71
ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี จังหวัดพะเยา การจําแนกเขตและแนวทางการบริหารจัดการกรมทรัพยากรธรณี ผูจัดทํารายงาน สํานักธรณีวิทยา นายวีระพงษ ตันสุวรรณ นายไชยกาล ไชยรังษี สํานักทรัพยากรแร นายธงชัย รถมณี ศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณี นางสุภาวดี วิมุกตะนันท นายกวิน เกิดไพโรจน กองอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรณี นางจิตติมา อรรถอารุณ นายพิชัย โอตรวรรณะ นายอํานวย สงอุไรล้ํา นางสาวดรุณี เจนใจ นางสาวจรัสพรรณ พิทอง นายเผาพันธุ ประเสริฐ นายทนงศักดิตรีนก นางสาวอุไรวรรณ ลิ่มภัทรเจริญ นางสาวจิตติมา คําเกลี้ยง

ธรณีวิทยาและทร ัพยากรธรณ ี จังหวัดพะเยา การจําแนกเขตและ ... · -v-สารบัญ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

จังหวดัพะเยา

“การจาํแนกเขตและแนวทางการบริหารจดัการ” กรมทรัพยากรธรณี ผูจัดทํารายงาน สํานักธรณีวิทยา นายวีระพงษ ตันสุวรรณ นายไชยกาล ไชยรังษี สํานักทรัพยากรแร นายธงชัย รถมณ ีศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณี นางสุภาวดี วิมุกตะนันท นายกวิน เกิดไพโรจน กองอนรุักษและจัดการทรัพยากรธรณ ี นางจิตติมา อรรถอารณุ นายพิชัย โอตรวรรณะ นายอํานวย สงอุไรลํ้า นางสาวดรุณี เจนใจ นางสาวจรัสพรรณ พิทอง นายเผาพันธุ ประเสริฐ นายทนงศักดิ์ ตรีนก นางสาวอุไรวรรณ ล่ิมภัทรเจริญ นางสาวจิตติมา คําเกลี้ยง

-II-

ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี จังหวัดพะเยา “การจาํแนกเขตและแนวทางการบริหารจดัการ” อธิบดกีรมทรัพยากรธรณี : นายสมศักด์ิ โพธสิัตย จัดทําโดย

กรมทรัพยากรธรณ ี กระทรวงทรพัยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

75/10 ถ. พระราม 6 แขวงทุงพญาไท

เขต ราชเทว ี กรงุเทพมหานคร 10400

www.dmr.go.th ที่มาของขอมูล

ขอมูลพื้นฐานของจังหวัด เว็บไซตของจังหวัด www.phayao.go.th

ขอมูลธรณีวิทยาและแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา สํานักธรณีวทิยา

ขอมูลทรัพยากรธรณี สํานักทรัพยากรแร

ขอมูลสารสนเทศและแผนที่ ศูนยสารสนเทศทรัพยากรธรณ ี

ขอมูลการจําแนกเขตและแนวทางการบริหารจัดการ กองอนรุักษและจัดการทรัพยากรธรณี

-III-

คํานํา

โครงการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีรายจังหวัด ภายใตการดําเนินการของ กรมทรัพยากรธรณี ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ป พ.ศ. 2548 – 2551 ในประเด็นยุทธศาสตร การอนุรักษและจัดการการใชประโยชนทรัพยากรธรณีเปนไปอยางสมดุลและสอดคลองกับ แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ในการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีออกเปน เขตเพื่อการสงวน อนุรักษ และพัฒนาเพื่อใชเปนขอมูลฐานในการพัฒนาประเทศ

ขอมูลฐานทรัพยากรธรณีตางๆ ที่มีอยูในแตละจังหวัด ไดแก ลักษณะธรณีวิทยาทั่วไป ทรัพยากรแร และแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา โดยการจําแนกเขตเชิงพ้ืนที่ตามศักยภาพของฐานทรัพยากร และขอจํากัดทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ดิน ออกเปนเขตเพ่ือการสงวน เขตเพื่อการอนุรักษ และเขตเพื่อการพัฒนา การวิเคราะหและประมวลผลเพื่อจัดลําดับความสําคัญใหกับเขตพัฒนาทรัพยากรธรณี พรอมขอเสนอแนะแนวทางบริหารจัดการที่เหมาะสมสอดคลองกับฐานทรัพยากร สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม คุณภาพของสิ่งแวดลอม และวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่น

กรมทรัพยากรธรณี ขอขอบคุณหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ที่ไดมีสวนชวยใหความอนุเคราะห ใหความสะดวกในการสืบคนและรวบรวมขอมูล ตลอดจนใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอการดําเนินงาน และหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารหรือรายงานฉบับน้ีจะใหขอมูลดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ตลอดจนแนวทางการจัดการในพื้นที่ แตละจังหวัด อันจะเปนประโยชนแกหนวยงานราชการ สถาบันการศึกษา ประชาชน ในการนําไปประกอบการวางแผนและ การจัดการทรัพยากรธรณีในเชิงพ้ืนที่ของจังหวัด กลุมจังหวัด และประเทศ อยางมีประสิทธิภาพตอไป

กรมทรัพยากรธรณ ี

กันยายน 2549

-IV-

บทคัดยอ

การจําแนกเขตทรัพยากรธรณีจังหวัดพะเยา เปนเครื่องมือในการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีเพ่ือใหเกิดการใชประโยชนทรัพยากรธรณีอยางสมดุล และสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน การดําเนินงานประกอบดวยการจัดทําระบบฐานขอมูลทรัพยากรธรณีจังหวัดพะเยาในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร มาตราสวน 1:50,000 และจําแนกเขตทรัพยากรธรณีเชิงพ้ืนที่ตามศักยภาพของฐานทรัพยากรธรณีและขอจํากัดทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ดินออกเปนเขตสงวนทรัพยากรแร เขตอนุรักษทรัพยากรแร และเขตพัฒนาทรัพยากรแร แลวทําการวิเคราะห ประมวลผลเพื่อจัดลําดับความสําคัญใหกับเขตพัฒนาทรัพยากรธรณี พรอมกําหนดมาตรการและแนวทางบริหารจัดการที่สอดคลองกับศักยภาพทรัพยากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม

จังหวัดพะเยามีลักษณะเปนที่ลุมลอมรอบดวยเทือกเขาหรือแองรองรับดวยหินแข็งจนถึงตะกอนปจจุบัน ซ่ึงแบงไดเปนตะกอนรวน 3 หนวย หินตะกอน 4 หนวย และหินอัคนี 3 หนวย พบทรัพยากรแรสําคัญ 7 ชนิด ใน 3 กลุมแรหลัก คือ กลุมแรเพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ ไดแก หินปูน และทรายกอสราง กลุมแรพลังงาน ไดแก ถานหิน และกลุมแรเพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ไดแก แบไรต แมงกานีส บอลเคลย และหินแอนดีไซต กําหนดเปนพ้ืนที่แหลงทรัพยากรแรจํานวน 140 แหง เน้ือที่รวม 214.9 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 3.4 ของเนื้อที่จังหวัด) จําแนกเปนเขตสงวนทรัพยากรแร 108.69 ตาราง เขตอนุรักษทรัพยากรแร 86.49 ตารางกิโลเมตร และเขตพัฒนาทรัพยากรแร 19.72 ตารางกิโลเมตร จากขอจํากัดในการใชประโยชนพ้ืนที่จึงดําเนินการวิเคราะหเพ่ือจัดลําดับความสําคัญในการพัฒนาใชประโยชนเฉพาะแหลงทรัพยากรแรที่อยูในเขตเพื่อการพัฒนาโดยใชคุณลักษณ 3 ดาน คือ ศักยภาพทรัพยากรแร มูลคาทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม พบวา กลุมแรเพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐมีศักยภาพในการพัฒนาสูงมากถึงปานกลาง 7 แหลง กลุมแรพลังงาน มีศักยภาพในการพัฒนาสูง 1 แหลง และกลุมแรเพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมีศักยภาพ ในการพัฒนาปานกลาง 3 แหลง ทั้งน้ีการพัฒนาใชประโยชนควรพิจารณาถึงความเหมาะสมทางดานสังคมกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ความคุมคาในการใชทรัพยากร และมาตรการในการกํากับดูแลใหเกิดหรือเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด

แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาของจังหวัดพะเยามี 28 แหลง ประกอบดวยแหลงซากดึกดําบรรพ 2 แหลง และแหลงธรณีสัณฐาน 26 แหลง สวนใหญไดรับการพัฒนาใชประโยชนดานการทองเที่ยวนันทนาการ แหลงที่มีความโดดเดนทางธรณีวิทยา และศักยภาพในการเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาและธรรมชาติดานอ่ืนๆ ของทองถิ่น ไดแก กวานพะเยา วนอุทยานไดโนเสาร แกงหลวง ฝงตา ถ้ําใหญผาตั้ง นํ้าตกภูซาง นํ้าตกธารสวรรค และน้ําตกหวยตนผึ้ง ทั้งนี้การบริหารจัดการใชประโยชนควรสอดคลองกับศักยภาพและคุณคาที่แทจริงของแหลง ตลอดจนปองกันหรือ ลดความเสื่อมโทรมอันเปนผลกระทบจากการพัฒนาใชประโยชนดวย

-V-

สารบัญ หนา

คํานํา III บทคัดยอ IV สารบัญ V กรอบแนวคดิในการจําแนกเขตเพื่อการจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี 1 ความหมายและความสําคญัของธรณีวทิยาและทรัพยากรธรณ ี 1 กรอบแนวคิดในการจําแนกเขตเพื่อการจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี 2 ขอมูลพื้นฐานจังหวัดพะเยา 5 ประวัติความเปนมา 5 ลักษณะทางภูมิศาสตร 5 การคมนาคม 8 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ 8 ธรณีวิทยาทั่วไป 8 ธรณีพิบัติภัย 9 พ้ืนที่ประกาศทางราชการ 9 แนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใตยุทธศาสตร 9 ธรณีวิทยาจงัหวัดพะเยา 15 ตะกอนและหินตะกอน 15 หินอัคนี 18 ทรัพยากรแรจังหวัดพะเยา 21 กลุมแรเพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ 21 กลุมแรพลังงาน 28 กลุมแรเพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม 30 แหลงธรรมชาติทางธรณวีิทยา 35 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา 35 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาที่เปนเอกลักษณและโดดเดน 37 สภาพปญหาที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการใชประโยชนแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา 45 การจําแนกเขตและแนวทางการบริหารจัดการธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี 49 ทรัพยากรแร 49 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา 57 เอกสารอางอิง 63

-VI-

สารบัญตาราง หนา

ตารางที่ 4-1 ขอมูลพ้ืนที่แหลงหินปนู 23 ตารางที่ 4-2 บัญชีรายละเอียดประทานบตัรหินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง 24

จังหวัดพะเยา ตารางที่ 4-3 แหลงทรายบกจังหวัดพะเยา 27 ตารางที่ 5-1 แหลงธรรมชาติประเภทแหลงซากดึกดําบรรพของจังหวัดพะเยา 35 ตารางที่ 5-2 แหลงธรรมชาติประเภทธรณีสัณฐานของจังหวัดพะเยา 35 ตารางที่ 5-3 แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษของภาคเหนือในเขตจังหวัดพะเยา 37 ตารางที่ 6-1 ผลการจําแนกเขตทรัพยากรแรของจังหวัดพะเยา 50 ตารางที่ 6-2 ผลการวิเคราะหทางเลือกเพ่ือจัดลําดับความสําคัญ 53

ของเขตพัฒนาทรัพยากรแร จังหวัดพะเยา

สารบัญรูป หนา

รูปที่ 2-1 แผนที่ภูมิประเทศและเขตการปกครองจังหวัดพะเยา 6 รูปที่ 2-2 แผนที่พ้ืนที่ทีมี่โอกาสเกิดดินถลมจังหวัดพะเยา 10 รูปที่ 2-3 แผนที่พ้ืนที่ทีมี่โอกาสเกิดหลุมหยุบจังหวดัพะเยา 11 รูปที่ 2-4 แผนที่บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย 12 รูปที่ 2-5 แผนที่แสดงพื้นที่ที่อยูภายใตขอกําหนดกฎหมาย มติคณะรัฐมนตร ี 13

และกฎระเบียบตางๆ รูปที่ 3-1 แผนที่ชนิดหินจังหวัดพะเยา 16 รูปที่ 4-1 แผนที่แหลงทรัพยากรแรจังหวัดพะเยา 22 รูปที่ 4-2 แหลงผลิตหินปูนดอยโตน ตําบลจําปาหวาย และ 24

ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-3 แหลงกราฟแสดงปริมาณการใชแรกลุมโครงสรางพื้นฐานฯ 25

ป พ.ศ. 2544-2548 และแนวโนม รูปที่ 4-4 แหลงทรายบกของแหลงหงษหิน ตําบลหงสหินอําเภอจุน จังหวัดพะเยา 26 รูปที่ 4-5 ลักษณะชั้นทรายบก ของบริษัทพวงพะยอม ตําบลหงสหิน 27

อําเภอจุน จังหวัดพะเยา

-VII-

สารบัญรูป (ตอ) หนา

รูปที่ 4-6 บอเหมืองผลิตถานหิน ของ เหมืองแรเชียงมวน ในทองที่บานสระ 29 ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

รูปที่ 4-7 แหลงกราฟแสดงปริมาณการใชแรกลุมพลังงาน 30 ป พ.ศ. 2544-2548 และแนวโนม

รูปที่ 4-8 แหลงหินแอนดีไซต ที่บานบัว ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา 31 รูปที่ 4-9 ระดับความลึกของการขุดหินแอนดีไซตแหลงบานบัว 31

ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-10 ลักษณะสายแรแบไรต บริเวณเหมืองแรแบไรตหวยลาน 32

ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-11 ลักษณะแรแบไรตที่เกิดแบบเปนตัวประสานในหินกรวดเหลี่ยม 32

บริเวณเหมืองแรแบไรตหวยลาน ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-12 สถานภาพปจจุบันของหนาเหมืองแบไรตหวยลาน 33

ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-13 อุโมงคผลิตแรแมงกานีส บริเวณดานตะวนัตกของบานหมอแกงทอง 34

ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-14 ลักษณะแรแมงกานีสชนิดไพโรลูไซต (สีดําถึงนํ้าตาลเหลือง) 34

ที่เกิดแบบสายและแบบแทนที่ในหินตะกอน บริเวณแหลงแรแมงกานีส ดานตะวนัตกของบานหมอแกงทอง ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

รูปที่ 4-15 แหลงแรบอลเคลยบานแมจวา ตําบลแมสกุ อําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา 34 รูปที่ 5-1 แผนที่แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาจังหวัดพะเยา 38 รูปที่ 5-2 บริเวณหลุมขุดคนซากกระดูกไดโนเสารในวนอุทยานไดโนเสารแกงหลวง 40 รูปที่ 5-3 ทัศนียภาพบริเวณกวานพะเยา 40 รูปที่ 5-4 ฝงตา 41 รูปที่ 5-5 โครงสรางหินงอกหินยอยภายในถ้ําใหญผาตั้ง 42 รูปที่ 5-6 นํ้าตกจําปาทองไหลตัดผานชั้นหินทรายสีนํ้าตาลแดง 43 รูปที่ 5-7 นํ้าตกภูซาง 43 รูปที่ 5-8 โครงสรางที่เกิดจากการพอกของทูฟาในบริเวณน้ําตกหวยตนผึ้ง 44 รูปที่ 6-1 แผนที่จําแนกเขตสงวน เขตอนุรักษ และเขตพัฒนาทรัพยากรแร จังหวัดพะเยา 51 รูปที่ 6-2 แผนที่แสดงระดับศักยภาพของเขตพัฒนาทรัพยากรแร จังหวัดพะเยา 54

บทที่ 1

กรอบแนวคิดในการจําแนกเขต เพื่อการจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

1.1 ความหมายและความสําคัญของธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณ ีธรรมชาติรอบตัวเรามีความแตกตางหลากหลายและมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

ไมวาจะเปนภูเขา แมนํ้า ทะเล มหาสมุทร ตลอดจนการเกิดแผนดินไหว และภูเขาไฟระเบิด หลายทานอาจสงสัยวาสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นและดํารงอยูมาไดอยางไร และจะมีการเปลี่ยนแปลงไปทางไหนอยางไร ผลที่เกิดตามมาจะกระทบตอการดํารงอยูของสรรพสิ่งมีชีวิตอยางรุนแรงขนาดไหน คําถามตางๆ เหลานี้สามารถอธิบายไดดวยความรูทาง “ธรณีวิทยา” ซ่ึงเปนวิทยาศาสตรแขนงหน่ึงที่วาดวยการศึกษาโลก ทั้งในดานองคประกอบของโลก ซ่ึงก็คือ แรและหิน ดานการกําเนิดและวิวัฒนาการของโลก ตลอดจนกระบวนการภายในโลกและผิวโลก ที่กอใหเกิดทวีป มหาสมุทร ทะเล แมนํ้า ภูเขา และสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ ความรูความเขาใจทางธรณีวิทยามีสวนสําคัญในการดํารงชีวิตตามความเหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตรซ่ึงเปนผลพวงของกระบวนการทางธรณีวิทยา ดังจะเห็นไดจาก การตั้งถิ่นฐานในที่ที่มีความมั่นคงและปลอดภัยจากพิบัติภัยตามธรรมชาติ เชน แผนดินไหว ดินถลม นํ้าทวม เปนตน กระบวนการทางธรณีวิทยาบางอยางไดสรางสรรคลักษณะของธรรมชาติที่สวยงามเหมาะที่จะเปนแหลงเพ่ือการบันเทิงพักผอนหยอนใจ ตลอดจนเปนแหลงตนแบบสําหรับการเรียนรู เชน นํ้าตก ถ้ํา ภูเขาที่มีรูปทรงแปลกตา เปนตน นอกจากนี้ยังมีกระบวนการทางธรณีวิทยาที่ทําใหเกิดการสะสมของสิ่งมีชีวิตในอดีตเปนซากดึกดําบรรพใหมนุษยไดศึกษาเรียนรูถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตตั้งแตอดีตมาจนถึงยุคปจจุบัน และที่เห็นชัดที่สุดกระบวนการทางธรณีวิทยายังเปนปจจัยสําคัญที่กอใหเกิดทรัพยากรธรณีที่มีคุณคาอนันตแกมนุษยชาติ

สวนคําวา “ทรัพยากรธรณี” น้ัน มีความหมายโดยทั่วไปวา ทรัพยอันอยูใต แผนดิน ไดแก แรธาตุ หิน ดิน กรวด ทราย นํ้าบาดาล ถานหิน หินน้ํามัน ปโตรเลียม และรวมถึงซากดึกดําบรรพ ซ่ึงมีคุณประโยชนอยางยิ่งตอสิ่งมีชีวิตที่ถือกําเนิดขึ้นมาบนโลกนี้

มนุษยเราไดใชประโยชนของแร หิน ดิน ทราย เปนปจจัยพ้ืนฐานตอการดํารงชีวิต เชน กอสรางที่อยูอาศัย ทํายารักษาโรค และสรางสิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐาน อันไดแก ถนนหนทาง วัดวาอาราม โรงเรียน โรงพยาบาล เปนตน ในดานพลังงานเกือบทั้งหมดที่ใชในปจจุบันก็มาจาก เชื้อเพลิงธรรมชาติ เราใชถานหินในการผลิตกระแสไฟฟา เราใชปโตรเลียมและแกสธรรมชาติในรถยนตและเครื่องจักรกลตางๆ นอกจากนี้เรายังไดขุดเจาะน้ําบาดาลขึ้นมาใชทั้งการบริโภคและการเกษตร ดูเหมือนวาเราไดใชประโยชนจากทรัพยากรธรณีอยางเอนกอนันตในชีวิตประจําวัน จนบางครั้งถึงกับลืมคุณคาที่ไดรับและปลอยปละละเลยเพราะเราใชอยางเคยชินจนเห็นเปนเรื่องปกติ

-2-

ธรรมดา ทําใหแหลงทรัพยากรธรณีเสื่อมโทรมและรอยหรอลงอยางรวดเร็ว โดยลืมนึกไปวาทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ไมสามารถสรางขึ้นมาทดแทนใหมในระยะเวลาอันสั้นได เราตองตระหนักอยูเสมอวา กวาที่โลกจะมีทรัพยากรธรณีขึ้นมาเพื่อเปนปจจัยพ้ืนฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกใหแกมนุษยไดน้ัน จะตองใชเวลานับหลายลานป ดังน้ันเราควรจะใชอยางระมัดระวัง ใชอยางชาญฉลาด เพ่ือกอใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

1.2 กรอบแนวคิดในการจําแนกเขตเพื่อการจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี หลักการและเหตุผล

โดยที่ปจจุบันเรายังตองใชทรัพยากรธรณีเพ่ือเอ้ือประโยชนในการดํารงชีวิต และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังนั้น จึงควรมีแนวทางบริหารจัดการทรัพยากรธรณีอยางเปนระบบภายใตกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน เพ่ือที่จะนําพาประเทศไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยใหมีการใชประโยชนสูงสุดตามศักยภาพของทรัพยากรที่มีอยู ในขณะเดียวกันก็ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและวิถีชีวตของชุมชน หรือถาจะมีก็อยูในเกณฑมาตราฐานสากลและสังคมยอมรับได

กรมทรัพยากรธรณี ในฐานะที่มีภารกิจที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรณีของประเทศ จึงไดจัดทําโครงการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีรายจังหวัดขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือทําการจําแนกทรัพยากรธรณีใหเปนเขตเพ่ือการสงวน การอนุรักษ และการพัฒนาใชประโยชน ตามศักยภาพและขอจํากัดทางกฎระเบียบตางๆ พรอมกับการกําหนดมาตรการและแนวทางบริหารจัดการไวสําหรับแตละเขต โดยมุงหวังที่จะใหแตละจังหวัดทราบถึงฐานทรัพยากรธรณีทีมีอยูในทองถิ่นของตน ตลอดจนแนวทางบริหารจัดการที่เหมาะสมกับแตละเขตพื้นที่เพ่ือนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน พรอมๆ กับการรักษาสมดุลในการใชประโยชน การอนุรักษ และผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

กรอบแนวคิด การจําแนกเขตทรัพยากรธรณีควรคํานึงถึงหลักการสงวน อนุรักษ และการใช

ประโยชน โดยพิจารณาแบบบูรณาการรวมกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอ่ืนๆ และรวมถึงสภาพสิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนแนวทางหนึ่งในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตามแนวนโยบายแหงรัฐ เพ่ือจัดสรรทรัพยากรธรณีที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดตามเขตทรัพยากรที่ได จําแนกไว โดยการใหใชประโยชนที่ เหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพของ แหลงทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอม ทั้งนี้เพ่ือใหเกิดความสมดุลระหวางการใชประโยชนกับการสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และใหเกิดความเปนธรรม และโปรงใสในการเขาถึงทรัพยากรธรรมชาติ อันจะนําไปสูการลดความขัดแยงจากการใชประโยชนทรัพยากรระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

-3-

ในการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีน้ัน ควรคํานึงถึงฐานทรัพยากรธรณีทั้งหมดที่มีอยู

ซ่ึงถือวาเปน “ตนทุน” ทรัพยากร แลวนํามาพิจารณาจําแนกและจัดสรรวา สวนไหนของทรัพยากรธรณีที่ควรสงวนเก็บรักษาไว โดยเฉพาะทรัพยากรธรณีที่ปรากฎในบริเวณที่มีความสัมพันธใกลชิดกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอ่ืน ซ่ึงหากนํามาใชประโยชนอาจสงผลกระทบตอสภาพสิ่งแวดลอมได สวนไหนควรอนุรักษไว เพ่ือเปนทุนสํารองของประเทศ โดยจะนํามาใชเม่ือยามจําเปนหรือใหชนรุนหลังมีไวใช และสวนใหนที่ควรอนุญาตใหมีการใชประโยชนทั้งในปจจุบันและในอนาคตอันใกล เพ่ือความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาประเทศ

การที่จะพิจารณาวา พ้ืนที่สวนไหนของทรัพยากรธรณี สมควรจะสงวน อนุรักษ หรืออนุญาตใหใชประโยชนไดน้ัน ในเบื้องตนควรพิจารณาในสามประเด็นหลักคือ ประเด็น ดานความสมบูรณและศักยภาพของแหลงทรัพยากรธรณีเอง ทั้งในสวนปริมาณทรัพยากรสํารอง สภาพธรรมชาติของแหลงทรัพยากรที่สงผลตอความยากงายในการพัฒนา เปนตน อีกประเด็นคือประเด็นดานเศรษฐกิจซ่ึงจําเปนตองทําการวิเคราะหความตองการการใชประโยชน ในระดับภูมิภาค ในระดับประเทศ และอาจรวมถึงระดับตางประเทศดวย นอกจากนี้ยังตองพิจารณาถึงตนทุนทั้งในสวนการผลิต การขนสง และการกอสรางสาธารณูปโภคพื้นฐาน เพ่ือใหเกิดความคุมคาในการลงทุน และสุดทายประเด็นดานสิ่งแวดลอม โดยตองพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหลังจากการพัฒนา ทั้งในสวนของชีวิตความเปนอยูของประชาชน และชุมชนใกลเคียง และในสวนของทรัพยากร ธรรมชาติชนิดอ่ืนๆ ทั้งนี้นอกจากสามประเด็นหลักขางตนการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีเพ่ือการบริหารจัดการจะสมบูรณมิไดหากขาดกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชน เพ่ือลดปญหาความขัดแยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

การจัดลําดับความสําคัญของเขตพัฒนาทรัพยากรแร เขตพัฒนาทรัพยากรแรที่ไดจากการจําแนกจะถูกนํามาการวิเคราะหเพ่ือจัดลําดับ

ความสําคัญ โดยการวิเคราะหทางเลือกจากปจจัยที่เปนคุณลักษณะจําเพาะดานตางๆ ของเขตพัฒนาทรัพยากรแร ในที่น้ีกําหนดใชคุณลักษณหลัก 3 ดาน ซ่ึงมี 8 คุณลักษณะยอย ดังน้ี

คุณลักษณดานศักยภาพของเขตพัฒนาทรัพยากรแร มี 2 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) ความยากงายในการพัฒนาเปนแหลงแร (2) สถานภาพการใชประโยชนแหลงแรในเขตพัฒนาทรัพยากรแร สวนมูลคาแหลงแรซ่ึงถือวาเปนคุณลักษณยอยอันหน่ึงน้ัน ไมไดนํามาวิเคราะหดวย เน่ืองจากตองคํานวณจากปริมาณแรสํารองกับราคาแรซ่ึงเปนคาที่ไมแนนอนแปรปรวนตลอดเวลา หากนํามาวิเคราะหดวยแลวอาจทําเกิดความเบี่ยงเบนขึ้นได

คุณลักษณดานมูลคาทางเศรษฐกิจของเขตพัฒนาทรัพยากรแร มี 3 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) ตนทุนการขนสง ซ่ึงเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการขนสงสินแรจากแหลงผลิตไปยัง ผูใช (2) ความสามารถในการสนับสนุนความตองการใชภายในจังหวัดของสินแร และ (3) การสรางรายไดใหแกชุมชนทองถิ่นในบริเวณโดยรอบเขตพัฒนาทรัพยากรแร

-4-

คุณลักษณดานสิ่งแวดลอมโดยรอบเขตพัฒนาทรัพยากรแร ถาหากมีการพัฒนาเปน

เหมืองแร มี 3 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) มลภาวะที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงน้ําในเขตหรือโดยรอบ เขตพัฒนาทรัพยากรแร (2) มลภาวะดานฝุนละอองและเสียงที่อาจกระทบตอชุมชน (3) ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ

ผลที่ไดจากการวิเคราะหทางเลือก จะสามารถจําแนกเขตพัฒนาทรัพยากรแรออกเปน 4 กลุม คือ (1) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงมาก (2) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูง (3) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลาง และ (4) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ํา

แนวทางการดําเนินงาน การจําแนกเขตทรัพยากรธรณีในครั้งน้ี ไดกําหนดแนวทางการดําเนินงานไว

3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกดําเนินการจัดทําระบบฐานขอมูลทรัพยากรธรณีของแตละจังหวัด

ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) โดยนําเขาขอมูลบนแผนที่มาตราสวน 1 : 50,000 และ ในอนาคตจะพัฒนาเปนแผนที่มาตราสวน 1: 4,000

ขั้นตอนที่สองดําเนินการจําแนกเขตเชิงพ้ืนที่ตามศักยภาพของฐานทรัพยากรธรณีและขอจํากัดทางกฎหมายที่ เกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ ดิน เพ่ือจําแนกเปนเขตสงวน เขตอนุรักษ และเขตพัฒนาทรัพยากรธรณี

ขั้นตอนที่สามเปนการวิเคราะหและประมวลผลเพ่ือจัดลําดับความสําคัญใหกับ เขตพัฒนาทรัพยากรธรณี พรอมกับกําหนดมาตรการและแนวทางบริหารจัดการที่สอดคลองกับ ศักยภาพทรัพยากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม

ผลที่คาดวาจะไดรับ กรมทรัพยากรธรณีจะนําผลที่ไดจากการจําแนกเขตทรัพยากรธรณีเสนอเปนขอมูล

ใหประชาชนและผูบริหารระดับจังหวัด เพ่ือใชในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรธรณีของจังหวัด กลุมจังหวัด และประเทศอยางมีประสิทธิภาพตามเขตทรัพยากรธรณีที่มีการจําแนกไว พรอมกับมาตรการและแนวทางการจัดการ และสามารถนําขอมูลตางๆ ไปใชประโยชนในการบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่โดยกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนตอไป

บทที่ 2 ขอมูลพืน้ฐานจังหวัดพะเยา

2.1 ประวัติความเปนมา พะเยา เปนเมืองเกาแกเมืองหน่ึงแหงลานนาไทย เดิมชื่อวา “ภูกามยาว” หรือ

“พยาว” กอตั้งขึ้นเม่ือป พ.ศ.1638 โดยพอขุนจอมธรรม กษัตรยิแหงราชวงศ ลัว๊ะ จักราช เจริญรุงเรืองพรอมกับกรุงสุโขทัย โดยเฉพาะอยางยิ่งในพุทธศตวรรษที่ 18 รัชสมัยของพอขุนงําเมือง เมืองภูกามยาวมีความเจริญมาก มีฐานะเปนเมืองเอก เรียกวา “อาณาจักรพยาว” และในป พ.ศ.2475 ไดเปลี่ยนฐานะเปนอําเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย จนกระทั่งไดมีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดพะเยา พ.ศ.2520 ทําใหอําเภอพะเยามีฐานะเปนจังหวัดพะเยาเมื่อวันที ่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2520 และ เปนจังหวัดที่ 72 ของประเทศไทย

2.2 ลักษณะทางภูมิศาสตร ที่ตั้งและขนาด

จังหวัดพะเยาเปนจังหวัดชายแดน ตั้งอยูทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีเขตระหวางเสนรุงที่ 18 องศา 44 ลิปดาเหนือ ถึง 19 องศา 44 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที ่ 99 องศา 40 ลิปดาตะวันออก ถึง 100 องศา 40 ลิปดาตะวันออก โดยมีอาณาเขตติดตอ ดังน้ี (รูปที่ 2-1)

ทิศเหนือ ติดเขต อําเภอพาน อําเภอปาแดด อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ทิศใต ติดเขต อําเภองาว จังหวัดลําปาง และ อําเภอสอง จังหวัดแพร ทิศตะวันออก ติดเขต แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ

อําเภอทาวังผา อําเภอบานหลวง กิ่งอําเภอสองแคว จังหวัดนาน ทิศตะวันตก ติดเขต อําเภองาว อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง

ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นที่สวนใหญของจังหวัดพะเยาเปนที่สูงและภูเขา มีระดับความสูงตัง้แต

300-1,500 เมตร จากระดบันํ้าทะเล มีเทือกเขาอยูทางทิศตะวนัตก ตะวันออกเฉยีงเหนือ ตะวนัออกเฉียงใตและตอนกลางของพืน้ที่จังหวัด มีเน้ือที่ประมาณ 6,335.06 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,959,412 ไร มีพ้ืนที่ขนาดใหญ เปนลําดบัที่ 15 ของภาคเหนือ และมีพ้ืนที่ปาไม (ภาพถายดาวเทียม ป 2542) ประมาณ 1,503,174 ไร หรือรอยละ 37.96 ของพื้นที่จังหวัด สภาพเปนปาดงดิบและปาไมเบญจพรรณ ไมที่สําคัญ ไดแก ไมสัก ไมประดู ไมมะคา ไมชิงชัน ไมยาง ไมเตง็ ไมรัง ฯลฯ เทือกเขาที่สาํคัญ ไดแก ดอยภูลังกา ดอยสันปนน้ํา ดอยแมสุก ดอยขุนแมแฝก ดอยขุนแมต๋ํา ดอยขุนแมตอม

-6-

รูปที่ 2-1 แผนที่ภูมิประเทศและเขตการปกครองของจังหวัดพะเยา

-7-

ลักษณะภูมิอากาศ

สภาพภูมิอากาศของจังหวัดพะเยาเปนแบบฝนเมืองรอนเฉพาะฤดูหรือสะวันนา/มรสุม (Tropical Savanna: Aw) อุณหภูมิเฉลี่ยในรอบ 5 ปที่ผานมา (2544-2548) 25.1 องศาเซลเซียส (C๐) อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 39.3 C๐ อุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 9.5 C๐ มีชวงฝนตกและฝนแลงอยางละ 6 เดือน ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,324 มิลลิเมตร/ป

2.3 การคมนาคม การเดินทางสูจังหวัดพะเยาสามารถเดินทางไดทั้งทางรถยนต และเครื่องบิน ดังน้ี

ทางรถยนต จากกรุงเทพฯ ใชทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ถึงกิโลเมตรที่ 52 แยกเขาทางหลวงหมายเลข 32 (สายเอเชยี) ผานอยธุยา อางทอง นครสวรรค หลังจากนั้นใชทางหลวงหมายเลข 117 ไปยังพิษณุโลก แยกเขาทางหลวงหมายเลข 11 เขาสูอําเภอเดนชยั จังหวัดแพร และแยกเขาทางหลวงหมายเลข 1 ผานอําเภอเมือง อําเภองาว จังหวดัลําปาง และอําเภอเมืองพะเยา

ทางเครื่องบนิ มีเที่ยวบินตรงจากกรุงเทพฯ ไปเชียงรายทุกวัน จากนั้นเดินทางตอดวยรถยนตถงึจังหวัดพะเยา เปนระยะทาง 91 กิโลเมตร

2.4 สภาพสังคมและเศรษฐกิจ การปกครอง

จังหวัดพะเยาประกอบดวย 7 อําเภอ 2 กิ่งอําเภอ คือ อําเภอเมืองพะเยา อําเภอเชียงคํา อําเภอเชียงมวน อําเภอปง อําเภอดอกคําใต อําเภอจุน อําเภอแมใจ กิ่งอําเภอภูซาง และ กิ่งอําเภอภูกามยาว แบงเปน 68 ตําบล 795 หมูบาน

การปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลเมือง 1 แหง เทศบาลตําบล 11 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 59 แหง

ประชากรและอาชีพ จากประกาศสาํนักทะเบยีนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จํานวนราษฎร

ทั่วราชอาณาจักรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จังหวัดพะเยามีประชากรรวม 486,889 คน แยกเปนชาย 240,203 คน และหญิง 246,686 คน ประกอบดวยประชาชนใน พ้ืนที่ราบ หรือ “คนเมือง” และชาวไทยภูเขาเผาตางๆ ไดแก เผาเยา เผาแมว เผาลีซอ และลื้อ อาศัยอยูกระจัดกระจายตามบริเวณเทือกเขาสูงในเขตอําเภอปง อําเภอเชียงคํา อําเภอเชียงมวน อําเภอแมใจ กิ่ง อําเภอภูซาง อําเภอดอกคําใต และอําเภอเมือง รวม 46 หมูบาน 2,574 ครัวเรอืน

-8-

อาชีพหลักของประชากร คอื เกษตรกรรม พ้ืนที่รอยละ 35.13 ของพื้นที่ทั้งหมดใช

ทําเกษตร รอยละ 64 ของประชากรประกอบอาชีพอยูในภาคการเกษตร โครงสรางการผลิตภาคการเกษตรของจังหวัดพะเยา ประกอบดวย 6 สาขา คอื พืช ปศุสตัว ประมง ปาไม บริการทางการเกษตร และการแปรรูปการเกษตรอยางงาย พืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด คือ ขาว (ขาวหอมมะล)ิ ลิ้นจ่ี ลําไย ขาวโพดเลี้ยงสตัว หอมแดง กระเทียม ขิง ถัว่ชนิดตางๆ และยางพารา เปนตน

เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดพะเยา พ.ศ.2547 เปนเงิน 17,762 ลานบาท สาขาที่

มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดมากที่สุดคือ สาขาการเกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม มีมูลคาผลิตภัณฑ 5,512 ลานบาท รองลงมาคือ สาขาการขายสงและการขายปลีก มีมูลคาผลิตภัณฑ 3,359 ลานบาท สาขาการบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ รวมทั้งประกันภัยสังคมภาคบังคับ มีมูลคาผลิตภัณฑ 1,962 ลานบาท สาขาการศึกษา มีมูลคาผลิตภัณฑ 1,462 ลานบาทและสาขาที่มูลคาผลิตภัณฑจังหวัดที่นอยสุดคือ สาขาลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคลมีมูลคาผลิตภัณฑ 38 ลานบาท ประชากรมีรายไดเฉลี่ยตอหัว 35,023 บาทตอป นับเปนรายไดเฉลี่ยตอหัว ลําดับที่ 15 ของภาค ลําดับที่ 59 ของประเทศ

2.5 ธรณีวิทยาทั่วไป การทําแผนที่ธรณีวิทยาโดยทั่วไปจะแบงโดยชนิดหิน การวางตัว ชุดหิน และอายุ

ทางธรณีกาล เพ่ือความสะดวกในการศึกษา จึงแบงลักษณะตะกอนและหิน ออกเปน 12 หนวย โดยเทียบเคียงกับอายุทางธรณีกาล ซ่ึงลักษณะของตะกอน คือ หนวย 1 ตะกอนธารน้ําพา ยุคควอเทอรนารี มีอายุปจจุบันถึง 1.6 ลานป หนวย 2 ตะกอนตะพักลําน้ํายุคควอเทอรนารี มีอายุ ปจจุบันถึง 1.6 ลานป หนวย 3 ตะกอนเศษหินเชิงเขา ยุคควอเทอรนารี มีอายุปจจุบันถึง 1.6 ลานป หนวย 4 หินตะกอนยุคเทอรเชียรี มีอายุ 1.6-66.4 ลานป หนวย 5 หินตะกอนยุคจูแรสซิกชุดหิน โคกกรวด มีอายุ 142-205 ลานป หนวย 6 หินตะกอนยุคคารบอนิเฟอรัส-เพอรเมียน มีอายุ 283- 320 ลานป และหินตะกอนยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน-คารบอนิเฟอรัส มีอายุ 320-423 ลานป หนวย 7 หินปูนชุดผากานและกางปลาอยูในยุคออรโดวิเชียน มีอายุ 440-495 ลานป ยุคเพอรเมียน มีอายุ 251-292 ลานป และยุคไทรแอสซิก มีอายุ 205-250 ลานป หนวย 8 หินแปรยุคไซลูเรียน- ดีโวเนียน-คารบอนิเฟอรัส มีอายุ 320-423 ลานป และหินแปรยุคแคมเบรียน มีอายุ 495-545 ลานป หนวย 9 หินแปรเกรดสูงยุคพรีแคม มีอายุ 540-3600 ลานป หนวย 10 หินภูเขาไฟยุคเพอรโม- ไทรแอสซิก มีอายุ 241-253 ลานป หนวย 11 หินอัคนีแทรกซอนยุคไทรแอสซิก มีอายุ 205-250 ลานป หนวย 12 หินอัคนีอัลตราเบสิกยุคเพอรโม-ไทรแอสซิก มีอายุ 241-253 ลานป ทั้งน้ีรายละเอียดไดอธิบายไวแลวในบทที่ 3

-9-

2.6 ธรณีพิบัตภัิย ธรณีพิบัติภัย เปนภัยทางธรรมชาติหรือภัยที่เกิดจากมนุษยเปนผูกอ อาทิ ดินถลม

หลุมยุบ แผนดินไหว เปนตน ซ่ึงภัยพิบัติเหลานี้ทําใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในดานสุขภาพกาย สุขภาพจิต และเศรษฐกิจ รวมทั้งวิถีความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ และ อาจทําใหเกิดความสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน

กรมทรัพยากรธรณี ในฐานะหนวยราชการที่มีหนาที่รับผิดชอบในการสํารวจ ศึกษา บริหารจัดการทรัพยากรธรณีของประเทศ ไดทําการสํารวจ ศึกษา วิจัย และประเมินสถานภาพ ความเสี่ยงในพื้นที่ที่ เกิดธรณีพิบัติภัย และจัดทําแผนที่ พ้ืนที่ เสี่ยงตอดินถลม หลุมยุบ และแผนดินไหว ดังรายละเอียดในรูปที่ 2-2 2-3 และ 2-4 ตามลําดับเพ่ือเปนแนวทางในการบริหารจัดการใชประโยชนที่ดินตอไป

2.7 พื้นท่ีประกาศทางราชการ พ้ืนที่ประกาศทางราชการเปนพ้ืนที่ที่สวนราชการตางๆ กําหนดขึ้นเพ่ือวัตถุประสงค

ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี โดยพื้นที่ประกาศทางราชการที่ไมเปดโอกาสใหพัฒนาทรัพยากรแร ไดแก เขตอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ เขตหามลา สัตวปา และพ้ืนที่ประกาศทางราชการที่เปดโอกาสใหพัฒนาทรัพยากรแรไดภายใตเง่ือนไขที่กําหนด ไดแก เขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม และพ้ืนที่ลุมนํ้าชั้นที่ 1 เขตพ้ืนที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ เขตพื้นที่ปา ที่เหมาะสมตอการเกษตร เขตปฏิรูปที่ดิน เขตพื้นที่ตามมาตรา 6 ทวิ แหงพระราชบัญญัติแร พ.ศ.2510 ดังแสดงขอบเขตพื้นที่เหลานี้ไวในรูปที่ 2-5 ซ่ึงกรมทรัพยากรธรณีไดนําขอมูลดังกลาวมาใชเปนเกณฑในการจําแนกเขตทรัพยากรแรออกเปนเขตสงวนทรัพยากรแร เขตอนุรักษทรัพยากรแร และเขตพัฒนาทรัพยากรแร ตามรายละเอียดในหัวขอหลักเกณฑการจําแนกเขตในบทที่ 6

2.8 แนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติภายใตยุทธศาสตร จังหวัดพะเยา เปนจังหวัดที่มีความสงบรมเย็น ภูมิอากาศดี เปนแหลงผลิตพืชผล

ทางการเกษตร มีแหลงทองเที่ยวที่หลากหลายทั้งดานธรรมชาติ ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม จากศักยภาพดังกลาวจึงกําหนดเปนวิสัยทัศนและยุทธศาสตรในการพัฒนาซึ่งสอดคลองกับกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน

วิสัยทัศน “ภายในป 2551 พะเยาเปนเมืองนาอยู ประชาชนมีรายได พอเพียงกับรายจาย

ที่จําเปน มีโอกาสพัฒนาตนเองใหอยูดีมีสุข ชุมชนเขมแข็งพ่ึงตนเองได”

-10-

รูปที่ 2-2 แผนที่พ้ืนที่ที่มีโอกาสเกิดดินถลม จังหวัดพะเยา

-11-

รูปที่ 2-3 แผนที่พ้ืนที่ที่มีโอกาสเกิดหลุมหยุบ จังหวัดพะเยา

-12-

รูปที่ 2-4 แผนที่บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย

-13-

รูปที่ 2-5 แผนที่แสดงพื้นที่ที่อยูภายใตขอกําหนดกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบตางๆ

-14-

ยุทธศาสตร

5 ขอ คือ 1. แกไขปญหาความยากจนและกระจายรายได 2. เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน 3. เมืองนาอยูและการพัฒนาทีย่ั่งยืน 4. พัฒนาทุนทางสังคม 5. การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

บทที่ 3 ธรณีวิทยาจังหวัดพะเยา

พ้ืนที่จังหวัดพะเยาประกอบดวยเทือกเขา และที่ลุมลอมรอบดวยเทือกเขาหรือแอง (Basin) ซ่ึงรองรับดวยสวนที่หินแข็งอายุตั้งแต 286 ลานปจนถึงตะกอนปจจุบัน สามารถแบงเปนตะกอนรวน หินตะกอนและหินอัคนี (รูปที่ 3-1)

3.1 ตะกอนและหินตะกอน พ้ืนที่จังหวัดพะเยามากกวารอยละ 80 รองรับดวยตะกอนรวนและหินตะกอน

ซ่ึงจําแนกยอยเปนตะกอนรวน 3 หนวย และหินตะกอน 4 หนวย

หนวย 1 ตะกอนทราย ดินเหนียว กรวดละเอียด ประกอบดวย ชั้นทรายปนดินเหนียว ดินเหนียวปนทราย กรวดละเอียด และลูกรังปะปนในบางชั้น เกิดจากน้ําพัดพา กรวด หิน ดิน ทราย ไปสะสมตัวอยางไมเปนระบบ มีอิทธิพลของความลาดชันและน้ําผิวดินปะปนบางจึงไดตะกอนหลากหลายชนิดปนกัน ลักษณะเปนภูมิประเทศที่ราบริมแมนํ้า พ้ืนที่ราบนี้มักเปนแหลงสะสมตัวของชั้นทรายแมนํ้า บางแหงสามารถหาแหลงทรายกอสรางและดินเหนียวสําหรับเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผา โดยทั่วไปสภาพดินเปนดินรวนที่มีแรธาตุที่จําเปนตอพืชอุดมสมบูรณเหมาะตอการเพาะปลูกมากที่สุด แตเน่ืองจากเปนพ้ืนที่ราบน้ําทวมจึงมักประสบกับภัยนํ้าทวมขัง ในชวงฤดูฝนเปนประจํา

หนวยตะกอนนี้โผลใหเห็นในบริเวณที่ราบริมแมนํ้าสําคัญ คือ นํ้าแมอิง ซ่ึงเปนแองสะสมตะกอนขนาดใหญดานตะวันตกและเหนือของจังหวัด ในเขตอําเภอเมือง อําเภอแมใจ อําเภอดอกคําใต และอําเภอจุน นอกจากนั้นพบในแองที่ราบริมนํ้าแมลาว ในเขตอําเภอเชียงคําและ กิ่งอําเภอภูซาง และที่ราบริมแมนํ้ายม ในเขตอําเภอปงและอําเภอเชียงมวน

หนวย 2 ตะกอนกรวด ทราย ลูกรัง ประกอบดวยชั้นกรวดคอนขางหนา สลบักับชั้นทรายและดินเหนียว กรวดมีลักษณะกลมมนดีมาก ขนาดตั้งแต 2 มิลลิเมตรจนถึงใหญกวา 1 เมตร บางแหงมีสารละลายเหล็กออกไซดเชื่อมประสานจนกลายเปนแมรังและลูกรัง เกิดจากแมนํ้ากัดเซาะทางดิ่งมากขึ้นปรากฏเปนภูมิประเทศขั้นบันได ดินมีธาตุอุดมสมบูรณพอสมควรปลูกพืชไดบางชนิด พ้ืนที่บริเวณนี้ไมอยูในเขตน้ําทวมขังเหมาะสําหรับเปนที่อยูอาศัยแตอาจประสบกับการไหลหลากของทางน้ํา

ตะกอนหนวยนี้โผลใหเห็นตอเน่ืองจากหนวยตะกอนทราย ดินเหนียว กรวดละเอียด เปนระดับภูมิประเทศที่สูงตอจากที่ราบริมแมนํ้าขึ้นไป พบเปนบริเวณกวางทางดานตะวันออกของนํ้าแมอิงในเขตอําเภอเมือง อําเภอดอกคําใต และอําเภอจุน นอกจากนั้นพบบริเวณแองที่ราบริมนํ้าแมลาว ในเขตอําเภอเชียงคําและกิ่งอําเภอภูซาง และที่ราบริมแมนํ้ายมในเขตอําเภอปง

-16-

รูปที่ 3-1 แผนที่ชนิดหินจังหวัดพะเยา

-17-

หนวย 3 ตะกอนเศษหิน กรวด ทราย ดินเหนียว ประกอบดวย เศษหิน

กรวด ทราย สลับกับดินเหนียว เกิดจากทางน้ําที่ไหลจากหุบเขาชันลงสูพ้ืนราบ เม่ือความเร็วของกระแสน้ําลดลง เกิดการสะสมตะกอนบริเวณใกลกับเนินเขากระจายออกไปรอบขางลักษณะเปนรูปพัด หนวยตะกอนนี้ใชเปนแหลงดินถมสําหรับการกอสรางได และเปนหลักฐานสําหรับแสดงถึงการเกิดแผนดินถลมในอดีตเนื่องจากการปรับตัวสูสมดุลของธรรมชาติ ซ่ึงหลายพ้ืนที่ยังคงมีความเสี่ยงตอการเกิดดินถลมไดอีกจึงไมเหมาะสําหรับการตั้งที่อยูอาศัย

ตะกอนหนวยนี้โผลใหเห็นทางดานตะวันตกของจังหวัดซึ่งเปนที่ลาดเชิงเขาดอย ขุนแมต๊ํา ดอยหลวง และดอยดวน ในเขตอําเภอเมือง อําเภอแมใจ และกิ่งอําเภอภูกามยาว

หนวย 4 หินตะกอนชนิดหินเคลย ถานหิน ประกอบดวย หินเคลย หินทรายแปง และถานหิน พบซากดึกดําบรรพสัตวเลี้ยงลูกดวยนมมากมาย อาจพบแหลงซากดึกดํา-บรรพลักษณะเดียวกับสุสานหอย จังหวัดกระบี่ เปนแหลงสะสมตัวของแรเชื้อเพลิง เชน ถานหิน หินชนิดนี้เกิดและสะสมตัวในแองสะสมตะกอนระหวางภูเขาที่มีสภาพแวดลอมแบบทะเลสาปน้ําจืด

หินหนวยนี้โผลใหเห็นดานตะวันออกเฉียงใตของจังหวัด ไดแก แองปง และแองเชียงมวน ในเขตอําเภอปง และอําเภอเชียงมวน ตามลําดับ

หนวย 5 หินตะกอนชนิดหินทราย ประกอบดวยหินทรายหลายชนิด เชน หินทรายเนื้อควอตซ หินทรายเนื้อเฟลดสปาร และหินทรายเนื้อปนเถาภูเขาไฟ นอกจากนี้ยังพบหินกรวดมนขนาดเล็ก หินทรายแปง หินดินดาน หินเชิรต หินตะกอนเถาภูเขาไฟ และหินปูนแทรกสลับอยูบางชวง บริเวณที่เปนหินทรายเนื้อละเอียดสามารถใชเปนแหลงหินประดับและหินลับมีดได ลักษณะภูมิประเทศสวนใหญเปนภูเขาสูง ที่ราบใกลภูเขาหินทราย ใชประโยชนในการเพาะปลูกไดคอนขางดี เน่ืองจากดินมีแรธาตุที่อุดมสมบูรณพอสมควรสําหรับพืช ยกเวนบริเวณที่เปนหินทรายเน้ือควอตซซ่ึงจะมีแรธาตุคอนขางต่ํา

หินหนวยนี้โผลใหเห็นบริเวณเทือกเขาสูง ไดแก ดอยขุนแมต๊ํา-ดอยหลวง และ ดอยดวน ในเขตอําเภอเมือง อําเภอแมใจ และกิ่งอําเภอภูกามยาว เทือกดอยภูนาง-ดอยแมฮิ- ดอยขุนแมเลอะ ในเขตอําเภอจุน อําเภอดอกคําใต อําเภอปงและอําเภอเชียงมวน เทือกดอยหวยยา-ดอยหวยขิง-ดอยสละ-ดอยตูม-ดอยภูจะโคง ในเขตอําเภอปงและอําเภอเชียงมวน เทือกดอยปุก หนอกวัว-ดอยบอสม-ดอยสันสูง ในเขตอําเภอจุนและอําเภอเชียงคํา เทือกดอยสันปนน้ํา-ดอยนาง-ดอยผาแดง-ดอยแดง ในเขตอําเภอปง อําเภอเชียงคํา และกิ่งอําเภอภูซาง และ เทือกดอยกิ่วตอง-ดอยวาว ในเขตอําเภอเชียงมวน

หนวย 6 หินตะกอนชนิดหินดินดาน ประกอบดวย หินดินดาน หินเชิรต หินทรายแปง หินทราย หินปูน และหินตะกอนเถาภูเขาไฟ ผุพังงายจึงไมคงสภาพเปนภูเขาสูง ประกอบกับเกิดดินถลมในอดีตตอเน่ืองมาเปนเวลานาน สวนใหญจึงพบเปนลักษณะเนินเขาเตี้ย อยางไรก็ตามในบริเวณที่ยังคงสภาพเปนภูเขาสูงจะเปนพ้ืนที่ที่มีความเสี่ยงภัยตอการเกิดแผนดิน

-18-

ถลมไดอีก ดินที่ผุพังมาจากหินดินดานมีแรธาตุอุดมสมบูรณพอสมควรโดยเฉพาะแรธาตุอาหารเสริมสําหรับพืชจึงสามารถใชประโยชนในดานการเพาะปลูกไดคอนขางดี แตดินอาจมีความรวนซุยต่ํา

หินหนวยนี้โผลใหเห็นขอบดานทิศใตของจังหวัดรอยตอกับจังหวัดลําปาง คือ เทือกดอยหลวง ในเขตอําเภอเมือง ดานตะวันออกของจังหวัดบริเวณเทือกดอยภูลังกา-ดอยขุนหวยหอม-ดอยสวนยาหลวง-ดอยขุนหวยหก-ดอยสันกลาง-ดอยขุนแมยัด ในเขตอําเภอเชียงคํา อําเภอปง และอําเภอเชียงมวน และตอนกลางของจังหวัด บริเวณดอยแปหลวง-ดอยขุนหวยเรียง ในเขตอําเภอปง

หนวย 7 หินตะกอนชนิดหินปูน ประกอบดวย หินปูนสีเทาดํา บางบริเวณพบ หินดินดาน หินทราย และหินปูนเนื้อโดโลไมตแทรกสลับอยูบาง ภูมิประเทศสวนใหญเปนภูเขาสูงชัน มีหลายยอดกอใหเกิดภูมิทัศนที่สวยงามแปลกตา หินปูนมีคุณสมบัติสามารถละลายไดในน้ําที่มีสภาพเปนกรดออนๆ ดังน้ันจึงมักพบถ้ําที่มีหินงอกหินยอยอยูในภูเขาหินปูน แมวาภูเขาหินปูนจะมีความสูงชันและแสดงหนาผาชัดเจนแตเน่ืองจากไมมีดินสะสมตัวบนยอดเขาจึงไมใชพ้ืนที่เสี่ยงภัยตอดินถลม แตอาจพบปรากฏการณหลุมยุบในบริเวณที่ราบใกลภูเขาหินปูน หินปูนมีสวนประกอบทางเคมี คือ CaCO3 ใชประโยชนเปนวัตถุดิบทั้งในอุตสาหกรรมเคมีและใชเปนวัสดุกอสรางไดดี ดินทีผ่พัุงมาจากหินปูนมีสีสมแดงเรียกวา เทราโรซา (Terrarosa) มีแรธาตุที่จําเปนตอพืชหลายชนิดโดยเฉพาะธาตุเหล็ก แคลเซียม และแมกนีเซียม ดังนั้นพ้ืนที่ราบที่อยูใกลหินปูนจึงเปนแหลงเพาะปลูกไดดี

หนวยหินน้ีพบเปนบริเวณแคบๆ เรียงเปนแนวทางดานตะวันออกของจังหวัด ในเขตอําเภอเชียงคํา อําเภอปง และอําเภอเชียงมวน นอกจากนั้นพบทางตอนใตของจังหวัด บริเวณบาน สันปามวง ตําบลบานตอม ดอยโตน บานแมกา ตําบลแมกา อําเภอเมือง และบานถ้ํา อําเภอดอกคําใต

3.2 หินอัคนี หินอัคนีในจังหวัดพะเยาพบบริเวณที่เขาสูงแทรกในเทือกเขาหินตะกอน สามารถ

แบงได 3 หนวย ไดแก

หนวย 10 หินภูเขาไฟชนิดหินไรไอไลต หินแอนดีไซต ประกอบดวย หินไรโอไลต หินแอนดีไซต หินบะซอลต หินเถาภูเขาไฟ และหินกรวดภูเขาไฟ มีความสัมพันธอยางใกลชิดกับแรทองคํา ทองแดงและแรโลหะหลายชนิด หินภูเขาไฟเกิดการผุพังทําลายไดงาย ดังน้ันบริเวณที่อยูใกลภูเขาสูงของหินภูเขาไฟจึงเปนพ้ืนที่เสี่ยงภัยแผนดินถลมสูง แตดินที่เกิดจากการผุพังจะอุดมสมบูรณดวยแรธาตุที่จําเปนตอพืชจึงเปนพ้ืนที่ที่เหมาะสมสําหรับการเกษตรกรรมมาก

หนวยหินน้ีโผลใหเห็นบริเวณเทือกเขาตอนกลางของจังหวัด ไดแก เทือกดอยหมอ-ดอยลักลาน ในเขตกิ่งอําเภอภูกามยาว ดอยกิ่วแกว-ดอยกิ่วชาง-ดอยขุนแมนะ ในเขตอําเภอ ดอกคําใตและอําเภอจุน มอนยาว ในเขตอําเภอจุน อําเภอเชียงคํา และอําเภอปง ดอยภูเกียน ในเขตอําเภอเชียงคํา ดอยสันปนนํ้า-ดอยมอนลาน ในเขตอําเภอปง และ ดอยน้ําบอสมปาน ในเขตอําเภอเชียงมวน

-19-

หนวย 11 หินอัคนีแทรกซอนชนิดหินแกรนิต หินไดออไรต ประกอบดวย

หินแกรนิต หินไดออไรต ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาสูง หินแกรนิตมีความสัมพันธใกลชิดกับการกําเนิดแรเศรษฐกิจหลายชนิด เชน แรดีบุก วุลแฟรม ฟลูออไรด และแบไรต

หนวยหินนี้โผลใหเห็น 2 บริเวณ ไดแก ดานตะวันตกของจังหวัด บริเวณดอยขุน แมฟาด ในเขตอําเภอเมือง และดานตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดบริเวณบานหวยเม่ียงในเขต กิ่งอําเภอภูซาง

หนวย 12 หินอัคนีอุลตราเบสิกชนิดหินบะซอลต หินไพรอกซีไนต ประกอบดวยหินบะซอลต หินไพรอกซีไนต หินเพอริโดไทต และหินแปรชนิดหินเซอเพนทีนไนต มักมีสีดําเขม เขียวเขม ผุกรอนงาย ทําใหภูมิประเทศไมคงสภาพเปนภูเขาสูง หินเหลานี้เปนตนกําเนิดของแรโลหะหลายชนิด เชน นิกเกิล โคบอลต แมกนีเซียม และทองแดง นอกจากนี้หินที่ถูกกัดกรอนสามารถนํามาทําหินประดับได หินบะซอลตนํามาใชเปนหินกอสรางทดแทนหินปูนได แตจะมีความแข็งแรงคงทนต่ํากวา ดินที่ไดจากการผุพังของหินบะซอลตมีความอุดมสมบูรณของธาตุอาหารเสริมสําหรับพืชสูงมากกวาหินทั่วๆ ไปเหมาะแกการเกษตรกรรมมาก

หนวยหินนี้โผลใหเห็น 2 บริเวณ ไดแก เทือกเขาดานตะวันออกของที่ราบแมนํ้าอิง บริ เวณดอยกิ่ วแกว-กิ่ วช าง-ดอยขุนแมนะ ในเขตอําเภอจุน -อํา เภอดอกคําใต และดานตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดบริเวณถ้ําน้ําดั้นในเขตอําเภอเชียงคํา

บทที่ 4 ทรัพยากรแรจังหวัดพะเยา

จังหวัดพะเยามีทรัพยากรแรหลายชนิด กระจายอยูในหลายบรเิวณทั่วไปตามพื้นที่สวนตางๆ ของจังหวัด (รูปที่ 4-1) โดยพบแรที่สําคัญกวา 8 ชนิดแร ไดแก หินปูน ทราย ถานหิน แบไรต แมงกานีส พลวง บอลเคลย และหินแอนดีไซต คิดเปนเนื้อที่รวมประมาณ 214.9 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 3.4 ของเนื้อที่จังหวัดทั้งหมด

จังหวัดพะเยามีการผลิตแรเศรษฐกิจที่สําคัญๆ ไดแก หินปูน และทรายนําไปใชประโยชนในการกอสราง ถานหินนําไปใชเปนพลังงานเชื้อเพลิง แบไรตนําไปใชประโยชนในการทําโคลนผงเจาะสํารวจแร และหินแอนดีไซตนํามาใชในการทําผลติสนิคา OTOP ทีมี่ชื่อเสียงของจังหวัด คือ ครกหินเมืองพะเยา ซ่ึงในป 2547 จังหวัดพะเยามีมูลคาผลติภัณฑมวลรวมทางเศรษฐกิจอยูในอันดับที่ 15 ของจังหวัดที่อยูในภาคเหนือ เปนมูลคา 17,762 ลานบาท โดยมูลคาผลติภัณฑภาคอุตสาหกรรมเหมืองแรและยอยหินมีมูลคากวา 167 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 0.94 ของมูลคาผลติภัณฑมวลรวมของจังหวดัพะเยา

ปจจุบันยังคงเหลือแหลงแรที่ยังมีการผลติอยูไมมากนัก โดยมีการหยุดกิจการไป อันเนื่องมาจากภาวะราคาแรตกต่ําบางและการหมดไปของแรในแตละแหลงบาง แตอยางไรก็ตาม จังหวัดพะเยาก็ยังจัดไดวามีสถานภาพทางศักยภาพของทรัพยากรแรหลายชนิด ซ่ึงสามารถแบงกลุมตามการนาํมาใชประโยชน ออกเปน 3 กลุม ดังนี้

4.1 กลุมแรเพือ่การพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ กลุมแรเพ่ือการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ

ประกอบดวยแรที่สําคัญ 2 ชนิด คือ หินปูนสําหรับอุตสาหกรรมกอสราง และทราย

หินปูนสําหรับอุตสาหกรรมกอสราง พื้นที่แหลงหินปูน ทรัพยากรหินปูนของจังหวดัพะเยา สวนใหญจะปรากฏเปนแนวเทอืกเขา และภูเขา

ลูกเล็กๆ โดดๆ วางตัวในแนวเหนือ-ใต ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉยีงใต และตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต ในทองที่อําเภอเมือง อําเภอดอกคําใต อําเภอเชียงมวน อําเภอเชียงคํา อําเภอปง และอําเภอแมใจ มีทั้งหมดจํานวน 23 แหลง เน้ือที่รวมทั้งสิ้น 171.4 ตารางกิโลเมตร (ตารางที่ 4-1)

-22-

รูปที่ 4-1 แผนที่แหลงทรัพยากรแร จังหวัดพะเยา

-23-

ตารางที ่4-1 ขอมูลพ้ืนที่แหลงหินปนู ลําดับที ่ ชื่อพืน้ที ่ ที่ตั้ง เน้ือที่ (ตร.กม.)

1 บานดอยโตน ตําบลจําปาหวาย อําเภอเมืองพะเยา 1.56 2 อางเก็บน้ําแมนาเรือ ตําบลแมกา อําเภอเมอืงพะเยา 29.73 3 บานแมกา ตําบลจําปาหวาย อําเภอเมืองพะเยา 3.97 4 ดอยโทนนอย ตําบลจําปาหวาย อําเภอเมืองพะเยา 0.05 5 อางเก็บน้ําหวยแมผง ตําบลบานถ้ํา อําเภอดอกคําใต 19.91 6 วัดพระธาตจุอมศลิป ตําบลบานถ้ํา อําเภอดอกคําใต 0.63 7 หวยสัก ตําบลหนองหลม อําเภอดอกคําใต 2.64 8 บานปางมวง ตําบลหนองหลม อําเภอดอกคําใต 0.35 9 บานปางถ้ํา ตําบลแมลาว อําเภอเชยีงคํา 20.25 10 บานผาแดง ตําบลปาแฝก อําเภอแมใจ 8.39 11 บานบอเบ้ีย ตําบลบานมาง อําเภอเชยีงมวน 12.67 12 บานสะเกนิ ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 3.80 13 ดอยขุนน้ําปุก ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 9.85 14 บานแมสิงห ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 3.81 15 บานหวยเอยีน ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 3.80 16 บานหวยเห้ีย ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 6.17 17 น้ํากาดหลวง ตําบลผาชางนอย อําเภอปง 3.49 18 ขุนหวยหก ตําบลขุนควร อําเภอปง 1.19 19 หวยชอ ตําบลขุนควร อําเภอปง 4.58 20 ดอยผาจิก ตําบลขุนควร อําเภอปง 11.95 21 ขุนหวยหก ตําบลขุนควร อําเภอปง 1.83 22 บานผาชางนอย ตําบลขุนควร อําเภอปง 15.28 23 ดอยแมฮิ ตําบลปง อําเภอปง 5.72 รวม 171.42

ที่มา: สํานักทรัพยากรแร, 2548

สถานการณปจจุบัน ปจจุบันแหลงหินปูนของจังหวัดพะเยาได รับการประกาศใหเปนแหลงหิน

อุตสาหกรรมเพื่อการพัฒนาเปนหินที่ใชในอุตสาหกรรมกอสราง จํานวน 1 แหลง คือ บริเวณบานดอยโตน ตําบลจําปาหวาย และ ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา โดยมีจํานวนประทานบัตร ทั้งหมด 5 ประทานบัตร (รูปที่ 4-2 และ ตารางที่ 4-2) เน้ือที่รวม 0.94 ตารางกิโลเมตร (586 ไร) กําลังการผลิตรวมอยูในชวง 600,000 - 850,000 ตัน/ป หินปูนที่ผลิตสวนใหญสงจําหนายและใชเพ่ือการกอสรางอาคารบานเรือน สรางถนนหนทางในจังหวัดพะเยา มีเพียงจํานวนเล็กนอยที่สงจําหนายยังอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

-24-

แหลงบานดอยโตนดําเนินการผลิตหินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมกอสรางไปแลวทั้งสิ้น 9,259,000 เมตริกตัน หรือประมาณรอยละ 51 ของปริมาณสํารองของแหลง ถึงปจจุบันคงปริมาณสํารองหินปูนทั้งสิ้นประมาณ 9,000,000 เมตริกตัน หากการผลิตและการใชประโยชนหินปูนเพ่ือการกอสรางของจังหวัดพะเยามีสัดสวนคงที่ หินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมกอสรางในบริเวณนี้ยังสามารถผลิตใชไดอีกประมาณ 15-20 ป

ตารางที่ 4-2 บัญชีรายละเอียดประทานบัตรหินปูนเพ่ืออุตสาหกรรมกอสราง จังหวัดพะเยา

ช่ือผูถือประทานบัตร หมายเลขประทานบัตร สถานที่ต้ัง (ตําบล อําเภอ จงัหวัด)

จํานวนพ้ืนที่ (ไร)

ปริมาณแรสํารอง

(เมตริกตัน)

ปริมาณแรสํารองคงเหลือ(เมตริกตัน)

บริษัทพะเยาศิลาภัณฑ จํากัด 31108/15370 จําปาหวาย เมือง พะเยา 143-2-74 5,510,000 2,000,000 นายจรัล เยาวรัตน 31109/15395 แมกา เมอืง พะเยา 56-2-02 3,157,000 1,500,000 หางหุนสวนจํากัด จรัลรัตน 31106/15396 จําปาหวาย เมือง พะเยา 110-3-39 2,145,000 2,000,000 บริษัท พิสิษฐธุรกิจ จํากัด 31107/15407 จําปาหวาย เมือง พะเยา 187-2-68 2,292,000 1,000,000 บริษัท พะเยาธุรกิจ จํากัด 31110/15408 แมกา เมอืง พะเยา 87-1-26 5,155,000 2,500,000 รวม 586-0-09 18,259,000 9,000,000

แนวโนมความตองการใชหินปูนในอนาคต จากสัดสวนปริมาณการผลิตแรที่ผานมา (พ.ศ.2544-2548) มีการผลิตอยูในชวง

600,000 – 850,000 ตัน/ป มีคาการผลิตโดยเฉลี่ย 730,000 ตัน/ป การใชหินปูนเพ่ือการกอสรางของจังหวัดพะเยาคาดวาในอนาคตความตองการใชแรกลุมน้ีอาจจะเพิ่มขึ้นไมมากนัก (รูปที่ 4-3) โดยเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณรอยละ 5-10 ตามสัดสวนการผลิตและสถิติผลิตภัณฑจังหวัดพะเยา สาขาการทําเหมืองแรและเหมืองหินในป พ.ศ. 2540-2547 และเนื่องดวยเหตุที่วาแผนยุทธศาสตร 4 ปของจังหวัดพะเยา มิไดเนนการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานหรือสาธาณูปโภคพื้นฐานของจังหวัดเทาใดนัก มีเพียงความเชื่อมโยงของยุทธศาสตรทางดานการเพิ่มขีดความสามารถดานการแขงขันกับยุทธศาสตรของกลุม 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ที่จะพัฒนาใหเปนประตูการคา การลงทุน และ

รูปที่ 4-2 แหลงผลิตหินปูนดอยโตน ตําบล จําปาหวาย และตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา (มองไปทางทิศเหนือ)

-25-

ศูนยกลางการคมนาคมขนสงเพ่ือเชื่อมโยงกับกลุมประเทศในโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS: Greater Mekong Subregion) และ กลุมประเทศในโครงการความริเริ่มแหงอาวเบงกอลสําหรับความรวมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (BIMS-TEC : Bay of initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) ซ่ึงจังหวัดพะเยาอาจจะมีความตองการใชหินปูนเพ่ือพัฒนาเสนทางการคมนาคมขนสงเพ่ิมขึ้นเล็กนอย ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของอาคารบานเรือน อาคารพาณิชย สถานศึกษา หรือสถานกอสรางอ่ืนๆ มีสัดสวนการเพิ่มขึ้นในแตละปเพียงเล็กนอย จึงคาดวาจะสงผลตอความตองการใชหินปูนเพ่ิมขึ้นไมมากนัก

ปริมาณการใชหินปูนของจังหวัดพะเยา ป พ.ศ.2544-2548 และแนวโนม

0

100,000

200,000

300,000

400,000

500,000

600,000

700,000

800,000

900,000

2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ป พ.ศ.

ปริมา

ณ (ตัน/ป)

หินปูนแนวโนม (คาเฉล่ีย)

รูปที่ 4-3 กราฟแสดงปริมาณการใชแรกลุมโครงสรางพ้ืนฐานฯ ป พ.ศ. 2544-2548 และแนวโนม

สภาพปญหาของแหลงหินปูน ผูประกอบการเหมืองยังขาดการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี เชน ไมมีการปรับ

ความชันของหนาเหมืองโดยการทําเปนขั้นบันได (Bench) เพ่ือเพ่ิมความมั่นคงของหนาเหมือง และลดอันตรายจากการหลนของหิน รวมทั้งการนําหลัก 5 ส. เขามาใชบริหารจัดการภายในเหมืองยังมีคอนขางนอย

-26-

ทราย ทราย เปนวัสดุกอสรางที่มีขนาดอนุภาคหรือเม็ด ตั้งแต 2-1/16 มิลลิเมตร สวนใหญ

ประกอบดวยแรควอตซ ที่ผุพังมาจากหินตะกอน หินแปร และหินอัคนี แลวถูกพัดพาโดยน้ํา มาสะสมตัวกันในที่ราบลุม ที่ราบระหวางหุบเขา และตามลําน้ํา จัดเปนวัสดุกอสรางที่สําคัญมากอยางหน่ึงไมวาจะเปนการกอสรางขนาดใหญหรือขนาดเล็ก

แหลงทรายในจังหวัดพะเยา เปนแหลงทรายที่สะสมตัวอยูในทางน้ําเกาของแมนํ้าอิงที่เปลี่ยนทิศทางจากในอดีตจนถึงมาอยูในสภาพปจจุบัน (รูปที่ 4-4) เกิดเปนชั้นหนาประมาณ 5-10 เมตร อยูลึกจากผิวดินประมาณ 2 เมตร (รูปที่ 4-5)

สถานการณปจจุบัน จังหวัดพะเยามีแหลงทาทรายทั้งสิ้น 5 แหลง อยูในเขตอําเภอจุน โดยอยูในพ้ืนที่

ตําบลหงสหิน 4 แหลง และบานทุงรวงทอง ตําบลทุงรวงทอง 1 แหลง (ตารางที่ 4-3) เปนแหลงทรายบก ทั้งน้ีแหลงทาทรายบานสันทราย ตําบลหงสหิน ไดหยุดทําการผลติไปเม่ือเดือนเมษายน พ.ศ.2549 ทีผ่านมา เน่ืองจากมีการรองเรียนจากชาวบาน สวนแหลงทรายบานทุงรวงทอง ตาํบลทุงรวงทอง อยูระหวางการขออนุญาตยังไมมีการผลิต

คุณภาพของทรายทั้งหมดแบงออกเปน 3 เกรด คือ ทรายหยาบ ทรายละเอียด และกรวดรวม ผลผลิตรวมจากแหลงทรายทัง้ 4 แหลง มีประมาณ 130,000 ตัน/ป ผลผลติที่ไดสงขายและใชในจังหวัดพะเยาทั้งหมด

การใชทรายของจังหวัดพะเยาในปจจุบัน ไดมีการนําเขาทรายมาจากอําเภอพานจังหวัดเชียงราย เพ่ือมาใชแทน

รูปที่ 4-4 แหลงทรายบก ของแหลงหงษหิน ตําบลหงสหิน อําเภอจุน จังหวัดพะเยา (มองไปทางทิศตะวันตก)

-27-

ตารางที่ 4-3 แหลงทรายบกในจังหวัดพะเยา

ที่มา : อดุลย ใจตาบุตร และอุดม จํารัสไว, 2548 สํานักทรัพยากรแร กรมทรัพยากรธรณี, 2548

แนวโนมความตองการใชทรายในอนาคต ความตองการใชทรายของจังหวัดพะเยาในอนาคต คาดวาจะสอดคลองกับการปริมาณ

ใชหินปูน กลาวคือ จังหวัดพะเยาอาจจะมีความตองการใชทรายสําหรับพัฒนาเสนทางการคมนาคมขนสง การกอสรางอาคารบานเรือน อาคารพาณิชย สถานศึกษา หรือสถานกอสรางอ่ืนๆ เปนสัดสวนเพ่ิมขึ้นในแตละปเพียงเล็กนอย ซ่ึงจะสงผลใหความตองการใชทรายมีสัดสวนเพิ่มขึ้นตามสัดสวนดังกลาว

สภาพปญหาของแหลงทราย (1) เกิดภาวการณขาดแคลนแหลงทาทรายที่ทําการผลติทรายเพื่อใชภายในจังหวัด ทํา

ใหตองมีการนําเขาทรายจากแหลงจังหวัดใกลเคียงแทน ซ่ึงทรายที่นําเขามามีราคาสูงกวาทรายทีเ่คยมีการผลิตใชเองภายในจังหวัด สงผลใหตนทนุของอุตสาหกรรมตอเน่ืองสูงขึ้น เชน อุตสาหกรรมกอสราง อุตสาหกรรมคอนกรีต เปนตน ตลอดจน ผูบริโภครายยอยอ่ืนๆ ตองบริโภคทรายราคาที่สูงขึ้นดวย

(2) เกิดการรองเรียนจากกลุมชาวบานบานสันทราย ซ่ึงเปนชุมชนที่อยูใกลบริเวณแหลงทาทรายบานสันทราย อําเภอจุน จังหวัดพะเยา เน่ืองดวยการเกิดเหตุแผนดินทรุด เปนหลุมลึก ประมาณ 5 เมตร เสนผานศูนยกลางประมาณ 0.5 เมตร ในบริเวณพ้ืนที่นาซึ่งอยูใกลเคยีงกับแหลงทาทราย การทรุดของฐานกําแพงวัด และเกิดภาวะแหงของน้ําในบอของชาวบานและไมมีนํ้าเลยในชวงฤดูแลง ซ่ึงคาดวาเกิดจากการดูดทราย สงผลใหผูประกอบการทั้ง 3 ราย ที่บานสันทรายตองหยุดการผลิตไป เม่ือเดือนเมษายน พ.ศ.2549 ที่ผานมา

ชื่อแหลง ชนิดทราย ตําบล อําเภอ จังหวัด ปริมาณการผลิต (ลบ.ม./ป)

1. PY01 สมทราย ทางน้ําเกา หงษหิน จุน พะเยา 61,220 2. PY02 หงษหิน ทางน้ําเกา หงษหิน จุน พะเยา 25,200 3. PY03 พวงพยอม ทางน้ําเกา หงษหิน จุน พะเยา 25,000 4. PY04 องครักษ ทางน้ําเกา หงษหิน จุน พะเยา 21,600 5. PY05 ทุงรวงทอง ทางน้ําเกา ทุงรวงทอง จุน พะเยา 0 รวม 133,200

รูปที่ 4-5 ลักษณะชั้นทรายบก ของบริษัทพวงพะยอม ตําบลหงสหิน อําเภอจนุ จังหวัดพะเยา (มองไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)

ชั้นดิน

ชั้นทราย

-28-

4.2 กลุมแรพลังงาน

ถานหิน ถานหิน จัดเปนเชื้อเพลิงธรรมชาติที่นํามาใชเปนตนกําเนิดของพลังงานที่สําคัญ

ของประเทศ ในปจจุบัน เพ่ือทดแทนพลังงานที่ไดจากน้ํามันเชื้อเพลิงซึ่งมีราคาสูง ถานหินมีตนกําเนิดมาจากการทับถมกันของซากพืชและซากสิ่งมีชีวิตตางๆ จํานวนมาก ในสภาวะแวดลอมที่เหมาะสม เชนตามที่ราบลุมชายฝง ที่ราบเชิงเขา ทะเลสาบและปากอาว ที่ราบตะกอนน้ําพา ดินดอนสามเหลี่ยม และแองในหุบเขา เม่ือหลายสิบลานปมาแลว ตอมามีตะกอนดินและทรายขนาดตางๆ มาทับถมปดทับพรอมกับมีการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวโลกจากความกดดันอันเน่ืองมาจากน้ําหนักที่กดทับ ประกอบกับความรอนที่มาจากภายในโลกตอเน่ืองกันมาเปนระยะเวลานาน มีผลทําใหซากพืชและสิ่งมีชีวิตที่ตกทับถมกันแปรเปลี่ยนสภาพไปเปนถานหินประเภทตางๆ เรียงลําดับจากที่มีคุณภาพต่ําสุดไปหาสูงสุดดังนี้ คือ พีท (Peat) ลิกไนต (Lignite) ซับบิทูมินัส (Sub-bituminous) บิทูมินัส (Bituminous) และแอนทราไซต (Anthracite) ลักษณะทางกายภาพของถานหินพบวามีสีตั้งแตสีนํ้าตาลถึงสีดําเปนมัน เปราะและแตกรวนไดงาย มีนํ้าหนักเบากวาหินทั่วๆ ไปในปริมาตรที่เทากัน มีองคประกอบหลักที่สําคัญคือ ธาตุคารบอน สารระเหย ความชื้น เถา และธาตุไฮโดรเจน สวนธาตุไนโตรเจน กํามะถัน เปนสวนประกอบอยูดวยในปริมาณเล็กนอย

การใชประโยชนในปจจุบันทั่วโลกมีการใชถานหินอยูใน 2 ลักษณะใหญๆ คือ เปนเชื้อเพลิง และใชในอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก โดยพบวารอยละประมาณ 80 นํามาใชทําเปนเชื้อเพลิง เชน ใชในการผลิตกระแสไฟฟา การบมใบยาสูบ อุตสาหกรรมปูนซิเมนต ถานอัด ฯลฯ สวนที่เหลืออีกประมาณรอยละ 20 ใชในอุตสาหกรรมถลุงเหล็ก และเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเคมีตางๆ เชน ถานโคก เปนตน

สําหรับแหลงถานหินของจังหวัดพะเยามีอยูเพียงแหลงเดียวเทานั้น คือ แหลงบานสระ ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา ซ่ึงมีพ้ืนที่ประมาณ 10 ตารางกิโลเมตร คุณภาพถานหินบริเวณนี้จัดอยูในขั้นสับบิทูมินัสถึงบิทูมินัส สีเทาดําถึงดํา

สถานการณในปจจุบัน แหลงบานสระเปนเหมืองเปดขนาดกลาง ประกอบดวยประทานบตัร จํานวน 11 แปลง

ของกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน ครอบคลุมเน้ือที ่2,570 ไร รับชวงทําเหมืองโดย บริษัท เหมืองแรเชียงมวน จํากัด ซ่ึงผลิตมาตั้งแต ป พ.ศ. 2539 และปจจุบัน บริษัท บานป ู จํากัด (มหาชน) เปนผูรับชวงทําเหมือง (รูปที่ 4-6) แหลงบานสระมีปริมาณสํารองถานหินที่พิสูจนแลวกอนการทําเหมืองประมาณ 5,000,000 เมตริกตัน ถึงป พ.ศ.2548 ผลติถานหนิไปแลว ประมาณ 3,800,000 เมตริกตัน เหลือปริมาณสํารองถานหิน ประมาณ 1,200,000 เมตริกตนั ณ กําลังการผลิตประมาณ 200,000 -500,000 ตันตอป ถานหินจากแหลงน้ีจะหมดลงในป 2551 หรือภายใน 3 ปขางหนานี้

-29-

ผลผลิตถานหินทั้งหมดจากเหมืองดังกลาว รอยละ 65 ถูกนําไปใชเปนเชื้อเพลิงใน

อุตสาหกรรมปูนซีเมนตที่ จังหวัดสระบุรีและจังหวัดลําปาง รองลงมาเปนการใชสําหรับผลิตกระแสไฟฟา รอยละ 30 ที่เหลืออีกเพียงรอยละ 5 ใชสําหรับโรงบมใบยาสูบในจังหวัดพะเยา

แนวโนมความตองการใชถานหินในอนาคต การผลิตถานหินของแหลงเชียงมวนในแตละปที่ผานมา อยูในชวง 200,000-

500,000 ตัน/ป ซ่ึงมีความผันผวนคอนขางสูง ขึ้นอยูกับความตองการใชของแหลงปลายทางหรืออุตสาหกรรมตอเน่ืองเปนสําคัญ แตถานหินจากแหลงเชียงมวนเหลือปริมาณสํารองที่สามารถผลิตไดเพียง 1.2 ลานตัน ซ่ึงจะสามารถทําการผลิตไดอีกเพียง 3 ป เทานั้น (รูปที่ 4-7)

สําหรับแนวโนมความตองการใชถานหินของจังหวัดพะเยาสัมพันธกับอุตสาหกรรมการบมใบยาสูบ ซ่ึงคาดวามีสัดสวนคอนขางคงที่ หากในอนาคตจังหวัดพะเยายังคงมีความตองการใชถานหินเพ่ือการบมใบยาสูบ ก็จะตองมีการจัดหาแหลงถานหินจากแหลงอ่ืนๆ เพ่ือมาใชทดแทนถานหินจากแหลงเชียงมวนที่กําลังจะหมดไปดวย

สภาพปญหาถานหิน ในปจจุบันการใชถานหินจากแหลงดังกลาวยังไมประสบปญหาใดๆ แตในอีก 3 ป

ขางหนา จะเกิดการขาดแคลนเชื้อเพลงิจากถานหินสําหรับใชในการบมใบยาสบูของจังหวัดพะเยา ซ่ึงจะสงผลใหโรงบมใบยาสบูจะตองจัดหาเชื้อเพลิงจากแหลงอ่ืนมาใชแทน และนอกจากนี้การหมดลงของถานหนิก็ยังสงผลใหชุมชนขาดรายไดที่ไดจากการจัดเก็บคาภาคหลวงแร ซ่ึงเปนรายไดที่จะนํามาใชสําหรบัการพัฒนาชมุชนตอไปดวย

รูปที่ 4-6 บอเหมอืงผลิตถานหิน ของ เหมืองแรเชียงมวน ในทองที่บานสระ ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา (มองไปทางทิศเหนือ)

-30-

ปริมาณการใชถานหิน ป พ.ศ. 2544-2548 และแนวโนม

0

100,000

200,000

300,000

400,000

500,000

600,000

2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552

ป พ.ศ.

ปริมา

ณการใช

รูปที่ 4-7 กราฟแสดงปริมาณการใชแรกลุมแรเพ่ือพลงังาน ป พ.ศ. 2544-2548 และแนวโนม

4.3 กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม กลุมแรเพ่ือสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของจังหวัดพะเยา ประกอบดวยแร

ที่สําคัญ 5 ชนิด ไดแก แบไรต หินแอนดีไซต แมงกานีส พลวง และบอลเคลย

หินแอนดีไซต สถานการณในปจจุบัน หินแอนดีไซต เปนวัตถุดิบสําคัญสําหรับผลิตภัณฑ OTOP ที่มีชื่อเสียงของจังหวัด

พะเยา ซ่ึงก็คือ ครกหินเมืองพะเยา น่ันเอง โดยมีแหลงผลิตครกหินเพียง 2 แหลงเทานั้น คือ บานงิ้วใต หมูที่ 6 และบานงิ้วเหนือหมูที่ 7 ตําบลบานสาง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

ในอดีตครกหินเมืองพะเยาใชหินทรายเปนวัตถุดิบ โดยนํามาจากแหลงหินทรายที่สําคัญ คือ หวยแมตุนและหวยแมแฮ ซ่ึงอยูติดกับดอยหลวง หางจากบานงิ้วประมาณ 2 กิโลเมตร แตปจจุบันหินทรายจากแหลงดังกลาวไดถูกใชจนหมดไป ประกอบกับเน้ือหินทรายมีความเปราะบางเกินไป ชาวบานจึงหันไปใชหินแอนดีไซตที่มีความแข็งทนทานและคุณภาพดีกวาจากแหลงบานบัว ตําบลแมกา (รูปที่ 4-8) ที่แหลงหินอยูในพ้ืนที่สวนสวนบุคคล ซ่ึงเจาของจะทําการขุดและแตงหินใหมีลักษณะเปนกอนขนาดเหมาะสมสําหรับทําครกได 1 ใบ และบรรทุกรถมาจําหนายยังหมูบานงิ้ว แหลงดังกลาวนี้มีปริมาณการผลิต 180-200 ตัน/ป และหยุดผลิตชวงฤดูฝน แตในปจจุบันหินแหลงน้ีไดหยุดทําผลิตแลว เน่ืองจากการขุดลงไปลึก (7-8 เมตร) จนไมสามารถสูบนํ้าออกไดทัน (รูปที่4-9) ประกอบกับเกิดปญหาการพังทลายของดินที่ขุดขึ้นมากองไวดานบนลงมาทับถมคนงานเสียชีวิต จึงไดหยุดขุดหินบริเวณดังกลาว และไดยายไปทําการขุดหินที่ หวยโปง

-31-

ตําบลบานกาไรเดียว อําเภอเมืองพะเยาแทน ซ่ึงเปนพ้ืนที่ที่อยูในเขตปาสงวนแหงชาติแมต๋ํา (หวยแมต๋ํานอย) โดยนายสงัด กิ่งแกว ผูใหญบาน หมู 6 ตําบลบานสาง (ปจจุบันเปนกํานัน) ไดทําหนังสือยื่นตอกรมปาไม เพ่ือขอพ้ืนที่ดังกลาวเปนพ้ืนที่ประมาณ 5 ตารางกิโลเมตร เพ่ือทําการขุดหินมาใชสําหรับการทําครกหินเพ่ืออนุรักษอาชีพเกาแกของชาวพะเยา รวมทั้งถวายฎีกาตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ขอพระราชทานพื้นที่ในการขุดหินทําครก ซ่ึงไดทรงพระราชทานพื้นที่เพ่ือใชประโยชนตามวัตถุประสงคดังกลาว แหลงหินหวยโปงคาดวาจะสามารถใชสําหรับการผลิตครกหินไดอีกหลายสิบป

แนวโนมความตองการใชหินแอนดีไซต ความตองการใชหินแอนดีไซตของจังหวัดพะเยาคาดวาจะมีสัดสวนเพิ่มขึ้น

ตามยุทธศาสตรดานการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันที่มีการสงเสริมดานการพัฒนาและเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑชุมชนให ดียิ่ งขึ้นดวย จึงคาดวาจะสงผลให เกิดความตองการใช หินแอนดีไซตเพ่ือการผลิตครกหินเมืองพะเยามากขึ้นดวยเชนเดียวกัน

สภาพปญหา (1) ปจจุบัน ยังไมมีขอมูลเกี่ยวกับแหลงหินแอนดีไซตของจังหวัดพะเยาที่ชัดเจน

เทาใดนัก ซ่ึงหนวยงานที่เกี่ยวของอาจตองมีการสํารวจแหลงหินแอนดีไซตเพ่ิมเติม เพ่ือใชเปนแหลงสํารองในการผลิตครกหินเมืองพะเยา ซ่ึงถือเปนสินคาพื้นเมืองที่สําคัญยิ่งของจังหวัดพะเยาตอไป

(2) ขาดระบบฐานขอมูลของแหลงและการผลิตหินแอนดีไซตที่ชัดเจนของหนวยงานที่เกี่ยวของทําใหยากตอการที่พัฒนา การสงเสริมทางการตลาดของ ผลิตภัณฑครกหินเมืองพะเยา ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนารายไดของชาวชุมชนจากผลิตภัณฑดังกลาวดวย

รูปที่ 4-8 แหลงหินแอนดไีซต ทีบ่านบัว ตําบลแมกา

อําเภอเมอืง จังหวัดพะเยา รูปที่ 4-9 ระดับความลึกของการขุดหินแอนดไีซตแหลงบานบัว

-32-

แรแบไรต

แรแบไรต เปนแรมีสีขาว ใสไมมีสี สีเหลือง สีนํ้าเงิน สีแดงออนๆ เน้ือแรโปรงแสงถึงโปรงใส เปนแผนถึงเปนมวลเม็ด ประกายวาวคลายแกวหรือคลายมุก มีความถวงจําเพาะ 4.5 การใชประโยชนมากกวารอยละ 80 ใชทําผงโคลนสําหรับการเจาะสํารวจน้ํามันหรือ นํ้าบาดาล ที่เหลืออีกรอยละ 20 ใชในอุตสาหกรรมทําแมสีและเนื้อสี อุตสาหกรรมทําแกว ทํายาง รถยนต บดทํายาสําหรับรับประทานกอนที่จะทําการเอกซเรยเกี่ยวกับการตรวจกระเพาะและลําใส ใชในอุตสาหกรรมฟอกหนัง ทําแปงผัดหนา ฯลฯ

แหลงแรแบไรตของจังหวัดพะเยามีเพียงแหลงเดียว คือ แหลงตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต เน้ือที่ 2.13 ตารางกิโลเมตร ลักษณะของแหลงแรเกิดเปนแบบสายแรนํ้ารอน (รูปที่ 4-10) ขนาดของสายแรกวางประมาณ 1-2 เมตร รวมกันเปนโซนกวางประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ลึกประมาณ 15 เมตร อยูในหินภูเขาไฟและหินตะกอนภูเขาไฟ ที่ถูกแปรเปลี่ยนสภาพ และเกิดเปนตัวประสานอยูตามชองวางของหินกรวดเหลี่ยม (รูปที่ 4-11) สายแร แบไรตแหลงน้ีจะมีแรควอตซและแรเหล็กออกไซดเกิดรวมอยูดวยในปริมาณสูง ทําใหความสมบูรณของแรแบไรตคอนขางต่ํา

สถานการณในปจจุบัน แรแบไรตแหลงตําบลหวยลานแหงน้ี มีประทานบตัรอนุญาตผลติแร 1 ประทานบัตร

การทําเหมืองเปนแบบเหมืองหาบและเจาะงัน (รูปที ่4-12) โดยนายบุญสง อนุสสรราชกิจ ปริมาณการผลิตแรแบไรตที่ผานมาไมแนนอน โดยในป พ.ศ.2546 ผลิตได 400 ตัน

แตในป พ.ศ.2547 ผลิตไดเพียง 200 เมตริกตัน เทานัน้ ซ่ึงแบไรตจากแหลงน้ีเปนเกรดสําหรับการใชทําโคลนผงเจาะสํารวจแร แตเน่ืองจากแรแบไรตแหงน้ีความสมบูรณคอนขางต่ํา ผูประกอบการจึงไดหยุดการผลิตไปแลวตั้งแตป พ.ศ.2548

รูปที่ 4-10 ลักษณะสายแรแบไรต บริเวณเหมืองแรแบไรตหวยลาน ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จงัหวัดพะเยา

(มองไปทางตะวนัออกเฉียงเหนือ)

รูปที่ 4-11 ลักษณะแรแบไรต ที่เกิดแบบเปนตัวประสานในหินกรวดเหลี่ยม บริเวณเหมอืงแรแบไรตหวยลาน ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จังหวัดพะเยา (มองไปทางตะวนัตกเฉียงเหนือ)

-33-

ปริมาณสํารองคงเหลือในบริเวณประทานบัตร จากปริมาณสํารองทางธรณีวทิยา

กอนการทําเหมืองมีอยู 200,000 เมตริกตัน และทําการผลิตออกไปแลว 2,000 ตนั ดังน้ัน จะเหลือปริมาณสํารองประมาณ 180,000 เมตริกตัน

สภาพปญหา แมวาจะมีการหยุดการทําเหมืองไปแลว แตการเปดหนาเหมืองทิ้งไว โดยไมมีการ

เขามาทําการฟนฟูแตอยางใด จะกอใหเกิดผลกระทบดานฝุนละออง และเสี่ยงตอการเกิดดินถลมในกรณีที่มีฝนตกหนักในพื้นที่ได

แรแมงกานีส แรแมงกานีส ที่มีความสําคัญและมีคุณคาทางเศรษฐกิจ สวนมากอยูในรูปของ

สารประกอบออกไซด คารบอเนต และซิลิเกต ซ่ึงมีการผลิตเอาสินแรแมงกานีส สําหรับใชประโยชนในอุตสาหกรรมตางๆ เชน อุตสาหกรรมเหล็กกลา โลหะผสม โลหะเชื่อม อุตสาหกรรมเคมี ทําถานไฟฉาย ทําสี ตัวฟอกในอุตสาหกรรมแกว ทําน้ํายาเคมี เคมีภัณฑ ทําปุยและเวชภัณฑตางๆ แหลงแรแมงกานีสของจังหวัดพะเยามีเพียงแหลงเดียว คือ แหลงตําบลแมกา อําเภอเมือง ซ่ึงเคยมีการผลิตเม่ือประมาณ 30 ปที่แลว แหลงดังกลาวอยูบริเวณเทือกเขา หางจากบานหมอแกงทอง ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 3 กิโลเมตร สินแรแมงกานีสเปนแรแมงกานีสออกไซด ชนิดแรไพโรลูไซต เกิดแบบเปนสายและแบบแทนที่ในหินตะกอน การผลิตทําแบบเหมืองอุโมงค (รูปที่ 4-13) ตามสายแรและโซนแรที่เกิดแบบแทนที่ ขนาดกวาง ประมาณ 1-2 เมตร (รูปที่ 4-14) ที่ความสมบูรณของแรไพโรลูไซต ประมาณรอยละ 30 จากลักษณะความเหมาะสมทางธรณีวิทยาและธรณีวิทยาแหลงแรแมงกานีส สามารถกําหนดพื้นที่แหลงแรแมงกานีสครอบคลุมบริเวณที่มีการผลิตแรแมงกานีสดังกลาวและใกลเคียง ไดเปนเนื้อที่ประมาณ 28.86 ตารางกิโลเมตร

รูปที่ 4-12 สถานภาพปจจุบันของหนาเหมืองแบไรตหวยลาน ตําบลหวยลาน อําเภอดอกคําใต จังหวัด

พะเยา (มองไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ)

-34-

บอลเคลย บอลเคลยหรือแร ดินละเอียดสีดํา เปนดินขาวที่ มีสีขาวคล้ําจนถึงสี ดําสนิท

มีสารอินทรียเจือปนอยูในปริมาณที่เหมาะสม มีคุณสมบัติพิเศษคือ เน้ือละเอียด มีความเหนียวมาก และเม่ือเผาแลวจะไดมีสีขาวและมีการหดตัวสูง

การเกิดเปนแบบทุติยภูมิ โดยการผุพังเปลี่ยนสภาพของแรจากแหลงหินตนกําเนิด แลวถูกพัดพาไปทับถมใหมในแองสะสมตัวที่เปนหนอง บึง ถึงที่ลุมชื้นแฉะ ในสภาวะที่มีอินทรียสารอยูมาก ซ่ึงบางครั้งจะพบมีชั้นถานหินเกิดรวมอยูดวย และสวนมากจะมีการเกิดเปนชั้นแทรกสลับกับชั้นดินขาวเนื้อหยาบและชั้นทราย

ดินดําถูกนํามาใชประโยชนเปนวัตถุดิบที่สําคัญในอุตสาหกรรมเซรามิก โดยใชผสมกับดินขาวเพื่อเพ่ิมความเหนียวสําหรับการขึ้นรูปกอนเผาในการทําผลิตภัณฑที่ตองการความขาว เชน เครื่องสุขภัณฑ ถวยชาม ผลิตภัณฑกระเบื้องปูพ้ืนและผนัง ผลิตภัณฑสโตนแวร ผลิตภัณฑพอรซเลน และผลิตภัณฑวัสดุทนไฟ

แหลงดินบอลเคลยในจังหวดัพะเยามีเพียงแหลงเดียว โดยพบอยูในเขตบานแมจวา ตําบลแมสก อําเภอแมใจ (รูปที่ 4-15) บริเวณดังกลาวยังไมมีรายงานการผลิตแรแตจัดเปนพ้ืนที่แหลงแร ครอบคลุมเน้ือทีป่ระมาณ 2.21 ตารางกิโลเมตร

รูปที่ 4-13 อุโมงคผลิตแรแมงกานีส บริเวณดานตะวันตกของบานหมอแกงทอง ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา (มองไปทางทิศใต)

รูปที่ 4-14 ลักษณะแรแมงกานีสชนิดไพโรลูไซต (สีดําถึงนํ้าตาลเหลือง) ที่เกิดแบบสายและแบบแทนที่ในหินตะกอน บริเวณแหลงแรแมงกานีส ดานตะวันตกของบานหมอแกงทอง ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

รูปที่ 4-15 แหลงแรบอลเคลย บานแมจวา ตําบลแมสุก อําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา

บทที่ 5

แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา

5.1 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาของจังหวัดพะเยามี 28 แหลง ( รูปที่ 5-1)

ประกอบดวย แหลงซากดึกดําบรรพ 2 แหลง (ตารางที่ 5-1) และแหลงธรณีสัณฐาน 26 แหลง (ตารางที่ 5-2) สวนใหญไดรับการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวพักผอนหยอนใจของคนในทองถิ่นและพ้ืนที่ใกลเคียง บางแหงยังเปนหองเรียนธรรมชาติในการเรียนรูทางธรรมชาติตางๆ เชน ระบบนิเวศวิทยา ปาไม พืชพันธุและสัตว เปนตน

ตารางที่ 5-1 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาประเภทแหลงซากดึกดําบรรพ

ชื่อแหลง ท่ีต้ัง ประเภท

1. วนอุทยานไดโนเสาร แกงหลวง*

บานหนองกลาง หมู 7 ตําบลบานมาง อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

แหลงซากดึกดําบรรพ

2. เหมืองถานหินเชียงมวน ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา แหลงซากดึกดําบรรพ

ตารางที่ 5-2 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาประเภทธรณีสัณฐาน

ชื่อแหลง ท่ีต้ัง ประเภท

1. กวานพะเยา* อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา บึง หนอง และทะเลสาบ

2. หนองเล็งทราย บานสันขวาง หมู 3 ตําบลศรีถอย อําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา บึง หนอง และทะเลสาบ

3. ฝงตา* บานไชยสถาน หมู 4 ตําบลเชียงมวน อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

สัณฐานจากการกัดกรอน

4. แกงหลวง บานหนองกลาง หมู 7 ตําบลบานมาง อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

แกง

5. หาดน้ําดัง บานจั๊วะ หมู 10 ตําบลปง อําเภอปง จังหวัดพะเยา หาดหิน

6. ถํ้าใหญผาตั้ง** บานผาตั้ง หมู 6 ตําบลขุนควร อําเภอปง จังหวัดพะเยา ถํ้า

7. ถํ้าผาแดง-ถํ้าน้ําลอด บานปางถ้ํา หมู 9 ตําบลรมเย็น อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ถํ้า

8. ถํ้าน้ําดั้น บานแมวขาว ตําบลรมเย็น อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ถํ้า

-36-

ตารางที่ 5-2 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาประเภทธรณีสัณฐาน (ตอ)

ชื่อแหลง ท่ีต้ัง ประเภท

9. ถํ้าประกายเพชร บานปางปูเลาะ หมู 13 ตําบลศรีถอย อําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา ถํ้า

10. ถํ้าหลวง (ถํ้าหัวหมี) บานแมตํ๋า หมู 18 ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา ถํ้า

11. น้ําตกจําปาทอง* บานต๊ํากลาง หมู 8 ตําบลบานต๊ํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

12. น้ําตกแมเหย่ียน บานทากลอง หมู 1 ตําบลบานใหม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

13. น้ําตกขุนตอม บานแมตอมใน หมู 7 ตําบลสันปามวง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

14. น้ําตกขุนต๊ํา บานต๊ําใน หมู 8 ตําบลบานต๊ํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

15. น้ําตกผาเกล็ดนาค บานตอม ตําบลบานตอม อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

16. น้ําตกหวยทรายแดง บานหมอแกงทอง หมู 1 ตําบลแมกา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา น้ําตก

17. น้ําตกน้ํามิน บานน้ํามิน หมู 13 ตําบลแมลาว อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา น้ําตก

18. น้ําตกภูซางและบอซับน้ําอุน* บานหนองเลา หมู 8 ตําบลภูซาง กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา น้ําตก

19. น้ําตกหวยโปงผา บานฮวก ตําบลภูซาง กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา น้ําตก

20. น้ําตกธารสวรรค** บานบอเบ้ีย หมู 6 ตําบลบานมาง อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา น้ําตก

21. น้ําตกหวยตนผึ้ง** บานสระ หมู 10 ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา น้ําตก

22. น้ําตกนาบัว บานนาบัว หมู 9 ตําบลสระ อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา น้ําตก

23. น้ําตกตาดปูเขง บานบอเบ้ีย หมู 6 ตําบลบานมาง อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา น้ําตก

24. น้ําตกวังพญานาค บานปางคา หมู 1 ตําบลผาชางนอย อําเภอปง จังหวัดพะเยา น้ําตก

25. น้ําตกภูลังกา บานปางคา หมู 1 ตําบลผาชางนอย อําเภอปง จังหวัดพะเยา น้ําตก

26. น้ําตกคะแนง บานคะแนง ตําบลแมลาว อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา น้ําตก

หมายเหตุ * แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี 7 พฤศจิกายน 2532 ** แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาที่มีความเปนเอกลักษณ มีความสําคัญทางธรณีวิทยาทั้งในดานความโดดเดนและศักยภาพในการเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยาและธรรมชาติดานอื่นๆ

-37-

แหลงธรรมชาติที่ไดรับการประกาศใหเปนมรดกทางธรรมชาติของทองถิ่นอันควรอนุรักษในปแหงการพิทักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 7 พฤศจิกายน 2532 ในพ้ืนที่จังหวัดพะเยามี 4 แหลง (กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2543) ดังน้ี

ตารางที่ 5-3 แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษของภาคเหนือในเขตจังหวัดพะเยา

ชื่อแหลง ท่ีต้ัง หนวยงาน

1. กวานพะเยา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา จังหวัด

2. น้ําตกจําปาทอง บานต๊ํากลาง หมู 8 ตําบลบานต๊ํา อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

อุทยานแหงชาติดอยหลวง

3. น้ําตกภูซาง บานหนองเลา หมู 8 ตําบลภูซาง กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

อุทยานแหงชาติภูซาง

4. ฝงตา บานไชยสถาน หมู 4 ตําบลเชียงมวน อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

แหลงธรรมชาติซ่ึงไดรับการประกาศเปนแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษดังกลาวจะไดรับการติดตามตรวจสอบสภาพแวดลอมและสถานการณปจจุบันเพ่ือปรับปรุงขอมูลแหลงธรรมชาติใหทันสมัย สําหรับเปนขอมูลเผยแพร ประชาสัมพันธ การวางแผนและการดําเนินงานดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ ทั้งน้ีเพ่ือใหประชาชนไดมีความรูความเขาใจและตระหนักถึงคุณคาความสําคัญของแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ

5.2 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาที่เปนเอกลักษณและโดดเดน แมแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาบางสวนจะไดรับความคุมครองจากประกาศเปน

แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษขางตน รวมทั้งอยูในเขตรับผิดชอบของหนวยงานที่เกี่ยวของอยางชัดเจน แตการพัฒนาใชประโยชนซ่ึงเนนหนักไปดานการเปนแหลงทองเที่ยวนันทนาการ ประกอบกับการมีระบบการบริหารจัดการที่ไมเหมาะสมเพียงพอ จนสงผลใหแหลงธรรมชาติซ่ึงมีคุณคาทางวิชาการธรณีวิทยาหลายแหลงถูกละเลยจนเสื่อมโทรม และอาจจะสูญสิ้นสภาพตามธรรมชาติไปในที่สุด

แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาอันควรอนุรักษที่มีความโดดเดนทางธรณีวิทยาสูงของจังหวัดพะเยา ไดแก วนอุทยานไดโนเสารแกงหลวง กวานพะเยา ฝงตา ถ้ําใหญผาตั้ง นํ้าตกจําปาทอง นํ้าตกภูซาง และน้ําตกหวยตนผึ้ง ซ่ึงแตละแหลงมีลักษณะเดนทางธรณีวิทยา ดังน้ี

-38-

รูปที่ 5-1 แผนที่แหลงธรรมชาติทางธรณวีิทยาจังหวัดพะเยา

-39-

(ตอ)

-40-

วนอุทยานไดโนเสารแกงหลวง เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทแหลงซากดึกดําบรรพที่มีความโดดเดนและมี

ศักยภาพในการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวและเรียนรูทางซากดึกดําบรรพที่สําคัญของจังหวัดพะเยา

รูปที่ 5-2 บริเวณหลุมขุดคนซากกระดูกไดโนเสารในวนอุทยานไดโนเสารแกงหลวง ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนเนินเขาหินทรายแปงสีแดงทางดานตะวันออกของ

เทือกเขาดอยแกงหลวง-ดอยก่ิวแกม กระดูกไดโนเสารที่พบมีทั้งสภาพสมบูรณและแตกหักกลายสภาพเปนหินฝงตัวในหินทรายแปงสีแดง (รูปที่ 5-2) ประกอบดวยกระดูกสวนหาง กระดูกซี่โครง กระดูกสะโพกและกระดูกขาของไดโนเสารกินพืชพันธุซอโรพอด (Sauropod)1 ขนาดใหญ คอยาว หางยาว เดินสี่ขา ขนาดไดโนเสารยาวประมาณ 15 เมตร

การพัฒนาใชประโยชน: เปนแหลงทองเที่ยวและเรียนรูทางซากดึกดําบรรพ โดยบริเวณที่พบไดโนเสารถูกพัฒนาเปนหลุมขุดคนขนาดความกวาง 5 เมตร ยาว 8 เมตร ลึก 1.5 เมตร คลุมดวยเพิงอาคารไมชั่วคราว

องคกรรับผิดชอบ: อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

รูปที่ 5-3 ทัศนียภาพบริเวณกวานพะเยา 1 พบเปนชิ้นสวนฟน มีลักษณะคลายคลึงกับชางที่พบสวนใหญในแองตะกอนเทอรเชียรีภาคเหนือ ฟนมีขนาดเล็ก ประกอบดวยแถวฟนประมาณ 5 แถว มีปุมฟนขนาดเล็กอยูระหวางแถวฟนและเช่ือมแถวฟน แตละแถวฟนมีปุมฟนขนาดใหญราว 4 ปุม

-41-

กวานพะเยา

เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (บึง หนอง และทะเลสาบ) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนที่ราบกนกระทะเกิดจากการทรุดตัวตามแนวเลื่อน

ในบริเวณแนวแมนํ้าอิงรับนํ้าจากลําน้ําตางๆ ของเทือกเขาผีปนน้ําทางทิศตะวันตกของจังหวัดพะเยา เปนแหลงนํ้าจืดขนาดใหญที่สุดในภาคเหนือตอนบน (รูปที่ 5-3)

การพัฒนาใชประโยชน : เปนแหลงที่ตั้ งถิ่นฐานของชุมชน แหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรและโบราณคดี สถานที่พักผอนหยอนใจ เปนที่ตั้งของพิพิธภัณฑสัตวนํ้าจืดอยูในศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดจังหวัดพะเยาและที่สําคัญเปนสัญลักษณของจังหวัดดังไดกลาวไวในคําขวัญของจังหวัด นอกจากนั้นเทศบาลเมืองพะเยาไดปรับปรุงเรือนรับรองในสวนสาธารณะใหเปนอุทยานการเรียนรูสําหรับเยาวชนและประชาชนทั่วไป ประกอบดวย หองสมุดมีชีวิต ลานสานฝนและลานวัฒนธรรม หองฉายภาพยนต และ PK/OTOP

องคกรรับผิดชอบ: เทศบาลเมืองพะเยา องคการบริหารสวนตําบลซึ่งมีพ้ืนที่ติดกับกวานพะเยา และศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดพะเยา

ฝงตา เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (สัณฐานที่เกิดจากการกัดกรอน) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนลักษณะของการกัดเซาะพังทะลายของดินโดยน้ําฝน

ทําใหชั้นตะกอนซึ่งยังไมจับตัวกันแนนแข็งเปนหิน ถูกชะลางพัดพาออกไปจนมีสภาพแวดลอมเปนสัณฐานที่เกิดจากการกัดกรอน มีร้ิวและรองที่เกิดจากการกัดกรอนมากมาย (รูปที่ 5-4)

การพัฒนาใชประโยชน: เปนแหลงทองเที่ยวพักผอนชมทิวทัศน และมีโครงการ ปรับปรุงภูมิทัศนฝงตาในปงบประมาณ 2550 โดยเทศบาลตําบลเชียงมวน

องคกรรับผิดชอบ: เทศบาลตําบลเชียงมวน อําเภอเชียงมวน จังหวัดพะเยา

รูปที ่5-4 ฝงตา

-42-

ถ้ําใหญผาตั้ง เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (ถ้ํา) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนถ้ําหินปูนที่มีความสวยงามของลักษณะหินงอก

หินยอย ซ่ึงหลายบริเวณกระบวนการเกิดหินงอกหินยอยยังดําเนินอยู พ้ืนถ้ํามีธารน้ําไหลตลอดป (รูปที่ 5-5) นอกจากนี้ในเทือกเขาหินปูนดอยหวยกุดยังพบถ้ําอีก 6 แหง

การพัฒนาใชประโยชน: เปนแหลงทองเที่ยว การเขาถึงสะดวกโดยเสนทางเปน

ถนนลาดยาง ถนนลูกรัง และทางเดินเทาขึ้นสูปากถ้ํา มีเจาหนาที่นําเขาเยี่ยมชมภายในถ้ํา มีการบริการสิ่งอํานวยความสะดวก เชน แบตเตอรี่พรอมไฟสองสวาง หองน้ํา ถังขยะ ที่จอดรถ และรานขายอาหารซึ่งจะเปดใหบริการเฉพาะชวงเทศกาลที่มีปริมาณผูเขาเยี่ยมชมมากเทานั้น การทองเที่ยวเปนฤดูกาล (ตุลาคม-เมษายน)

องคกรรับผิดชอบ: หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติดอยภูนางที่ 1 (ผาตั้ง) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

รูปที ่5-5 โครงสรางหินงอกหินยอยภายในถ้ําใหญผาตั้ง

-43-

น้ําตกจําปาทอง

เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (นํ้าตก) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: นํ้าตกในหินทรายมีทั้งหมด 9 ชั้น ความสูงรวม

ประมาณ 40 เมตร โดยตนน้ําไหลจากตาน้ําบนดอยขุนแมต๋ําลงมาตามหวยน้ําตกตัดผาน ชั้นหินทรายสีนํ้าตาลแดงขนาดใหญเกิดเปนนํ้าตกไลระดับตอเน่ืองกัน (รูปที่ 5-6)

การพัฒนาใชประโยชน: เปนแหลงทองเที่ยวนันทนาการ การเขาถึงสะดวก ดวยถนนลาดยางถึงบริเวณที่ทําการหนวยพิทักษอุทยานฯ ซ่ึงมีการจัดสภาพภูมิทัศนไดกลมกลืน กับสภาพแวดลอม การบริการสิ่งอํานวยความสะดวก เชน จุดนั่งพัก ถังขยะ ลานจอดรถ ลานกางเต็นท และหองน้ํา การทองเที่ยวเปนฤดูกาล (ตุลาคม-เมษายน) ปริมาณนักทองเที่ยวมากเฉพาะชวง 5 วัน ของเทศกาลปใหม และสงกรานต ซ่ึงเปนวันหยุดยาว นอกจากนั้นมีการตอระบบประปามายังบริเวณที่ทําการหนวยพิทักษอุทยานฯ

องคกรรับผิดชอบ: หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติดอยหลวงที่ 6 (จําปาทอง) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช

รูปที่ 5-6 น้ําตกจําปาทองไหลตัดผาน ชั้นหินทรายสีน้ําตาลแดง

รูปที่ 5-7 น้ําตกภูซาง น้ําตกภูซาง

เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (นํ้าตก) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนน้ําตกหินปูนขนาดเล็ก (รูปที่ 5-7) เกิดจากหวย

สาขาของหวยน้ําฮวก ไหลผานบอพุนํ้ารอน หรือ “บอซับนํ้าอุน” ทําใหนํ้าในลําหวยมีอุณหภูมิสูงขึ้นกวาน้ําตกปกติ (30-32 องศาเซลเซียส) คือ ประมาณ 35 องศาเซลเซียส จนไดชื่อวา “นํ้าตกน้ําอุน” นอกจากนั้นสภาพโดยรอบบอซับนํ้าอุนยังเปนปาพรุนํ้าจืด

-44-

การพัฒนาใชประโยชน: นํ้าตกอุนแหงเดียวในประเทศไทย ไดรับการพัฒนาเปน

แหลงทองเที่ยวนันทนาการ ศึกษาธรรมชาติ การเขาถึงสะดวกดวยถนนลาดยางถึงบริเวณที่ทําการอุทยานฯ ซ่ึงมีการจัดสภาพภูมิทัศนไดกลมกลืนกับสภาพแวดลอม การบริการสิ่งอํานวยความสะดวก เชน ศูนยบริการนักทองเที่ยว รานคาสวัสดิการ รานขายอาหาร จุดนั่งพัก ลานจอดรถ ลานกลางเต็นท ถังขยะ หองนํ้า บานพัก ทางเดินสูบริเวณบอซับนํ้าอุนและเสนทางศึกษาธรรมชาติ มีการใชประโยชนตลอดป แตมีนักทองเที่ยวหนาแนนในชวงวันหยุดเทศกาลปใหม และสงกรานต

องคกรรับผิดชอบ: อุทยานแหงชาติภูซาง กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช

น้ําตกหวยตนผ้ึง เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีประเภทธรณีสัณฐาน (นํ้าตก) ลักษณะเดนทางธรณีวิทยา: เปนน้ําตกหินปูนขนาดเล็ก 3 ชั้น ไหลตกจากหนาผา

ตางระดับลดหลั่นกัน สูงประมาณ 80 เมตร มีโครงสรางของชั้นหินน้ําตกซึ่งเกิดจากการพอกของ ชั้นทูฟา สวยงาม มีนํ้าไหลตลอดป (รูปที่ 5-8)

การพัฒนาใชประโยชน: เปนแหลงทองเที่ยวนันทนาการ ศึกษาธรรมชาติ การเขาถึงสะดวกดวยถนนลาดยางถึงบริเวณปายแผนผังเสนทางศึกษาธรรมชาติ และทางเดินเทาประมาณ 1 กิโลเมตรสูชั้นนํ้าตก การบริการสิ่งอํานวยความสะดวก เชน จุดนั่งพัก ถังขยะ นอกจากนั้นมีการจัดทําปายในความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศปาไม จํานวน 10 จุด มีใชประโยชนตลอดป แตมีนักทองเที่ยวหนาแนนในชวงวันหยุดเทศกาลปใหม และสงกรานต

องคกรรับผิดชอบ: อุทยานแหงชาติดอยภูนาง กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช

รูปที่ 5-8 โครงสรางที่เกิดจากการพอกของทูฟาในบริเวณน้ําตกหวยตนผึ้ง

-45-

5.3 สภาพปญหาที่เกี่ยวของกับการบรหิารจัดการใชประโยชนแหลงธรรมชาต ิทางธรณีวิทยา

แมการพัฒนาใชประโยชนแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาในจังหวัดพะเยาจะมีหนวยงานดูแลรับผิดชอบ แตหลายแหลงระบบการจัดการยังไมดีเพียงพอ ตลอดจนขาดฐานความรูทางวิชาการที่เหมาะสม จนทําใหแหลงธรรมชาติเหลานั้นเสื่อมโทรมและอาจสูญสิ้นสภาพในที่สุด

สาเหตุและสภาพปญหาของแหลงธรณีสัณฐาน แหลงธรณีสณัฐานมักเกิดปญหาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ ปญหาจากธรรมชาต ิ

และจากมนุษย

(1) ปญหาการถูกทําลายจากธรรมชาติ เน่ืองจากแหลงธรณีสัณฐานมีโครงสราง องคประกอบและกําเนดิแตกตางกนั การสึกกรอนผุพังตามธรรมชาตหิรือจากตวักระทําตามธรรมชาติ ไดแก นํ้าและลม จึงแตกตางกัน เชน “ฝงตา” ในเขตอําเภอเชียงมวน นอกจากนั้นปญหาที่เกดิจากธรรมชาติอีกกรณี คือ การตื้นเขนิของกวานพะเยา เน่ืองจากการตกจมของตะกอน และการเจริญของพืชนํ้า

(2) ปญหาการถูกทําลายจากมนุษย เน่ืองจากกิจกรรมของมนุษย ไดแก

ปญหาจากการทองเที่ยว เพราะนอกจากทําใหมีผูมาเยี่ยมชมสถาน ที่มากขึ้นแลว ยังทําใหเกิดการกอสรางเพื่อปรับแตงพ้ืนที่ และบริการตางๆ ตามมา เชน การสรางถนน ลานจอดรถ รานคา รานอาหาร ศาลาพัก ฯลฯ ซ่ึงการกอสรางอาจสงผลกระทบตอภูมิทัศนและสุนทรียภาพของธรณีสัณฐาน ทําใหเกิดมลภาวะทางสายตา หากมีการกอสรางและการบริการตางๆ เกิดขึ้นโดยไมมีการควบคุมหรือจัดการใหเปนไปอยางเหมาะสม

ปญหาจากความมักงายของนักทองเที่ยว เชน การขูด ขีด แกะ หัก ดึง ฯลฯ เพราะนักทองเที่ยวบางกลุมนิยมขีดเขียนขอความหรือชื่อตนเองไวบนหินหรือธรณีสัณฐาน หรือเก็บชิ้นสวนไปเปนของที่ระลึก หรือแกะ หัก ดวยความสงสัยและอยากรูอยากเห็น แตก็ทําใหเกิดรองรอยและธรณสีัณฐานเสื่อมโทรมลง

ปญหาจากขอจํากัดขององคกรหรือหนวยงานที่มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบ เชน การขาดความรูดานการอนุรักษแหลงธรณีสัณฐาน การไมเห็นคุณคาของแหลงธรณีสัณฐาน การไมกําหนดเขตเพื่อการอนุรักษธรรมชาต ิ การขาดการบังคับใชกฎระเบียบ การขาดงบประมาณและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงอาจทําใหแหลงธรณีสัณฐานประสบปญหาเดียวกับแหลงทองเที่ยว อีกมากมาย เชน ปญหาขยะ เปนตน

ปญหาการบุกรุกทําลายพื้นที่แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาและพื้นที่โดยรอบ เชน การรุกล้ําถมดินลงไปในกวานพะเยา การตัดไมทําลายพื้นที่ตนน้ําตก การบุกรุกแผวถางพื้นที่เพ่ือเกษตรกรรม ฯลฯ

-46-

เน่ืองจากถ้ําและน้ําตกเปนแหลงธรณีสัณฐานที่พบกระจายตัวอยูมากที่สุดในจังหวัดพะเยา และมีการพัฒนาใชประโยชนที่แตกตางกัน ทั้งการเปนแหลงทองเที่ยว แหลงคนควาทางโบราณคดี และพุทธสถาน จนสงผลใหเกิดปญหากระทบตอแหลงธรณีสัณฐาน ซ่ึงสามารถสรุปได ดังนี้

สาเหตุและสภาพปญหาของแหลงธรณีสัณฐานประเภทแหลงถ้ํา (1) การดัดแปลงสรางสิ่งกอสรางหรือถาวรวตัถุ ทั้งภายในและภายนอกถ้ําที่ไม

กลมกลืนหรือขัดแยงกับธรรมชาติ เชน การปูพ้ืนกระเบื้องภายในถ้ํา มีการติดตั้งแสงสวางที่ไมเหมาะสม เปนตน

(2) การดูแลรักษาความสะอาดไมเหมาะสมเพียงพอ ทําใหมีขยะสะสมกระจาย ทั่วไปทั้งภายในและภายนอกถ้ํา หรือปลอยใหสิ่งกอสรางทรุดโทรมสกปรกไมนาดู

(3) การเปลี่ยนแปลงหรือทําลายธรรมชาตทิี่เกดิจากนักทองเที่ยว เชน การขีดเขยีนผนังถ้ํา การหักหินงอกหินยอย

(4) การเปลี่ยนแปลงหรือทําลายธรรมชาตทิี่เกดิจากสาเหตุอ่ืนที่ไมใชจากนักทองเที่ยว เชน การกอสรางเสริมแตงทั้งภายในและภายนอกถ้ํา อาจเปนสาเหตุใหหินงอกหินยอยหรือผนังถ้ําเกิดการเปลี่ยนสภาพเปนดําคล้ํา

(5) ความปลอดภยัของนักทองเที่ยว เชน การเดินทางและการทองเที่ยวภายในถ้ําไมสะดวกหรอือันตราย ไมมีปายบอกหรือเตือนที่ชัดเจน ทําใหหลงทางหรือเกิดอุบัติเหตุ นอกจากนี้ยังมีอันตรายที่เกิดจากสัตวที่เปนอันตรายตอมนุษย หรือการถายเทอากาศภายในถ้ําไมดี

สาเหตุที่กอใหเกิดปญหาเหลานี้ มีปจจัยที่สําคัญที่เกีย่วของไดแก

(1) ถ้ําที่อยูในความดูแลของหนวยราชการที่เกี่ยวของกับการอนุรักษสวนใหญ มักมีการจัดการดูแลที่เหมาะสมกวาถ้ําที่อยูในความดูแลของสวนราชการหรือภาคเอกชนที่ยังขาดความรูความเขาใจที่ถูกตอง ไมมีนโยบายหรือแนวทางในการจัดการพัฒนาที่เหมาะสม ทําใหถ้ําหลายแหงทรุดโทรมเสียสภาพไป

(2) การขาดแคลนเจาหนาที่ บุคลากร และงบประมาณในการดูแลรักษา แมวาจะมีนโยบายและแผนการจัดการพัฒนาที่เหมาะสม

(3) การขาดความรูความเขาใจที่ดีเกี่ยวกับธรรมชาติของถ้ําและระบบนิเวศทีเ่กีย่วของ หรือความรูเทาไมถึงการณของนักทองเที่ยวและผูมีหนาที่ดูแลรับผิดชอบ เปนสาเหตุใหสภาพธรรมชาติถูกทําลายโดยไมตั้งใจ หรือไดรับการจัดการที่ไมเหมาะสม

(4) การขาดจิตสํานึกเกี่ยวกับการอนุรักษของนักทองเที่ยวและผูมีหนาที่ดูแล รับผิดชอบ

(5) การประชาสัมพันธใหความรูประชาชนเกี่ยวกับธรรมชาติ ความสําคัญของถ้ํา ความจําเปนในการอนุรักษ รวมถึงการปฏิบัติตนที่เหมาะสมของนักทองเที่ยว ยังไมเพียงพอ

-47-

(6) การศึกษาเกี่ยวกับถ้ําในเชิงวิชาการดานตางๆ ในประเทศไทยยังมีนอย ทําให

ขาดองคความรูที่จะนํามาชวยในการอนุรักษและการจัดการที่เหมาะสม โดยถ้ําสวนมากมักไดรับการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว ทั้งที่อาจมีศักยภาพในเรื่องอ่ืนที่สําคัญกวา เชน เปนแหลงศึกษาคนควาทางธรรมชาติ หรือโบราณคดี เปนตน

สาเหตุและสภาพปญหาของแหลงธรณีสัณฐานประเภทแหลงน้ําตก (1) การเปลี่ยนแปลงของแหลงเนื่องจากสาเหตุธรรมชาต ิ เชน สภาพชั้นหินที่ไมมี

ความแข็งแรงพอ หรืออัตราการกัดเซาะของน้ําสูง เปนตน (2) กิจกรรมการใชประโยชนของมนุษย เชน การพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว

ซ่ึงจําเปนตองอํานวยความสะดวกขั้นพ้ืนฐาน อาทิ หองนํ้า-หองสุขา จุดนั่งพัก และที่จอดรถ เปนตน รวมทั้งการขาดประสบการณและความพรอมในการจัดการของผูมีหนาที่ดูแลรับผดิชอบ สงผลกระทบตอแหลงธรรมชาติ เชน การดูแลรักษาความสะอาดไมเหมาะสมเพียงพอ ทําใหมีขยะสะสมกระจายทั่วไป หรือปลอยใหสิ่งกอสรางทรุดโทรมสกปรกไมนาดู

(3) ขาดการมีสวนรวมของประชาชนผูอยูใกลชิดกับแหลงธรรมชาติหรือทรัพยากร ธรรมชาติ การใชประโยชนโดยขาดสํานึกความเปนเจาของ รวมทั้งพ้ืนที่ตนนํ้าที่มีขนาดกวางขวางอาศัยเพียงกําลังเจาหนาที่รัฐจึงไมพอที่จะดูแลรักษาได จึงไมอาจนําไปสูการเฝาระวังที่มีประสิทธิภาพได

จากปญหาที่ไดกลาวมา หากกระบวนการพัฒนาใชประโยชนยังเกิดขึ้นภายในสภาวะการณดังที่ผานมา จึงมีความเปนไปไดอยางยิ่งที่แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาซึ่งเปนมรดกของคนไทยจะเสื่อมโทรมและสูญสิ้นไปในที่สุด

บทที่ 6 การจาํแนกเขตและแนวทางการบรหิารจัดการ

ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี

ดังที่ไดกลาวมาแลวในบทกอนวา ทรัพยากรธรณีของจังหวัดมีทั้งทรัพยากรแรและแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา ซ่ึงมีอยูเปนจํานวนมากและมีการนํามาใชประโยชนอยางมากมายตามการเจริญเติบโตขยายตัวและการพัฒนาทางเศรษฐกิจของจังหวัด ทําใหทรัพยากรธรณีที่มีอยูเสื่อมโทรมและรอยหรอลง อีกทั้งยังกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและวิถีชีวิตของชุมชน ดังน้ันจึงเปนที่จะตองจําแนกเขตทรัพยากรธรณี โดยคํานึงถึงฐานทรัพยากรธรณีทั้งหมดที่มีอยูซ่ึงถือวาเปน “ตนทุน” ทรัพยากร แลวนํามาพิจารณาจําแนกและจัดสรรวา สวนไหนของทรัพยากรธรณีที่ควรสงวนเก็บรักษาไว โดยเฉพาะทรัพยากรธรณีที่ปรากฎในบริเวณที่มีความสัมพันธใกลชิดกับทรัพยากรธรรมชาติชนิดอ่ืน ซ่ึงหากนํามาใชประโยชนอาจสงผลกระทบตอสภาพสิ่งแวดลอมได สวนไหนควรอนุรักษไวเพ่ือเปนทุนสํารองของประเทศ โดยจะนํามาใชเม่ือยามจําเปนหรือใหชนรุนหลังมีไวใช และสวนไหนที่ควรอนุญาตใหมีการใชประโยชนทั้งในปจจุบันและในอนาคตอันใกล ตามความจําเปนและพอเพียงตอการการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดและประเทศ ซ่ึงในที่น้ีจะแยกพิจารณาเปน 2 สวน คือ ทรัพยากรแร กับ แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา

6.1 ทรัพยากรแร หลักเกณฑการจําแนกเขต ในการจําแนกเขตทรัพยากรแรไดใชขอจํากัดหรือขอหวงหามตามกฎหมายที่ เกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ดินปาไมในพ้ืนที่ปาสงวนแหงชาติและมติคณะรัฐมนตรีเปนหลักในการจําแนก ซ่ึงสามารถจําแนกพื้นที่แหลงแรออกเปน 3 เขต คือ เขตสงวนทรัพยากรแร เขตอนุรักษทรัพยากรแร และเขตพัฒนาทรัพยากรแร โดยที่

“เขตสงวนทรัพยากรแร” หมายถึง เขตที่ควรสงวนรักษาทรัพยากรแรไว ซ่ึงเปนพ้ืนที่ที่อยูภายใตขอจํากัดของกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบตางๆ ที่ไมเอ้ืออํานวย ใหนําทรัพยากรแรขึ้นมาพัฒนาใชประโยชน

“เขตอนุรักษทรัพยากรแร” หมายถึง เขตที่ควรมีทั้งการเก็บรักษาทรัพยากรแรไวและสํารองทรัพยากรแรไวใชในอนาคตหรือสําหรับชนรุนหลัง ซ่ึงเปนพ้ืนที่ที่อยูภายใตขอจํากัดของกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และกฎระเบียบตางๆ ที่เปดโอกาสใหนําทรัพยากรแรขึ้นมาพัฒนา ใชประโยชนไดภายใตเง่ือนไขที่กําหนด

-50-

“เขตพัฒนาทรัพยากรแร” หมายถึง เขตที่เหมาะสมตอการนําทรัพยากรแรขึ้นมา

พัฒนาใชประโยชน ซ่ึงเปนพ้ืนที่นอกเขตเขตสงวนทรัพยากรแรและเขตอนุรักษทรัพยากรแร และเปนพ้ืนที่ที่ทางราชการอนุญาตใหเขาทําประโยชนจากแรได

ผลการจําแนกเขต จังหวัดพะเยามีทรัพยากรแรอยูทั้งหมด 7 ชนิด กําหนดเปนพ้ืนที่แหลงแรจํานวน 140 แหง เน้ือที่รวม 214.9 ตารางกิโลเมตร หรือ 134,312.5 ไร คิดเปนรอยละ 3.4 ของเนื้อที่จังหวัด ซ่ึงพ้ืนที่แหลงแรดังกลาวบางสวนอยูในเขตสงวนหวงหามตามกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี และ กฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการใชประโยชนที่ดิน สามารถจําแนกเปนเขตสงวนทรัพยากรแร เน้ือที่ 108.69 ตารางกิโลเมตร หรือ 67,931.25 ไร คิดเปนรอยละ 1.7 ของเนื้อที่จังหวัด เขตอนุรักษทรัพยากรแร เน้ือที่ 86.49 ตารางกิโลเมตร หรือ 54,056.25 ไร คิดเปนรอยละ 1.36 ของเนื้อที่จังหวัด และเขตพัฒนาทรัพยากรแร เน้ือที่ 19.72 ตารางกิโลเมตร หรือ 12,325 ไร คิดเปนรอยละ 0.3 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีรายละเอียดตามกลุมแรตางๆ ดังตารางที่ 6-1 (ดูแผนที่ 6-1 ประกอบ) ตารางที่ 6-1 ผลการจําแนกเขตทรัพยากรแรของจังหวัดพะเยา

กลุมแร/ชนิดแร เขตสงวนทรัพยากรแร เขตอนุรักษทรพัยากรแร เขตพัฒนาทรพัยากรแร จํานวนเขต

(แหง) เน้ือที่

(ตร.กม.) จํานวนเขต

(แหง) เน้ือที่

(ตร.กม.) จํานวนเขต

(แหง) เน้ือที่

(ตร.กม.) กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ

หินปูน ทราย

63 -

96.17 -

42 -

63.22 -

7 -

12.22 -

กลุมแรพลังงาน ถานหิน

-

-

1

8.47

1

1.62

กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

แมงกานีส แบไรต บอลเคลย

หินแอนดีไซต

12 1 2 -

11.46 0.13 0.93

-

7 - 1 -

14.65 -

0.15 -

1 1 1 -

2.75 2

1.13 -

รวม 78 108.69 51 86.49 11 19.72

-51-

รูปที่ 6-1

-52-

การจัดลําดับความสําคัญของเขตพัฒนาทรัพยากรแร

แนวคิดในการจัดลําดับความสําคัญ เขตพัฒนาทรัพยากรแรที่ไดจากการจําแนกจะถูกนํามาวิเคราะหเพ่ือจัดลําดับความสําคัญ โดยการวิเคราะหทางเลือกจากปจจัยที่เปนคุณลักษณะจําเพาะดานตางๆ ของเขตพัฒนาทรัพยากรแร ในที่น้ีกําหนดใชคุณลักษณหลัก 3 ดาน ซ่ึงมี 8 คุณลักษณะยอย ดังน้ี คุณลักษณดานศักยภาพของเขตพัฒนาทรัพยากรแร มี 2 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) ความยากงายในการพัฒนาเปนแหลงแร (2) สถานภาพการใชประโยชนแหลงแรในเขตพัฒนาทรัพยากรแร สวนมูลคาแหลงแรซ่ึงถือวาเปนคุณลักษณยอยอันหน่ึงน้ัน ไมไดนํามาวิเคราะหดวย เน่ืองจากตองคํานวณจากปริมาณแรสํารองกับราคาแรซ่ึงเปนคาที่ไมแนนอนแปรปรวนตลอดเวลา หากนํามาวิเคราะหดวยแลวอาจทําใหเกิดความเบี่ยงเบนขึ้นได คุณลักษณดานมูลคาทางเศรษฐกิจของเขตพัฒนาทรัพยากรแร มี 3 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) ตนทุนการขนสง ซ่ึงเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการขนสงสินแรจากแหลงผลิตไปยัง ผูใช (2) ความสามารถในการสนับสนุนความตองการใชภายในจังหวัดของสินแร และ (3) การสรางรายไดใหแกชุมชนทองถิ่นในบริเวณโดยรอบเขตพัฒนาทรัพยากรแร คุณลักษณดานสิ่งแวดลอมโดยรอบเขตพัฒนาทรัพยากรแร ถาหากมีการพัฒนาเปนเหมืองแร มี 3 คุณลักษณะยอย ไดแก (1) มลภาวะที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงน้ําในเขตหรือโดยรอบ เขตพัฒนาทรัพยากรแร (2) มลภาวะดานฝุนละอองและเสียงที่อาจกระทบตอชุมชน (3) ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษ ผลที่ไดจากการวิเคราะหทางเลือก จะสามารถจําแนกเขตพัฒนาทรัพยากรแร ออกเปน 4 กลุม คือ (1) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงมาก (2) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูง (3) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลาง และ (4) กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ํา

ผลการวิเคราะหทางเลือกเพื่อจัดลําดับความสําคัญในการพัฒนา เขตพัฒนาทรัพยากรแรของกลุมแรแตละกลุมในจังหวัดพะเยา เม่ือนําไปวิเคราะหทางเลือกตามแนวคิดดังกลาวขางตนแลว สามารถจัดลําดับความสําคัญเรียงจากศักยภาพ ในการพัฒนาสูงมาก ไปยังศักยภาพในการพัฒนาต่ํา ดังตารางที่ 6-2 (ดูแผนที่ 6-2 ประกอบ)

-53-

ตารางที่ 6-2 ผลการวิเคราะหทางเลือกเพ่ือจัดลําดับความสําคัญของเขตพัฒนาทรัพยากรแร จังหวัดพะเยา

กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ

ชนิดแร : หินปูน มีศักยภาพในการพัฒนา

สูงมาก มีศักยภาพในการพัฒนา

สูง มีศักยภาพในการพัฒนา

ปานกลาง มีศักยภาพในการพัฒนา

ตํ่า 1. แหลงดอยโตน ต.จําปาหวาย อ.เมือง

1. แหลงอางเก็บนํ้าหวยชอ ต.ขุนควร อ.ปง

2. แหลงอางเก็บนํ้าแมนาเรือ ต.แมกา อ.เมือง

3. แหลงดอยแมฮิ ต.ปง อ.ปง

1. แหลงอางเก็บนํ้าหวยแมผง ต.บานถ้ํา อ.ดอกคําใต

2. แหลงวัดพระธาตุจอมศิลป ต.บานถ้ํา อ.ดอกคําใต

3. แหลงหวยสัก ต.หนองหลม อ.ดอกคําใต

กลุมแรพลังงาน

ชนิดแร : ถานหิน มีศักยภาพในการพัฒนา

สูงมาก มีศักยภาพในการพัฒนา

สูง มีศักยภาพในการพัฒนา

ปานกลาง มีศักยภาพในการพัฒนา

ตํ่า

1. แหลงเชยีงมวนะ ต.สระ อ.เชียงมวน

กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

ชนิดแร : แมงกานีส มีศักยภาพในการพัฒนา

สูงมาก มีศักยภาพในการพัฒนา

สูง มีศักยภาพในการพัฒนา

ปานกลาง มีศักยภาพในการพัฒนา

ตํ่า 1. แหลงแมกา-ทาขาม

ต.แมกา อ.เมือง

ชนิดแร : แบไรต มีศักยภาพในการพัฒนา

สูงมาก มีศักยภาพในการพัฒนา

สูง มีศักยภาพในการพัฒนา

ปานกลาง มีศักยภาพในการพัฒนา

ตํ่า 1. แหลงบานหวยลาน

ต.หวยลาน อ.ดอกคําใต

ชนิดแร : บอลเคลย มีศักยภาพในการพัฒนา

สูงมาก มีศักยภาพในการพัฒนา

สูง มีศักยภาพในการพัฒนา

ปานกลาง มีศักยภาพในการพัฒนา

ตํ่า 1. แหลงอางเก็บนํ้าแมจวา

ต.แมสุก อ.แมใจ

-54-

รูปที่ 6-2

-55-

มาตรการและแนวทางบริหารจัดการ

กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงมากและสูง

เขตพัฒนาทรัพยากรแรที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงมากและสูง มีความพรอมเกือบทุกๆ ดาน ไมวาจะเปนดานศักยภาพของตัวแหลงแร ดานเศรษฐกิจ และดานสิ่งแวดลอม ควรมีแนวทางการบริหารจัดการ ดังนี้ (1) ควรสงเสริมใหมีการพัฒนาเปนอันดับแรกกอน ทั้งน้ีตองไมเกินความตองการใชภายในจังหวัด กลุมจังหวัด หรือระดับประเทศ เพ่ือไมใหเกิดความสิ้นเปลืองกับทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด (2) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงนํ้าที่อยูใกลเคียง โดยพ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรควรมีระยะหางจากแหลงนํ้าไมนอยกวา 50 เมตร ซ่ึงเปนขอบัญญัติตามกฎหมายวาดวยแร (3) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบทางดานฝุนละอองและเสียง เน่ืองจากเปนแหลงแรที่อยูใกลกับแหลงชุมชน โดยเขตที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงชุมชนไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (4) ในกรณีที่มีแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษอยูใกลเคียง พ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

แหลงถานหิน

1) แหลงเชียงมวน ต.สระ อ.เชียงมวน จ.พะเยา

กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลาง เน่ืองจากเขตพัฒนาทรัพยากรแรที่มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลางนี้ มีความพรอมเปนบางดานเทานั้น จึงควรมีแนวทางการจัดการ ดังน้ี

(1) ควรสงเสริมใหมีการพัฒนาเปนอันดับถัดมา หรือจะอนุญาตใหพัฒนาไปพรอมๆ กันกับเขตพัฒนาทรัพยากรแรที่มีศักยภาพในการพัฒนาสูงมากและสูงก็ได ทั้งน้ีขอใหพิจารณาตามเหตุผลความจําเปน โดยไมกอใหเกิดการผลิตมากเกินความตองการใช (2) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงนํ้าที่อยูใกลเคียง โดยพ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรควรมีระยะหางจากแหลงนํ้าไมนอยกวา 50 เมตร ซ่ึงเปนขอบัญญัติตามกฎหมายวาดวยแร แหลงแรที่ตองจัดการตามแนวทางนี้ ไดแก

-56-

แหลงหินปูน

1) แหลงหวยสัก ต.หนองหลม อ.ดอกคําใต จ.พะเยา 2) แหลงอางเก็บนํ้าแมผง ต.บานถ้ํา อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

แหลงแรบอลเคลย 1) แหลงบานแมจวา ต.แมสุก อ.แมใจ จ.พะเยา

แหลงแรแบไรต 1) แหลงบานหวยลาน ต.หวยลาน อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

(3) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบทางดานฝุนละอองและเสียง เน่ืองจากเปนแหลงแรที่อยูใกลกับแหลงชุมชน โดยเขตที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงชุมชนไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แหลงแรที่ควรจัดการตามแนวทางนี้ ไดแก

แหลงหินปูน 1) แหลงหวยสัก ต.หนองหลม อ.ดอกคําใต จ.พะเยา 2) แหลงวัดพระธาตุจอมศิลป ต.บานถ้ํา อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

แหลงแรแบไรต 1) แหลงบานหวยลาน ต.หวยลาน อ.ดอกคําใต จ.พะเยา

(4) ในกรณีที่มีแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษอยูใกลเคียง พ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลุมที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ํา

เขตพัฒนาทรัพยากรแรที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่ํา มีขอจํากัดในการพัฒนาใชประโยชนหลายประการ ไดแก เปนแหลงแรที่อยูหางไกลจากตัวเมืองมาก ทําใหมีตนทุนในการขนสงสูง เปนแหลงแรที่มีลักษณะทางธรณีวิทยาซับซอน ทําใหมีความยุงยากในการพัฒนาเปนเหมืองแร เพราะตองใชเทคโนโลยีสูง เปนแหลงแรที่อยูใกลกับแหลงนํ้าและชุมชน ซ่ึงอาจไดรับผลกระทบหากมีการพัฒนาเปนเหมืองแร ดังน้ันจึงควรมีแนวทางการจัดการดังน้ี

(1) ควรสงเสริมใหมีการพัฒนาเปนอันดับสุดทาย ภายหลังจากอนุญาตใหทําเหมืองในเขตพัฒนาทรัพยากรแรที่มีศักยภาพในการพัฒนาปานกลางถึงสูงมาก และนําแรขึ้นมาใชจนหมดแลว

-57-

(2) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับแหลงนํ้าที่อยูใกลเคียง เปนกรณีพิเศษ โดยพ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรควรมีระยะหางจากแหลงนํ้าไมนอยกวา 50 เมตร ซ่ึงเปนขอบัญญัติตามกฎหมายวาดวยแร (3) ควรระมัดระวังและกํากับดูแลผลกระทบทางดานฝุนละอองและเสียงเปนกรณีพิเศษ เน่ืองจากเปนแหลงแรที่อยูใกลกับแหลงชุมชน โดยเขตที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงชุมชนไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (4) ในกรณีที่มีแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษอยูใกลเคียง พ้ืนที่ที่จะอนุญาตใหพัฒนาใชประโยชนทําเหมืองแรไดควรมีระยะหางจากแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษไมนอยกวา 1 กิโลเมตร ตามแนวทางการจัดการดานสิ่งแวดลอมของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6.2 แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยานอกจากมีความสําคัญอยางยิ่งทางวิชาการ การเรียนรู

ทางธรณีวิทยาแลว สวนใหญยังมีความสําคัญเขาหลักเกณฑแหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2525 คือ

(1) ความเปนเอกลักษณหรือสญัลักษณของทองถิ่น (2) มีความสัมพันธเกี่ยวกับประวัตศิาสตรหรือนิทานพื้นบาน (3) มีประโยชนในการศึกษาคนควาทางดานวทิยาศาสตร ภูมิศาสตรหรือโบราณคดี (4) เปนโครงสรางธรรมชาตทิี่ดี หายากหรือเปนทัศนียภาพที่สวยงาม (5) เปนสถานทีศ่กัดิ์สิทธิ์หรือเปนที่เคารพบชูา ดวยเหตุที่แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาเปนผลจากกระบวนการกําเนิดที่ยาวนาน

หากถูกทําลายก็จะหมดสภาพไป ไมสามารถฟนฟูไดอีก จึงจําเปนที่จะตองมีการกําหนดกรอบ การอนุรักษมารวมพิจารณาในการบริหารจัดการใชประโยชนทรัพยากรประเภทนี้เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดเหมาะสมตามศักยภาพ ความสําคัญที่แทจริง ตลอดจนใหคงอยูสืบตอถึงคนรุนตอไป

แนวทางการอนุรักษแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา

แนวทางการจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2547) ไดเสนอกรอบในการอนุรักษใชประโยชนแหลงธรรมชาติไว เน่ืองจากแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาเปนแหลงธรรมชาติที่มีคุณลักษณะเฉพาะตัว การบริหารจัดการใชประโยชนควรดําเนินการอยางเปนขั้นตอนคือ (1) การประเมินคุณคา (2) การจัดลําดับความสําคัญ และ (3) กําหนดมาตรการและกลยุทธ และเพื่อใหการ

-58-

อนุรักษเปนไปอยางถูกตองสมประโยชน จึงจําเปนตองดําเนินการสํารวจศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับโครงสราง องคประกอบ กระบวนการตามธรรมชาติและแหลงที่ตั้งของแหลง เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานในการบริหารจัดการใชประโยชนใหสอดคลองกับศักยภาพและคุณคาที่แทจริงของแหลง ตลอดจนปองกันหรือลดความเสื่อมโทรมอันเปนผลกระทบจากการพัฒนาใชประโยชนดวย

แนวทางการบริหารจัดการในภาพรวม (1) มีการกําหนดพื้นที่เพ่ือการจัดการอยางชัดเจนเพื่อควบคุม และรักษาสภาพตาม

ธรรมชาติ แบงเปน พ้ืนที่สงวน พ้ืนที่อนุรักษ และพ้ืนที่บริการ (2) มีระบบการควบคุมและรักษาสิ่งแวดลอมธรรมชาติอยางเครงครัด อาจใช

มาตรการทางกฎหมาย และ/หรือมาตรการทางสังคมที่ชัดเจน และการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ (3) มีการสนับสนุนใหมีการเรียนรูทั้งในระบบและนอกระบบ เพ่ือใหประชาชนทั้งใน

และนอกพื้นที่มีจิตสํานึกในการอนุรักษแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา ตลอดจนสิ่งแวดลอมธรรมชาติอ่ืนๆของทองถิ่น

(4) มีการศึกษาวิจัยองคความรู เกี่ยวกับแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาและสิ่งแวดลอมธรรมชาติในพ้ืนที่เพ่ือเปนแนวทางการอนุรักษแหลงธรรมชาติประเภทเดียวกันในพื้นที่อ่ืน

(5) มีการประชาสัมพันธ การรณรงคและเผยแพรขาวสารขอมูลของคุณคา ความสําคัญของแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาและสิ่งแวดลอมธรรมชาติโดยรอบอยางเปนระบบ

(6) มีการกําหนดแนวทางการพัฒนาระบบบริหารและจัดการที่ชัดเจน โดยใหมีความรวมมือจากองคกรทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับตางๆ เชน ระดับพ้ืนที่ ระดับจังหวัด ระดับภาคและสวนกลาง

แนวทางบริหารจัดการเฉพาะแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาของจังหวัดพะเยา วนอุทยานไดโนเสารแกงหลวง

จัดเปนแหลงทองเที่ยวและเรียนรูเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพ โดยบริเวณที่พบไดโนเสารพัฒนาเปนหลุมขุดคนขนาดความกวาง 5 เมตร ยาว 8 เมตร ลึก 1.5 เมตร คลุมดวยเพิงอาคารไมชั่วคราว และจังหวัดพะเยามีโครงการที่จะพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวที่มีศักยภาพสูง ตามยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งใหกับภาคการเกษตร อุตสาหกรรมและการทองเที่ยวเพื่อเพ่ิมมูลคาใหกับฐานเศรษฐกิจเดิมอยางยั่งยืน โดยในป 2549 อําเภอเชียงมวนไดเสนอของบประมาณในการพัฒนาจากกรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น ทั้งน้ีการพัฒนาใชประโยชนตามวัตถุประสงคดังกลาวควรดําเนินการ ดังน้ี

-59-

(1) กําหนดใหชัดเจนวาองคประกอบใดจะสงวนไว องคประกอบใดที่สามารถนํามา

แสดงใหประชาชน เพราะแหลงซากดึกดําบรรพจะคงอยูไดในสภาวะที่เหมาะสม เชน ในชั้นดิน/หินหรือสภาวะธรรมชาติ การขุดเปดที่ไมเหมาะสมหรือแมแตการตั้งไวสัมผัสอากาศ อาจสงผลทําใหซากดึกดําบรรพถูกทําลายหรือเสื่อมสลายไป

(2) วิจัย สรางองคความรู เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการใหบริการประชาชน

(3) ใหความรูแกประชาชนถึงความสําคัญของซากดึกดําบรรพ เผยแพรผลการศึกษาวิจัยของหนวยงานของรัฐแกประชาชน โดยเฉพาะประชาชนในทองที่และองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ดูแลพ้ืนที่น้ันๆ

(4) ใหประชาชนมีสวนรวมในการอนุรักษแหลงซากดึกดําบรรพในพ้ืนที่ โดยชี้ใหเห็นประโยชนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งดานการศึกษาวิจัยและดานเศรษฐกิจ

(5) มีหนวยงานรับผิดชอบที่ชัดเจน (6) มีการงบประมาณในการอนุรักษแหลงซากดึกดําบรรพอยางเพียงพอ (7) มีการติดตามประเมินผลการดําเนินการอยางตอเน่ืองและมีการรายงานผลตอ

หนวยงานของรัฐและประชาชนในพื้นที่เปนระยะๆ เพ่ือใหประชาชนไดทราบถึงการเปลี่ยนแปลงตางๆ

กวานพะเยา

เน่ืองจากกวานพะเยาเปนแหลงนํ้าที่มีความสําคัญตอวิถีชีวิตของจังหวัดพะเยา มีการใชประโยชนในกิจกรรมตางๆ ทั้งดานเกษตรกรรม การประมง การทองเที่ยวนันทนาการ หรือการตั้งชุมชนโดยรอบ ตลอดจนเปนแหลงศึกษาวิจัยการประมงน้ําจืด จากการใชประโยชนดังกลาว รวมทั้งกวานพะเยามีอาณาบริเวณครอบคลุมพ้ืนที่หลายตําบล จึงมีหลายหนวยงานรวมกันบริหารจัดการ ทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลเมืองพะเยาและองคการบริหารสวนตําบลซ่ึงมีพ้ืนที่ติดกวานพะเยา ดูแลเก่ียวกับการใชประโยชนพ้ืนที่โดยรอบและศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดจังหวัดพะเยาที่ดูแลการใชประโยชนภายในกวานพะเยา

ขอควรระวังในการจัดการใชประโยชนกวานพะเยา คือ การใหความสําคัญตอการปองกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพของพื้นที่ตนน้ํา และการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ โดยรอบกวานจากกิจกรรมการใชประโยชนขางตน เชน

(1) กําหนดแนวทางและแผนการพัฒนาใชประโยชนกวานพะเยาใหสอดคลองกับแผนการใชประโยชนพ้ืนที่ในภาพรวม รวมถึงการพิจารณาองคประกอบทางกายภาพ ชีวภาพ และคุณคาตอคุณภาพชีวิต เพ่ือใหเกิดการใชประโยชนอยางคุมคาและยั่งยืน

-60-

(2) ปองกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดินที่อยู

บริเวณโดยรอบและในกวานพะเยา โดยการเฝาระวังและติดตามตรวจสอบเปนระยะ แกไขปญหาอยางเรงดวนหากพบวามีผลกระทบเกิดขึ้น และจัดทํามาตรการปองกัน เชน การสรางถนนเปน แนวโดยรอบกวานพะเยาในพื้นที่ชุมชนเพื่อแสดงอาณาเขตและปองกันรุกล้ําถมดินลงไปในกวาน การตรวจสอบระบบการจัดการน้ําเสียจากสถานประกอบการ / โรงสี / รานอาหารโดยรอบกวาน การมีระบบบริหารจัดการที่เหมาะสม เปนตน

(3) สนับสนุนการศึกษาและวิจัยดานตางๆ ทั้งดานกายภาพ ชีวภาพและระบบนิเวศวิทยาที่เกี่ยวของกับสมดุลธรรมชาติของกวานพะเยา เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานในการบริหารจัดการใหเหมาะสมและพัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูทางธรรมชาติของทองถิ่น

(4) กําหนดผูรับผิดชอบในพื้นที่ จัดสรรงบประมาณ และบุคลากรในการดูแลจัดการที่เหมาะสม ทั้งดานความสามารถทางวิชาการและอัตรากําลัง

(5) สรางการมีสวนรวมของชุมชนในการติดตามประเมินผลการดําเนินการอนุรักษใชประโยชน เชน จัดประชุมในชุมชนเปนระยะ เพ่ือเปนแนวทางในการปรับแผนใหเหมาะสมกับสถานการณและใหบรรลุเปาหมาย เปนตน

ฝงตา

ฝงตาเปนธรณีสัณฐานที่มีความโดดเดนประเภทสัณฐานที่เกิดจากการกัดกรอน แหลงเดียวของจังหวัดพะเยา แมจะไดรับการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวโดยเทศบาลตําบลเชียงมวน แตไมยังไมไดรับความสําคัญในเรื่องการเปนแหลงเรียนรูทางธรณีวิทยา ทั้งที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนาเปนแหลงเรียนรูทางธรณีสัณฐานวิทยาในทองถิ่น นอกจากนี้ยังเปนแหลงธรณีสัณฐานประเภทที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอมตางๆ สูง การบริหารจัดการใชประโยชนควรพิจารณา ดังน้ี

(1) กําหนดพื้นที่แหลงที่ควรอนุรักษใหชัดเจน ทั้งน้ีตองคํานึงถึงความปลอดภัย และเอ้ือประโยชนในการใชพ้ืนที่สูงสุดตอวิถีชวีติของชมุชนโดยรอบใหมากที่สุด

(2) ดําเนินการใดๆ ทั้งทางวชิาการและการปฏิบัตเิพ่ือรักษาสภาพโครงสรางฝงตา ใหคงสภาพอยูไดนานที่สุด

(3) กําหนดองคกรที่เกี่ยวของใหมีหนาที่ในการบริหารจัดการ มิใหมีการซ้ําซอน ตลอดจนผลักดันกลไกใหการบริหารดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก การจัดหางบประมาณ อุปกรณ ตลอดจนเจาหนาที่ปฏิบตัิงานใหเพียงพอ

(4) ศึกษาลักษณะของแหลงถึงการกําเนิด โอกาสของการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ ความเสี่ยงที่จะถูกทําลายทัง้ทางธรรมชาติและจากการกระทําของมนุษย เพ่ือใหการจัดการถูกตองตามหลักวิชาการ

(5) ประชาสัมพันธใหเปนที่รูจักโดยทัว่ เพ่ือใหทุกกลุมชนโดยเฉพาะชมุชนในทองถิ่นมีสวนรวมในการดูแล รักษา และอนุรักษ

-61-

ถํ้าใหญผาตั้ง

ถ้ําใหญผาตั้งเปนหน่ึงใน 6 ถ้ําในเทือกเขาหินปูนดอยหวยกุด มีความสวยงามของลักษณะหินงอกหินยอย ซ่ึงหลายบริเวณกระบวนการเกิดหินงอกหินยอยยังดําเนินอยู ปจจุบันไดรับการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยวนันทนาการ ภายใตการบริหารจัดการของหนวยพิทักษอุทยานแหงชาติดอยภูนางที่ 1 (ผาตั้ง) แตเน่ืองจากแหลงถ้ําเปนแหลงธรณีสัณฐานที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม การบริหารจัดการใชประโยชนควรพิจารณา ดังน้ี

(1) การใชประโยชนถ้ําควรจะยึดหลักการคงสถาพถ้ําใหมากที่สุด (2) ศึกษารายละเอียดของถ้ําใหญผาตั้งและถ้ําอ่ืนๆ ที่อยูใกลเคียง ตามหลักวิชาการ

ถึงสภาพโครงสราง และคุณคาความสําคัญของแตละแหลง รวมทั้งสนับสนุนการศึกษาคนควาทางวิชาการในดานตางๆ ที่เกี่ยวกับถ้ํา เพ่ือนําองคความรูที่ไดมาชวยปรับปรุงใหการบริหารจัดการ เกิดผลตามวัตถุประสงค

(3) ปองกันไมใหเกิดความเสื่อมโทรมของสภาพธรรมชาติของถ้ํา เชน การกําหนดเสนทางเดินภายในถ้ําเพื่อปองกันการเหยียบย่ําหินงอกบนพื้นถ้ํา ทําปายหามสัมผัส/ขีดเขียน/แกะ/หักหินงอกหินยอยหรือผนังถ้ํา การเขาชมภายในถ้ําตองมีเจาหนานําชมและใหความรู เปนตน

(4) ใหความรูความเขาใจกับประชาชนในเรื่องเก่ียวกับถ้ํา และความจําเปนในการอนุรักษ พรอมทั้งสนับสนุนใหประชาชนมีสวนรวมในการอนุรักษ เชน การอบรมใหความรูเกี่ยวกับถ้ําวิทยาเบื้องตนแกเจาหนาที่หนวยงานที่ดูแล การประชาสัมพันธถึงความสําคัญทั้งดานการเปนแหลงศึกษาเรียนรู และความโดดเดนสวยงามตามธรรมชาติเพ่ือประโยชนเชิงทองเที่ยว ในรูปแบบของเอกสารเผยแพรหรือสื่ออ่ืนๆ การจัดนิทรรศการใหความรูแกนักทองเที่ยวหรือมีศูนยบริการ ในพ้ืนที่บริการโดยหนวยงานที่ดูแล เปนตน

นํ้าตกภูซางและบอซับน้าํอุน

นํ้าตกภูซางเปนน้ําตกอุนแหงเดียวในประเทศไทย ปจจุบันไดรับการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว และเรียนรูศึกษาธรรมชาติ ภายใตการบริหารจัดการของอุทยานแหงชาติภูซาง เน่ืองจากคุณสมบัติดานความเปนเอกลักษณ ความโดดเดนทางธรณีวิทยา และระบบนิเวศปาพรุ อยูรวมกันในพ้ืนที่ไมกวางมาก นํ้าตกภูซางจึงมีศักยภาพสูงในการพัฒนาในเปนแหลงเรียนรูทางธรรมชาติและทางธรณีวิทยา แตทั้งน้ีจําเปนตองมีการศึกษาในรายละเอียดบทบาทและหนาที่ของระบบซึ่งเปนองคประกอบของน้ําตกในทุกๆ ดาน เพ่ือใชองคความรูเปนฐานในการจัดการ ตลอดจนการเผยแพรความรูสูประชาชนโดยเฉพาะอยางยิ่ง ดานธรณีวิทยาการเกิดของแหลงนํ้าตกภูซาง ทั้งน้ีการบริหารจัดการ ควรยึดหลัก

-62-

(1) การใชประโยชนที่ดินบริเวณรอบๆ แหลงนํ้าตก หรือการนําน้ําจากน้ําตกไปใชจะตองไมทําใหบทบาทและหนาที่ของระบบยอย หรือระบบใหญน้ันๆ เปลี่ยนแปลงไป จนไมสามารถรักษาสภาวะความยั่งยืนไวได

(2) เสริมสรางศักยภาพใหประชาชนในพื้นทีมี่สวนรวม โดยการวางแผนเพื่อใหประชาชนเกิดการเรียนรูการอนุรักษแหลงนํ้าตก ดวยการรวมรบัรูขอมูล รวมแกไขปญหา รวมวางแผนและจัดทําแผน และรวมติดตามประเมินผล เพ่ือนําไปสูการแกไขปญหา หรือลดความขัดแยง หรือปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้น

คําอธิบายศัพท

ธรณีวิทยา เปนวชิาวทิยาศาสตรที่วาดวยการศึกษาโลก แบงออกเปนสองแขนงหลัก คือ ธรณีวิทยากายภาพ และธรณีวิทยาประวัติ โดยธรณีวิทยากายภาพเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวัสดุบนโลก คือ แรและหิน ตลอดจนกระบวนการภายในโลกและที่ผิวโลก ธรณีวิทยาประวัติเปนวิชาที่ศึกษากําเนดิ และววิัฒนาการของโลก ทวีป มหาสมทุร บรรยากาศ และสิ่งมีชวีิต หิน เปนวัตถุที่มีมากที่สุดในโลกเมื่อเปรียบเทียบกับวัตถุอื่นๆ หินมีความแข็งและมีสีตางๆ หินสวนใหญจะประกอบดวยแรตั้งแตหน่ึงชนิดขึ้นไป หรือบางอยางอาจจะประกอบดวยแรมากกวาสิบชนิด หรือประกอบดวยแรชนิดเดียว เชน หินปูนบริสุทธิ์ ซึ่งประกอบดวยแรแคลไซตเพียงอยางเดียว เรามักพบเห็นหินอยูทั่วไป โดยอาจอยูในลักษณะของเศษหินตามทางหรือกรวดตามธารนํ้า ลําคลอง หนาผา และภูเขาที่มีหินแข็งโผลอยูเหนือผิวดิน หินสวนใหญถูกปดทับอยูใตผิวดิน ในทางธรณีวิทยานั้น ไดแบงหินตามการกําเนิดออกเปน 3 กลุมใหญๆ ไดแก หินอัคนี หินชั้นหรือหินตะกอน และหินแปร

• หินอัคนี เปนหินที่เกิดจากการเย็นตัวแข็งของหินหนืดหรือแมกมา ซ่ึงแทรกขึ้นมาจากสวนลึกภายในโลก

• หินชั้นหรือหินตะกอน เปนที่เกิดจากการสะสมและทับถมของเศษหิน ดิน ทราย ที่แตกหลุดหรือถูกชะละลายออกมาจากหินเดิมอื่นๆ พอนานเขาไดถูกกดทับอัดตัวกันแนนโดยมักจะมีตัวเชื่อมประสาน และไดกลายเปนหินในที่สุด หรือเกิดจาการตกตะกอนโดยปฏิกิริยาเคมี

• หินแปร เปนหินที่เกิดจากการแปรสภาพอันเนื่องมาจากความรอนและความกดดันของโลกทําใหหินเดิมซ่ึงเปนหินอัคนีหรือเปนหินชั้นถูกเปลี่ยนแปลงรูปรางลักษณะเนื้อหินหรืออาจจะมีสวนประกอบเปลี่ยนไปดวยก็ได

แร คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรียที่มีเน้ือเดียวกัน เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ อาจประกอบดวยธาตุเพียงธาตุเดียว หรือเปนสารประกอบตั้งแตสองธาตุขึ้นไป มีลักษณะทางโครงสรางและสวนประกอบทางเคมีที่แนนอน หรือเปลี่ยนแปลงไดในวงจํากัด และมีคุณสมบัติทางเคมี ทางกายภาพ และทางแสงเฉพาะตัว เชน ทองคํา แรตะกั่วเงิน หรือกาลีนา เปนสารประกอบของตะกั่วและกํามะถัน แรเหล็กแดง เปนสารประกอบของเหล็กและออกซิเจน สวนแรควอตซ เปนสารประกอบของซิลิกอนกับออกซิเจน เปนตน

ทรัพยากรแรจําแนกตามการใชประโยชนไดเปน 5 กลุม 1. กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญรัฐ ใชเปนวัตถุดิบสําหรับงานกอสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ รวมถึงโครงการขนาดใหญของรัฐ (Mega Project) เชน ทางดวน รถไฟฟาใตดิน ฝายขนาดกลางในบริเวณลุมนํ้าตางๆ แรในกลุมน้ีพบกระจายในทุกภาคของประเทศ แบงเปน 2 กลุมยอย คือ

• แรเพ่ืออุตสาหกรรมซีเมนต ไดแก หินปูน หินดินดาน ยิปซัม และเหล็ก • แรเพ่ือการกอสราง ไดแก หินชนิดตางๆ ที่ใชเปนวัสดุกอสรางและใชเปนหินประดับ

เชน หินปูน หินแกรนิต หินออน หินทราย หินบะซอลต และทรายกอสราง

2. กลุมแรพลังงาน ใชเปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตพลังงาน เชน ไฟฟา และใหความรอน ไดแก ถานหิน หินนํ้ามัน และแรกัมมันตรังสี (ยูเรเนียม ทอเรียม)

3. กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใชเปนวัตถุดิบขั้นพ้ืนฐานของกระบวนการผลิตตางๆ สําหรับอุตสาหกรรมตอเนื่องหลายสาขา เชน อัญมณี เซรามิก และแกว แรกลุมน้ีแบงไดเปน 4 กลุมยอย คือ

• แรโลหะมีคา เชน ทองคํา และเงิน • แรโลหะ เชน เหล็ก ทองแดง ตะกั่ว สังกะสี พลวง ดีบุก ทังสเตน แมงกานีส ใชถลงุ

แยกเอาโลหะไปใชในอุตสาหกรรมตางๆ • แรอุตสาหกรรม เชน ดินขาว เฟลดสปาร แบไรต ฟลูออไรต ทรายแกว • แรรัตนชาติ เชน เพชร ทับทิม ไพลิน บุษราคัม หยก โอปอ นิล

4. กลุมแรเพื่อการเกษตร ใชเปนวัตถุดิบผลิตปุย ปรับปรุงคุณภาพดิน เชน โพแทซ โดโลไมต เพอไลต ฟอสเฟต

5. กลุมแรเพื่อรองรับเทคโนโลยีชั้นสูง ใชในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชั้นสูง เชน คอมพิวเตอร เครื่องมือสื่อสาร ดาวเทียม อุปกรณเตือนภัยทางทหาร เชน โคลัมไบต แทนทาไลต และแรหายาก (โมนาไซต และซีโนไทม)

แหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยา เปนแหลงธรรมชาติที่มีการเกิดสัมพันธกับกระบวนการทางธรณีวิทยา มีกําเนิดและวิวัฒนาการของพื้นที่ผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาตางๆ แหลงธรณีสัณฐาน เปนแหลงที่มีภูมิสัณฐานสวยงามเปนผลจากกระบวนการทางธรณีวิทยาเชน การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก การผุพัง การกัดเซาะ และการกรอนโดยตัวการ ไดแก นํ้า ลม และธารน้ําแข็ง ทําใหเกิดธรณีสัณฐานในลักษณะตางๆ เรียกโดยรวมวา “ภูมิลักษณ” แหลงทองเที่ยวทางธรณีวิทยาในกลุมภูมิลักษณ พบในหลายลักษณะ เชน ภูเขา ถ้ํา นํ้าตก ออบ แกง สันทราย สะพานธรรมชาติ เปนตน

แหลงพุน้ํารอน เปนแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาที่มีลักษณะโดดเดนแตกตางไปจากแหลงธรรมชาติทางธรณีวิทยาอื่นๆ พุนํ้ารอนเกี่ยวของกับแหลงความรอนจากหินอัคนีที่อยูลึกลงไปใตผิวโลก และน้ําบาดาลที่มีอยูใตดินบริเวณนั้น พุนํ้ารอนที่มีแรงดันมากมีนํ้าพุงขึ้นสูงเปนชวงจังหวะโดยมีมีชวงหยุดนิ่งและพุงขึ้นใหม สลับกัน เรียกวา “พุนํ้ารอนกีเซอร” ถามีแตแกสและไอน้ําขึ้นมาตามรอยแยก บางครั้งมีเสียงดวย เรียกวา “ พุแกส” บางแหงมีเพียงน้ํารอนซึมขึ้นมาที่ผิวดิน เรียกวา “นํ้าซึม” บางแหงมีนํ้ารอนพุงผานชั้นโคลน หรือชั้นดินเหลวๆ ขึ้นมา เรียกวา “พุโคลน”

แหลงลําดับชั้นหินแบบฉบับ ลําดับชั้นหินใดๆ ที่กําหนดใหเปนมาตรฐานเพื่อใชอางอิงในการนิยามลําดับชั้นหิน โดยมีสมบัติพิเศษที่เปนเอกลักษณและบอกขอบเขตบนและลางของลําดับชั้นหินน้ันไดดวย ชื่อของชั้นหินแบบฉบับหนึ่งๆ จะตั้งขึ้นตามชื่อทองถิ่นของชั้นหินแบบฉบับน้ันๆ

แหลงธรณีวิทยาโครงสราง แหลงที่เกิดจากกระบวนการทางธรณีวิทยาโครงสราง เชน รอยเลื่อน แนวแตก และรอยแตกในเนื้อหินหรือเปลือกโลก หรือแหลงธรรมชาติที่มีลักษณะรูปรางที่เปนผลจากธรณีโครงสรางดังกลาว เชน หินเจดียสมอง จังหวัดปราจีนบุรี เขาพิงกัน

แหลงหินแบบฉบับ แหลงที่มีลักษณะเฉพาะของหินมาตรฐานมีประโยชนสําหรับการศึกษาเพราะแสดงใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะที่ชัดเจนของหินแตละประเภท

แหลงแรแบบฉบับ แหลงที่มีลักษณะเฉพาะของการเกิดและชนิดของแรที่เปนมาตรฐาน ซ่ึงมีประโยชนสําหรับการศึกษาเพราะแสดงใหเห็นถึงลักษณะการเกิดและลักษณะเฉพาะของแรประเภทตางๆ

-63-

เอกสารอางอิง

กรมการปกครอง, 2548, ประกาศสํานักทะเบียนกลาง เรื่อง จํานวนราษฎรทั่วราชอาณาจักรตามหลักฐานทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548, กระทรวงมหาดไทย.

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม, 2543, แหลงธรรมชาติอันควรอนุรักษของภาคเหนือ, กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, หนา 28-31.

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2547, โครงการแนวทางการจัดทําแผนแมบทเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมธรรมชาติ, รายงานฉบับสมบูรณ, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 272 หนา

อางอิงจากเว็บไซต

www.dopa.go.th www.forest.go.th www.phayao.go.th www.tmd.go.th