสระวายน้ํา - โครงการตรวจสอบคุณภาพน้ําสระวายน้ํารวมของโครงการจํานวน 1 จุด

- คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH, Turbidity, Total Coliform, Standard Plate Count, E.col

- ระยะเวลาในการตรวจสอบเปนประจํา ทุก ๆ 3 เดือน

วิ เ ค ร าะห เ พิ่ ม เ ติมตามตาม คํ าแนะ นํ าของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 1/2550 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการสระวายน้ํา หรือกิจการอื่นๆในทํานองเดียวกัน

6.ก า ร ต ร ว จ ส อบป ริ ม าณ เ ชื้ อ ลีจิโอเนลลา

- โครงการ จัดใหมีการตรวจวัดปริมาณเ ชื้อ ลีจิโอเนลลา ในน้ําใช เปนประจํา ทุก ๆ 6 เดือน

วิเคราะหเพิ่มเติม ตามประกาศของกรมอนามัย เรื่อง ขอปฏิบัติการควบคุมเชื้อลีจิโอเนลลา ในหอผึ่งเย็นของอาคารในประเทศไทย (มกราคม 2544)

Page 29: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

บทที่ 3 รายงานผลการปฏิบัติตามเง่ือนไข

Page 30: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-1

บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

บทท่ี 3 รายงานผลการปฏิบัตติามเงือ่นไข

โรงแรมเดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัด ภูเก็ต จัดเปนโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย โรงแรม

และสถานที่พักตากอากาศ ซึ่งไดรับการเห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมกอนป 2540 และไมสามารถคนหามาตรการการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมได ฉบับสมบูรณได การดําเนินการตรวจติดตามการปฏิบัติตามเง่ือนไขในปจจุบันจึงใชแนวทางตาม รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ ซึ่งจัดทําโดยบริษัท เซาทอีสเอเซียเทคโนโลยี จํากัด (พฤษภาคม 2529) และมาตรการขั้นตํ่าตามที่สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดกําหนดไว โดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

Page 31: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-2

3.1 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ตารางที่ 3-1 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

1. การบําบัดน้ําเสีย 1.1 จัดใหมีบอดักไขมัน

-

โรงแรมมีการจัดสรางบอดักไขมัน ซึ่งรองรับน้ําเสียจากครัวที่ทางดานนอกบริเวณทางเดิน โดยมีการดูแลปริมาณไขมันในบอ เมื่อมีปริมาณมากจะจางผูรับเหมามาสูบไขมันไปกําจัดยังนอกโครงการ โดยมีความถี่ในการสูบไขมันประมาณ เดือนละครั้ง

-

- 1.2 มีระบบบําบัดน้ําเสียที่มีประสิทธิภาพ -โครงการมีการจัดสรางระบบบําบัดน้ําเสียแบบตะกอนเรง (Activated Sludge) ในการรองรับน้ําเสียจากกิจกรรมของโรงแรม โดยแบงออกเปน 2 เฟส เฟสแรกจะรองรับน้ําเสียจากสวนของโรงแรมทั้งหมด สวนที่สองจะรองรับน้ําเสียในสวนที่เกิดจากบานพักพนักงานที่บานใสยวน โดยระบบบําบัดน้ําเสียนี้มีการออกแบบใหมีความเหมาะสมทั้งในแงของปริมาณการรองรับน้ําเสียและคุณภาพน้ําทิ้งหลังการบําบัด

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 32: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-3

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

1. การบําบัดน้ําเสีย (ตอ) - 1.3 มีการเดินระบบอยางสม่ําเสมอ โรงแรมจัดใหมีการเดินระบบบําบัดน้ําเสียอยางตอเนื่องทั้งสวนของโครงการที่หาดราไวยและบานพักพนักงานที่บานใสยวน

-

- 1.4 จัดใหมีเจาหนาที่ดูแลระบบ

-โครงการจัดใหเจาหนาที่ฝายวิศวกรรมของโครงการเปนผูควบคุมระบบบําบัดทั้ง 2 สวนของโครงการ

- 1.5 มีการบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอ -ฝ าย วิศวกรรมของโครงการจะ เปน ผู จั ดทํ าแผนการบํารุงรักษาอุปกรณในระบบบําบัดน้ําเสียตางๆเชน เครื่องสูบน้ําเสีย เปนประจํา

1.6 มีการกําจัดกากตะกอนอยางสม่ําเสมอ -โครงการจัดใหมีการกําจัดตะกอนสวนเกินจากระบบบําบัด

น้ําเสีย รวมทั้งกากปฏิกูลจากบอเกรอะ โดยการวาจางผูรับเหมาภายนอกมาสูบออกเมื่อมีปริมาณมาก

-

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 33: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-4

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

- ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําทิ้งในสวนของโรงแรมมีคาบีโอดีสูงกวาเกณฑในบางเดือน ซึ่งโครงการควรทําการแกไขตอไป รวมทั้งในสวนของระบบบําบัดที่บานพักพนักงานยังมิไดจัดใหมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําระบบบําบัดน้ําเสีย

1.7 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ําไดตามมาตรฐาน -โครงการจัดใหมีการตรวจสอบคุณภาพน้ํากอนการบําบัดและน้ําทิ้งหลังการบําบัดจากระบบบําบัดน้ําเสียในสวนของโรงแรมเปนประจําทุกเดือน โดยมีการเปรียบเทียบคุณภาพกับมาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข.) (อางอิงผลการวิเคราะหน้ํา ภาคผนวก ข)

2. การระบายน้ํา 2.1 มีการขุดลอกทอระบายน้ําภายในโครงการอยางสม่ําเสมอ

-โครงการจัดใหมีเจาหนาที่ในการดูแลทําความสะอาดรางระบายน้ําของโครงการเปนประจําทุกวัน พรอมทั้งมีการติดตั้งตะแกรงดักเศษขยะดานบนรางระบายน้ํา เพื่อเปนการลดปริมาณขยะที่จะตกลงสูทอระบายน้ําของโครงการ

-

- 2.2 มีการติดตั้งตะแกรงดักขยะที่จุดระบายน้ําออก -โครงการมิไดมีการติดตั้งตะแกรงที่จุดระบายน้ําออก แตจัดใหมีการขุดลอกปริมาณขยะและตะกอนในรางระบายน้ําแทน ทั้งนี้โครงการยังจัดใหมีการติดตั้งตะแกรงดักเศษอาหารที่พื้น ภายในหองครัว

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 34: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-5

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

3. การจัดเก็บขยะมูลฝอย - -ในสวนของโครงการที่หาดราไวย โครงการมีการจัดเตรียมหองพักขยะ โดยแบงเปนหองพักขยะเปยกและหองพักขยะแ ห ง โ ด ย ภ า ย ใ น ห อ ง พั ก ข ย ะ เ ป ย ก มี ก า ร ติ ด ตั้ งเครื่องปรับอากาศไว เพื่อลดการยอยสลายของขยะ รวมทั้งจัดใหมีการปูกระเบื้องเพื่องายตอการทําความสะอาด สําหรับสวนบานพักพนักงานที่บานใสยวนโครงการมีการจัดเตรียมหองพักขยะ 1 หอง เชนกัน

3.1 มีการจัดเตรียมที่พักรวมมูลฝอย

มีการดูแลที่พักมูลฝอยอยางสม่ําเสมอ - 3.2 -โครงการจัดใหผูรับเหมาภายนอกมาดําเนินการขนยายขยะของโครงการ เพื่อนําไปกําจัดยังพื้นที่ภายนอกโครงการเปนประจําทุกวันทั้งในสวนของโรงแรมและบานพักใสยวน ทําใหไมมีปริมาณขยะตกคางภายในโครงการ นอกจากนี้โครงการยังจัดใหมีการลางทําความสะอาดหองพักขยะภายหลังการจัดเก็บประจําทกุวัน (อางอิงภาพที่ 7 ภาคผนวก ก และอางอิงเอกสารประกอบรายงาน ภาคผนวก ค เรื่อง Agreement on disposal of refuse และบิลเงินสดคาขนยายขยะเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน 2555)

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 35: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-6

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

- 3.3 มีการนําน้ําเสียจากหองพักขยะไปบําบัดที่ระบบบําบัด -ในการออกแบบกอสรางหองพักขยะ โครงการไดมีการวางทอเพื่อรวบรวมน้ําชะขยะและน้ําเสียจากการลางทําความสะอาดหองพักขยะไปบําบัดบอเกรอะและระบบบําบัดน้ําเสียของโครงการ

น้ําเสีย

3.4 มีการคัดแยกขยะ -โรงแรมจัดใหมีการคัดแยกขยะ ไดแก ขยะเปยก ขยะแหง ซึ่งมีการแยกที่พักขยะแตละประเภทอยางชัดเจน สําหรับขยะรีไซเคิล ประเภท กระปอง ขวดพลาสติก และลังกระดาษโครงการจะมีการรวบรวมไว เมื่อมีปริมาณมากจะจําหนายแกผูรับเหมาตอไป

-

4. พื้นที่สีเขียว 4.1 มีการจัดพื้นที่สีเขียวในโครงการ

-โครงการมีการจัดทัศนียภาพภายในโครงการใหมีความกลมกลมกลืนกับธรรมชาติ โดยจัดใหมีการปลูกตนไม ไมดอกและไมประดับ รวมทั้งสวนหยอมทั่วไปในพื้นที่โรงแรมสงผลใหพื้นที่ภายในโรงแรมมีความรมรื่นมาก

-

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 36: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-7

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

- 4.2 มีการบํารุง ดูแล และรักษาพื้นที่สีเขียว -โครงการจัดใหมีเจาหนาที่ทําสวนในการดูแลบํารุง ดูแล รักษา เพาะพันธุ พื้นที่สีเขียวภายในโครงการ นอกจากนี้ยังจัดใหพื้นที่สวนหนึ่งบริเวณบานพักพนักงานที่บานใสยวนเปนโรงเรือนเพาะชําของโครงการอีกดวย

5. การปองกันอัคคีภัย 5.1 มีการตรวจสอบทางหนีไฟ และระบบปองกันอัคคีภัย

-โครงการมีการติดตั้งอุปกรณในระบบปองกันอัคคีภัย อาทิเชน กระดิ่งสัญญาณเตือนภัย ตูเก็บสายฉีดน้ําดับเพลิง ไฟฉุกเฉิน บริเวณ สวนหองพักมีการติดตั้งอุปกรณตรวจจับควัน และปายแสดงทางออกฉุกเฉิน สวนทางหนีไฟภายในโครงการจะใชบันไดขึ้น-ลงภายในอาคารเองเนื่องจากตัวมีความสูงไมมากนักโดยโครงกาจัดใหมีเจาหนาที่ฝายวิศวกรรมของโครงการเปนผูตรวจสภาพการทํางานของอุปกรณในระบบดับเพลิงเปนประจําทุกเดือน รวมทั้งจัดใหมีการเดินเครื่องปมสูบน้ําดับเพลิงเปนประจําทุกสัปดาห เพื่อเปนการเตรียมความพรอมไวรองรับเหตุ

-

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 37: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-8

ตารางที่ 3-1 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

มีแผนฉุกเฉิน - 5.2 -โรงแรมมีการจัดเตรียมผังเสนทางการหนีไฟไวภายในหองพัก รวมถึงวิธีการปฏิบัติ เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม

มีการฝกซอม กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม - 5.3 โรงแรมจัดใหเจาหนาที่ภายในโครงการเขารับการฝกซอมการปองกันและระงับอัคคีภัย โดยฝายความปลอดภัยของโรงแรม เปนประจําทุกเดือน รวมทั้งมีการอบรมภายนอกโดยวิทยากรจากทางเทศบาลปาตองเปนประจําทุกป

6. การจราจร -โรงแรมจัดใหมีพื้นที่จอดรถของโครงการสวนโรงแรม ซึ่งสามารถจอดรถยนตไดประมาณ 20 คัน นอกจากนี้โรงแรมยังจัดที่จอดรถสํารองที่บานใสยวน ซึ่งสามารถจอดรถไดประมาณ 30 คัน โดยโรงแรมจัดใหรถบริการรับสงพนักงานและแขกผูมาพักในการเดินทางจากบานใสยวนมายังโรงแรม ซึ่งเพียงพอตอความตองการ เนื่องจากแขกผูมาใชบริการสวนใหญจะเปนชาวตางชาติ ที่ใชระบบขนสงสาธารณะในการเดินทาง

- 6.1 จัดใหมีที่จอดรถอยางเพียงพอ

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 38: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-9

3.2 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

ตารางที่ 3-2 สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

1. คุณภาพน้ําใช (น้ําบอ) - pH - Iron - Turbidity - Total Solid - Conductivity - Total Hardness - Chloride - Total coliform

- โครงการไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําใชทั้งสองจุดไดแก บอน้ําตื้นที่บานใสยวนและหาดราไวย

-คาความเปนกรดดางของบอน้ําที่หาดราไวย และบอน้ําที่บานใสยวน มีคาต่ํากวามาตรฐานในบางเดือน ดังนั้นควรตรวจสอบอัตราการเติมสารเคมีที่ใชในการปรับพีเอชใหอยูในอัตราสวนที่เหมาะสมเพื่อปรับพีเอชใหอยูคามาตรฐาน

- คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH, Turbidity, Conductivity, Total Solid, Iron, Total Hardness, Chloride และ Total coliform โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-1 ยังตรวจพบเชื้อโคลิฟอรมทั้งหมด มีคาอยูในชวง 2.6 - >8

MPN/100 ml ดังนั้นโครงการควรทําการตรวจสอบอัตราการจายคลอรีน ใหสามารถฆาเชื้อโรคไดเต็มประสิทธิภาพดวย

2. คุณภาพน้ําใช - pH - Turbidity - Total Solid - Total Hardness - Total coliform

-โครงการตรวจสอบคุณภาพน้ําใชหลังจากผานการปรับปรุงคุณภาพ ที่จุดหองพักและ หองครัว - คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH, Turbidity ,Total Solid , Total Iron , Total Coliform โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-2

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 39: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

3-10

ตารางที่ 3-2 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

3. คุณภาพน้ําดื่ม โครงการทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําดื่มหลังผาน UV โดยวิเคราะหคา Standard Plate Count, Total Coliform และ E.coli ทุก ๆ 3 เดือน และวิเคราะหคา Pb , Hg , As , Se , Cr6+ , CN- , Cd, TS , Hardness ทุก ๆ 6 เดือน โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-3

- Standard Plate Count - E.coli - Turbidity - Suspended Solid - Lead - Total Hardness

พบวาในเดือนมกราคม และมีนาคม ตรวจพบคาอิโคไล มีคาเทากับ 1.1 และ >8 เอ็มพีเอ็นตอ100 มิลลิลิตรตามลําดับ (คามาตรฐานตรวจไมพบ) ควรตรวจอบอัตราการจายคลอรีน ใหสามารถฆาเชื้อโรคไดเต็มประสิทธิภาพดวย จะทําใหสามารถผลิตน้ําบริโภคที่มีคุณภาพที่ผานเกณฑตามที่มาตรฐานกําหนดได

4. - คุณภาพน้ําทะเล โครงการทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลในบริเวณหนาโครงการจํานวน 1 จุด - pH

- Dissolved Oxygen - Suspended Solids - Oil & Grease - Total Coliform

- คุณสมบัติที่ตรวจวัด pH , DO , SS ,Oil & Grease , Total Coliform โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-4

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

Page 40: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ.เอ. เคมคีอลส จํากัด

3-11

ตารางที่ 3-2 (ตอ) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม

เงื่อนไขของมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม

วิธีการปฏิบัติตามเงื่อนไข ปญหา อุปสรรค และการแกไข

5. คุณภาพน้ําในสระวายน้ํา - pH - Turbidity - Standard Plate Count - E.coli - Total coliform

โรงแรมมีการดําเนินการตรวจติดตามคุณภาพน้ําในสระวายน้ํา ตามแผนการตรวจติดตาม จํานวน 1 จุด ตามดัชนีขางตน รวมทั้งมีการเพิ่มเติมในดัชนี คลอรีน,ความกระดาง , เหล็กและอัลคาไลนิตี้โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-5

-

6. คุณภาพน้ําจากระบบบําบัดน้ําเสีย - pH - BOD 5 Days - Suspended solids - N-Organic - Oil & Grease

โครงการมีการตรวจวัดคุณภาพน้ําจากระบบบําบัดน้ําเสีย ในเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555โดยมีผลการวิเคราะหตามตารางที่ 4-6 และ 4-7

มีคาบีโอดี เกินมาตรฐานในเดือนมีนาคม และพฤษภาคม 2555 โดยคาบีโอดีมีคาอยูในชวง 20.5 – 39.0 มิลลิกรัม/ลิตร ควรตรวจสอบคุณภาพน้ําเสียที่เขาระบบ เนื่องจากคาบีโอดีและคาตะกอนแขวนลอยคอนขางแกวง ซึ่งอาจเปนสาเหตุที่ทําใหระบบทํางานไมเต็มประสิทธิภาพ

7. ปริมาณเชื้อลีจิโอเนลลาในระบบน้ําใช โครงการมีการตรวจติดตามปริมาณเชื้อลีจิโอเนลลา โดยมีผลการตรวจวัดตามตารางที่ 4-9

-

Page 41: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

บทที่ 4 ผลการตรวจวัดเพ่ือตรวจติดตามคณุภาพ

สิ่งแวดลอม

Page 42: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-1

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

บทท่ี 4 ผลการตรวจวดัเพื่อตรวจติดตามคุณภาพส่ิงแวดลอม

4.1 นํ้าใช (นํ้าบอ)

ผลการตรวจติดตามคุณภาพนํ้าใช เดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 ของโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ นํ้าจากจุดเก็บทั้งสองจุด คือบอนํ้าที่บานใสยวนและหาดราไวย เมื่อนําดัชนีที่ตรวจวัดมาเทียบกับเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าประปาของการประปาสวนภูมิภาค พบวาคุณภาพนํ้าสวนใหญมีพารามิเตอรอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนคาพีเอช ที่มีคาตํ่ากวามาตรฐาน โดยคาพีเอชของบอนํ้าที่หาดราไวย มีคาเทากับ 6.3 และ 6.5 และคาพีเอชของบอนํ้าที่บานใสยวน มีคาเทากับ 6.0 และ 6.8 ตามลําดับ (มาตรฐาน 6.5 – 8.5) ดังน้ัน ควรตรวจสอบอัตราการเติมสารเคมีที่ใชในการปรับพีเอชใหอยูในอัตราสวนที่เหมาะสมเพ่ือปรับพีเอชใหอยูคามาตรฐาน

สวนผลการตรวจวัดทางชีวภาพไดแกเช้ือโคลิฟอรมทั้งหมด มีคาอยูในชวง 2.6 - > 8 MPN/100 ml ดังน้ันโครงการควรทําการตรวจสอบอัตราการจายคลอรีน ใหสามารถฆาเช้ือโรคไดเต็มประสิทธิภาพดวย ตารางท่ี 4-1 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใช (Pond Water)

วันท่ีเก็บตัวอยาง

จุดเก็บตัวอยาง

ดัชนีท่ีตรวจวัด

Chloride (mg/L)

Cond (micros

/Cm)

Hardness (mg/L)

Iron (mg/L)

pH

Total Coliform

(MPN/100ml)

Total Solid

(mg/L)

Turbidity (NTU)

Feb 8, 2012 Rawai

93 495 99.1 N.D. 6.3 2.6 358.0 0.4 Apr 23, 2012 95 526 86.9 0.04 6.5 >8 420.0 0.5 Feb 8, 2012

Saiyuan 22 136 27.0 0.05 6.0 <1.1 76.0 2.6

Apr 23, 2012 23 193 22.0 0.05 6.8 <1.1 118.0 1.0

คามาตรฐาน** ≤ 250 - ≤ 300 ≤ 0.3 6.5-8.5 None - ≤ 5 หมายเหตุ : N.D. = Not Detectable

**มาตรฐาน = คุณภาพนํ้าประปาของการประปาสวนภูมิภาค ที่มา : บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

4.2 นํ้าใช (ในหองครัวและหองพักแขก)

ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใชในชวงเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 ณ จุดเก็บตัวอยาง 2 จุด ไดแก นํ้าใชในหองครัวและนํ้าใชในหองพักแขก ในการเก็บตัวอยางและวิเคราะห เปรียบเทียบคุณภาพของนํ้าใชกับมาตรฐานคุณภาพนํ้าประปา ของการประปาสวนภูมิภาค พบวาในเดือนเมษายนคาเหล็ก ของน้ําในครัว (Kitchen ) มีคาเทากับ 0.35 มิลลิกรัมตอลิตร (มาตรฐาน ≤ 0.30 มิลลิกรัมตอลิตร) ในสวนของพารามิเตอรอื่นๆอยูในเกณฑมาตรฐาน

Page 43: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-2

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

อยางไรก็ตามโครงการควรทําการตรวจสอบอัตราการจายคลอรีน ใหสามารถฆาเช้ือโรคไดเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงควรตรวจสอบขั้นตอนการเติมสารเคมีปรับคาความเปนกรด-ดางของน้ํา ตรวจสอบเครื่องวัด คาความเปนกรด-ดางของน้ํา เพ่ือสามารถผลิตนํ้าบริโภคท่ีมีคุณภาพที่ผานเกณฑตามที่มาตรฐานกําหนดอยางสม่ําเสมอ

ตารางท่ี 4-2 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าใช (ในหองครัวและหองพักแขก)

วันท่ีเก็บตัวอยาง จุดเก็บตัวอยาง ดัชนีท่ีตรวจวัด

Iron (mg/L)

pH Total Coliform (MPN/100ml)

Total Solid (mg/L)

Turbidity (NTU)

Feb 8, 2012 Kitchen

N.D. 6.6 <1.1 304.0 0.4

Apr 23, 2012 0.35* 7.1 <1.1 386.0 4.6

Feb 8, 2012 Guest Room

Room 905 N.D. 6.8 <1.1 292.0 0.6

Apr 23, 2012 Room 712 0.13 7.5 <1.1 378.0 2.2

คามาตรฐาน** ≤ 0.3 6.5-8.5 None - ≤ 5 หมายเหตุ : N.D. = Not Detectable * = คามิไดอยูในมาตรฐาน

**มาตรฐาน = มาตรฐานนํ้าประปา ของการประปาสวนภูมิภาค ที่มา : บริษัท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด

4.3 ระบบนํ้าดื่ม

ผลการตรวจติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าด่ืมในชวงเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 จากการวิเคราะหเปรียบเทียบคุณภาพของนํ้าด่ืมกับคามาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้าบริโภค, มอก. 257-2549 พบวาในเดือนมีนาคม ตรวจพบคาอิโคไล มีคาเทากับ 2.6 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลลิลิตรตามลําดับ (คามาตรฐานตรวจไมพบ) และในเดือนเมษายน ตรวจพบวา คาอารเซนิก <0.05 มิลลิกรัมตอลิตร, คาแคดเมียม <0.01 มิลลิกรัมตอลิตร, คาโครเมียม <0.05 มิลลิกรัมตอลิตร, คาไซยาไนด <0.0005 มิลลิกรัมตอลิตร, คาความกระดาง 67.7 มิลลิกรัมตอลิตร, คาตะก่ัว <0.05 มิลลิกรัมตอลิตร, คาเมอรคิวรี <0.05 มิลลิกรัมตอลิตร, คาเซเรเนียม <0.1 มิลลิกรัมตอลิตร, คาของแข็งทั้งหมด 370.0 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 44: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-3

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

ตารางที่ 4-3 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าดื่ม (UV Water)

ดัชนีท่ีตรวจวัด คามาตรฐาน หนวย วันท่ีเก็บตัวอยาง

Jan 16, 2012 Mar 9,2012 Apr 23, 2012 May 16, 2012 Arsenic < 0.01 (mg/L) - - <0.05 -

Cadmium < 0.003 (mg/L) - - 0.01 - Chromium - (mg/L) - - <0.05 -

Cyanide < 0.07 (mg/L) - - <0.0005 - E.coli NONE (MPN) N.D. 2.6 - N.D.

Total Hardness < 100 (mg/L) - - 67.7 - Lead < 0.01 (mg/L) - - <0.05 -

Total Mercury < 0.001 (mg/L) - - <0.05 - Selenium < 0.01 (mg/L) - - <0.1 -

Standard Plate Count - N.D. 1.20E+02 - N.D.

Total Coliform < 1.1 (MPN) - - - - Total Solids - (mg/L) - - 370.0 -

หมายเหตุ : N.D. = Not Detectable * = คามิไดอยูในมาตรฐาน

**มาตรฐาน = มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้าบริโภค, มอก. 257-2549 ที่มา : บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

4.4 นํ้าทะเล ผลการตรวจสอบคุณภาพนํ้าทะเล พบวา มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเลประเภทท่ี 5 แตตรวจพบคา

ไขมัน และนํ้ามัน 2.7 - 4.6 มิลลิกรัม/ลิตร โดยมาตรฐานไมไดกําหนดคาไขมันและนํ้ามันในนํ้าทะเล แตกําหนดเพียงไมสามารถสังเกตได

สวนผลการตรวจวัดทางชีวภาพไดแกเช้ือโคลิฟอรมทั้งหมด มีคาอยูในชวง 4.5 – 920 เอ็มพีเอ็นตอ100 มิลลิลิตรดังน้ันโครงการควรทําการตรวจสอบอัตราการจายคลอรีน ใหสามารถฆาเช้ือโรคไดเต็มประสิทธิภาพดวย ตารางท่ี 4-4 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าทะเล

วันท่ีเก็บตัวอยาง จุดเก็บตัวอยาง ดัชนีท่ีตรวจวัด

Dissolved Solids (mg/L)

O&G (mg/L)

PH Total Coliform

(MPN)

Suspended Solids (mg/L)

Feb 8, 2012 Sea

4.4 4.6 8.3 4.5 92.3 Apr 23, 2012 2.1 2.7 8.6 920 214.0

คามาตรฐาน** - N.O. - ≤ 1,000 - หมายเหตุ : N.O. = NOT OBSERVABLE

**มาตรฐาน = Coastal water Quality Standard for Naiharn beach, Phuken, Use for Swimming : Notification Environmental Board issue 7 (2537), Be 2535, Sea-Niharn Class 5

ที่มา : บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 45: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-4

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

4.5 ระบบสระวายนํ้า

ผลการตรวจติดตามคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า เดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 ของโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ พบวา ทุกพารามิเตอรมีคาตามมาตรฐานคําแนะนําของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 1/2550 เรื่องการควบคุมการประกอบกิจการสระวายนํ้าหรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน โดยมีผลการตรวจวัดดังน้ี คาความเปนกรด-ดางอยูในชวง 7.4 – 8.2 (คามาตรฐาน 7.2-8.4) , ตรวจไมพบคาโคลิฟอรมทั้งหมด (คามาตรฐาน< 10 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลลิลิตร) และความขุนมีคาอยูในชวง 0.6 – 0.7 NTU

สวนผลการตรวจวัดทางชีวภาพไดแกเช้ือโคลิฟอรมทั้งหมด และ เช้ืออิโคไลตรวจไมพบ ในทุกเดือน (คามาตรฐานเทากับ ตรวจไมพบ) ตารางท่ี 4-5 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าในสระวายนํ้า (Pool)

วันท่ีเก็บตัวอยาง จุดเก็บตัวอยาง

ดัชนีท่ีตรวจวัด

E.Coli (MPN/100ml)

pH Standard Plate

Count (CFU/ml)

Total Coliform (MPN/100 ml)

Turbidity (NTU)

Jan 16, 2012 Main Pool

N.D. 7.4 1.00E+00 <1.1 0.7

Mar 9, 2012 N.D. 8.2 N.D. <1.1 0.7

May 16, 2012 N.D. 7.4 N.D. <1.1 0.6

คามาตรฐาน** None 7.2-8.4 - < 10 -

หมายเหตุ : N.D. = Not Detectable * = คามิไดอยูในมาตรฐาน

**มาตรฐาน = คําแนะนําของคณะกรรมการสาธารณสุข ฉบับที่ 1/2550 เร่ืองการควบคุมการประกอบกิจการสระวายนํ้าหรือกิจการอื่นในทํานองเดียวกัน

ที่มา : บริษัท ไอ.เอ. เคมีคอลส จํากัด

Page 46: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-5

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

4.6 ระบบบําบัดนํ้าเสีย

4.6.1 คุณภาพนํ้ากอนเขาระบบบําบัด ตารางที่ 4-6 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าเสียกอนเขาสูระบบบําบัดนํ้าเสีย (Influent)

วันท่ีเก็บตัวอยาง ดัชนีท่ีตรวจวัด

pH BOD5 (mg/l)

SS (mg/l)

Jan 16, 2012 5.7 2,166.7 13,560

Feb 8, 2012 5.9 3,100.0 7,900

Mar 9, 2012 9.8 4,750.0 9,790

Apr 23, 2012 6.5 552.5 246.7

May 16, 2012 6.7 810.0 470.0

Jun 11, 2012 4.5 480.0 180.0

ที่มา : บริษัท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด

ผลการตรวจติดตามคุณภาพนํ้าเสียกอนการบําบัด เดือน มกราคม ถึง มิถุนายน 2555 ของโรงแรม เดอะ รอยัล

ภูเก็ตยอชทคลับ มีคาความเปนกรด-ดาง 4.5- 9.8, คาบีโอดี 480.0 – 4,750 มิลลิกรัม/ลิตร, คาของแข็งแขวนลอย 180.0 - 13,560 มิลลิกรัม/ลิตร

Page 47: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

4-6

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

4.6.2 คุณภาพนํ้าหลังผานระบบบําบัด ตารางที่ 4-7 ผลการวิเคราะหคุณภาพนํ้าท้ิงหลังผานระบบบําบัดนํ้าเสีย (Effluent)

วันท่ีเก็บตัวอยาง ดัชนีท่ีตรวจวัด

pH BOD5 (mg/l)

SS (mg/l)

Set-Solids (ml/l)

N-Org (mg/l)

O&G (mg/l)

Jan 16, 2012 8.0 18.5 1.0 <0.1 0.1 3.9

Feb 8, 2012 7.6 22.2 16.8 <0.1 1.1 4.9

Mar 9, 2012 7.4 39.0 36.0 0.1 N.D. 0.2

Apr 23, 2012 7.4 29.5 26.0 0.2 0.3 2.6

May 16, 2012 8.0 30.4 28.0 <0.1 N.D. 1.0

Jun 11, 2012 7.9 20.5 32.5 <0.1 N.D. N.D.

คามาตรฐาน** 5-9 < 30 < 40 < 0.5 < 10*** < 20 หมายเหตุ : N.D. = Not Detectable

**มาตรฐาน = มาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (ประเภท ข), ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 122 ตอนที่ 125ง ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2548

***มาตรฐาน = กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 115 ตอนที่ 48ก ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2541

ที่มา : บริษัท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด

ผลการตรวจติดตามคุณภาพนํ้าทิ้งหลังการบําบัด เดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พศ. 2555 ของโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ เมื่อนํามาเปรียบเทียบกับมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (ประเภท ข), ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 122 ตอนที่ 125ง ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2548 และมาตรฐาน กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความใน พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 115 ตอนที่ 48ก ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2541 พบวามีคาบีโอดี เกินมาตรฐานในเดือนมีนาคม และพฤษภาคม โดยคาบีโอดีมีคาอยูในชวง 20.5 – 39.0 มิลลิกรัม/ลิตร (คามาตรฐาน < 30 มิลลิกรัม/ลิตร)คาความเปนกรด-ดางมีคาอยูในชวง 7.4-8.0 (คามาตรฐาน 5-9), คาของแข็งแขวนลอยมีคาอยูในชวง 10.0 – 36.0 มิลลิกรัม/ลิตร (คามาตรฐาน < 40 มิลลิกรัม/ลิตร), ตะกอนหนักมีคาอยูในชวง <0.1 – 0.2 มิลลิลิตร/ลิตร (คามาตรฐาน < 0.5 มิลลิลิตร/ลิตร), คาอินทรียไนโตรเจนมีคาอยูในชวง ตรวจไมพบ – 1.1 มิลลิกรัม/ลิตร (คามาตรฐาน < 10 มิลลิกรัม/ลิตร), คาไขมันและนํ้ามันอยูในชวงตรวจไมพบ – 4.9 มิลลิกรัม/ลิตร (คามาตรฐาน < 20 มิลลิกรัม/ลิตร)

เมื่อประเมินประสิทธิภาพการทํางานของระบบบําบัดนํ้าเสีย จากความสามารถในการลดคาความสกปรกของน้ําเสีย (คาบีโอดี) ตามสมการดานลางน้ี

Page 48: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงาประจํ

เมื่อ Efficiencyy (%) = ปรระสิทธิภาพของงระบบบําบัดนํ้า้าเสียในการกําจัจดัคา BOD (รออยละ)

99.28มาตรนํ้าทิง้

จะพบวา ร8 ซึ่งเปนผลมรฐาน ดังน้ัน โคงมีคาอยูในมาต

ระบบบําบัดนํ้ามาจากคาความสครงการควรดําเนตรฐานนํ้าทิ้งอย

เสียของโรงแรมสกปรกของน้ํานินการตรวจสอางสม่ําเสมอ

มมีประสิทธิภาเสียที่เขาสูระบอบสาเหตุ และ

าพไมคงที่ในแตบบมีคาไมคงที่ หาแนวทางการ

ตละเดือน โดยมี และอาจเปนสรแกไข เพ่ือใหร

มีประสิทธิภาพาเหตุทําใหคุณระบบสามารถบ

รอยละ 94.55 -ภาพนํ้าไมผานบําบัดนํ้าเสียให

-นห

4.7

ตาราางท่ี 4-8 ผลกาารวิเคราะหคุณภาพนํ้าจากเคร่ืร่ืองทํานํ้าแข็ง (IIce)

หมายเหตุ : N.D. = Not Deteectable

ที่มา : บริษัท ไอ.เอ.เคมีคอลส จํากัด

านการติดตามตรวาเดือน มกราคม –

BOD InfluBOD Effl

รูปทีท่ี 4-1 ประสิทธิภาพการทํางานนของระบบบําบับัดนํ้าเสีย เดือนนมกราคม ถึง มิถุนายน 2555

คุณภาพนํ้าจากกเคร่ืองทํานํ้าแข็ขง็

วันทีท่ีเก็บตัวอยาง

Fe

Ap

Ju

คามมาตรฐาน**

วจสอบคุณภาพสิ่ง– มิถุนายน 2555

Efficiency (%)

uent = ปริรมิาณบีโอดีในนนํ้าเสียกอนเขารระบบบําบัด (มิลลลิกรัม/ลิตร) luent = ปริรมิาณบีโอดีในนนํ้าทิ้งหลังผานรระบบบําบัด (มิลลิกรัม/ลิตร)

eb 8 , 2012

pr 23, 2012

un 11, 2012

**มาตรฐาน = มาตรฐานนผลิตภัณฑอุตสาหหกรรมน้ําบริโภคค, มอก. 257-2549

งแวดลอมโรงแรม

) =

มเดอะ รอยัล ภเูก็ต

(BOD Influent BOD

Total Co(MPN/1

<1

<1

4.6

<1.

ตยอชทคลับ จังหวั

t-BOD EffluenD Influent

ดัชนีนีท่ีตรวจวัด oliform 00 ml)

.1

.1

6

.1

วัดภูเก็ต

nt)×100

(

บริษัท ไอ. เอ

E.Coli (MPN/100 ml)

N.D.

N.D.

4.6

None

. เคมคีอลส จํากัด

4-7

7

Page 49: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

4-8

ผลการตรวจติดตามคุณภาพนํ้าจากเครื่องทํานํ้าแข็ง เดือน มกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2554 ของโรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ เปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้า, มอก. 257– 2549 ผลการวิเคราะหคือตรวจคาโคลิฟอรมีคาอยูในชวง <1.1 – 4.6 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลลิลติร (คามาตรฐานเทากับ ≤1.1 เอ็มพีเอ็น/100 มิลลิลิตร) และมีคาอีโคไลอยูในชวง <1.1 – 4.6 เอ็มพีเอ็นตอ 100 มิลลิลิตร (คามาตรฐานตองตรวจไมพบ) 4.8 การตรวจวัดปริมาณเชื้อลีจิโอเนลลา

ตารางที่ 4-9 ผลการตรวจวัดเชื้อลีจิโอเนลลา ในนํ้าดื่มและนํ้าใช

ดัชนีท่ีตรวจวัด จุดเก็บตัวอยาง วันท่ีเก็บตัวอยาง

Mar 9, 2012 Jun 12, 2012

Legionella spp.

นํ้าด่ืมแขก NOT DETECTED NOT DETECTED ฝกบัวหองพักแขก 805 DETECTED 40 CFU/L -

ถาดนํ้าแอรหองพักแขก 805 NOT DETECTED - ฝกบัวหองพักแขก 412 - NOT DETECTED

ถาดนํ้าแอรหองพักแขก 412 - NOT DETECTED นํ้ารอนหองครัว DETECTED 20 CFU/L NOT DETECTED

ถังนํ้า NOT DETECTED NOT DETECTED

ผลการตรวจวัดปริมาณเช้ือลีจิโอเนลลาในนํ้าด่ืม และน้ําใชของโครงการ 2 ครั้ง ในชวงเดือนมกราคม – มิถุนายน 2555 พบการปนเปอนของเช้ือลีจิโอเนลลาในนํ้าของเดือนมีนาคม ในหองพักแขก(หอง 805) โดยมีคาเทากับ 40 CFU/L และในนํ้ารอนหองครัวโดยมีคาเทากับ 20 CFU/L ซึ่งขอปฏิบัติตามคําแนะนําของกรมอนามัย มกราคม พ.ศ. 2544 ใหโครงการตองดําเนินการแกไขดวยมาตรการตางๆตามระดับการปนเปอนของเช้ือลีจิโอเนลลา โดยถาพบเช้ือนอยกวา 100,000(10^5) CFU/L ใหถือวาการใชมาตรการบํารุงรักษาอยางเดียวไมเพียงพอ ตองใหมีการแกไขเพ่ิมเติมแผนการบํารุงรักษาการตรวจสอบเฝาระวังและติดตามผล ของระบบผ่ึงเย็นใหถูกตองใหม

Page 50: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

บทที่ 5 ขอเสนอแนะ และ แนวทางแกไข

Page 51: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

5-1

บทท่ี 5 ขอเสนอแนะ และ แนวทางแกไข

โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต การปฏิบัติตามมาตรการในการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมและ

มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางครบถวน ซึ่งการดําเนินการในมาตรการสวนใหญของโรงแรมมีความสมบูรณ ครบถวน อาทิ เชน มาตรการในการควบคุมดูแลระบบบําบัดนํ้าเสีย มาตรการในการจัดการขยะมูลฝอย มาตรการในการควบคุมดูแลระบบปองกันอัคคีภัย ฯลฯ แตมีบางมาตรการที่โรงแรมควรดําเนินการแกไขปรับปรุงเพ่ิมเติม เพ่ือใหมีการจัดการทางสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น ดังน้ี

5.1 คุณภาพนํ้าใช (ในหองครัวและหองพักแขก)

จากผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าใช พบวา มีคาปริมาณเหล็กในนํ้าสูงเกินมาตรฐานนํ้าบริโภคท่ีจุด Kitchen เดือนเมษายน ซึ่งอาจเกิดจากตะกอนที่เกิดขึ้นภายในเสนทอสงจาย อาจกอใหเกิดคราบสีแดงในสุขภัณฑตางๆ จึงอาจพิจารณาการลางทําความสะอาดระบบทอสงจายนํ้าเปนครั้งคราว

5.2 คุณภาพนํ้าดื่ม

จากผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าด่ืม (UV Water) พบวา มีคาอี.โคไล สูงเกินมาตรฐานนํ้าบริโภคในเดือนมีนาคม ดังน้ัน โครงการควรทําการตรวจสอบระบบฆาเช้ือโรค เชน ระบบยูวี หรือระบบจายคลอรีนใหสามารถฆาเช้ือโรคไดเต็มประสิทธิภาพ เพ่ือสามารถผลิตนํ้าบริโภคที่มีคุณภาพท่ีผานเกณฑตามท่ีมาตรฐานกําหนด

5.3 การควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสีย จากผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทิ้ง พบวาคุณภาพนํ้าในเดือนมกราคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2555 มีคาบีโอดี เกินใน

เดือนมีนาคม และพฤษภาคม สวนพารามิเตอรอื่นๆอยูในเกณฑมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (ประเภท ข), ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 122 ตอนที่ 125ง ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2548 และสังเกตุวาผลการวิเคราะหคาบีโอดี และคาตะกอนแขวนลอยของนํ้าเสียที่เขาระบบ คอนขางแกวง โดยมีคาคาบีโอดี 480.0 – 3,100.0 มิลลิกรัม/ลิตร, คาของแข็งแขวนลอย 180.0 - 13,560.0 มิลลิกรัม/ลิตร ซึ่งอาจสงผลใหระบบทํางานไดไมเต็มประสิทธิภาพ โครงการควรทําการตรวจสอบคุณภาพนํ้าเสียใหเขาระบบอยางสม่ําเสมอ และตรวจสอบการทํางานของระบบเบื้องตน เพ่ือใชเปนขอมูลในการควบคุมการทํางานของระบบ โดยควรทําการตรวจวัดคาตางๆ ดังน้ี

1. ตรวจวัดคาปริมาณตะกอนจุลชีพในบอเติมอากาศ SV30 (คาปริมาตรของสลัดจที่อานไดจากการนํานํ้าจากบอเติมอากาศมาตกตะกอนในกระบอกตวง ขนาด 1 ลิตร เปนระยะเวลา 30 นาที) ซึ่งคาที่แนะนําควรมีคาอยูในชวง 100-300 มิลลิลิตรตอลิตร แตคาน้ีอาจเปล่ียนแปลงไดตามปริมาณของคาความสกปรกในนํ้าเสียที่เขาระบบ ดังน้ันโครงการควรเลือกใชคา SV30 ที่ทําใหตกตะกอนไดดี นํ้าดานบนมีลักษณะใส หากสังเกตไดวานํ้าดานบนเริ่มขุน แตยังตกตะกอนไดดี แสดงวามีปริมาณเช้ือจุลินทรียมากเกินไปควรเพ่ิมอัตราการทิ้งสลัดจ แตหากพบวานํ้าดานบนขุนและตกตะกอนไดไมดี แสดงวามีจุลินทรียในระบบนอยเกินไป ควรแกไขโดยเพ่ิมอัตราการหมุนเวียนสลัดจกลับเขาถังเติมอากาศใหมากขึ้น

Page 52: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

5-2

2. ตรวจวัดคาออกซิเจนละลายนํ้าในบอเติมอากาศ เน่ืองจากจุลินทรียจําเปนตองใชออกซิเจนในการดํารงชีวิต ซึ่งจะตองควรควบคุมใหมีคาอยูไมตํ่ากวา 2 มิลลิกรัม/ลิตร โดยควรทําการตรวจวัดหลายๆตําแหนงและที่ระดับแตกตางกัน เพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องเติมอากาศ

5.4 การตรวจวัดปริมาณเชื้อลีจิโอเนลลาในนํ้าใช

ผลการตรวจวัดปริมาณเช้ือลีจิโอเนลลาในน้ําด่ืม และนํ้าใชของโครงการ ทั้งหมด 10 ตัวอยางในเดือนมีนาคม และ มิถุนายน 2555 พบวาในเดือนมีนาคม มีการปนเปอนของเช้ือลีจิโอเนลลา 2 แหง คือในหองพักแขก(หอง 805) โดยมีคาเทากับ 40 CFU/L และในน้ํารอนหองครัวโดยมีคาเทากับ 20 CFU/L ซึ่งขอปฏิบัติตามคําแนะนําของกรมอนามัย มกราคม พ.ศ. 2544 ใหโครงการตองดําเนินการแกไขดวยมาตรการตางๆตามระดับการปนเปอนของเช้ือลีจิโอเนลลา โดยถาพบเช้ือนอยกวา 100,000(105) CFU/L ใหถือวาการใชมาตรการบํารุงรักษาอยางเดียวไมเพียงพอ ตองใหมีการแกไขเพ่ิมเติมแผนการบํารุงรักษาการตรวจสอบเฝาระวังและติดตามผล ของระบบผ่ึงเย็นใหถูกตองใหม

Page 53: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

เอกสารอางอิง

1. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2549) เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศท่ัวไป เลมที่ 124 ตอนที่ 11 ง วันที่ 1 กุมภาพันธ 2550

2. ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าผิวดิน ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 111 ตอนที่ 16 ง ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2537

3. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนํ้าบริโภค มอก.257-2549

4. ประกาศกรมอนามัย เรื่องเกณฑคุณภาพนํ้าประปา (29 กุมภาพันธ 2543)

5. ขอบังคับกรุงเทพมหานครวาดวยหลักเกณฑการประกอบการคา ซึ่งเปนที่นารังเกียจหรืออาจเปนอันตรายแกสุขภาพ ประเภทการจัดต้ังสระวายนํ้า พ.ศ. 2530

6. มาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (อาคารขนาด ก) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา เลม 122 ตอนที่ 125ง ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2548

7. กฎกระทรวง ฉบับที่ 51 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

8. มาตรฐานคุณภาพนํ้าแหลงนํ้าผิวดิน (ประเภทที่ 3) ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535

9. กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และสมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย ตําราระบบบําบัดมลพิษนํ้า พิมพครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย, 2548

10. APHA, AWWA, WEF Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater 21st edition, 2005.

11. การดูแลสระวายนํ้า http://pooldesignthailand.blogspot.com/2008/12/blog-post_14.html คนวันที่ 20 กรกฎาคม 2555

12. รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โรงแรม เดอะ รอยัล ภูเก็ตยอชทคลับ ซึ่งจัดทําโดยบริษัท เซาทอีสเอเซียเทคโนโลยี จํากัด (พฤษภาคม 2529)

Page 54: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม – มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ. เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาพถายประกอบรายงาน

ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ํา

ภาคผนวก ค เอกสารประกอบรายงาน

ภาคผนวก ง มาตรฐานคุณภาพน้ํา

ภาคผนวก จ เอกสารสําคัญของบรษิัท

Page 55: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก ก ภาพถายประกอบรายงาน

Page 56: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 1 ระบบบําบัดนํ้าเสีย (ใตดิน) ซึ่งรองรับนํ้าเสียสวนของโรงแรม

ภาพท่ี 2 สภาพหองพักขยะเปยกและขยะแหง สวนของโรงแรม

Page 57: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 3 สภาพภายในหองพักขยะเปยก

ภาพท่ี 4 ชายฝงทะเลที่ติดพ้ืนท่ีโครงการ

Page 58: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 5 การจัดพ้ืนท่ีสีเขียวภายในโครงการ

ภาพท่ี 6 ตูแสดงสัญญาณ Fire Alarm

Page 59: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 7 ถังสายฉีดนํ้าดับเพลิงบริเวณทางเดิน

ภาพท่ี 8 กระด่ิง สัญญาณเตือนอัคคีภัย

Page 60: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 9 บันไดหนีไฟใชรวมกับทางเดิน

ภาพท่ี 10 อุปกรณตรวจจับควัน ภายในหองพัก

Page 61: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 11 ผังแสดงเสนทางหนีไฟ

ภาพท่ี 12 ระบบสูบนํ้าดับเพลิง และตูเก็บอุปกรณดับเพลิง

Page 62: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 13 ถังดับเพลิงภายในหองครัว

ภาพท่ี 14 ถังขยะท่ีใชภายในหองครัว

Page 63: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 15 ระบบกรองน้ําดื่ม และเคร่ืองทํานํ้าแข็งภายในหองครัว

ภาพท่ี 16 ถังกรอง ระบบสระวายนํ้า

Page 64: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 17 สระวายนํ้า

ภาพท่ี 18 รางระบายนํ้าฝนของโครงการ

Page 65: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 19 การติดต้ัง Hood ระบายอากาศในหองครัว

ภาพท่ี 20 เคร่ืองกําเนิดไฟฟาสํารอง

Page 66: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 21 ลานจอดรถยนตและรถมอเตอรไซด

ภาพท่ี 22 ระบบผลิตนํ้าใช ของไสยวน

Page 67: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 23 โรงเรือนเพาะชํา ไสยวน

ภาพท่ี 24 ระบบบําบัดนํ้าเสียของไสยวน

Page 68: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาพท่ี 25 ระบบผลิตนํ้าใช ราไวย

Page 69: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ํา

Page 70: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก ค เอกสารประกอบรายงาน

Page 71: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก ง มาตรฐานคุณภาพน้ํา

Page 72: โรงแรม เดอะ รอยัล ภู็เกตยอช ทคลับ จังหวัดภู ็ตเกeiadoc.onep.go.th/eia2/5-3-210.pdfโรงแรมเดอะ

รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโรงแรมเดอะ รอยัล ภเูก็ตยอชทคลับ จังหวัดภูเก็ต ประจําเดือน มกราคม- มิถุนายน 2555

บริษัท ไอ . เอ. เคมีคอลส จํากัด

ภาคผนวก จ เอกสารสําคัญของบริษัท