11
Eureka! เคมี .สิทธิเดช ชาญบัญชา [.ไมธ์] 1 1. ไตรกเซอไร 3 ชด ประกอบวยกรดไขนตามดวนง อใดอไปกอง 1. ดง 3 ชด ฟอกโบรนไเาน 2. A ดหลอมเหลวงด 3. B ไเหมาะบการประกอบอาหารณหง 4. เฉพาะด A และ C เหมาะหบผตไบโอเซล 5. สเดจากด B ละลายแกา A และ C อลอไปใประกอบการตอบถามอ 2 และ 3 นช 4 ชด ชดละ 100 cm 3 ทดลองหยดสารละลายไอโอน และบนวนหยดของ ไอโอนกฟอกจางไป ไผลงตาราง ล ิพ ิด กรดโอเลอิก กรดสเตียริก ปาล์มมิติก A 30 20 50 B 70 10 20 C 20 30 50 นช นวนหยดของ I 2 จางหาย M 25 Q 87 R 48 T 36 เตรียม สอบปลายภาค เคมี .5

เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !1

1. ไตรกลีเซอไรด์ 3 ชนิด ประกอบด้วยกรดไขมันตามสัดส่วนดังนี้

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

1. ลิพิดทั้ง 3 ชนิด ฟอกสีโบรมีนได้ดีเท่ากัน2. ลิพิด A มีจุดหลอมเหลวสูงสุด

3. ลิพิด B ไม่เหมาะกับการประกอบอาหารที่อุณหภูมิสูง4. เฉพาะลิพิด A และ C ที่เหมาะสำหรับผลิตไบโอดีเซล

5. สบู่ที่เกิดจากลิพิด B ละลายน้ำแย่กว่า A และ C

ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 2 และ 3

นำน้ำมันพืช 4 ชนิด ชนิดละ 100 cm3 ทดลองหยดสารละลายไอโอดีน และนับจำนวนหยดของไอโอดีนที่ถูกฟอกจางสีไป ได้ผลดังตาราง

ลพิดิ กรดโอเลอกิ กรดสเตยีรกิ ปาลม์มติกิ

A 30 20 50

B 70 10 20

C 20 30 50

น้ำมันพืช จำนวนหยดของ I2 ที่สีจางหาย

M 25

Q 87

R 48

T 36

เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม.5

Page 2: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !2

2. การเปรียบเทียบสมบัติของน้ำมันพืชทั้ง 4 ชนิด ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. น้ำมัน M มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมัน Q

2. น้ำมัน Q เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันง่ายกว่าน้ำมัน R

3. น้ำมัน R มี C = C มากกว่าน้ำมัน T

4. น้ำมัน T เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสง่ายกว่าน้ำมัน M

3. ถ้าน้ำมันทั้ง 4 ชนิด ประกอบด้วยกรดไขมัน 4 ชนิด เหมือนกันดังนี้ C14H24O2 C16H30O2 C18H34O2

และ C18H36O2 น้ำมันชนิดใดมีร้อยละของ C18H36O2 เป็นองค์ประกอบมากที่สุด1. M 2. Q 3. R 4. T

4. จากข้อมูลต่อไปนี้ ท่านคิดว่าไขมันหรือน้ำมันชนิดใดจะเกิดการเหม็นหืนได้ง่ายที่สุด

5. จากโครงสร้างกรดไขมันชนิดหนึ่ง

ข้อใดถูก1. เป็นกรดไขมันโอเมก้า 3

2. เป็นกรดไขมันโอเมก้า 6

3. เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง

4. ต้มกับด่างแก่ไม่เกิดสบู่5. ไม่เกิดปฏิกิริยาฟอกสีไอโอดีน

รหัสวิชา 72 ความถนัดทางวิทยาศาสตร ์ หน้า 29 วันอาทิตย์ท่ี 7 มีนาคม 2553 เวลา 08.30 - 11.30 น.

47. ต้องการเตรียมสารละลายไทเทเนียม ปริมาตร 100 มิลลิลิตร ให้มีความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/ลิตร ต้องใช้ TiSO4 กี่กรัม

1. 3 × 10-1 2. 3 × 10-2 3. 3 × 10-3 4. 3 × 10-4 48. ต้องการเตรียมสารละลายกรด H2SO4 0.9 โมลาร์ ปริมาตร 250 มิลลิลิตร ต้องใช้กรด

H2SO4 ที่มีความเข้มข้นร้อยละ 98 โดยมวล กี่มิลลิลิตร (ก าหนดความหนาแน่นของกรด H2SO4 เป็น 1.80 กรัม/มิลลิลิตร)

1. 6.3 2. 12.5 3. 18.0 4. 25.0 49. พันธะใดไม่พบในโครงสร้างโปรตีน 1. พันธะไฮโดรเจน 2. พันธะไดซัลไฟด์ 3. พันธะไอออนิก 4. พันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ 50. จากโครงสร้างกรดไขมันชนิดหนึ่ง CH3(CH2)4 (CH=CHCH2)3 (CH2)3 COOH ข้อใดถูก 1. เป็นกรดไขมันโอเมกา -3 2. เป็นกรดไขมันโอเมกา -6 3. เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 4. ต้มกับด่างแก่จะไม่เกิดสบู่

Page 3: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !3

6. X และ Y เป็นสารทำความสะอาดต่างมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ 12 อะตอม Y ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้ยากที่สุด นำน้ำผสมสาร X และ Y อย่างละ 3 cm3 ทำปฏิกิริยากับสารละลาย CaCl2

หลอดละ 3 cm3 ปรากฏว่าในหลอดสาร X เกิดฝ้าสีขาวของสาร Z ลอยอยู่ที่ผิวน้ำ ส่วนในหลอดสาร

Y ไม่เกิดปฏิกิริยา ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. X มีสูตรเป็น C11H23COO-Na+ Y มีสูตรเป็น CH3(CH2)5-C6H5-SO3-Na+

2. X และ Y เป็นสารอินทรีย์สังเคราะห์ที่เป็นสารประกอบไอออนิกผสมน้ำได้สารคอลลอยด์

3. X และ Y จะละลายไขมันได้มากข้ึนและละลายน้ำลดลงเมื่อขนาดโมเลกุลใหญ่ข้ึน4. Z เป็นเกลือแคลเซียมของกรดไขมัน มีสูตร (C11H23COO)2Ca และไม่ละลายน้ำ

7. มีกรดอะมิโน 4 ชนิดได้แก่ อะลานีน ไกลซีน ลิวซีน และไอโซลิวซีน

ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง1. อะลานิลไกลซิลลิวซีน และ ไลซิลไกลซิลอะลานีน เกิดปฏิกิริยากับไบยูเร็ตได้เหมือนกัน2. เมื่อนำมาเกิดเพปไทด์จะได้ไตรเพปไทด์ที่เกิดปฏิกิริยากับไบยูเร็ตได้

3. กรดอะมิโนทั้ง 4 ชนิดละลายน้ำได้แต่ไม่นำไฟฟ้า

4. กรดอะมิโนทั้ง 4 ชนิดเป็นองค์ประกอบสำคัญในกรดนิวคลีอิก

5. สามารถเชื่อมต่อกันเป็นโปรตีนปฐมภูมิย่อยง่าย

8. จากโครงสร้างต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. ทดสอบกับไบยูเร็ตได้สารสีน้ำเงินม่วง

2. มีกรดอะมิโนที่มีสมบัติเป็นเบสเพียงโมเลกุลเดียว

3. เนื่องจากมีกรดอะมิโนเพียง 4 ชนิด จึงจัดเป็นเตตระเพปไทด์

4. กรดอะมิโนที่มีจำนวนมากที่สุดมีมวลโมเลกุลน้อยที่สุด5. เพปไทด์สายนี้จัดเป็นโครงสร้างปฐมภูมิ

Page 4: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !4

9. ออกซิโทซิน หรือฮอร์โมนแห่งความผูกพัน เป็นพอลิเพปไทด์ที่มีโครงสร้างดังรูป ข้อใดกล่าวถึงสารนี้ได้ถูกต้อง

1. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 11 โมเลกุล

2. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 10 โมเลกุล3. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 9 โมเลกุล4. ประกอบด้วยกรดอะมิโน 8 โมเลกุล

10. สารประกอบเพปไทด์ที่มีโครงสร้างดังนี้

สารประกอบนี้ 0.2 โมล ถูกไฮโดรไลส์ด้วยกรดเข้มข้นซึ่งมีน้ำเป็นองค์ประกอบ 0.6 โมล กำหนดว่า

โมเลกุลเพปไทด์ที่ถูกไฮโดรไลส์จะแตกสลายเป็นกรดอะมิโนอย่างสมบูรณ์ ผลของปฏิกิริยานี้จะมีกรดอะมิโน ที่มีสมบัติเป็นเบสเกิดขึ้นกี่กรัม 1. 21.92. 29.23. 39.84. 43.8

:ria?n 06f,oicr mil

{u,o"'uvrifi s nqao'nruu zssoL6 r?a't 09,00 - I1.00 u.

4s. oonfr '[vr8u (oxytocin) ili oaoflilu,,ri un ru4ovf,u rilunofi rurj lvrddi ln: lelxn-r gil' : - f

r . t l a t l y a i j *n.:u0R?10 on0r tmcril il : s noun?uR: novu t!{n lurnqn" '::',:,i;;, - -

. i , : l . : '

, , : , ' O .ffrnJ

Is /I

I

HN

HN

?r.O(2) n:

n:

I Au0 D

D

t /\ r'B He 3 Y*#u\*,,rA-il#*Ao 3 r,i_/O O

(l) il:cnoudrun:erosu'Iu tt luraqa (2) rJ:snoud'lun:nosfiIu rofuraqa(3) il:cnoudaun:nosfiIu r lrurnqa (4) il:cno:.Jd?un:nocfiIu a lrurnqa

50. rJq'fi3ur1neiol:Jd firiJun:yrrunr::JirrJ;.:In:rairrro.:er:il:cnou'lsIn:nifirouI r y a Jr?r o rlf rtnilo0nril u (J{r1l

O +3Hz

cH3(ct-12)6cH3

CH3(CH|5CH3 * Hz

cH3(cHdscH3

(l) rJ6'fi3urB c uas

catalyst

heat

catalystheat

catalyst+heat

catalyst

heat

9Hg 9HscH3ccH2cHcH3CHe

9HtCH3CHCH2CH3 + CHsCHg

a 4Hz

ulA C t ta3

u1A B r ras

..i l0n:ulA

.. i l0n:u1B

.. i l0n:u1c

..i l f ln:ulD

(3) rl6'ffiur A B uae c (4)" ilA'

Page 5: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !5

11. X คือ โปรตีนชนิดหนึ่ง Y คือ X ที่ถูกแปลงสภาพ พิจารณาการเปรียบเทียบสมบัติระหว่าง X กับ Y

ก. ปริมาณกรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบ X > Y

ข. เมื่อทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ทั้ง X และ Y เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

ค. X มีโครงสร้างเป็นโปรตีนก้อนกลม Y มีโครงสร้างเป็นโปรตีนเส้นใย

ง. เมื่อทดสอบด้วยสารละลายไบยูเร็ต X จะเกิดสารสีน้ำเงินม่วง แต่ Y ไม่เกิด

มีข้อความที่ไม่ถูกต้องกี่ข้อ

1. 1 ข้อ

2. 2 ข้อ

3. 3 ข้อ

4. ไม่มีข้อความที่ถูกต้องเลย

12. ข้อความเกี่ยวกับสาย polynucleotide ใน DNA ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง

1. การเชื่อมต่อกันระหว่างสาย polynucleotide อาศัยหมู่ฟอสเฟต

2. การเชื่อมต่อกันภายในสาย polynucleotide อาศัยพันธะไฮโดรเจน

3. เบสที่มีไนโตรเจนที่เชื่อมระหว่างกันจะต้องต่างกัน4. นำ้ตาลใน nucleotide มีอัตราส่วนจำนวน C : H :O เป็น 1:2:1

5. มีข้อความถูกต้องมากกว่า 1 ข้อ

13. เมื่อทดลองนำเอนไซม์ไปต้มที่ 80OC แล้วทำให้เย็นลงจนถึงอุณหภูมิห้อง พบว่าเอนไซม์นั้นจะสูญ

เสียความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา พิจารณาคำอธิบายต่อไปนี้

ก. โครงสร้างปฐมภูมิของเอนไซม์ถูกทำลาย

ข. พันธะเพปไทด์ในเอนไซม์มีการจัดเรียงตัวใหม่

ค. โครงสร้างในสามมิติของเอนไซม์เปลี่ยนไปจนไม่สามารถทำงานได้

ง. ผลกาทดลองผิดพลาดเพราะเมื่อทำให้เย็นลงเอนไซม์ควรจะทำงานได้ตามปกติ

ข้อใดถูก

1. ก เท่านั้น 2. ข เท่านั้น

3. ค เท่านั้น 4. ง เท่านั้น

5. ก และ ข

14. น้ำมันปาล์ม น้ำตาลทราย ไข่ขาว เมทิลเมทาโนเอต สารเหล่านี้เกิดปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ได้ทุกสาร

1. สะปอนิฟิเคชัน 2. ไฮโดรไลซิส

3. พอลิเมอร์ไรเซชัน 4. เอสเทอร์ริฟิเคชัน

Page 6: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !6

15. ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบ ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. การกลั่นน้ำมันดิบทำได้โดยให้ความร้อนแก่น้ำมันดิบเพื่อให้ไฮโดรคาร์บอนเดือดออกมาทีละชนิด เพื่อแยกให้เหมาะสมกับการใช้งานต่อไป

2. ไฮโดรคาร์บอนที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นทางตอนล่างของหอกลั่น ส่วนไฮโดรคาร์บอนที่มีจุดเดือดต่ำ จะระเหยขึ้นไปควบแน่นบริเวณส่วนบนของหอกลั่น

3. การเลือกช่วงอุณหภูมิในการเก็บผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับจุดประสงค์ว่าจะต้องการผลิตภัณฑ์ไปใช้ประโยชน์ด้านใด

4. ผลิตภัณฑ์จากน้ำมันดิบที่มีคาร์บอน 10-14 อะตอม ในโมเลกุล ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่นและจุดตะเกียง

16. ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกปิโตรเลียม

1. LPG หรือแก๊สหุงต้มกลั่นได้จากทั้งแก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบ2. LPG บรรจุในถังในสถานะของเหลวโดยเพิ่มความดัน ขณะที่ NGV บรรจุโดยอัดเป็นแก๊สในถัง3. ในการแยกแก๊สธรรมชาติต้องกำจัดความชื้น และ CO2 เพราะสารทั้งคู่ละลายซึ่งกันและกันเป็น

กรดกัดกร่อนท่อส่งให้ผุกร่อน4. น้ำมันดีเซลที่มี C11H10 จากจะมีเลขซีเทนสูง

17. น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งเกิดจากการผสม A 54 กรัมและ B 126 กรัม ถ้าน้ำมันผสมนี้มีเลขซีเทน 70

ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง

1. A น่าจะเป็น CH3(CH2)14CH3

2. B น่าจะเป็น (CH3)3CCH2CH(CH3)2

3. ถ้าเติม A เพิ่มอีก 20 กรัม จะมีเลขซีเทน 63

4. ถ้าเติม B เพิ่มอีก 20 กรัม จะมีเลขซีเทน 63

18. พิจารณาสารต่อไปนี้

���ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับสารที่กำหนดให้

1. มีสารที่ไม่ใช่มอนอเมอร์ 2 ชนิด2. มอนอเมอร์ที่เกิดโฮโมพอลิเมอร์ได้ มี 4 ชนิด3. มอนอเมอร์ที่เกิดพอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่นมี 2 ชนิด4. มอนอเมอร์ที่เกิดพอลิเมอไรเซชันแบบเติมมี 4 ชนิด

Page 7: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !7 19. พิจารณาการเปรียบเทียบไบโอดีเซล และดีเซลต่อไปนี้

ก. ดีเซลเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ แต่ไบโอดีเซลไม่เป็น

ข. ไบโอดีเซลและดีเซลมีโครงสร้างทางเคมีแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง

ค. การเผาไหม้ของดีเซลจะให้ความร้อนต่อหน่วยน้ำหนักมากกว่าของไบโอดีเซล

ง. ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงสะอาดเมื่อเผาไหม้เแล้วไม่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจกเหมือนดีเซล

จ. ไบโอดีเซลได้จากการผสมดีเซลกับน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ ส่วนดีเซลได้จากการกลั่นลำดับส่วน

น้ำมันดิบ

ข้อใดถูก

1. ก ข และ ค

2. ข ค และ ง

3. ค ง และ จ

4. ก ข และ จ

5. ก ค และ ง

20. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับน้ำมัน B5 ได้ถูกต้อง

1. น้ำมันที่มีส่วนผสมของ น้ำมันเบนซิน 95% และ แอลกอฮอล์ 5%

2. น้ำมันที่มีส่วนผสมของ น้ำมันเบนซิน 5% และ แอลกอฮอล์ 95%

3. น้ำมันที่มีส่วนผสมของ น้ำมันดีเซล 95% และ เมทิลเอสเทอร์ 5%

4. น้ำมันที่มีส่วนผสมของ น้ำมันดีเซล 5% และ เมทิลเอสเทอร์ 95%

5. น้ำมันที่มีส่วนผสมของ น้ำมันดีเซล 95% และ น้ำมันปาล์ม 5%

21. เชื้อเพลิงข้อใดไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

1. แก๊สโซฮอล์ 91

2. แก๊สโซฮอล์ 95

3. ดีโซฮอล์4. NGV5. E 20

Page 8: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !822. ข้อใดไม่ถูกต้อง

1. น้ำมันแก๊สโซฮอล์ 95 มีเลขออกเทนเท่ากับ 95

2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไม่ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก

3. น้ำทิ้งที่มีค่า BOD สูง มีคุณภาพต่ำกว่าน้ำทิ้งที่มีค่า BOD ต่ำ

4. ไบโอดีเซลเป็นสารเอสเทอร์ที่ผลิตจากน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์

23. พิจารณาสูตรโครงสร้างเพปไทด์ ต่อไปนี้

ข้อใดผิด

1. โมเลกุลนี้จัดเป็นเททระเพปไทด์

2. ข้อมูลที่แสดงเป็นโครงสร้างปฐมภูมิ

3. เพปไทด์นี้ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 ชนิด

4. เพปไทด์นี้ให้สารสีม่วงกับปฏิกิริยาทดสอบไบยูเร็ต

5. ถ้าสลับตำแหน่งของกรดอะมิโน จำนวนไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดเท่ากับ 24

24. เส้นใย 2 ชนิด มีสูตรดังนี้

���ข้อเปรียบเทียบระหว่าง A กับ B ข้อใดถูกต้อง

ข้อเปรียบเทียบ A B

1 แหล่งที่มา จากการสังเคราะห์ จากธรรมชาติ

2 ประเภทพอลิเมอร์ พอลิเอมีน พอลิเอสเทอร์

3 สมบัติการดูดซึมน้ำ ดูดซึมความชื้นดี ทำให้สวมใส่สบาย

ดูดซึมความชื้นน้อยทำให้ซักแล้วแห้งเร็ว

4 โครงสร้าง แบบกิ่ง แบบเส้น

Page 9: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !925. พิจารณาสาร 4 ชนิดต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง

ก. พอลิไวนิลคลอไรด์

ข. ยาง SBR

ค. เส้นใยไนลอน 6,6

ง. ดาครอน

1. เฉพาะ ก และ ค เป็นพอลิเมอร์เอกพันธุ์2. ก ข และ ค เกิดจากพอลิเมอร์ไรเซชันแบบเติม

3. ข และ ง มีสารตั้งต้นบางชนิดจากยางธรรมชาติ

4. ข เมื่อเผาไหม้จะให้ควันดำ เขม่ามาก และเกิดแก๊สที่เป็นกรด5. ค และ ง จัดเป็นพอลิเอไมด์และพอลิเอสเอสเทอร์ตามลำดับ

26. พิจารณาสารต่อไปนี้

สารใดเกิดจากพอลิเมอไรเซชันแบบเติม

1. ข เท่านั้น2. ก และ ข3. ก และ ค4. ข และ ง5. ข ค และ ง

58. พิจารณาสารต่อไปนี ้

สารชนิดใดเป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาการเติม

1. ข.

2. ก. ข.

3. ก. ค.

4. ข. ง.

5. ข. ค. ง.

59. นักเรียนคนหนึ่งทาํการทดลองหยดสารละลายโบรมีนลงในสารละลายของไขมันชนิดต่างๆ ใน

เข้มข้นเท่ากันได้ผลดังนี ้

ชนิดของไขมัน/นํ้ามัน

น้ํามันข้าวโพด

น้ํามันมะกอก

น้ํามันถ่ัวลิสง

น้ํามันหมู

ไขวัว

ข้อใดเรียงลําดับไขมันที่มปีริมาณไขมันอ่ิมตัวจากมากไปน้อยไดถู้กต้อง

1. ไขวัว น้ํามันถ่ัวลิสง

2. น้ํามันหมู น้ํามันมะกอก

3. น้ํามันข้าวโพด น้ํามันถ่ัวลิสง

4. น้ํามันหมู น้ํามันถ่ัวลิสง

5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้อง

ก.

ข.

ค.

ง.

สารชนิดใดเป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากปฏิกิริยาการเติม

นักเรียนคนหนึ่งทาํการทดลองหยดสารละลายโบรมีนลงในสารละลายของไขมันชนิดต่างๆ ใน

นํ้ามัน จํานวนหยดของสารละลายโบรมีนที่ใช้

ตั้งแต่เร่ิมต้นจนสีไม่จางหาย 87

75

70

42

37

ข้อใดเรียงลําดับไขมันที่มปีริมาณไขมันอ่ิมตัวจากมากไปน้อยไดถู้กต้อง

น้ํามันหมู น้ํามันข้าวโพด

น้ํามันมะกอก น้ํามันถ่ัวลิสง ไขวัว

น้ํามันหมู ไขวัว

น้ํามันมะกอก น้ํามันข้าวโพด

นักเรียนคนหนึ่งทาํการทดลองหยดสารละลายโบรมีนลงในสารละลายของไขมันชนิดต่างๆ ใน CCl4 ซ่ึงแต่ละชนิดมีความ

Page 10: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !10Taxol มีโครงสร้างดังนี้ ใช้ตอบคำถามข้อ 27 - 28

27. หมู่ฟังก์ชันของสารประเภทใดที่ไม่พบในสารนี้

1. เอมีน 2. เอไมด์

3. อีเทอร์ 4. เอสเทอร์

5. คีโตน

28. ข้อใดถูกต้อง

1. สารนี้ 1 โมล เกิดไฮโดรไลซิสพอดีกับน้ำ 3 โมล

2. เมื่อเกิดไฮโดรไลซิสจะได้ผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งเป็นกรดอะมิโนที่ใช้สร้างโปรตีนได้3. สารนี้ 1 โมล เกิดปฏิกิริยารวมกับกับโบรมีนได้มากกว่า 1 โมล

4. เมื่อเกิดไฮโดรไลซิสจะได้สารที่เป็นกรดเพียง 2 ชนิด

5. สารนี้ 1 โมล เกิดปฏิกิริยาพอดีกับ Na 3 โมล

29. หมู่ฟังก์ชันในยาโอเซลทามิเวียร์ ดังรูปมีหมู่ฟังก์ชันชนิดใดบ้าง

1. แอลคีน แอลดีไฮด์ เอสเทอร์ คีโตน เอไมด์

2. แอลคีน อีเทอร์ แอลกอฮอล์ คีโตน เอมีน

3. แอลคีน อีเทอร์ เอสเทอร์ คีโตน เอมีน

4. แอลคีน แอลดีไฮด์ เอสเทอร์ แอลกอฮอล์ เอไมด์

5. แอลคีน อีเทอร์ เอสเทอร์ เอไมด์ เอมีน

Page 11: เตรียม สอบปลายภาค เคมี ม5.transfereureka-school.makewebeasy.com/image/pdf/ติว...2. X และ Y เ{นสาร‘นทm−8งเคราะ’Rเ{นสารประกอบไอออ+กผสมaไ0สารคอลลอย)

Eureka! เคมี อ.สิทธิเดช ชาญบัญชา [อ.ไมธ์] !11

30. พิจารณาสารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างนี้จำนวน 1 โมล เกิดปฏิกิริยาพอดีกับ Na

จะต้องใช้ Na กี่โมล

และเกิดแก๊ส H2 คิดเป็นปริมาตรกี่ dm3 ที่ STP.

Na (mol) H2 (dm3) ที่ STP.1. 2 11.2 2. 2 22.43. 3 11.24. 3 22.45. 3 33.6

⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇ ⧉◇

OH

HOOH

O