140

 · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 2:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 3:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 4:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 5:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 6:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 7:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 8:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 9:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 10:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 11:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 12:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 13:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 14:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 15:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 16:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 17:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 18:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 19:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 20:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 21:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 22:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 23:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 24:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 25:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 26:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 27:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 28:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 29:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 30:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 31:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 32:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 33:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 34:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 35:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 36:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 37:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

การประปานครหลวง

เอกสารประกวดราคาจ้างก่อสร้าง ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e – bidding)

รายการละเอียดประกอบแบบเพิ่มเติม

ส าหรับ งานปรับปรุงห้องน าพร้อมวางระบบท่อและระบบบ าบัดของเสียใหม่

ภายในอาคาร 1 และ 2 ส านักงานประปาสาขาตากสิน

สัญญาเลขที่ สสตสข 14/2561

จัดท าโดย :

การประปานครหลวง

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2)

Page 38:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

หมวด 4

รายการละเอียดประกอบแบบเพิ่มเติม

Page 39:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

i

หมวด 4

รายการละเอียดประกอบแบบ สารบัญ

หัวข้อ หน้า

รายการละเอียดประกอบแบบ

1. รายละเอียดประกอบแบบงานโครงสร้าง 2

2. รายละเอียดประกอบแบบงานสถาปัตย์ 14

3. รายละเอียดประกอบแบบงานไฟฟ้า 32

4. รายละเอียดประกอบแบบงานสุขาภิบาล 36

Page 40:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 1/41

-1-

รายการละเอียดประกอบแบบ

งานปรับปรุงห้องน าพร้อมวางระบบท่อและระบบบ าบัดของเสียใหม่

ภายในอาคาร 1 และ 2 ส านักงานประปาสาขาตากสิน

สัญญาเลขที่ สสตสข 14/2561

Page 41:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 2/41

-2-

1) รายละเอียดประกอบแบบงานโครงสร้าง (ให้ใช้เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง)

1.1 ความต้องการทั่วไป ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดหาและใช้วัสดุใหม่ที่ไม่เคยใช้งานมาก่อน และมีคุณภาพดีเท่านั้น เว้นแต่กรณี

ที่ได้มีการระบุแน่ชัดให้เป็นอย่างอ่ืนแล้ว โดยเป็นไปตามกฎและมาตรฐานฉบับล่าสุดที่อ้างถึงฉบับใดฉบับหนึ่งใน

เรื่องท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งอาจไม่ได้แสดงไว้แต่จ าเป็นต้องท าเพ่ือให้งานเสร็จสมบูรณ์จนใช้งานได้ มาตรฐานของวัสดุ

และวิธีการติดตั้งอ่ืนๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึงให้ยึดตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องดังนี้

ว.ส.ท. มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ

มยผ. มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง

มอก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ACI American Concrete Institute

ASTM American Society for Testing and Materials

AWS American Welding Society

นอกจากนี้ยังรวมถึงมาตรฐานต่างๆ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป หรือเป็นมาตรฐานของผู้ผลิตวัสดุ

หรืออุปกรณ์เฉพาะอย่าง ซึ่งวัสดุและอุปกรณ์อ่ืนๆ มีคุณภาพเทียบเท่ากับมาตรฐานดังกล่าวข้างต้น

1.2 งานโลหะ ( Metal Fabrication)

1.2.1 วัสดุ

1) เหล็กรูปตัวซี เป็นเหล็กรูปพรรณผลิตเย็น ผลิตตามมาตรฐาน มอก. 1228 (ฉบับล่าสุด)

หรือมาตรฐานอื่นเทียบเท่า

2) เหล็กกลมกลวง เป็นเหล็กรูปพรรณผลิตเย็น ชนิดท่อเหล็กผสมคาร์บอน ผลิตตาม

มาตรฐาน มอก. 107 (ฉบับล่าสุด) ชั้นคุณภาพไม่ด้อยกว่า HS41 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า

3) เหล็กสี่เหลี่ยมจัตุรัส, เหลี่ยมผืนผ้ากลวง เป็นเหล็กรูปพรรณผลิตเย็น ผลิตตามมาตรฐาน

มอก. 107 (ฉบับล่าสุด) ชั้นคุณภาพไม่ด้อยกว่า HS41 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า

4) เหล็กฉาก, เหล็กรางน้ า, เหล็กรูปตัวไอ, เหล็กรูปตัว H เป็นเหล็กรูปพรรณผลิตร้อน ผลิต

ตามมาตรฐาน มอก. 1227 (ฉบับล่าสุด) ชั้นคุณภาพไม่ด้อยกว่า SM400 หรือมาตรฐานอื่นเทียบเท่า

Page 42:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 3/41

-3-

5) เหล็กแผ่นเรียบ, เหล็กแผ่นลาย เป็นเหล็กผลิตร้อน ผลิตตามมาตรฐาน มอก.1479 (ฉบับ

ล่าสุด) ชั้นคุณภาพไม่ด้อยกว่า SS400 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า

6) เหล็กไร้สนิมหรือ สแตนเลส (Stainless steel) ส าหรับงานราวบันไดหรือราวระเบียง

ขนาดตามที่ระบุในแบบ ให้ใช้สแตนเลส ผลิตตามมาตรฐาน JIS G3459 ASTM A312 มอก.1006-2558

GRADE 304 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า

7) ลวดตาข่าย หากไม่ระบุขนาดในแบบ ให้ใช้ลวดตาข่ายถักส าเร็จรูปชุบสังกะสีตาสี่เหลี่ยม

จัตุรัส 1-1/2x1-1/2 นิ้ว ขนาดลวด 3.2 มิลลิเมตร หรือตามวัตถุประสงค์ของผู้ออกแบบ เชื่อมติดกับโครง

เหล็กกลมกลวง Dia.50 มิลลิเมตร หนา 3.2 มิลลิเมตร ระยะ 1.50x1.50 เมตร หรือตามระบุในแบบ

8) ตะแกรงเหล็กรางระบายน้ า หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ตะแกรงเหล็กส าเร็จรูปชุบสังกะสี

ขนาดตามระบุในแบบงานสุขาภิบาล หรือตามวัตถุประสงค์ของวิศวกรผู้ออกแบบ

9) งานโลหะและเหล็กรูปพรรณ อ่ืนๆที่ไม่ได้ระบุข้างต้น ที่ใช้ต้องมีขนาดและรูปร่างตามท่ีระบุ

ในแบบแปลน และต้องเป็นเหล็กโครงสร้างที่ผลิตได้ตามมาตรฐานของ ASTM A-36 หรือ JIS SS 41 หรือ

มอก.1479-2541 หรือมาตรฐานอื่นที่เทยีบเท่า

10) ตะแกรงเหล็กฉีก ขนาด ลาย และรุ่นตามระบุในแบบ หรือตามวัตถุประสงค์ของ

ผู้ออกแบบ

1.2.2 การด าเนินการ

1) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายก่อสร้างจะต้องเป็นผู้จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะงาน ตลอดจน

แรงงาน โรงงาน การติดตั้ง เคลื่อนย้าย และสิ่งที่จ าเป็นส าหรับงานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

2) เหล็กรูปพรรณทั้งปวงที่ระบุในแบบรวมหมายถึง งานป้องกันสนิม ด้วยกรรมวิธีที่เหมาะสม

3) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายก่อสร้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างเหล็ก และวัสดุประกอบงานเหล็กอ่ืน ๆ ที่ใช้

งานเสนอนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน หากมีข้อสงสัยด้านคุณภาพของวัสดุที่น ามาใช้งานนายช่างโครงการ/ผู้

ควบคุมงานมีสิทธิ์ขอข้อมูลทางเทคนิคของผู้ผลิต พร้อมผลการทดสอบจากสถาบันที่รัฐรับรอง หรือเลือกสุ่ม

ทดสอบวัสดุในชุดนั้น เพ่ือตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ

4) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดท าแบบขยาย เพ่ือแสดงรายละเอียดและวิธีการท างานเสนอนาย

ช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน เพ่ือให้การท างานและควบคุมงานถูกต้อง โดยผู้รับจ้าง/ผู้ขายอาจเลือกใช้แนว

Page 43:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41

-4-

ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท ารายละเอียดโครงสร้างเหล็ก" ของ สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่ง

ประเทศไทย

5) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายก่อสร้างจะต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพงาน และทดสอบ หากพบ

ภายหลังว่าผลงานก่อสร้างไม่ม่ันคง หรือมีข้อบกพร่อง

6) บทก าหนดหมวดนี้คลุมถึงเหล็กรูปพรรณ ท่อกลม ท่อเหลี่ยม (Steel Tubing) ทุกชนิด

7) รายละเอียดเกี่ยวกับเหล็กรูปพรรณ ซึ่งมิได้ระบุในแบบและบทก าหนดนี้ ให้ถือปฏิบัติตาม

“มาตรฐานส าหรับอาคารเหล็กรูปพรรณ (ฉบับล่าสุด)” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ

8) การกองเก็บวัสดุ

เหล็กรูปพรรณทั้งที่ประกอบแล้วและยังไม่ได้ประกอบจะต้องเก็บไว้บนยกพ้ืนเหนือพ้ืนดิน

จะต้องรักษาเหล็กให้ปราศจากฝุ่น ไขมัน หรือสิ่งแปลกปลอมอ่ืน ๆ และต้องระวังรักษาอย่าให้เหล็กเป็นสนิม

ในกรณีที่ใช้เหล็กที่มีคุณสมบัติต่างกันหลายชนิดต้องแยกเก็บและท าเครื่องหมาย เช่นโดยการทาสีแบ่งแยกให้

เห็นอย่างชัดเจน

9) การจัดท า Shop Drawings งานโลหะและเหล็กรูปพรรณ

ก่อนที่จะท าการประกอบเหล็กรูปพรรณทุกชิ้น ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดท า Shop Drawings เสนอนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานให้ความเห็นชอบก่อน โดย Shop Drawings นั้น จะต้องประกอบด้วย

(9.1) แบบที่สมบูรณ์แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการตัดต่อ การประกอบ และการติดตั้ง รูสลักเกลียว รอยเชื่อม และรอยต่อท่ีกระท าในโรงงาน

(9.2) สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานสากล

(9.3) จะต้องมีส าเนาเอกสารแสดงบัญชีวัสดุ และวิธีการยกติดตั้ง ตลอดจนการยึดโดยชั่วคราว

10) การเชื่อม จะต้องเป็นไปตามมาตรฐานงานเชื่อม AWS (American Welding Society) ให้ใช้ลวดเชื่อมชนิด E60 หรือมีคุณภาพดีกว่า ความยาวของการเชื่อมถ้ามิได้ระบุไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้ท าการเชื่อมตลอดแนวหรือเชื่อมรอบ ขนาดขาเชื่อมหากมิได้ระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนให้เป็นไปตามตารางที่ 1

Page 44:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 5/41

-5-

ตารางท่ี 1 ขนาดขาเชื่อมเล็กที่สุดส าหรับความหนาชิ นงานต่างๆ

ความหนาของชิ นงาน t (มม.) ขนาดขาเชื่อมเล็กสุด (มม.)

t 6 3

6 < t 13 5

13 < t 19 6

19<t 8

11) การป้องกันไฟ ชิ้นส่วนเหล็กรูปพรรณซึ่งถูกก าหนดให้มีการป้องกันไฟตามแบบนั้นให้ถือ

ปฏิบัติตาม “มาตรฐานป้องกันอัคคีภัย (ฉบับล่าสุด)” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ

1.3 เหล็กเสริมคอนกรีต คุณภาพของเหล็กท่ีใช้เสริมคอนกรีต จะต้องตรงตามเกณฑ์ก าหนดของมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาห-

กรรมไทยทั้ง ขนาด น ้าหนัก และคุณสมบัติอ่ืน ๆ ส าหรับพ้ืนที่หน้าตัดของเหล็กเสริมโดยเฉลี่ยแล้วจะต้อง

เท่ากับที่ค านวณได้จากเส้นผ่าศูนย์กลางที่ก าหนดในแบบจริง ๆ

ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งตัวอย่างเหล็กเสริมไปทดสอบ ที่ห้องปฏิบัติการของการประปานครหลวง

ส่วนมาตรฐานงานก่อสร้าง กองมาตรฐานวิศวกรรมหรือสถาบันที่เป็นหน่วยงานของรัฐ และผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้อง

เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการทดสอบและอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง รายงานผลการทดสอบให้จัดส่งต้นฉบับพร้อม

ส่งส าเนารวม 2 ชุด ให้ท าการทดสอบทุก ๆ 200 ตัน ของเหล็กแต่ละขนาดเป็นอย่างน้อยหรือเมื่อนายช่าง

โครงการ/ผู้ควบคุมงานเห็นสมควร

เหล็กเสริมที่ใช้ต้องผลิตได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไทยทั้งขนาด น้ าหนัก และคุณสมบัติอ่ืนๆ

1) เหล็กเสริมกลมผิวเรียบ ให้ใช้เหล็กที่ผลิตได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.20 ชั้นคุณภาพ

SR – 24

2) เหล็กข้ออ้อย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 มม. ให้ใช้เหล็กที่ผลิตได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

มอก.24 ชั้นคุณภาพ SD – 30

3) เหล็ กข้ อ อ้อย ขนาด เส้ นผ่ าศู นย์ กลาง 12 - 32 มม . ให้ ใช้ เหล็ กที่ ผลิ ต ได้ ม าตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.24 ชั้นคุณภาพ SD – 40

4) เหล็กข้ออ้อย ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 32 มม. ส าหรับเสาให้ ใช้ เหล็กที่ผลิตได้มาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.24 ชั้นคุณภาพ SD – 50

Page 45:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 6/41

-6-

รายละเอียดเกี่ยวกับกับเหล็กเสริมคอนกรีต การงอขอ การต่อเหล็กเสริม และระยะทาบของเหล็ก

เสริมให้ ซึ่งมิได้ระบุในแบบและบทก าหนดนี้ให้ถือปฏิบัติตาม “มาตรฐานส าหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

(ฉบับล่าสุด)” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ

การเก็บรักษาเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต จะต้องเก็บเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตไว้เหนือพ้ืนดินและอยู่ใน

อาคารหรือท าหลังคาคลุม และต้องเก็บไว้ในลักษณะที่เหล็กเส้นจะไม่ถูกดัดจนงอไปจากเดิม เมื่อจัดเรียง

เหล็กเส้นเข้าที่พร้อมจะเทคอนกรีตแล้ว เหล็กนั้นจะต้องสะอาดปราศจากฝุ่น น ้ามัน สี สนิมขุม หรือสะเก็ด

หรือสิ่งแปลกปลอมอ่ืน ๆ

ความหนาของคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมส าหรับส่วนของโครงสร้างต่างๆ ให้เป็นไปตามตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ความหนาของคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริม

ส่วนของโครงสร้าง ระยะหุ้มเหล็ก (ซม.) เหล็กล่างของฐานราก 7.5 ด้านที่สัมผัสกับดิน หรือเปิดเผยต่อสภาพอากาศ หรือน้ า 5.0 เสา คานและก าแพงรับแรงเฉือน 4.0 แผ่นพื้นบนดิน 4.0 เหล็กล่างของแผ่นพื้นภายใน 2.5 เหล็กบนของแผ่นพื้นภายใน 2.0 ด้านภายในของผนัง 2.5

1.4 คอนกรีต วัสดุต่าง ๆ ที่เป็นส่วนผสมของคอนกรีต หากมิได้ระบุเป็นอย่างอ่ืนจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ก าหนดของมาตรฐาน ASTM

1). ปูนซีเมนต์จะต้องเป็นปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ มอก. 15

ชนิดที่เหมาะสมกับงานและต้องเป็นปูนซีเมนต์ที่แห้งสนิทไม่จับตัวเป็นก้อน ส าหรับคอนกรีตที่ต้องสัมผัสดิน

และอยู่ใต้ดินให้ใช้ปูนซีเมนต์ชนิดทนซัลเฟตได้สูง (Sulfate - Resistant Portland Cement) เป็นส่วนผสม

2). น ้าที่ใช้ผสมคอนกรีตจะต้องสะอาด ปราศจากกรด ด่าง น้ ามันและสารอินทรีย์อ่ืนๆ ในปริมาณที่

จะเป็นอันตรายต่อคอนกรีตหรือเหล็กเสริม น้ าประปาถือว่ามีคุณภาพดีพอส าหรับใช้ผสมคอนกรีต ในกรณีที่

สงสัยจะต้องท าการทดสอบ

3). มวลรวม

3.1) มวลรวมที่ใช้ส าหรับคอนกรีตจะต้องแข็งแกร่ง มีความคงตัว เฉื่อย ไม่ท าปฏิกิริยากับด่าง

ในปูนซีเมนต์ สะอาดปราศจากดิน ด่างและเกลือเจือปน

Page 46:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 7/41

-7-

3.2) มวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียด ให้ถือเป็นวัสดุคนละอย่าง มวลรวมหยาบแต่ละ

ขนาดหรือหลายขนาดผสมกัน จะต้องมีส่วนขนาดคละตรงตามเกณฑ์ก าหนดของข้อก าหนด ASTM C33 ที่

เหมาะสม

4). สารผสมเพ่ิม ส าหรับคอนกรีตส่วนที่เป็นโครงสร้างห้องใต้ดิน บ่อ และก าแพงกันดิน ที่มิใช่ฐาน

ราก ให้ผสมตัวยากันน ้าซึมชนิดทนแรงและกันน ้าได้ โดยใช้ตามค าแนะน าของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด ส าหรับ

คอนกรีตที่มีมวลใหญ่มาก ๆ เช่นฐานรากหนาเกิน 1.00 ม. หากไม่ก าหนดเป็นอย่างอ่ืนให้ใช้สารผสมเพ่ิม

ประเภท Super Plasticizer เพ่ือลดการแตกร้าวในคอนกรีต นอกจากที่กล่าวนี้ห้ามใช้สารผสมเพ่ิมชนิดอ่ืน

หรือปูนซีเมนต์ที่ผสมสารเหล่านั้น นอกจากจะได้รับอนุมัติจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานก่อน

5). การเก็บวัสดุ

5.1) ให้เก็บปูนซีเมนต์ไว้ในอาคาร ถังเก็บหรือไซโลที่ป้องกันความชื้นและความสกปรกได้และ

ในการขนส่งให้ส่งในปริมาณเพียงพอที่จะไม่ท าให้งานคอนกรีตต้องชะงักหรือล่าช้าไม่ว่ากรณีใดจะต้องแยกวัสดุ

ที่ส่งมาแต่ละครั้งให้เป็นสัดส่วนไม่ปะปนกัน

5.2) การส่งมวลรวมหยาบ ให้ส่งแยกขนาดไปยังสถานที่ก่อสร้าง นอกจากจะได้รับอนุมัติจาก

นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานให้เป็นไปอย่างอ่ืน

ตารางท่ี 3 การแบ่งประเภทคอนกรีตและเกณฑ์ก าหนดเกี่ยวกับก าลังอัด

ชนิดของการก่อสร้าง ประเภท ค่าต ่าสุดของก าลังอัดของแท่งกระบอก

คอนกรีตหลังเทแล้ว 28 วัน (กก./ซม2)

1 ฐานรากและเสา ก 240

2

คาน คานซอย ผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก

ที่ใช้รับน ้าหนักหนาตั้งแต่ 100 มม. ขึ้นไป

แผ่นพื้น และถังเก็บน ้า

ข 240

3

ผนังคอนกรีตเสริมเหล็กที่บางกว่า 100 มม.

ที่ไม่ได้รับน ้าหนักและครีบ คสล.

ค 210

4 คอนกรีตหยาบ ง 180

6). คุณสมบัติของคอนกรีต

6.1) องค์ประกอบคอนกรีตต้องประกอบด้วยปูนซีเมนต์ ทราย มวลรวมหยาบ น ้า และสาร

ผสมเพ่ิมตามแต่จะก าหนด ผสมให้เข้ากันอย่างดีโดยมีความข้นเหลวที่พอเหมาะ

Page 47:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 8/41

-8-

6.2) ความข้นเหลว คอนกรีตที่จะใช้กับทุกส่วนของงานจะต้องผสมให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

โดยมีความข้นเหลวที่พอเหมาะที่จะสามารถท าให้แน่นได้ ภายในแบบหล่อและรอบเหล็กเสริมหลังจากอัดแน่น

โดยการกระทุ้งด้วยมือ หรือโดยวิธีสั่นที่ได้รับการเห็นชอบแล้ว จะต้องไม่มีน ้าที่ผิวคอนกรีตมากเกินไป และ

จะต้องมีผิวหน้าเรียบปราศจากโพรง การแยกแยะ รูพรุน เมื่อแข็งตัวแล้วจะต้องมีก าลังตามที่ต้องการตลอดจน

ความทนทานต่อการแตกสลาย ความคงทน ความทนต่อการขัดสี ความสามารถในการกันน ้ารูปลักษณะและ

คุณสมบัติอื่น ๆ ตามที่ก าหนด

6.3) ขนาดใหญ่สุดของมวลรวมหยาบ ขนาดระบุใหญ่สุดของมวลรวมหยาบ จะต้องเป็นไป

ตามตารางท่ี 4

ตารางท่ี 4 ขนาดใหญ่สุดของมวลรวมหยาบที่ใช้กับคอนกรีต

ชนิดของงานก่อสร้าง ขนาดใหญ่สุด มม.

1 ฐานราก เสา และคาน 40

2 ผนัง คสล. หนาตั้งแต่ 150 มม. ขึ้นไป 40

3 ผนัง คสล. หนาตั้งแต่ 100 มม.ลงมา 20

4 แผ่นพื้น ครีบ คสล. 20

7). คอนกรีตผสมเสร็จ กรณีใช้คอนกรีตผสมเสร็จ การผสมและการขนส่งคอนกรีตผสมเสร็จให้

ปฏิบัติตาม “บทก าหนดส าหรับคอนกรีตผสมเสร็จ” (ASTM C 94)

8). การทดสอบคอนกรีต

8.1) การยุบของคอนกรีตซึ่งมีน ้าหนักปกติ ซึ่งหาโดย วิธีทดสอบค่าการยุบคอนกรีตซึ่งใช้ปูน

ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ (ASTM C 143) จะต้องเป็นไปตามค่าท่ีให้ไว้ในตารางที่ 5

Page 48:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 9/41

-9-

ตารางท่ี 5 ค่าการยุบส าหรับงานก่อสร้างชนิดต่าง ๆ

ชนิดของการก่อสร้าง ค่าการยุบ มม.

สูงสุด ต ่าสุด

1 ฐานราก , โครงสร้างที่สัมผัสดิน (ใต้ดิน) 50 20

2 แผ่นพื้น คาน ผนัง คสล. ทั่วไป 70 40

3 เสา (ท่ีไม่สัมผัสดิน) 70 50

4 ครีบ คสล. และผนังบาง ๆ 100 55

8.2) การทดสอบแท่งกระบอกคอนกรีต ชิ้นตัวอย่างส าหรับการทดสอบอาจน ามาจากทุก ๆ

รถ หรือตามท่ีนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานจะก าหนด ทุกวันจะต้องเก็บชิ้นตัวอย่างไม่น้อยกว่า 6 ชิ้น ส าหรับ

ทดสอบ 7 วัน 3 ก้อน และ 28 วัน 3 ก้อน ส าหรับระยะเวลานายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานอาจก าหนดเป็น

อย่างอ่ืนตามความเหมาะสม วิธีเก็บ เตรียม บ่ม และทดสอบชิ้นตัวอย่างให้เป็นไปตาม “วิธีทดสอบส าหรับก าลัง

อัดของแท่งกระบอกคอนกรีต (ASTM C 39)" ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องส่งแท่งตัวอย่างมาทดสอบที่ห้องปฏิบัติการ

ของ ส่วนมาตรฐานงานก่อสร้าง กองมาตรฐานวิศวกรรม การประปานครหลวง หรือสถาบันที่เป็นหน่วยงาน

ของรัฐ โดยผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบทั้งหมด

8.3) รายงาน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องส่งรายงานผลการทดสอบก าลังอัดคอนกรีตรวม 1 ชุด

ส าหรับนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน รายงานจะต้องรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้

(1) วันที่หล่อ

(2) วันที่ทดสอบ

(3) ประเภทของคอนกรีต

(4) ค่าการยุบ

(5) ส่วนผสม

(6) หน่วยน ้าหนัก

(7) ก าลังอัดสูงสุด

9). การบ่มคอนกรีต ให้กระท าหลังจากเทคอนกรีตไปแล้วประมาณ 12 ชั่วโมง โดยรักษาเนื้อ

คอนกรีตให้ชื้นอยู่เสมอเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 7 วัน หรือตามที่นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

Page 49:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 10/41

-10-

เห็นสมควร วิธีการบ่มคอนกรีตกระท าโดยห่อหุ้มหรือคลุมคอนกรีตที่จะท าการบ่มด้วยผ้ากระสอบแล้วท าการ

ฉีดน้ าหรือพรมน้ าให้คอนกรีตอยู่ในสภาพที่เปียกอยู่ตลอดเวลา หรือวิธีการตามที่นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุม

งานเห็นสมควร

10). แบบหล่องานคอนกรีต

10.1) แบบหล่อจะต้องได้รับการตรวจและอนุมัติก่อนจึงจะเรียงเหล็กเสริมได้

10.2) แบบหล่อจะต้องแน่นเพียงพอที่จะป้องกันไม่ให้มอร์ต้าจากคอนกรีตไหลออกมา

10.3) แบบหล่อจะต้องสะอาดปราศจากฝุ่น มอร์ต้า และสิ่ งแปลกปลอมอ่ืน ๆ ในกรณีที่ไม่

สามารถเข้าถึงก้นแบบจากภายในได้จะต้องจัดช่องเปิดไว้เพ่ือให้สามารถขจัดสิ่งที่ไม่ต้องการต่าง ๆ ออกก่อนเท

คอนกรีต

10.4) ห้ามน าแบบหล่อที่ช ารุดจากการใช้งานครั้งหลังสุด จนถึงขั้นที่อาจท าลายผิวหน้าหรือ

คุณภาพคอนกรีตได้มาใช้อีก

10.5) ให้หลีกเลี่ยงการบรรทุกน ้าหนัก เช่น การกองวัสดุ ห้ามโยนของหนัก ๆ เช่น มวลรวม ไม้

กระดาน เหล็กเสริม หรืออ่ืน ๆ ลงบนคอนกรีตที่เทใหม่ ๆ และยังไม่มีก าลังสูงพอ

10.6) ห้ามโยนหรือกองวัสดุก่อสร้างแบบหล่อ ในลักษณะที่จะท าให้แบบหล่อนั้นช ารุดหรือเป็น

การเพ่ิมน ้าหนักมากเกินไป

10.7) การถอดแบบหล่อและที่รองรับจะต้องคงที่รองรับไว้กับที่เป็นเวลาไม่น้อยกว่าที่ก าหนด

ข้างล่างนี้โดยนับจากเวลาที่เทคอนกรีตแล้วเสร็จในกรณีที่ใช้ปูนซีเมนต์ชนิดให้ก าลังสูงเร็วหรือใช้วิธีบ่มพิเศษ

อาจลดระยะเวลาดังกล่าวลงได้ตามความเห็นชอบจากผู้ออกแบบ

ค ้ายันใต้คาน 21 วัน

ค ้ายันใต้แผ่นพ้ืน 21 วัน

ผนัง 24 ชั่วโมง

เสา 24 ชั่วโมง

ข้างคานและส่วนอื่น ๆ 24 ชั่วโมง

ในกรณีที่ผู้รับจ้าง/ผู้ขายใช้คอนกรีตที่ให้ก าลังสูงเร็ว (High-Early-Strength Concrete)

หรือโดยวิธีบ่มพิเศษหรืออย่างอ่ืน และต้องการที่จะถอดแบบก่อนที่ก าหนดไว้ ให้ท าข้อเสนอต่อนายช่าง

โครงการ/ผู้ควบคุมงานเพ่ืออนุมัติโดยการหล่อลูกปูนเพ่ิมขึ้นจากเดิมและ ทดสอบหาก าลังอัดก่อนที่จะถอด

แบบ อย่างไรก็ดี นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานอาจสั่งให้ยืดเวลาการถอดแบบออกไปอีกได้หากเห็นเป็น

การสมควร ถ้าปรากฏว่ามีส่วนหนึ่งส่วนใดของงานเกิดช ารุดเนื่องจากถอดแบบเร็วกว่าก าหนด ผู้รับ จ้าง/

ผู้ขายอาจต้องทุบส่วนนั้นทิ้งและสร้างขึ้นใหม่แทนทั้งหมด

11). การแก้ไขผิวคอนกรีตที่ไม่เรียบร้อย

Page 50:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 11/41

-11-

11.1) ทันทีที่ถอดแบบหล่อจะต้องท าการตรวจแบบ หากพบว่าผิวคอนกรีตไม่เรียบร้อย ช ารุด

เป็นโพรงจะต้องแจ้งให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานทราบทันที พร้อมทั้งเสนอวิธีแก้ไขเมื่อนายช่างโครงการ/

ผู้ควบคุมงานให้ความเห็นชอบวิธีการแก้ไขแล้วผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องด าเนินการซ่อมในทันที โดยการประนคร

หลวงขอสงวนสิทธิ์การพิจารณาความเห็นดังกล่าวตามความเหมาะสมในหลั กการทางวิศวกรรม หากมี

ความเห็นว่าไม่ปลอดภัยต่อโครงสร้าง การประปานครหลวงมีสิทธิ์ในการรื้อโครงสร้างในส่วนดังกล่าว และให้

ผู้รับจ้าง/ผู้ขายก่อสร้างโครงสร้างในส่วนนั้นใหม่

11.2) หากปรากฏว่ามีการซ่อมแซมผิวคอนกรีตก่อนได้รับการตรวจสอบจากนายช่างโครงการ/

ผู้ควบคุมงาน คอนกรีตส่วนนั้นอาจถือเป็นคอนกรีตเสียก็ได้ การประปานครหลวงมีสิทธิ์ในการรื้อโครงสร้างใน

ส่วนดังกล่าว และให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายก่อสร้างโครงสร้างในส่วนนั้นใหม่

1.5 งานนั่งร้าน เพ่ือความปลอดภัยผู้รับเหมาควรปฏิบัติตาม “ข้อก าหนดนั่งร้านงานก่อสร้างอาคาร” ในมาตรฐานความปลอดภั ยของวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยฯ และต้องปฏิบั ติ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการท างานก่อสร้างโดยเคร่งครัด

1.6 ปูนฉาบ ให้ใช้ปูนซีเมนต์ชนิดส าเร็จรูปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.1776-2542 และใช้น้ าผสมตามค าแนะน าของผู้ผลิต

1.7 ปูนก่อ ให้ใช้ปูนก่อส าเร็จรูปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.598-2547

1.8 งานเจาะเสียบเหล็ก ใช้เคมีภัณฑ์ประสานประเภท Epoxy Resin ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ Hilti รุ่น RE 500-SD หรือ Simpson รุ่น Epoxy-Tie Set-XP หรือเทียบเท่า โดยมีระยะฝังเป็นไปตามค่าการออกแบบของผลิตภัณฑ์ และต้องติดตั้งตามมาตรฐานของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด

1.9 การขุดดิน 1). การขุดดินทั่วไป

1.1) ระยะและระดับในการขุดดินต้องตรงกับรูปแบบที่ได้ระบุไว้ ระดับก้นหลุมของงานขุดดิน

ต้องอยู่ในระดับที่ถูกต้องแน่นอน

1.2) งานขุดดินส าหรับการก่อสร้างอาคาร รวมความถึงงานขุดมวลวัสดุที่ปะปนอยู่ในดินตาม

ธรรมชาติของดินทั่วไป

1.3) มวลวัสดุที่ต้องการขุดทั้งหมดส าหรับการแต่งชั้นดินรอบอาคาร ต้องตรงตามรายการ

ละเอียด

1.4) มวลวัสดุที่ขุดขึ้นมา หากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่

เหมาะสม ส าหรับการถมดินผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องจัดการขนย้ายออกจากสถานที่ก่อสร้าง

2). การขุดดินฐานราก

Page 51:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 12/41

-12-

2.1) ต้องจัดการหล่อฐานรากทันทีหลังจากที่การขุดดินส าหรับฐานรากได้เสร็จเรียบร้อย เมื่อ

หล่อฐานรากเรียบร้อยแล้ว การถมดินกลบฐานรากเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้รับจ้าง/ผู้ขาย

2.2) ในกรณีที่ขุดพบโบราณวัตถุ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องแจ้งให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุม

งานทราบทันทีและโบราณวัตถุที่ขุดได้จะต้องตกเป็นทรัพย์สินของการประปานครหลวงทั้งสิ้น

2.3) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องเตรียมสูบน้ าออกจากบริเวณก่อสร้างตลอดเวลา และต้องไม่ท าให้

คอนกรีตที่ก าลังเทอยู่เสียหาย

3). การขุดร่องหรือค ู

ต้องระมัดระวังในการขุดร่องหรือคูระบายน้ าที่รวมอยู่ในอาคาร ตลอดจนการบ ารุงรักษาและ

ต้องไม่ท าให้ฐานรากเสียหายด้วย

4). พ้ืนคอนกรีตวางบนผิวดิน

ชั้นดินที่รองรับพื้นคอนกรีตจะต้องเป็นดินอัดแน่นตามที่ได้ระบุ และต้องอยู่ในระดับที่ได้แสดงไว้

ในรูปแบบ

5). การถมดินและการกลบเกลี่ยดิน

การถมดินจะต้องได้ระดับที่เหมาะสม เพ่ือการทรุดและทรงตัวของมวลดิน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้อง

จัดการให้ได้ระดับสุดท้ายตรงตามรูปแบบ

5.1) วัสดุถม วัสดุที่ใช้และกลบเกลี่ยต้องประกอบด้วยดินที่เหมาะสม ในกรณีที่ใช้ดินที่ขุดจาก

บริเวณสถานที่ก่อสร้างจะต้องได้รับการอนุมัติจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานก่อน และผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้อง

รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการน าดินจากท่ีอ่ืนมาถมแทน

5.2) การจัดปรับระดับ ก่อนการถมดินและการกลบเกลี่ยดิน พ้ืนที่ในบริเวณนั้นต้องอยู่ใน

สภาพที่เรียบร้อยได้ระดับตามแนวนอน และใช้เครื่องมืออัดแน่นตามที่ได้ระบุไว้ แต่ต้องไม่เป็นอันตรายต่อ

โครงสร้างอื่นหรือส่วนของอาคารที่อยู่ใกล้เคียง

6). การถมด้วยดิน กรวด หรือทราย

6.1) การถมประกอบด้วยทราย กรวด และหินตามรายละเอียดในหมวดคอนกรีต

6.2) การถมด้วยหิน กรวด หรือทรายต้องเตรียมและจัดท าตามขนาดและความหนาที่ได้ระบุ

ไว้ในรูปแบบ

6.3) มวลวัสดุที่ใช้ถมต้องมีคุณสมบัติในการควบคุมความชื้นของฐานรากได้พอเหมาะด้วย

โดยค านึงถึงความหนาและรูปร่างของมวลที่ใช้ถม

6.4) หลังจากการอัดแน่นแล้วต้องมีการตรวจสอบความหนาแน่นตามมาตรฐาน วสท.

6.5) การขุดดินที่มีความลึกจากระดับดินเกิน 3 ม. หรือมีพ้ืนที่ปากบ่อเกิน 10,000 ตร.ม.

ต้องมีแบบแปลน รายละเอียดประกอบแบบแปลน และรายการค านวณของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบ

วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ไม่ต่ ากว่าระดับสามัญวิศวกร

Page 52:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 13/41

-13-

6.6) การขุดดินที่มีความลึกเกิน 20 ม. (ไม่รวมถึงการขุดบ่อน้ า) ต้องมีการป้องกันการ

พังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้าง โดยมีการติดตั้งอุปกรณ์ส าหรับวัดการเคลื่อนตัวของดินและต้องมีแบบแปลน

รายละเอียดประกอบแบบแปลน และรายการค านวณของผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

ควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับวุฒิวิศวกร

Page 53:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 14/41

-14-

2) รายละเอียดประกอบแบบงานสถาปัตย ์(ให้ใช้เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง)

2.1 พื นปูกระเบื องแกรนิต/เซรามิก (1) วัสดุที่ใช้

- กระเบื้องแกรนิต ให้ใช้กระเบื้องชนิดตัดขอบ เกรด A หรือเกรดพรีเมียม ขนาดตามที่ระบุใน

แบบ สีและลวดลายระบุภายหลัง ประเภท Homogeneous Tile หรือ Porcelain Tile หรือ Granito Tile

- กระเบื้องเซรามิก ให้ใช้กระเบื้องเซรามิก เกรด A หรือเกรดพรีเมียม ขนาดตามที่ระบุในแบบ สี

และลวดลายระบุภายหลัง

(2) การติดตั้ง - ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องจัดท า Shop Drawings แบบขยายการติดตั้งบริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ แนว

เส้นแบ่งช่อง หรือเส้นขอบคิ้ว แสดงอัตราความลาดเอียง ทิศทางการไหลของน ้าของพ้ืนแต่ละส่วน และแบบ

ขยายอ่ืนที่เกี่ยวข้อง หรือจ าเป็น เพ่ือให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการ

ติดต้ัง

- ท าความสะอาดผิวพ้ืนเดิมให้สะอาด ให้แต่งพ้ืนที่จะปูด้วยปูนทรายผสมน้ ายากันซึมให้มีความ

ลาดเอียงประมาณ 1:200 ลงสู่ท่อระบายน้ าหรือบริเวณท่ีก าหนดให้เป็นจุดระบายน้ า หลังจากพ้ืนแห้งดีแล้ว จึง

ปูกระเบื้อง ให้ผิวหน้าเรียบเสมอกันจัดแนวให้ตรง เมื่อแห้งแล้วให้ล้างท าความสะอาด หากมีร่องที่เกิดจากการ

ปูให้อุดรอยต่อด้วยซีเมนต์ผสมสีใกล้เคียงกับกระเบื้องที่ท าการปู หรือตามท่ีนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานระบุ

- การปูกระเบื้อง ให้ใช้กาวซีเมนต์ในการยึดกระเบื้อง ด้วยการโบกให้ทั่วพ้ืนแล้วจึงปูกระเบื้อง ให้

ปฏิบัติตามค าแนะน าของผู้ผลิตกาวซีเมนต์อย่างเคร่งครัด

- ติดตั้ง และกดเนื้อแผ่นกระเบื้องตามแนวที่วางไว้ให้แน่นไม่เป็นโพรง ภายในเวลาที่ก าหนดของ

กาวซีเมนต์ที่ใช้ ในกรณีที่เป็นโพรงหรือไม่แน่นหรือไม่แข็งแรง จะต้องรื้อออกและท าการติดตั้งใหม่

(3) ส าหรับงานปูพื้นต้องใช้กระเบื้องส าหรับปูพื้นเท่านั้น (4) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งตัวอย่างกระเบื้องที่เลือกใช้ขนาดอย่างน้อย 10x10 ซม. พร้อม

รายละเอียดคุณสมบัติ ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

2.2 พื นบล็อคปูถนนคอนกรีต (1) รายละเอียด

Page 54:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 15/41

-15-

- ใช้บล็อคปูถนนคอนกรีต ขนาดตามที่ระบุในแบบ หากไม่ระบุให้ใช้ขนาด 0.30 x 0.30 ม. ความ

หนาไม่ต่ ากว่า 6 ซม. รูปแบบและสีให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายแผ่นตัวอย่างน าเสนอนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

พิจารณาอนุมัติก่อนด าเนินการ

(2) การเตรียมพ้ืนที่ - ขุดเปิดหน้าดินลึกประมาณ 10-15 ซม. ก าจัดขยะ หรือหญ้าออกจากพ้ืนที่ให้หมด หลังจากนั้น

ท าการปรับระดับดินให้แน่น เรียบสม่ าเสมอ และตบอัดด้วยเครื่องบดอัดให้แน่น เพ่ือป้องกันการทรุดตัว

- วางขอบโดยรอบพ้ืนที่ เพ่ือก าหนดขอบเขตและป้องกันการแยกตัวของแนวบล็อค

- เทคอนกรีตหยาบ อัตราส่วน 1:3:5 (ปูน:หิน:ทราย) ให้ได้ความหนาประมาณ 5 ซม. และ

มาตรฐานตามข้อก าหนด พร้อมกับปาดให้เรียบได้ระดับ

- ใส่ทรายหยาบที่ใช้ในงานก่อสร้างให้ได้ความหนาประมาณ 7 ซม. จากนั้นท าให้การบดอัดชั้น

ทรายหยาบจนมีความหนาเหลือ 3-4 ซม. พร้อมกับปาดให้ได้ระดับตามก าหนด แล้วใช้บล็อกทับเต็มท่อน

(3) การติดตั้งบล็อกปูถนน - ขั้นตอนแรกจะต้องท าการตรวจสอบวัดระดับและแนวการปู โดยเริ่มปูบล็อกจากมุมใดมุมหนึ่ง

หรือ จากจุดศูนย์กลาง (กรณีเป็นวงกลม) ปูเป็นเส้นทแยงมุมหรือหน้ากระดานเรียงแถว ซึ่งต้องมีการคัดแนว

เป็นระยะทุกๆ 10-15 ซม. เมื่อปูเต็มพ้ืนที่แล้ว ให้ตัดเศษบล็อกที่เหลืออยู่ไปใส่ในช่องว่าง

- โรยทรายละเอียดลงในช่องว่างระหว่างก้อนบล็อกให้เต็มแล้วใช้เครื่องตบอัดแบบสั่นสะเทือนบด

อัด 2-3 เที่ยว แล้วจึงท าการกวาดทรายส่วนที่อยู่บนผิวหน้าบล็อก รวมทั้งทรายในร่องบล็อกให้เสมอขอบล่าง

ของมุมลาดเอียงของก้อนบล็อกให้สะอาด ทิ้งไว้ให้ผิวหน้าบล็อกแห้งสนิท เพ่ือป้องกันการเกิดคราบขาว

- น ายาประสานทรายผสมกับน้ าสะอาดในอัตรา น้ ายา 1 ส่วน ต่อ น้ า 2 ส่วน คนให้เข้ากันและ

บรรจุลงในเครื่องหัวพ่นสเปรย์ หรือ บัวรดน้ าที่มีรูขนาดเล็ก แล้วลงน้ ายาให้ทั่ว โดยพยายามให้น้ ายาลงไปใน

ร่องทรายระหว่างก้อน ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชม. หรือจนกว่าจะแห้งสนิทจึงสามารถทาทับรอบที่ 2 ได้

- ทาทับด้วยน้ ายาเคลือบเงาคอนกรีต (หลังรอจนน้ ายาประสานทรายแห้งสนิทดีแล้ว) เพ่ือให้พ้ืนที่

ปูมีความสวยและช่วยรักษาผิวหน้าของพ้ืนบล็อกให้สามารถดูแลท าความสะอาดได้ง่าย โดยสามารถทาน้ ายา

เคลือบเงาด้วยลูกกลิ้ง หรือ แปรงให้ทั่วพ้ืนผิว และทิ้งไว้ 1 ชม. เพ่ือเพ่ิมความเงาของพ้ืนผิว และทาทับอีกครั้ง

หลังจากนั้นทิ้งไว้ 4 ชม.จึงสามารถเปิดการใช้งานได้

Page 55:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 16/41

-16-

2.3 ผนังก่ออิฐมวลเบาฉาบปูนเรียบทาสี (1) วัสดุที่ใช้

- ใช้อิฐคอนกรีตมวลเบา ยี่ห้อ Q-CON หรือ SUPER BLOCK หรือคุณภาพเทียบเท่า ตาม

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.1505-2541 ขนาด 0.20x0.60 ม. ความหนา 7.5 ซม.หรือ ส าหรับผนัง

ทั่วไป

- การเซาะร่องผนัง ให้ติดตั้งรางเซาะร่องผนัง (PVC) ส าหรับผนังภายนอก ติดตั้งในต าแหน่ง

ตามรูปด้าน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ KENIG, EMAG, PLASMAX หรือคุณภาพเทียบเท่า

(2) การติดต้ัง - ระยะในการก่อและสัดส่วนการผสมให้ยึดตามมาตรฐานของผู้ผลิต

- การก่อชนกันเป็นมุม การก่อชนผนังอ่ืน การเว้นร่องส าหรับติดตั้งประตูหน้าต่าง ต้องมีเสา

เอ็นหรือทับหลัง ค.ส.ล. ขนาดหนาเท่าผนังที่ก่อกว้างไม่น้อยกว่า 15 ซม. เสริมเหล็ก Ø 6 มม. 2 เส้น มีปลอก

เหล็ก Ø 6 มม. ทุกระยะ 20 ซม. เหล็กเสาเอ็นต้องยึดต่อกับเหล็กที่ยื่นออกมาจากพ้ืนเสา ผนัง หรือคาน ค.ส.ล.

ที่ยื่นเหล็กไว้ก่อนแล้ว เฉพาะผนังที่ก่ออิฐยาวติดต่อกัน 9.00 ม.ขึ้นไปใช้เสาเอ็นเสริมเหล็ก Ø 9 มม. 2 เส้น

ปอกเหล็ก Ø 6 มม. ทุกระยะ 0.15 ม.

- ทุกระยะที่เกินกว่า 2 ม. ของความสูงของผนังและทุกระยะเกินกว่า 3 ม. ของความยาวของ

ผนังให้มีทับหลังหรือเอ็น ค.ส.ล.ทุกระยะ

- การก่ออิฐชนท้องพ้ืนหรือคาน ค.ส.ล. ต้องเว้นช่องไว้ไม่ต่ ากว่า 10 ซม.และทิ้งไว้เป็นเวลาไม่

น้อยกว่า 3 วัน จึงจะก่อปิดช่องนี้ได้

- อิฐที่ก่อใหม่จะต้องไม่ถูกกระทบกระเทือน หรือรับน้ าหนักเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน

- ส่วนผสมของปูนก่อ ให้ยึดตามมาตรฐานของผู้ผลิต

- การเตรียมผิวส าหรับการฉาบปูนผนังอิฐที่ก่อไว้แล้วต้องราดน้ าให้ทั่วก่อนฉาบปูน

- การเตรียมผิวส าหรับผิวคอนกรีตที่จะฉาบปูนต้องสกัดผิวให้ขรุขระก่อนแล้วล้างผิวให้สะอาด

ทาด้วยน้ าปูน 1 ครั้ง และต้องสลัดปูนทรายที่มีส่วนผสม

- การฉาบปูนและส่วนผสมของปูนฉาบ ให้ใช้ชนิดของปูนฉาบตามมาตรฐานผู้ผลิต

Page 56:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 17/41

-17-

2.4 ผนังกรุกระเบื องแกรนิต/เซรามิก (1) วัสดุที่ใช้

- กระเบื้องแกรนิต ให้ใช้กระเบื้องชนิดตัดขอบ เกรด A หรือเกรดพรีเมียม ขนาดตามที่ระบุใน

แบบ สีและลวดลายระบุภายหลัง ประเภท Homogeneous Tile หรือ Porcelain Tile หรือ Granito Tile

- กระเบื้องเซรามิก ให้ใช้กระเบื้องเซรามิก เกรด A หรือเกรดพรีเมียม ขนาดตามที่ระบุในแบบ สี

และลวดลายระบุภายหลัง

(2) การติดตั้ง - ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องจัดท า Shop Drawings แบบขยายการติดตั้งบริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ แนว

เส้นแบ่งช่อง หรือเส้นขอบคิ้ว แสดงอัตราความลาดเอียง ทิศทางการไหลของน ้าของพ้ืนแต่ละส่วน และแบบ

ขยายอ่ืนที่เกี่ยวข้อง หรือจ าเป็น เพ่ือให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาอนุมัติก่อนการติดตั้ง

- ปูนกาวที่ใช้กรุกระเบื้องจะต้องเกลี่ยให้เรียบและกว้างพอที่จะปูกระเบื้องแต่ละครั้ง ความหนา

ของปูนตามมาตรฐานผู้ผลิต โดยให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ จระเข้ หรือ ตุ๊กแก หรือ WEBER หรือ COTTO หรือ

คุณภาพเทียบเท่ากระเบื้องที่จะมาใช้ในการกรุจะต้องแช่ในน้ าสะอาด เมื่อกรุกระเบื้องแล้วต้องท าความสะอาด

คราบปูนที่ผิวกระเบื้องทันทีอย่าปล่อยทิ้งไว้จนแห้ง การกรุต้องได้แนว ได้ระดับ และได้ดิ่ง การตัดกระเบื้องต้อง

ตัดด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม ขอบที่ขรุขระให้ขัดจนเรียบ

(3) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งตัวอย่างกระเบื้องที่เลือกใช้ขนาดอย่างน้อย 10x10 ซม. พร้อมรายละเอียดคุณสมบัติ ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

2.5 ผนัง/พื นกรุหินแกรนิต (1) วัสดุที่ใช้

วัสดุที่น ามาใช้ ต้องเป็นวัสดุใหม่ ปราศจากรอยร้าว หรือต าหนิใดๆ ใช้ให้หินแกรนิตผลิตภัณฑ์

น าเข้า ขนาดแผ่นตามที่ระบุในแบบ ความหนาไม่น้อยกว่า 20 มม.

(2) การติดตั้ง - ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายน าเสนอ Shop Drawings การหาแนวหิน ก าหนดจ านวนแผ่น เศษแผ่น และ

แสดงวิธีเข้ามุมหิน ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาอนุมัติก่อนด าเนินการ

- ท าความสะอาดพ้ืนผิวที่จะปูหินให้สะอาดปราศจากฝุ่นผงคราบไขมัน และสกัดเศษปูนทรายที่

เกาะอยู่ออกให้หมด ล้างท าความสะอาดด้วยน้ า

Page 57:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 18/41

-18-

- ก่อนด าเนินการปูหิน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดเรียงแผ่นหินที่จะปูในบริเวณนั้นๆ เพ่ือให้นาย

ช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานได้พิจารณาคัดเลือกสีหินและลายหิน ก่อนด าเนินการติดตั้ง

- หลังจากนั้น จะต้องทาน้ ายาเคลือบใสประเภท PENETRATION SEALER ที่ด้านหลังและ

ด้านข้างของแผ่นหิน รวม 5 ด้าน โดยยกเว้นด้านหน้าของแผ่นหิน ส าหรับหน้าหินที่ท าผิวขัดมันและทาทั้ง 6

ด้าน โดยทาที่ด้านหลังและด้านข้าง รวมทั้ง ด้านหน้าของแผ่นหินด้วย และ ทิ้งไว้ให้แห้ง 24 ชั่วโมง ก่อนน าไป

ติดต้ัง

- ท าความสะอาดผิวปูนทรายรองพ้ืนให้สะอาด ปราศจากคราบไขมัน และเศษปูนทรายหรือ สิ่ง

สกปรกอ่ืนใด แล้วพรมน้ าให้เปียกโดยทั่วกันเริ่มปูหินตามแนวที่แบ่งไว้ โดยใช้กาวซีเมนต์เป็นตัวยึดกดหินรอย

ทางท่ีท าไว้ให้แน่นไม่เป็นโพรง ภายในเวลาที่ก าหนดของกาวแต่ละชนิดเสร็จแล้วปรับแต่งแนวหิน ในกรณีที่เป็น

โพรงจะต้องรื้อออกและท าการบุใหม่

- การตัดแต่งหินในแนวตรง แนวโค้ง ต้องตัดด้วยเครื่องมือมาตรฐาน การเจาะหินเพ่ือใส่อุปกรณ์

ต่างๆ รอยเจาะต้องมีขนาด ตามต้องการ หินแกรนิตที่ตัดต้องไม่บิดเบี้ยว แตกบิ่น และต้องตกแต่งขอบให้

เรียบร้อยก่อนน าไปติดตั้ง

- หลังจากปูหินแล้วเสร็จทิ้งให้หินแข็งตัวโดยไม่ถูกกระทบกระเทือนเป็นระยะเวลา อย่างน้อย 2

วัน ยาแนวรอยต่อด้วยกาวซีเมนต์ส าหรับยาแนวโดยเฉพาะ โดยใช้สีตามที่สถาปนิกก าหนดให้หากบริเวณใด

จ าเป็นจะต้องมีการสัญจรจะต้องมีการป้องกันผิวหิน ซึ่งจะต้องเสนอขออนุมัติจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุม

งาน

- ทิง้ไว้จนปูนยาแนวแห้งหมาดๆ จึงเริ่มเช็ดท าความสะอาดคราบน้ าปูนที่ติดอยู่บนแผ่นหินออกให้

เรียบร้อย ปราศจากเศษปูนทราย และเครื่องหมายต่างๆ

- ผิวหินทั้งหมดเมื่อปูเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องได้ดิ่ง ได้แนว ได้ระดับ เรียบสม่ าเสมอ ความไม่

เรียบร้อยใดๆ ที่เกิดขึ้นตามความเห็นของสถาปนิก ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องด าเนินการแก้ไขโดยเป็นค่าใช้จ่ายของ

ผู้รับจ้าง/ผู้ขายทั้งหมด

(3) การท าความสะอาด ท าความสะอาดผิวแผ่นหินด้วยฟองน้ า ผ้า และน้ าก่อนที่ปูนจะแห้งภายใน 1 ชม. หลังจากการ

ติดตั้ง และท าความสะอาดรอยต่อระหว่างแผ่นให้สะอาดไม่มีรอยคราบเปื้อนใดๆ ก่อนส่งมอบ โดยก่อนขัด

Page 58:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 19/41

-19-

เคลือบผิวให้ท าความสะอาดอีกครั้งหนึ่งด้วยน้ าสบู่หรือน้ ายาท าความสะอาด และช าระด้วยน้ าเปล่า เช็ดให้แห้ง

ด้วยผ้านุ่มสะอาดหลังจากนั้นเคลือบผิวด้วยน้ ายาชักเงา หรือ Wax อย่างน้อย 1ครั้ง

(4) การป้องกันแผ่นหิน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องไม่ให้มีน้ าหนักกดทับลงบนแผ่นมากเกินไป และที่กองเก็บในที่ก่อสร้าง

จะต้องมีถุงกระสอบ หรือหมอนไม้รองแผ่นหรือวัสดุอ่ืนๆ ปกคลุม ห้ามมีการเดินผ่าน หรือบรรทุกน้ าหนักใน

ขณะที่ปูเสร็จใหม่ๆ และในขณะก่อสร้างบริเวณใดที่จ าเป็นจะต้องมีการสัญจร จะต้องมีการป้องกันผิวหินมิให้

เป็นรอย ในกรณีเกิดความไม่เรียบร้อยใดๆ หรือผิวหน้าหินเกิดริ้วรอยขูดขีดปรากฏให้เห็นหรือแผ่นหินไม่เรียบ

ไม่สม่ าเสมอ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องท าการขัดผิวมันเพ่ือแก้ไขตามกรรมวิธีการขัดผิวมันของแผ่นหินที่นายช่าง

โครงการ/ผู้ควบคุมงานก าหนดให้โดยเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง/ผู้ขาย

(5) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อก พร้อมตัวอย่างวัสดุที่จะเลือกใช้ ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

2.6 ผนังกระเบื องโมเสคแก้ว งานกระเบื้องโมเสคแก้วที่ก าหนดในแบบและรายการประกอบแบบ จะต้องเป็นกระเบื้องโมเสคแก้ว

ผลิตภัณฑ์ของ IMEX DECOR, GLASCERA, EAU INTERTRADE, GL&R TAPS and TILES หรือคุณ ภาพ

เทียบเท่า หรือดีกว่า

(1) วัสดุที่ใช้ - กระเบื้องโมเสคแก้วที่น ามาใช้ต้องเป็นของใหม่ ได้คุณภาพตามมาตรฐาน โดยด้านหลังแผ่นเป็น

Sheet ตาข่ายไฟเบอร์เนตยึดกระเบื้องแต่ละเม็ดให้อยู่ในแผงเดียวกัน เพ่ือความสะดวกในการติดตั้ง

- ส าหรับกาวซีเมนต์ปูกระเบื้อง ให้ใช้กาวส าเร็จรูปคุณภาพเทียบเท่า กาวซีเมนต์จระเข้ทอง ผง

ขาว, Weber, ตุ๊กแก หรือเทียบเท่า หรือดีกว่า

(2) การติดตั้ง - ก่อนเริ่มงาน ผู้รับจ้างต้องตรวจเช็คสินค้าก่อนน าไปติดตั้งว่ามีสีและ Pattern ตรงกับแบบที่สั่ง

ผลิตหรือไม่ กรณีที่เป็นแบบ Pattern ต้องน ามาเรียงตามแบบที่แนบไปกับสินค้าเพ่ือตรวจเช็คการต่อลายว่า

ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ก่อนติดตั้ง

- การเตรียมพ้ืนผิวที่จะใช้ปูกระเบื้องโมเสคแก้ว พื้นผิวต้องฉาบเรียบได้ดิ่งและได้ฉาก ห้ามขูดลาย

หรือขัดมัน นอกจากนี้ต้องมีความสะอาดปราศจากคราบสกปรกต่าง ๆ เช่น ผงปูน ไขมัน หรือคราบน้ ามันต่าง ๆ

มีความแห้ง และการดูดซึมน้ าอยู่ในระดับปกติ

Page 59:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 20/41

-20-

- ท าการวัดและตีเส้นไกด์น าเป็นตารางตามขนาด Sheet โมเสคก่อนปู โดยเส้นน าทางทั้งผนัง

และพ้ืน (ถ้ามี) ต้องตรงกัน เพ่ือให้ร่องยาแนวตรงกันเมื่อติดตั้ง

- ฉาบกาวซีเมนต์บนผนังที่เตรียมไว้ และใช้เกรียงหวีร่อง 3 มม. ครูดให้เป็นรอยทาง ฉาบครั้งละ

ประมาณ 1 ตร.ม. รอ 5 นาทีให้กาวซีเมนต์เซทตัวแล้วจึงท าการติดตั้ง

- ติดตั้งกระเบื้องโมเสคแก้วบนพ้ืนที่โดยเรียงตาม Code ที่ได้ตรวจเช็คไว้แล้ว ให้อยูในแนวเส้นที่

ตีไว้ และสัญลักษณ์หัวลูกศรต้องหันไปทางเดียวกัน และใช้เกรียงยางตบไปตามหน้ากระเบื้องโมเสคแก้วเพ่ือให้

ยึดเกาะแน่นขึ้นและปรับหน้าให้เรียบสม่ าเสมอกันทุก Sheet

- ทั้งนี้ในระหว่างการติดตั้ง จ าเป็นต้องมีการปรับร่องโดยการใช้คัตเตอร์กรีดและขยับช่วยเพ่ือให้

ร่องยาแนวเป็นแถวสวยงาม

- ทิ้งไว้ 24 ชั่วโมง ให้ผนังแห้งสนิทก่อนท าการยาแนว

- การยาแนวให้ใช้เกรียงยาง ปาดปูนขาวหรือปูนยาแนวขึ้นและเอียง 45 องศาเพ่ือให้ยาแนวเข้า

ไปอุดตามร่องให้แน่นที่สุด

- เมื่อปล่อยให้ยาแนวแห้งพอหมาด ให้ใช้ฟองน้ าชุบน้ าสะอาดเช็ดคราบปูนขาว หรือปูนยาแนว

ออกให้หมดโดยหมั่นเปลี่ยนน้ า ไม่ควรปล่อยให้ยาแนวแห้งสนิท เพราะจะท าให้ปูนขาวหรือปูนยาแนวติดแน่น

และยากต่อการท าความสะอาดได้

- การเช็ด ให้เช็ดออกจนเห็นว่าเนื้อยาแนวอยู่ต่ ากว่าผิวกระเบื้องโมเสคแก้วเล็กน้อย เทคนิคนี้จะ

ช่วยท าให้กระเบื้องโมเสคแก้วมีความสวยและแวววาวมากยิ่งขึ้น

- หลังจากท าความสะอาดแล้ว ควรปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 20 วัน จึงสามารถปล่อยน้ าลงสระได้

(3) การตัดกระเบื้องโมเสคแก้ว - การตัดกระเบื้องโมเสคแก้วตามขนาดที่ต้องการ ให้แกะกระเบื้องโมเสคที่ต้องการตัดออกมาเป็น

เม็ดแล้วใช้มีดกรีดกระจกกรีดแรงๆ เพียงครั้งเดียว

- หลังจากนั้นให้คีมบีบให้แค่พอแยกออกจากกัน (กรณีไม่มีคีมหักกระจก ให้ใช้คีมปากแบน 2 ตัว

จับหักแทนได้)

- กระจกที่ได้จากการหักต้องน าไปลบขอบอีกครั้ง

Page 60:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 21/41

-21-

(4) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อก พร้อมตัวอย่างวัสดุที่จะเลือกใช้ ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

2.7 ผนังห้องน าส าเร็จรูป (1) วัสดุที่ใช้

- ใช้ชุดประตูส าเร็จรูป ตามมาตรฐานของผู้ผลิต ระบุใช้ผลิตภัณฑ์ของ ELITE หรือ WILLY หรือ

KOREX หรือเทียบเท่า (สีและลายก าหนดภายหลัง) ประตูระบุใช้วัสดุ PU Foam (Polyurethane Foam) ปิด

ทับผิวหน้าด้วยแผ่นลามิเนตลายไม้ชนิด High-Pressure Laminates ความหนารวมไม่น้อยกว่า 25 มม. (สีและ

ลายก าหนดภายหลัง) อุปกรณ์ติดตั้ง ระบุใช้วัสดุที่ท าด้วย Stainless Steel เช่นบานพับระบุให้จุดหมุนรับบาน

ประตู อยู่ด้านบนและด้านล่าง กลอน ขอแขวนผ้า ขาตั้งปรับระดับ โดยเป็นชุดติดตั้งตามมาตรฐานของผู้ผลิต

(2) การตดิตั้ง ติดตั้งตามมาตรฐานของผู้ผลิต (3) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อก หรือตัวอย่างวัสดุที่จะเลือกใช้ ให้นายช่างโครงการ/ผู้

ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

2.8 ฝ้าเพดาน/ผนังยิปซัมบอร์ด (1) วัสดุที่ใช้

- ฝ้าเพดานยิปซัมฉาบเรียบ ให้ใช้แผ่นยิปซัมหนา 9, 12, 15 มม. แบบขอบลาดส าหรับผนัง

หรือฝ้าฉาบเรียบรอยต่อ ชนิดธรรมดา, ทนชื้น, กันความร้อน, หรือทนไฟ ตามระบุในแบบ ขนาด 1200x2400

มม. ให้ใช้ของ GYPROC หรือ ตราช้าง หรือ KNUAF หรือเทียบเท่า

- แผ่นฝ้าเพดานทีบาร์ ขอบเรียบส าหรับงานภายใน ขนาด 600 x 600 มม. หรือ 600x1200

มม. ความหนาไม่ต่ ากว่า 9, 12 มม. ตามระบุในแบบ โดยทุกชนิดต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอก.

219-2552 และ ASTM C1396 ไม่มีส่วนผสมของ Asbestos โดยให้ใช้ของ GYPROC หรือ ตราช้าง หรือ

KNUAF หรือเทียบเท่า

- โครงคร่าวผนังเหล็กชุบสังกะสี ขนาดไม่เล็กกว่า 30 x 70 มม. ความหนาของแผ่นเหล็กไม่ต ่า

กว่า 0.50 มม. ระยะห่างของโครงคร่าวตั้งทุก 400 มม. ให้ใช้รุ่นตามค าแนะน าหรือมาตรฐานของผู้ผลิต ให้ใช้

ของ GYPROC หรือ ตราช้าง หรือ KNUAF หรือเทียบเท่า

- โครงคร่าวฝ้าเพดานฉาบเรียบรอยต่อ ให้ใช้เหล็กชุบสังกะสี ขนาดไม่เล็กกว่า 14x37 มม.

ความหนาของแผ่นเหล็กไม่ต ่ากว่า 0.50 มม. ระยะห่างของโครงคร่าวหลัก (วางตั้ง) ทุก 1000 มม. โครงคร่าว

รอง (วางนอน) ทุก 400 มม. ลวดแขวนขนาด Dia. 4 มม. ทุกระยะ 1000x1200 มม. พร้อมสปริงปรับระดับท า

Page 61:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 22/41

-22-

ด้วยสเตนเลสรูปผีเสื้อ ให้ใช้รุ่นตามค าแนะน าหรือมาตรฐานของผู้ผลิต ให้ใช้ของ GYPROC หรือ ตราช้าง หรือ

KNUAF หรือเทียบเท่า

- โครงคร่าวฝ้าเพดานทีบาร์ ให้ใช้เหล็กชุบสังกะสีเคลือบสี ความหนาของแผ่นเหล็กไม่ต ่ากว่า

0.30 มม. พับขึ้นรูป 2 ชั้น โครงคร่าวหลักสูงไม่น้อยกว่า 38 มม. ระยะห่างทุก 1210 มม. โครงคร่าวซอยสูงไม่

น้อยกว่า 28 มม. ระยะห่างทุก 605 มม. หรือ 1210 มม. ลวดแขวนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 4 มม.

ทุกระยะ 1210x1210 มม. พร้อมสปริงปรับระดับท าด้วยสเตนเลสรูปผีเสื้อ ให้ใช้ของ GYPROC หรือ ตราช้าง

หรือ KNUAF หรือเทียบเท่า

- คิ้วเข้ามุมต่างๆ ส าหรับผนังและฝ้าเพดานยิปซัม ให้ใช้คิ้วส าเร็จรูป ของ GYPROC หรือ ตรา

ช้าง หรือ KNUAF หรือเทียบเท่า

(2) การติดตั้งโครงคร่าวผนังฉาบเรียบ และแผ่นยิปซัม - ก าหนดแนวผนังที่จะติดตั้ง พร้อมตีแนวเส้นของผนังไว้ที่พ้ืน และท้องพ้ืนอาคาร หรือหาก

เป็นผนังลอย (ไม่ติดท้องพื้น) อาจจะต้องเสริมโครงเหล็กแนวนอนตัวบน และตัวตั้ง ตามความเห็นชอบของนาย

ช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน วางโครงคร่าวตัวยูตามแนวผนังที่ได้ตีเส้นไว้ ยึดติดกับพ้ืนอาคาร และท้องพ้ืนชั้น

ถัดไปด้วยพุกเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มม. ทุกระยะ 600 มม. (กรณีพ้ืนอาคารไม่ใช่คอนกรีต

หรือเป็นโครงเหล็ก ให้ใช้วัสดุยึดที่เหมาะสม)

- ตัดโครงคร่าวตัวซีตามความสูงของผนังที่จะกั้น โดยวางลงในรางของเหล็กตัวยูให้ได้ฉากกับ

พ้ืน ตามค าแนะน าของผู้ผลิต หรือตามความเห็นชอบของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน ท าการยึดติดระหว่าง

โครงคร่าวตัวซี และโครงคร่าวตัวยูที่บริเวณปลายโครงคร่าวด้วยสกรูยิงโครงคร่าว หรือคีมย ้าเหล็ก ด้านละ 1

จุด กรณีมีการต่อแผ่นยิปซัมในแนวตั้งที่สูงกว่า 2,400 มม. ให้เสริมเหล็กตัวยูไว้เพ่ือรับหัวแผ่นยิปซัมที่จะติดตั้ง

ต่อไป

- น าแผ่นยิปซัมขอบลาดความหนา 12, 15 มม. ขึ้นติดตั้งกับโครงคร่าว โดยจะติดในแนวตั้ง

และยกขอบแผ่นสูงจากพ้ืนอาคารอย่างน้อย 10 มม. เพ่ือป้องกันน ้า หรือความชื้นจากพ้ืนเข้าสู่แผ่นยิปซัม ยึด

กับโครงคร่าวเหล็กด้วยสกรูยิปซัมขนาด 25 ระยะห่างของสกรูแต่ละตัว 300 มม. ที่แนวกลางแผ่น และ 200

มม. ที่แนวขอบแผ่น ระยะห่างของสกรูจากขอบแผ่นยิปซัม 10-15 มม. ให้หัวสกรูจมลงในแผ่นยิปซัมประมาณ

1-1.5 มม. (ไม่ควรให้จมทะลุกระดาษแผ่นยิปซัมลงไป) การติดตั้งควรใช้เครื่องยิงสกรู

- ติดตั้งคิ้วเข้ามุม ส าหรับทุกขอบ ทุกมุม เพ่ือความเรียบร้อย และสวยงาม

Page 62:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 23/41

-23-

- ฉาบปิดรอยต่อ, คิ้วเข้ามุมของแผ่นยิปซัม และรอยหัวสกรู ด้วยปูนฉาบ และเทปส าหรับฉาบ

เรียบแผ่นยิปซัม ฉาบจ านวน 3 ขั้นตอน โดยทิ้งระยะเวลาให้ปูนฉาบแห้งสนิทในแต่ละขั้นตอน ขัดแต่งปูนฉาบ

ด้วยกระดาษทรายให้เรียบร้อย ก่อนทาสี หรือตกแต่งผนังยิปซัมต่อไป

- กรณีออกแบบผนังเพ่ือวัตถุประสงค์ในการก้ันเสียง หรือกันไฟเพ่ิมเติม ให้ปรึกษาผู้ผลิต หรือ

ด าเนินการตามความเห็นชอบของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

(3) การติดตัง้โครงคร่าวฝ้าฉาบเรียบรอยต่อ และแผ่นยิปซัม - ยึดฉากริมฝ้าฉาบเรียบกับผนังโดยรอบให้มั่นคงแข็งแรง ด้วยพุกเหล็ก หรือตะปูคอนกรีต ให้

ได้ระดับที่ต้องการตามที่ระบุในแบบก่อสร้าง ยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับใต้ท้องพ้ืนอาคารชั้นถัดไปที่ระยะ

1,000x1,200 มม. (ระยะห่างของโครงคร่าวหลักเท่ากับ 1,000 มม., ระยะห่างระหว่างชุดแขวนเท่ากับ 1,200

มม.) ยึดด้วยพุกเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มม. แนวโครงคร่าวหลักชุดแรกห่างจากผนัง 150

มม.

- วัดระยะความสูงจากฉากริมถึงท้องพ้ืนชั้นถัดไป เพ่ือตัดลวด 4 มม. และประกอบชุดหิ้วโครง

โดยใช้สปริงปรับระดับ และงอปลายด้านหนึ่งของลวด 4 มม. เป็นขอไว้ (หรืออาจใช้ฉากริมแทน ในกรณีมี

ช่องว่างระหว่างฝ้าเพดาน และใต้ท้องพ้ืนน้อยกว่า 200 มม.)

- น าชุดแขวนที่ประกอบไว้ขึ้นแขวนกับฉากเหล็ก 2 รู ที่ติดตั้งไว้ทั้งหมด ให้แนวชุดแขวนได้ด่ิง

- น าโครงคร่าวหลักขึ้นวางลงในขอของชุดหิ้วโครงจนเต็มพ้ืนที่ติดตั้ง จะได้โครงคร่าวหลักทุก

ระยะห่าง 1,000 มม.

- น าโครงคร่าวซอยขึ้นยึดติดกับโครงคร่าวหลัก โดยใช้ตัวล็อกโครง ติดตั้งโครงคร่าวซอยทุก

ระยะ 400 มม.

- ปรับระดับโครงคร่าวทั้งหมดอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ ตรวจสอบระดับให้ถูกต้องตาม

แบบก าหนด ก่อนยกแผ่นยิปซัมข้ึนติดตั้ง

- น าแผ่นยิปซัมขอบลาดความหนา 9 มม. ขึ้นติดตั้งกับโครงคร่าวซอย ให้ด้านยาว (2,400

มม.) ตั้งฉากกับแนวโครงคร่าวซอย ยึดโดยใช้สกรูยิปซัมขนาด 25 มม. ระยะห่างของสกรูแต่ละตัว 300 มม. ที่

แนวกลางแผ่น และ 200 มม. ที่แนวขอบแผ่น ระยะห่างของสกรูจากขอบแผ่นยิปซัม 10-15 มม. และให้หัวสกรู

จมลงในแผ่นยิปซัม ประมาณ 1-1.5 มม. (ไม่ควรให้จมทะลุกระดาษแผ่นยิปซัมลงไป) การติดตั้งควรใช้เครื่องยิง

สกรู

Page 63:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 24/41

-24-

- ติดตั้งคิ้วเข้ามุม ส าหรับทุกขอบ ทุกมุม เพ่ือความเรียบร้อย และสวยงาม

- ฉาบปิดรอยต่อ, คิ้วเข้ามุมของแผ่นยิปซัม และรอยหัวสกรู ด้วยปูนฉาบ และเทปส าหรับฉาบ

เรียบแผ่นยิปซัม ฉาบจ านวน 3 ขั้นตอน โดยทิ้งระยะเวลาให้ปูนฉาบแห้งสนิทในแต่ละขั้นตอน ขัดแต่งปูนฉาบ

ด้วยกระดาษทรายให้เรียบร้อย ก่อนทาสี หรือตกแต่งผนังยิปซัมต่อไป

(4) การตดิตั้งโครงคร่าวฝ้าทีบาร์ และแผ่นยิปซัม - ยึดฉากริมทีบาร์ กับผนังโดยรอบให้ได้ระดับที่ต้องการ ด้วยพุกเหล็ก หรือตะปูคอนกรีตให้ได้

ระดับที่ต้องการตามแบบก าหนด ยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับใต้ท้องพื้นอาคารชั้นถัดไปที่ระยะ 1,210x1,210 มม.

ยึดด้วยพุกเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มม.

- วัดระยะความสูงจากฉากริมทีบาร์ ถึงท้องพ้ืนชั้นถัดไป เพ่ือตัดลวดแขวนท่อนบนขนาดเส้น

ผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 4 มม. และประกอบชุดแขวนโดยใช้สปริงปรับระดับท าด้วยสเตนเลสรูปผีเสื้อ และ

ลวดแขวนท่อนล่างขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 4 มม. ประกอบกัน

- น าชุดแขวนที่ประกอบไว้ขึ้นแขวนกับฉากเหล็ก 2 รู ที่เตรียมไว้ทั้งหมด ให้แนวชุดแขวนได้ดิ่ง

- น าโครงคร่าวหลักขึ้นเกี่ยวกับชุดแขวนที่เตรียมไว้ โดยใช้ลวดคล้องเกี่ยวเข้าในรูบนสันของ

โครงคร่าวหลักพันเกลียวอย่างน้อยสองรอบให้แน่น ติดตั้งโครงหลักจนเต็มพ้ืนที่ติดตั้ง ให้ได้โครงคร่าวหลักทุก

ระยะห่าง 1,210 มม. ให้ขนาน หรือตั้งฉากกับผนังห้อง

- น าโครงคร่าวซอยยาวขนาด 1,210 มม. มาติดตั้งเข้าในช่องเจาะของโครงคร่าวหลักทุกระยะ

605 มม. โดยวางให้ได้ฉากกับโครงคร่าวหลัก ได้ระยะสันโครงคร่าว 605x1,210 มม. ส าหรับวางแผ่นทีบาร์

ขนาด 600x1,200 มม. หากต้องการระยะสันโครงคร่าว 605x605 มม. ส าหรับวางแผ่นทีบาร์ ขนาด 600x600

มม. ให้เพ่ิมโครงคร่าวซอยสั้นขนาด 605 มม. ติดตั้งเข้าในช่องเจาะกึ่งกลางของโครงคร่าวซอยยาวขนาด 1,210

มม. โดยวางให้ได้ฉากกับโครงคร่าวซอยยาว

- ปรับระดับโครงคร่าวทั้งหมดอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ ตรวจสอบระดับให้ถูกต้องตามแบบ

ก าหนด ก่อนวางแผ่นฝ้าเพดานทีบาร์ ขนาด 600x600 มม. ความหนา 9 มม. ที่ทาสี หรือตกแต่งเรียบร้อยแล้ว

- ระยะสันโครงคร่าว และขนาดของแผ่นทีบาร์ ในข้อ (4) เป็นขนาด และระยะในระบบยิปซัม

หากใช้ระบบเมตริก หรือระบบฟุต ให้ใช้ระยะ และขนาด ดังต่อไปนี้

Page 64:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 25/41

-25-

ระบบ ระยะสันโครงคร่าวทีบาร์ (มม.) ขนาดแผ่นทีบาร์(มม.) เมตริก 600 x 600

600 x 1 200 595 x 595

595 x 1 195 ฟุต 610 x 610

610 x 1 220 605 x 605

605 x 1 215

(5) การด าเนินการ - ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องตรวจสอบแบบก่อสร้าง และประสานงานกับผู้ติดตั้งงานระบบไฟฟ้า

ระบบปรับอากาศ และระบบอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับผนัง และงานฝ้าเพดานยิปซัมบอร์ด เช่น งานเตรียมโครงเหล็ก

ยึดวงกบประตู โครงเหล็กในฝ้าส าหรับยึดลวดแขวนโครงคร่าวฝ้าเพดาน , ยึดดวงโคม, ยึดท่อลมของระบบปรับ

อากาศ เป็นต้น เพ่ือให้งานยิปซัมบอร์ดแข็งแรง และเรียบร้อยสวยงาม

- ในกรณีที่จ าเป็นต้องเตรียมช่องส าหรับเปิดฝ้าเพดาน หรือผนัง ส าหรับซ่อมแซมงานระบบ

ต่างๆ ของอาคาร หรือซ่อมแซมหลังคาในภายหลัง ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องติดตั้งให้แข็งแรง และเรียบร้อย ตามที่

ก าหนดในแบบ หรือตามความเห็นชอบของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

- ระดับความสูงของฝ้าเพดาน ให้ถือตามระบุในแบบ แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อย ตาม

ความเห็นชอบของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

- งานยิปซัมบอร์ดฉาบเรียบที่ติดตั้งเสร็จแล้ว จะต้องได้แนวระดับ และแนวฉากที่เรียบร้อย

สวยงาม งานฝ้าเพดานทีบาร์ จะต้องได้แนวของทีบาร์ ที่ตรง ไม่คดเคี้ยว ได้แนวระดับ และแนวฉากที่เรียบร้อย

สวยงาม งานทาสีให้ปฏิบัติตามที่ระบุไว้ในงานทาสี ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องป้องกันไม่ให้งานยิปซัมบอร์ดสกปรก

หรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

2.9 ประตูและหน้าต่างอลูมิเนียม (1) ข้อก าหนดทั่วไป

ประตูและหน้าต่างอลูมิเนียมที่ได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทั้งหมด ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมเขียน

แบบประกอบการติดตั้ง Shop Drawing รวมถึงส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั่วไป ซึ่งจะต้องแสดงรายละเอียดการ

ติดตั้ง (Installation) การยึด (Fixed) แสดงระบบการกันน้ าไหลซึม (Watertight) และแสดงระยะต่างๆ

ตลอดจนความคลาดเคลื่อน (Tolerance) โดยละเอียดให้ถูกต้องตามมาตรฐาน มอก.744-2530 วงกบและ

กรอบบานโลหะส าหรับประตูและหน้าต่าง : หน้าต่างอะลูมิเนียม และ มอก.829-2531 วงกบและกรอบบาน

โลหะส าหรับประตูและหน้าต่าง : ประตูอะลูมิเนียม ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาเห็นชอบก่อน

ด าเนินการ

Page 65:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 26/41

-26-

(2) วัสดุ 2.1 เนื้อของอลูมิเนียม (Aluminium Extrusion) ที่เป็น Alloy ชนิด 6063-T5 หรือ 5OS-T5

ซึ่ งมี คุณ สมบั ติ ค งทนต่ อแรงดึ ง ไม่ น้ อยกว่ า 22 ,000 ปอนด์ ต่ อตารางนิ้ ว และได้ รับมาตรฐาน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอลูมิเนียมเจือหน้าตัดที่ มอก. 284-2530 ซึ่งมีคุณสมบัติตาม ASTM Specification

ดังต่อไปนี้

- Ultimate Tensile Strength 22,000 PSI - Yield 21,000 PSI - Shear 17,000 PSI

- Elastic Modulus 10,000,000 PSI 2.2 กรอบวงกบและส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เป็น Aluminium ให้เป็นสีตามที่ระบุในแบบ ถ้า

เป็นการชุบผิวด้วยไฟฟ้าต้องเป็นการชุบชนิดอโนไดซ์ (ANODIZED) ตามกรรมวิธี ANOLOK และความหนาของ

ผิวชุบ (Anodic Film) จะต้องไม่ ต่ ากว่ า 15 MICRON ความคลาดเคลื่ อนที่ ยอมให้ (ALLOWABLE

TOLERANCE) ±2 MICRON หากเป็นสีเคลือบผิว สีเคลือบผิวจะต้องเป็นชนิด POWDER COATING การ

เคลือบและการเตรียมผิวก่อนเคลือบสีให้ด าเนินการตามกรรมวิธีที่ได้ก าหนด ในก าหนดมาตรฐานเลขที่ ASTM

D1730-0 3 Standard Practices for Preparation of Aluminum and Aluminum-Alloy Surfaces for

Painting และ ASTM B-449-93 Standard Specification for Chromates on Aluminum (ALLOWABLE

TOLERANCE) ±2 MICRON และระบบการชุบเป็นลายลักษณ์อักษรจากโรงงานผู้ผลิต

2.3 ขนาดและความหนาหน้าตัดอลูมิเนียมที่ใช้โดยทั่วไปจะต้องเหมาะสมกับลักษณะของ

ต าแหน่งที่จะใช้ โดยมีความหนาตามรายการค านวณ แต่ไม่ต่ ากว่าที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้

- ช่องแสง หรือกรอบติดตาย ความหนาไม่ต่ ากว่า 2.0 มม. - ประต-ูหน้าต่างชนิดบานเลื่อน ความหนาไม่ต่ ากว่า 1.8 มม. - บานประตูสวิง ความหนาไม่ต่ ากว่า 2.5 มม. ใช้กรอบบานขนาดไม่เล็กกว่า 43 X 49 มม. - อลูมิเนียมตัวประกอบต่างๆ ความหนาไม่ต่ ากว่า 1.2-1.5 มม. - วงกบอลูมิเนียมส าหรับประตูภายในทั่วไป ถ้าไม่ได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างเป็นอย่างอ่ืน ให้ใช้

ขนาดไม่เล็กกว่า 13/4" X 4" ความหนาไม่ต่ ากว่า 2.0 มม. - หน้าต่างชนิดผลักกระทุ้ง ความหนาไม่ต่ ากว่า 2.0 มม. ขนาดของวงกบให้มีขนาดเท่ากับความ

หนาของผนัง หรือตามท่ีสถาปนิกก าหนดให้

- เกล็ดอลูมิเนียม ชนิดพับปลายกันน้ าฝน ความหนาไม่ต่ ากว่า 1.2 มม. - Flashing อลูมิเนียมในส่วนที่มองไม่เห็น ความหนาไม่น้อยกว่า 2.0 มม.

Page 66:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 27/41

-27-

- Flashing อลูมิเนียมในส่วนที่มองเห็น และ/หรือเป็นแผ่นผิวของผนังอาคาร ความหนาไม่ต่ ากว่า 3.0 มม.

- กรอบบานมุ้งลวด หนาไม่ต่ ากว่า 1.2 มม. ขนาดต้องสามารถติดตั้งอุปกรณ์ปิด-เปิดได้ 2.4 มุ้งลวดให้ใช้มุ้งลวดไนล่อน โดยจะต้องมีจ านวนช่องตาข่ายด้านตามยาวของม้วนไม่ต่ ากว่า

16 ช่องต่อ 1 นิ้ว จ านวนช่องตาข่ายด้านตามขวางของม้วนไม่ต่ ากว่า 18 ช่องต่อ 1 นิ้ว จัดชุดให้เหมาะสมกับ

ขนาดของช่องเปิด

2.5 ผลิตภัณฑ์ งานประตู-หน้าต่างอลูมิเนียม ตลอดจนการติดตั้งใช้ตามมาตรฐาน และ

กรรมวิธี ของ บ.สยามอินเตอร์โปรดักส์ จก. หรือ M.V.P. FOUR STARS หรือ SERMAT หรือคุณภาพเทียบเท่า

(3) การด าเนินงาน 3.1 งานอลูมิเนียมทั้งหมด จะต้องติดตั้งโดยช่างผู้ช านาญงานโดยเฉพาะ และให้เป็นไปตามแบบ

ขยายและรายละเอียดต่างๆ วงกบและกรอบบานของงานอลูมิเนียมจะต้องได้ดิ่ง และฉากถูกต้องตาม

หลักวิชาช่างที่ดี

3.2 ตะปูเกลียวส าหรับยึดงานอลูมิเนียมติดกับปูน จะต้องใช้ร่วมกับพุกชนิดที่ท าด้วยไนล่อน

ระยะที่ยึดจะ ต้องไม่เกินกว่า 50 เซนติเมตร การยึดจะต้องมั่นคงแข็งแรง ตะปูเกลียวที่ใช้ทั้งหมดให้ใช้

ชนิดสเตนเลส

3.3 รอยต่อรอบๆวงกบ ประตู-หน้าต่าง ทั้งภายในและภายนอก ส่วนที่แนบติดกับปูนคอนกรีต

หรือวัสดุอ่ืนใด จะต้องอุดด้วย One Part Silicone Sealant และรองรับด้วย Joint Backing ชนิด

Polyethylene โดยจะต้องท าความสะอาดรอยต่อให้สะอาด ปราศจากคราบน้ ามันและสิ่งสกปรก

เสียก่อน ในกรณีจ าเป็นจะต้องใช้ Primer ช่วยในการอุดยาแนว ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามกรรมวิธีของ

ผู้ผลิตวัสดุอุดยาแนวอย่างเคร่งครัด โดยเป็นค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง แล้วแต่งแนวให้เรียบร้อย ขนาด

ของรอยต่อจะต้องกว้างไม่น้อยกว่า 6 มม. แต่ไม่เกิน 10 มม.

3.4 ยางอัดกระจก ให้ท ามาจากวัสดุ EPDM โดยใช้ขนาดที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน

3.5 Weather Strip ให้ท ามาจากวัสดุประเภท Polypropylene มีความสูงของใบที่ใช้ต้อง

มากกว่าช่องห่างประมาณ 15% ตลอดแนว

3.6 ประตู-หน้าต่างบานเลื่อน จะต้องมีระบบป้องกันมิให้บานหลุดได้อย่างปลอดภัย ช่องเปิด

ประต-ูหน้าต่างอลูมิเนียมจะต้องเตรียมช่องระบายน้ าออกได้อย่างเพียงพอเมื่อน้ าฝนสาดเข้าในช่องเปิด

Page 67:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 28/41

-28-

3.7 ภายหลังการติดตั้งประตู หน้าต่างอลูมิเนียม พร้อมอุปกรณ์ประกอบทั้งหมด จะต้องได้รับ

การปรับให้อยู่ในลักษณะที่เปิด-ปิด ได้สะดวกไม่ติดขัด

3.8 วงกบและกรอบบานประตู-หน้าต่างอลูมิเนียม เมื่อติดตั้งแล้วเสร็จ ผู้รับจ้างจะต้องติด

Plastic Tape ป้องกันผิวของวัสดุเอาไว้ เพ่ือให้ปลอดภัยจากน้ าปูนหรือสิ่งอ่ืนใดที่อาจจะท าความ

เสียหายกับวงกบ และกรอบบาน ห้ามใช้น้ ามันเครื่อง หรือน้ ามันทาผิวอลูมิเนียม เพ่ือป้องกันน้ าปูนเป็น

อันขาด

3.9 ผู้รับจ้างต้องท าความสะอาดผิวอลูมิเนียมของบานประตู-หน้าต่าง ทั้งด้านนอกและด้านใน

ให้สะอาด ปราศจากคราบปูน สี หรือสิ่งอ่ืนใด เพ่ือให้ดูเรียบร้อยไม่กีดขวางการยาแนวของ Sealant

และการท างานของอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง ผู้รับจ้างจะต้องไม่ใช้เครื่องมือท าความสะอาดที่อาจ

ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผิวของอลูมิเนียม

(4) การส่งตัวอย่าง - ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายเสนอรายละเอียดประตูทุกชุด พร้อมแคตตาล็อคอุปกรณ์ประกอบของ

ประตูอลูมิเนียมทุกประเภท ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาอนุมัติก่อนด าเนินการ

2.10 ประตูบานไม้อัดแผ่นเรียบ (1) วัสดุที่ใช้

วงกบไม้เนื้อแข็ง 2" x 4" (หรือเท่ากับความหนาของผนัง) ท าสีพ่นหรือท าสีธรรมชาติ บานประตู

ไม้อัด (ชนิดระบุตามแบบขยาย) แผ่นเรียบ ท าสีพ่นหรือท าสีธรรมชาติ ขนาดตามแบบขยายประตู-หน้าต่าง

(2) อุปกรณ์ประกอบ - มือจับก้านโยก หากไม่ได้ระบุในแบบให้ใช้วัสดุ Stainless ผิว Hair Line พร้อมอุปกรณ์ครบชุด

หรือลูกบิดทรงกลม Stainless ผิว Hair Line พร้อมอุปกรณ์ครบชุด (ระบุตามแบบขยาย) ส าหรับห้องน้ าใช้

ชนิด Privacy Lock ใช้ผลิตภัณฑ์ในประเทศของ LOCK WOOD หรือ 555 CPS หรือ VVP หรือ สกุลไทย หรือ

เทียบเท่า และให้ท า MASTER KEY ชั้นละ 1 ชุด (3 ดอก) ทุกชั้น

- บานพับใช้ชนิดสเตนเลส ขนาด 4" x 4" หนา 2.5 มม. ติดบานประตูละ 3 ตัว หรือตาม

มาตรฐานผู้ผลิต ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ สกุลไทย หรือ 555 CPS หรือ NSK หรือ CENZA หรือ VVP หรือ

WHITCO หรือคุณภาพเทียบเท่า

- Door Closer หากไม่ได้ระบุในแบบให้ใช้ชนิดกล่องสี่เหลี่ยมโลหะ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ สกุลไทย

หรือ NSK หรือ 555 CPS หรือ CENZA หรือคุณภาพเทียบเท่า

Page 68:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 29/41

-29-

(3) การส่งตัวอย่าง ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องส่งแค็ตตาล็อกและ ตัวอย่างอุปกรณ์ประกอบให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุม

งานพิจารณาเห็นชอบก่อนติดตั้ง

2.11 งานทาสี (1) ขอบเขตงาน

- ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ดี และแรงงานที่มีความช านาญส าหรับการทาสี

อาคารทั้งหมดที่ระบุในแบบ และรายการประกอบแบบ พร้อมการรับประกันคุณภาพ

- สีที่ใช้และสีรองพ้ืนจะต้องปฏิบัติตามค าแนะน าของบริษัทผู้ผลิตโดยเคร่งครัด ห้ามการผสมสีอื่น

ใด นอกเหนือไปจากนั้นในการทาสีภายหลังจากท่ีแห้งแล้ว สีเดียวกันจะต้องปรากฏเหมือนกันทุกประการหากสี

ที่ทาไม่เท่ากันผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องท าการทาสีบริเวณท่ีต่างกันใหม่

- สีที่น ามาใช้จะต้องเป็นสินค้าใหม่ โดยบรรจุอยู่ในถัง หรือภาชนะที่ปิดสนิทเรียบร้อยมาจาก

โรงงาน มีสัญลักษณ์หรือฉลากระบุ รุ่นสี/เฉดสี และหมายเลขรุ่นที่ผลิต , มีใบส่งของจากโรงงานผู้ผลิตหรือ

ตัวแทนจ าหน่ายที่ได้การรับรองจากผู้ผลิต ที่สามารถตรวจสอบได้

- การเก็บรักษาจะต้องแยกห้องส าหรับเก็บสีเฉพาะ โดยไม่มีวัสดุอ่ืนเก็บรวม เป็นห้องที่ไม่มี

ความชื้น และมีการระบายอากาศได้ดี, ต้องก าหนดให้เป็นเขตระวังอัคคีภัย โดยติดตั้งป้ายก าหนดให้เป็นเขต

ห้ามสูบบุหรี่ และห้ามประกอบกิจที่จะให้เกิดความร้อนสูงหรือประกายไฟ รวมทั้งต้องเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิง

ให้เหมาะสมกับขนาดและปริมาณของสี สีที่เหลือจากการผสม หรือการทาแต่ละครั้ง จะต้องน าไปท าลายทันที

พร้อมภาชนะท่ีบรรจุสีนั้น หรือตามความเห็นชอบของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

- การผสมสี และขั้นตอนการทาสี จะต้องปฏิบัติตามวิธีการของผู้ผลิตสีอย่างเคร่งครัด โดยได้รับ

อนุมัติจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

- ห้ามทาสีขณะฝนตก อากาศชื้นจัด หรือบนพ้ืนผิวที่ยังไม่แห้งสนิท และจะต้องมีเครื่องตรวจวัด

ความชื้นของผนังก่อนการทาสีทุกครั้ง

- งานทาสีทั้งหมด จะต้องเรียบร้อยสม ่าเสมอ ไม่มีรอยแปรงหรือลูกกลิ้ง รอยหยดสี หรือ

ข้อบกพร่องอ่ืนใด และจะต้องท าความสะอาดรอยสีเปื้อนส่วนอ่ืนๆ ของอาคารที่ไม่ต้องทาสี เช่น พ้ืน ผนัง

กระจก อุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น

Page 69:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 30/41

-30-

(2) การเตรียมพ้ืนผิวก่อนทาสี พ้ืนผิวที่จะทาสีต้องแห้งสะอาด ปราศจากฝุ่นและคราบน้ ามัน บริเวณรอยเชื่อมจะต้องขจัดเสก็ด รอยเชื่อมและคราบเขม่าให้สะอาดก่อนทาสี

(3) งานทาสีภายนอกอาคาร ส าหรับผนังปูนฉาบ/ผิวคอนกรีต - ให้ทาสีน้ าอะครีลิคแท้ 100% เกรดรับประกัน 15 ปี โดยทารองพ้ืน 1 ชั้น แล้วทับสีทับหน้า 2

ชั้น ให้ได้ความหนาสีเป็นไปตามค าแนะน าของผู้ผลิต ดังผลิตภัณฑ์ตามรายละเอียดในตารางหรือเทียบเท่าหรือ

ดีกว่า

(4) งานทาสีภายในอาคาร ส าหรับผนังปูนฉาบ/ผิวคอนกรีต - ให้ทาสีน้ าอะคริลิคแท้ 100% โดยทารองพ้ืน 1 ชั้น แล้วทับสีหน้า 2 ชั้น ให้ได้ความหนาสี

เป็นไปตามค าแนะน าของผู้ผลิต ดังผลิตภัณฑ์ตามรายละเอียดในตารางหรือเทียบเท่าหรือดีกว่า

ผลิตภัณฑ์ สีรองพื น 1 ชั น สีทับหน้า 2 ชั น BEGER JOTUN

AKZO NOBEL(ICI) CAPTAIN

คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า

CERAMIC CLEAN MAJESTIC OPTIMA DULUX EASYCARE PARASHEILD FRESHICLEAN

(5) งานทาสีภายในอาคาร ส่วนฝ้าเพดาน (ชนิดด้าน) - ให้ทาสีน้ าอะคริลิคแท้ 100% โดยทารองพ้ืน 1 ชั้น แล้วทับสีหน้า 2 ชั้น ให้ได้ความหนาสี

เป็นไปตามค าแนะน าของผู้ผลิต ดังผลิตภัณฑ์ตามรายละเอียดในตารางหรือเทียบเท่าหรือดีกว่า

ผลิตภัณฑ์ สีรองพื น 1 ชั น สีทับหน้า 2 ชั น TOA

BEGER JOTUN

AKZO NOBEL(ICI) CAPTAIN

คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า

SHEILD 1 BEGER COOL ALL PLUS STRAX MATT DULUX INSPIRE SHIELD PLUS

(6) ส าหรับงานปรับปรุงงานทาสีเดิม ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขาย ท าความสะอาดผิวเดิมตามค าแนะน าของผู้ผลิตสีและให้ใช้สีรองพ้ืนปูนเก่าคุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า

(7) งานทาสีส าหรับโครงสร้างเหล็ก ท่อเหล็กและงานไม้ - ส าหรับงานเหล็ก ให้ทารองพ้ืนด้วยสีรองพ้ืนที่ไม่มีส่วนผสมของตะกั่ว หรือคุณภาพเกรดเดียวกีบ

สีทับหน้า แล้วจึงทาสีทับหน้า 2 ชั้น โดยให้ได้ความหนาของสีเป็นไปตามค าแนะน าของผู้ผลิต ดังผลิตภัณฑ์ตาม

รายละเอียดในตารางหรือเทียบเท่าหรือดีกว่า

Page 70:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 31/41

-31-

ผลิตภัณฑ์ สีรองพื น 1 ชั น สีทับหน้า 2 ชั น

TOA BEGER JOTUN

AKZO NOBEL(ICI)

คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า คุณภาพระดับเดียวกับสีทับหน้า

TOA GLIPTON ENAMEL BEGER SHIELD SUPERGLOSS ENAMEL GARDEX ENAMEL DELUX GLOSS FINISH A365 LINE

(8) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อกสี หรือตัวอย่างสีที่ใช้ สีรองพ้ืน และอ่ืนๆ ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

Page 71:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 32/41

-32-

3) รายละเอียดประกอบแบบงานไฟฟ้า (ให้ใช้เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง)

3.7 ความต้องการทั่วไป หากมิได้ก าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ แรงงาน เครื่องมือเครื่องใช้อื่น

ๆ และติดตั้งงานทั้งหมดตามแบบและรายละเอียด ข้อก าหนดนี้ตลอดจนงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจไม่ได้แสดงไว้แต่

จ าเป็นต้องท าเพ่ือให้งานไฟฟ้าเสร็จสมบูรณ์ จนใช้งานได้ โดยเป็นไปตามกฎและมาตรฐานฉบับล่าสุดที่อ้างถึง

ฉบับใดฉบับหนึ่งในเรื่องที่เก่ียวข้อง ดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจไม่ได้แสดงไว้แต่จ าเป็นต้องท าเพ่ือให้งานไฟฟ้าเสร็จ

สมบูรณ์จนใช้งานได้ โดยเป็นไปตามกฎและมาตรฐานฉบับล่าสุด ที่อ้างถึงฉบับใดฉบับหนึ่งในเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ดังต่อไปนี้

กฟน. กฎการไฟฟ้านครหลวง

กฟภ. กฎการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ทศท. กฎขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

วสท. มาตรฐานวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

มอก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

NEMA NATIONAL ELECTRICAL MANUFACTURER ASSOCIATION

UL UNDERWRITERS LABORATORIES

ANSI AMERICAN NATIONAL STANDARDS INSTITUTE

NEC NATIONAL ELECTRICAL CODE

นอกจากนี้ยังรวมถึงมาตรฐานต่างๆ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป หรือเป็นมาตรฐานของผู้ผลิตวัสดุ

หรืออุปกรณ์เฉพาะอย่าง ซึ่งวัสดุและอุปกรณ์อ่ืนๆ มีคุณภาพเทียบเท่ากับมาตรฐานดังกล่าวข้างต้น

3.8 รายละเอียดทั่วไป (1) แหล่งกระแสไฟฟ้าที่จะจ่ายแก่บริเวณที่ก่อสร้างใหม่ ให้ต่อจากแผงควบคุม ไฟฟ้าเดิม โดยผู้รับ

จ้าง/ผู้ขายจะต้องมีวิศวกรไฟฟ้า ซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมสาขาไฟฟ้าก าลัง รับผิดชอบค านวณขนาดสายไฟฟ้าที่ต้องใช้และควบคุมการติดตั้งให้เป็นไปตามแบบและถูกต้องตามหลักวิชาที่ดี และจะต้องลงนามรับรองในรายการค านวณ แผนผังไฟฟ้าที่ได้ออกแบบและที่ได้ก่อสร้างจริง (As-Built Drawings) รายการค านวณและรูปแบบแปลนแสดงระบบไฟฟ้า ขนาดของสายไฟที่ใช้ซึ่งได้ลงนามรับรองแล้วนั้น

Page 72:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 33/41

-33-

ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายน าเสนอต่อนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน พิจารณาก่อนด าเนินการก่อสร้าง โดยผู้รับจ้าง/ผู้ขายยังคงต้องผูกพันรับผิดชอบต่อความเสียหายต่าง ๆ ของระบบไฟฟ้าที่อาจเกิดข้ึนได้ แม้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน ได้พิจารณารายการค านวณและรูปแบบแปลนดังกล่าวแล้วก็ตาม

(2) ก่อนท าการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าใด ๆ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องส่ง Shop Drawings ให้ผู้ควบคุมการก่อสร้างพิจารณาตรวจสอบและเห็นชอบ หากผู้รับจ้าง/ผู้ขายละเลยไม่ปฏิบัติเมื่อเกิดผิดพลาด ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องรับผิดชอบในการแก้ไข โดยผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น

(3) การติดตั้งระบบไฟฟ้าต้องเป็นไปตามกฎและมาตรฐานที่อ้างถึง ต้องติดตั้งอย่างดีที่สุดตามวิธีการที่โรงงานผู้ผลิตวัสดุและอุปกรณ์นั้น ๆ แนะน ามา ผู้จ้างต้องใช้ช่างฝีมือที่มีความช านาญในสาขานี้โดยเฉพาะเป็นผู้ท าการติดตั้ง ผู้รับจ้างต้องศึกษาแบบและรายละเอียดทางโครงสร้าง ปรับอากาศสุขาภิบาล และอ่ืน ๆที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้แน่ใจว่าวัสดุและอุปกรณ์สามารถติดตั้งได้ในแนวหรือพ้ืนที่ที่ก าหนดไว้ โดยให้สอดคล้องกับงานอ่ืน วิธีการติดตั้งต้องง่ายต่อการบ ารุงรักษามีความประณีต และถูกต้องตามหลักวิชาโดยช่างผู้ช านาญ

(4) อุปกรณ์ไฟฟ้าที่น าไปใช้ต้องเป็นของใหม่ อยู่ในสภาพดี และเป็นผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน รับรองดังนี้ ANSI, NEMA, BS, JIS, NEC ก่อนท าการติดตั้งต้องน าตัวอย่างเสนอนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบและเห็นชอบเสียก่อน หากน าอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ได้มาตรฐานหรือไม่ตรงตามความต้องการของการประปานครหลวง ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องรื้อถอนและเปลี่ยนใหม่ให้ถูกต้อง โดยผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องเสียค่าใช้จ่ายเองท้ังสิ้น

(5) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องรับประกันแก้ไขงานที่ไม่ถูกต้อง เปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เสียและเสื่อมคุณภาพ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น ภายในระยะเวลาการรับประกันอาคารที่ก าหนด ส าหรับหลอดไฟฟ้าทุกชนิดให้รับประกันเพียงเฉพาะในกรณีที่หลอดเสียก่อนหมดอายุการใช้งาน

(6) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องจัดหาและติดตั้งระบบการต่อลงดินของระบบไฟฟ้า (System Grounding) และสายลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้า (Equipment Grounding) ขนาดของสายดิน ส าหรับอุปกรณ์ต่าง ๆ จะต้องเป็นไปตามแบบ โดยใช้ CODE สีฉนวนของสายเป็นสีเขียวหรือสีเขียวคาดเหลือง ติดตั้งระบบให้สมบูรณ์ตามข้อก าหนดของการไฟฟ้านครหลวงทุกประการ

(7) แบบแสดงการติดตั้งจริง (As-Built Drawings) หลังจากการติดตั้งแล้วเสร็จ ผู้รับจ้างต้องจัดท าแบบแสดงการติดตั้งจริง เสนอต่อนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานเพ่ืออนุมัติเมื่อได้รับการตรวจอนุมัติแล้ว ผู้รับจ้างจึงขอรับเงินงวดสุดท้ายได้

(8) ก่อนส่งมอบงานงวดสุดท้าย ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องท าการทดสอบการใช้งานของระบบไฟฟ้า โดยท าการทดสอบการใช้งานของอุปกรณ์ทั้งหมดหรือตามที่ผู้ควบคุมการก่อสร้างก าหนด เป็นเวลาต่อเนื่องกัน 8 ช.ม.ระหว่างช่วงเวลาการทดสอบ หากเกิดความเสียหายขึ้นกับระบบไฟฟ้าและ/หรือ อุปกรณ์ไฟฟ้าผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องท าการแก้ไขและ/หรือ เปลี่ยนแปลงแล้วท าการทดสอบใหม่ จนกว่าจะผ่านการทดสอบตามความเห็นของนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน ค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้รับจ้าง/ผู้ขายเป็นผู้รับผิดชอบทั้งสิ้น

3.9 สวิตซ์และเต้ารับไฟฟ้างาน (ภายในทั่วไป ยกเว้นหากระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนในแบบแปลน) ชนิดและขนาดตามที่ก าหนด ขั้วต่อสายของสวิตซ์ต้องมีรูส าหรับสอดสายและสกรูขันอัดโดยตรงสวิตซ์พร้อมเต้ารับและฝาครอบต้องเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกัน ขั้ว GROUND ของเต้ารับจะต้องต่อสาย GROUND ขนาด 2.5 mm โดยใช้

Page 73:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 34/41

-34-

CODE สีของฉนวนเป็นสีเขียว ต าแหน่งติดตั้งสวิทช์และเต้ารับให้ดูรายละเอียดจากแบบงานระบบออกแบบตกแต่งภายใน

3.10 สวิตช์และเต้ารับไฟฟ้าแบบชนิดกันน า (งานภายนอก ยกเว้นหากระบุไว้เป็นอย่างอ่ืนในแบบแปลน) ผลิตภัณฑ์ของ PANASONIC หรือเทียบเท่าแผ่นฝาครอบอลูมิเนียม อโนไดซ์ ทนกระแสไฟฟ้าได้ไม่ต่ ากว่า 20 A 250 V เว้นเสียแต่ก าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน เต้ารับให้ใช้ชนิด 2 ขั้ว 3สาย (มีสายดิน) และมีฝาปิดกันน้ า ใส่กล่องครอบ

3.11 สายไฟฟ้า (1) สายไฟฟ้าชนิดร้อยท่อ ต้องเป็นทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี ถ้าไม่ได้ระบุเป็นอย่างอ่ืน สายไฟฟ้าที่ใช้

จะต้องทนแรงดันไฟฟ้าได้ 750 โวลท์ 70 องศาเซลเซียส ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.11 ฉบับล่าสุด หรือเทียบเท่า ขนาดตามท่ีได้ก าหนดในแบบ และถูกต้องตามกฎและมาตรฐานของการไฟฟ้าฯ

(2) สายไฟฟ้าชนิดเดินลอย ต้องเป็นสายทองแดงหุ้มฉนวน มีเปลือกนอก ทนแรงดันไฟฟ้าได้ 300 โวลท์ 70 องศาเซลเซียสตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.11 ฉบับล่าสุด หรือเทียบเท่า ส าหรับวงจรเต้ารับไฟฟ้า โดยให้เดินตีกิ๊บทุกระยะไม่เกิน 15 เซนติเมตร

(3) ท่อร้อยสายไฟฟ้างานภายในอาคารทั่วไปให้ใช้ ชนิดท่อ IMC (4) ท่อร้อยสายไฟฟ้างานภายนอกอาคารและงานฝังท่อใต้ดินให้ใช้ ชนิดท่อ HDPE (5) สายที่ใช้ภายในดวงโคม ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 มม2 ฉนวนต้องเหมาะสมกับแรงดันและ

อุณหภูมิใช้งาน (6) สายวงจรย่อย สายที่ต่อไปยังเต้าเสียบแต่ละอันและสายดิน ใช้ขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 มม.2 และ

ตามท่ีก าหนดในแบบ (7) สายไฟฟ้าทั้งหมด ให้ใช้ของโรงงานในประเทศไทยที่การไฟฟ้านครหลวงรับรอง และสั่งซื้อไปใช้

งาน (THAI YAZAKI, BANGKOK CABLE หรือ PHELPS DODGE) (8) สีของสายไฟฟ้าให้ใช้แตกต่างกันในแต่ละ Phase (9) การเดินสายภายในอาคารให้เดินสายร้อยท่อซ่อนในผนังหรือในฝ้าเพดาน หรือตามที่ระบุในแบบ

โดยใช้ขนาดท่อและสายตามที่ระบุในแบบอนึ่งห้ามท าการตัดต่อบนฝ้า เพดาน อนุญาตให้ท าการตัดต่อสายในปลั๊ก สวิตซ์ หรือ Junction Box เท่านั้น

3.12 โคมไฟ และหลอดไฟฟ้าพร้อมอุปกรณ์ (1) โคมไฟตะแกรงฝังฝ้า หากไม่ระบุรายละเอียดในแบบ ให้ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ 2 x 36W แสง

เดย์ไลท์ ตัวโคมท าดวยเหล็กหนาไมนอยกวา 0.6 มม. พับขึ้นรูป เคลือบดวยสีกันสนิม หรือวัสดุอ่ืนที่ดีกวา ตะแกรงแบบตัวขวาง ภายในโคมมีแผนสะทอนแสงท าดวยแผนอะลูมิเนียม มีความหนาไมนอยกวา 0.4 มม. ตลอดแนวความยาวของหลอดและจะตองสามารถถอดตะแกรงเพ่ือการบ ารุงรักษาได

ชนิดของหลอดฟลูออเรสเซนต์จะต้องมีค่า Ra ไม่น้อยกว่า 85 หรือความสว่างไม่น้อยกว่า 1300

ลูเมน (ส าหรับหลอด 18 W.) หรือความสว่างไม่น้อยกว่า 3250 ลูเมน (ส าหรับหลอด 36W) และขนาดตามที่

ก าหนดในแบบ บาลาส์ท ส าหรับดวงโคมฟลูออเรสเซนต์ต้องเป็นชนิด Low Loss และมีแคปาซิเตอร์ต่อร่วมท า

Page 74:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 35/41

-35-

ให้ค่า Power Factor ที่ได้ต้องไม่น้อยกว่า 90% หรือเป็นชนิด High Power Factor Ballast ให้ใช้ ผลิตภัณฑ์

PANASONIC, TOSHIBA, PHILIPS, OSRAM หรือเทียบเท่า

(2) โคมไฟดาวน์ไลท์ แบบฝังฝ้า หากไม่ระบุรายละเอียดในแบบ ขนาดโคม Ø 160 มม. ขอบโคมท าด้วย Die Cast Aluminium พ่นด้วยสีฝุ่นอบแห้ง ตัวสะท้อนแสงท าด้วย Anodized Aluminium ผิวด้าน ขั้วแบบ E27

ชนิดของหลอดไฟประหยัดไฟ คอมแพ็คฟลูออเรสเซ็นต์ ขนาด 20W. ผลิตภัณฑ์ PANASONIC,

TOSHIBA, PHILIPS, OSRAM หรือ เทียบเท่า สีของแสงก าหนดโดยนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงาน

(3) ส าหรับโคมไฟภายนอก หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้โคมไฟที่มีค่า IP65 3.13 รายละเอียดพัดลมระบายอากาศ ขนาด 10 นิ ว

1) คุณสมบัติทั่วไป

เป็นพัดลมระบายอากาศส าหรับติดตั้งกับกระจก สามารถดูดอากาศออก และจะต้องผลิตตาม

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.934 (ปีล่าสุด) “พัดลมไฟฟ้ากระแสลมลับเฉพาะด้านความ

ปลอดภัย”

2) คุณสมบัติทางเทคนิค

- ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใบพัด : ไม่น้อยกว่า 10 นิ้ว

- จ านวนใบพัด : ไม่น้อยกว่า 5 ใบพัด

- ใช้กับไฟฟ้า : 220 VAC 50Hz

3.14 รายละเอียดพัดลมติดผนัง แบบ Pull Switch ขนาด 16 นิ ว เป็นพัดลมติดผนังแบบ 3 ใบพัด สามารถปรับแรงลมได้ 3 ระดับ ปรับส่ายซ้าย-ขวา และหยุดส่ายด้วย

ระบบ PULL SWITCH ผลิตจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ISO 9001 ผ่านมาตรฐานด้านความปลอดภัยเลขท่ี มอก.

934-2533 และมีระบบ THERMAL FUSE ตัดไฟอัตโนมัติเมื่อมอเตอร์มีอุณหภูมิสูงเกินก าหนด

3.15 การรับประกัน ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องรับประกันตามรายละเอียดนี้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 730 วัน นับถัดจากวันที่

การประปานครหลวงได้รับมอบงานครบถ้วนตามสัญญา

หากเกิดการช ารุดเสียหายเนื่องจากการใช้งานตามปกติ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องซ่อมแซมหรือ

เปลี่ยนส่วนที่ช ารุดเสียหายให้ใหม่โดยไม่คิดมูลค่าจากการประปานครหลวงตลอดระยะเวลาการรับประกัน

Page 75:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 36/41

-36-

4) รายละเอียดประกอบแบบงานสุขาภิบาล (ให้ใช้เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง)

4.1 ขอบเขตของงาน เพ่ือจัดหาแรงงาน วัสดุ เครื่องมือ และบริการจากผู้รับจ้าง/ผู้ขายโดยติดตั้งสิ่งอ านวยความสะดวก

ทางด้านสุขาภิบาลตามความต้องการของการประปานครหลวง โดยทั้งหมดจะระบุไว้ในแบบแปลนและ

รายละเอียดประกอบแบบ ซ่ึงประกอบด้วย

(1) ระบบท่อน้ าประปา (2) ระบบท่อน้ าทิ้ง ท่อน้ าโสโครก และท่ออากาศ (3) ระบบท่อระบายน้ าและน้ าฝน (4) ระบบบ าบัดน้ าเสีย (5) การทดสอบระบบ และการท าความสะอาด

4.2 ข้อก าหนดที่ใช้เป็นมาตรฐาน ถ้ามิได้ก าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน วัสดุอุปกรณ์ การประกอบติดตั้ง และการควบคุม จะต้องเป็นไปตาม

มาตรฐาน กฎเกณฑ์ และข้อบังคับล่าสุดที่เก่ียวข้องของสถาบันวิชาชีพและสมาคมต่างๆ ดังต่อไปนี้

(1) สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) (2) ส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) (3) การประปานครหลวง (กปน.) (4) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) (5) กรมโยธาธิการและผังเมือง (ยผ.) (6) กรุงเทพมหานคร (กทม.) (7) กระทรวงหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ในกรณีที่ไม่มีมาตรฐาน กฎเกณฑ์ และข้อบังคับควบคุม ให้ใช้ตามมาตรฐานผู้ผลิต

4.3 ข้อก าหนดทั่วไป (1) ในกรณีไม่มีผังการเดินท่อ ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายเสนอผังและภาพขยายรายละเอียดการเดินท่อต่างๆ

ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาเห็นชอบก่อนด าเนินการในขั้นต่อไป หากในแบบแปลนและรายการมิได้ก าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้ถือปฏิบัติดังนี้คือ การเดินท่อให้เดินท่อใต้พ้ืนหรือในช่องท่อหรือฝังไว้ในผนัง ให้พยายามหลีกเลี่ยงการฝังในพ้ืนหรือคาน ท่อที่เดินใต้พ้ืนให้ใช้เครื่องยึดเหนี่ยวและเครื่องรองรับ การเดินท่อจะต้องจัดแนวเรียงท่อให้เรียบร้อยเป็นแนวตรงและมีช่องเปิดส าหรับตรวจสอบซ่อมพร้อมบานประตูติดบานพับปิดเปิดได้ตามความเหมาะสม วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งต้องเป็นของใหม่และผลิตโดยโรงงานที่การประปานครหลวงเชื่อถือได้ อุปกรณ์ที่บกพร่องหรืออุปกรณ์ที่เสียหายในขณะติดตั้งหรือขณะทดลองจะต้องเปลี่ยนใหม่

Page 76:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 37/41

-37-

และ/หรือแก้ไขซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี ทั้งนี้ต้องได้รับการรับรองจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานก่อนด าเนินการ

(2) ระบบท่อที่เดินอยู่ในที่เปิด สามารถมองเห็นได้เมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จสมบูรณ์ เช่น ข้างอาคาร เหนือพ้ืนดิน เป็นต้น ให้ทาสีใหม่ทั้งหมด ส่วนระบบท่อที่เดินอยู่ในที่ปิด เช่น เหนือฝ้าเพดาน ในช่องท่อ เป็นต้น ให้ทาแถบสีน้ ามันกว้าง 20 เซนติเมตร ทุกระยะไม่เกิน 2 เมตร พร้อมเครื่องหมายแสดงชนิดและทิศทางการไหล ดังนี้

ระบบท่อ สี สัญลักษณ์ สีสัญลักษณ์และลูกศร

ท่อน้ าประปา

ท่อน้ าทิ้ง

ท่อน้ าโสโครก

ท่ออากาศ

ท่อระบายน้ าฝน

น้ าเงิน

น้ าตาล

เขียว

ขาว

ขาว

CW

W

S

V

RL

ขาว

ขาว

ขาว

น้ าตาล

ฟ้า

(3) ชนิดของท่อ บ่อพัก และรางระบายน้ า ถ้าไม่ได้ระบุไว้ในแบบแปลนให้ใช้ ดังนี้ (3.1) ท่อน้ าประปาภายในอาคาร ให้ใช้ท่อพีวีซีที่มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

มอก.17 ชั้นคุณภาพ 13.5 หรือตามที่ก าหนดในแบบแปลน ส่วนท่อน้ าประปาภายนอกอาคารหรือฝังดิน ให้ใช้ท่อ Polybutylene (PB) ชั้นคุณภาพ SDR13.5 ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.910 ห รื อ ท่ อ High Density Polyethylene (HDPE) ชั้ น คุ ณ ภ า พ PN10 ที่ มี คุ ณ ภ า พ ได้ ม า ต ร ฐ า นผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.982

(3.2) ท่อน้ าทิ้ง ท่อน้ าโสโครก ท่ออากาศ และท่อระบายน้ าฝน ภายในอาคาร ให้ใช้ท่อพีวีซีที่มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก.17 ชั้นคุณภาพ 8.5 ส่วนท่อภายนอกอาคารหรือฝังดิน ให้ใช้ท่อพีวีซี ชั้นคุณภาพ 13.5 ในมาตรฐานเดียวกัน

(3.3) ข้อต่อพีวีซีแข็ง มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.1131 ส าหรับใช้กับท่อรับความดัน และ มอก.1410 ส าหรับงานระบายสิ่งปฏิกูล น้ าเสีย และอากาศ

(3.4) ท่อระบายน้ าบริเวณรอบอาคาร ให้ใช้ท่อคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นคุณภาพ 2 ที่มีคุณภาพได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.128

Page 77:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 38/41

-38-

(3.5) บ่อพักส าหรับตรวจการระบายน้ า และรางระบายน้ า หากมิได้ก าหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนให้ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมฝาปิดชนิดคอนกรีตเสริมเหล็กหรือตะแกรงเหล็ก

(4) ท่อและข้อต่อต่างๆ ที่ยังติดตั้งไม่แล้วเสร็จจะต้องใช้ปลั๊กอุดท่อให้แน่นหนา เพ่ือป้องกันผงปูน เศษวัสดุ ฯลฯ เข้าไปอุดตันในเส้นท่อ

(5) ถ้าไม่สามารถเดินท่อต่างๆ ตามแบบแปลนและรายการ เนื่องจากอุปสรรคทางด้านใดก็ตาม ผู้รับจ้าง/ผู้ขายสามารถเดินท่อต่างไปจากแบบแปลนและรายการได้ โดยเมื่อเปรียบเทียบกับแบบแปลนและรายการเดิมแล้วเกิดประโยชน์ต่อการประปานครหลวง ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานก่อนด าเนินการ

(6) ถ้าแบบแปลนและรายการการเดินท่อไม่แสดงแนวท่อและขนาดท่อของสุขภัณฑ์ใด หรือแนวและขนาดท่อไม่ชัดเจน ให้ถือว่าการเดินท่อและขนาดท่อที่จ าเป็นของสุขภัณฑ์นั้นรวมอยู่ในงานก่อสร้างนี้ด้วย

(7) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดท าแบบแปลนที่แสดงรายละเอียดในการวางท่อ การรองรับท่อ และขนาดของท่อที่ติดตั้งไปจริง ซึ่งแบบแปลนต้องได้รับการตรวจสอบจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานก่อนที่ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะทดสอบระบบ ทั้งนี้แบบแปลนดังกล่าว ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดท าเป็นแบบแปลนการเดินท่อจริง (As-built Drawings) และเขียนให้ได้มาตรฐานงานช่าง

4.4 ระบบท่อน าประปา (1) หากแบบแปลนและรายการมิได้ระบุไว้เป็นอย่างอ่ืน ให้เดินท่อประปาสายเมนมายังตัวอาคาร ใน

กรณีที่บริเวณก่อสร้างไม่มีท่อประปาสายเมนผ่านให้เดินท่อประปาสายเมนของอาคารออกไปนอกอาคาร เพ่ือเตรียมบรรจบกับท่อประปาสายเมนนอกอาคาร

(2) การเดินท่อให้ใส่ประตูน้ ารวมและประตูน้ าแยกแต่ละชั้น หรือแต่ละส่วน เพ่ือสะดวกในการซ่อมแซมแก้ไขหรือติดตั้งเพ่ิมเติมในอนาคต โดยติดตั้งในต าแหน่งที่สะดวกแก่การตรวจและเข้าถึงได้ง่าย ให้ใช้ประตูน้ าชนิดทองเหลืองทีท่นความดันได้ไม่ต่ ากว่า 125 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว

(3) การติดตั้งท่อน้ าประปา ต้องวางเป็นแนวตรงและให้มีความลาดเอียงไปในทิศทางที่สามารถระบายน้ าออกจากระบบได้จนหมด ท่อขึ้นจะต้องได้ดิ่งและตรง ถ้าหักเป็นมุมหรือขนานไปตามแนวผนังจะต้องได้สัดส่วนและประณีต

(4) การเดินท่อน้ าประปาภายในอาคาร ห้ามเดินท่อใต้พ้ืนชั้นล่างสุดในทุกกรณี ส่วนท่อน้ าประปาแยก ให้เดินเหนือฝ้าเพดาน และให้เดินในผนังกรณีแยกเข้าสุขภัณฑ์

(5) การต่อท่อน้ าประปาแยกเข้าสายอ่อนเครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ทุกแห่ง เช่น โถส้วม สายช าระ อ่างล้างหน้า เป็นต้น ห้ามต่อโดยตรง ให้ต่อท่อแยกโดยใช้ยูเนียนก่อนทุกครั้ง พร้อมติดตั้ง Stop Valve ขนาดเดียวกับท่อ

(6) อุปกรณ์ Fitting พีวีซี ของระบบท่อน้ าประปา ในส่วนที่ต่อเข้ากับก๊อกหรือประตูน้ า ให้ใช้ชนิดเกลียวในทองเหลือง

(7) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องติดตั้ง Air Chamber ไว้ที่ปลายสุดของท่อแยกท่ีจ่ายให้กับเครื่องสุขภัณฑ์ โดยAir Chamber ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าท่อที่แยกไปเข้าเครื่องสุขภัณฑ์นั้นๆ และต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 20

Page 78:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 39/41

-39-

มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว) และยาวไม่น้อยกว่า 45 เซนติเมตร ที่ปลาย Air Chamber ให้ใส่ Cap อุดและเชื่อมโดยรอบ เพื่อกันลมรั่วจาก Chamber

4.5 ระบบท่อน าทิ ง ท่อน าโสโครก และท่ออากาศ (1) ท่อน้ าทิ้งและท่อน้ าโสโครกในแนวระดับที่มีขนาดเล็กกว่า 75 มิลลิเมตร (3 นิ้ว) ต้องมีความลาด

เอียงไม่น้อยกว่า 1: 50 ส าหรับท่อขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) หรือใหญ่กว่า ต้องติดตั้งให้มีความลาดเอียงไม่น้อยกว่า 1:100 ส่วนท่ออากาศในแนวระดับต้องมีความลาดเอียง 1:100 โดยลาดขึ้นจากเครื่องสุขภัณฑ์ไปยังท่อเมนของระบบท่ออากาศ ห้ามต่อท่อลดระดับที่ท าให้น้ าขังโดยเด็ดขาด

(2) การเปลี่ยนทิศทางของท่อน้ าทิ้งและท่อน้ าโสโครก ให้ใช้ข้อต่อตัววาย (Y) หรือ ที-วาย หรือข้อโค้งรัศมีกว้าง ห้ามใช้ข้องอฉากหรือสามทางฉากโดยเด็ดขาด เพ่ือให้ได้แนวตามความต้องการ เว้นแต่กรณีที่ท่อน้ าโสโครกไหลจากแนวราบลงสู่แนวดิ่ง และการหักเลี้ยวของท่อน้ าโสโครกไหลจากห้องส้วม ให้ใช้ข้อโค้งสั้น 90 องศา

(3) ในกรณีที่แนวฝังท่อน้ าทิ้งหรือท่อน้ าโสโครกขนานหรือตัดกับแนวฝังของท่อน้ าประปา จะต้องฝังท่อน้ าประปาให้อยู่เหนือหลังท่อน้ าทิ้งหรือท่อน้ าโสโครกเป็นระยะไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร

(4) ท่ออากาศต้องต่อออกไปนอกอาคารเสมอ โดยให้ปลายท่อเป็นข้อต่อตัวที (T) ปิดปลายท่อทั้งสองด้านด้วยลวดกรงไก่ตาถี่ โผล่พ้นชายคาหรือดาดฟ้า หรืออย่างน้อยเหนือระดับช่องเปิดบนสุดของชั้นบนสุดไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร

(5) ในกรณีที่จ าเป็นต้องเดินท่ออากาศทะลุหลังคาหรือผนัง จะต้องติดตั้งให้ปลายท่อบนอยู่สูงขึ้นไปเป็นระยะไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร และต้องมีการป้องกันไม่ให้น้ ารั่วซึมได้

(6) ช่องท าความสะอาดท่อ (CO) ท าด้วยทองเหลืองชุบโครเมียม ปลายช่องมีที่ปิด-เปิด ส่วนช่องท าความสะอาดที่พ้ืนชั้นล่าง (FCO) ฝาช่องท าด้วยโลหะไร้สนิม และให้ปลายท่อเสมอระดับพ้ืนห้องน้ ามีแผ่นป้องกันไม่ให้น้ ารั่วซึมได้

(7) ช่องระบายน้ าที่ พ้ืน โถปัสสาวะ อ่างล้างมือ ฯลฯ ต้องมีที่ดักกลิ่นชนิด P-Trap และต้องมีที่ส าหรับท าความสะอาด หรือมีส่วนของที่ดักกลิ่นเองที่ถอดออกท าความสะอาดได้

(8) ช่องระบายน้ าที่พ้ืน (FD) เป็นแบบโครงเหล็กหล่อ มีปีกกันซึม หล่อเป็นเนื้อเดียวกัน มีตะแกรงดักผงท าด้วยทองเหลืองชุบโครเมียมชนิดถอดออกได้พร้อมฝาครอบ มีทีด่ักกลิ่นในตัว โดยพื้นชั้น 1 (ชั้นล่างสุด) ให้ใช้ที่ดักกลิ่นชนิด Bell Trap ขนาดของช่องระบายน้ าจะต้องมีขนาดเท่ากับขนาดของท่อแยกที่ต่ออกมารับหัวช่องระบายน้ านั้นๆ แต่ต้องไม่เล็กกว่า 50 มิลลิเมตร (2 นิ้ว)

4.6 ระบบระบายน าและน าฝน (1) ช่องระบายน้ าฝน (RD) เป็นแบบโครงเหล็กหล่อ มีปีกกันซึม หล่อเป็นเนื้อเดียวกัน มีตะแกรงดัก

ผงแบบดอกเห็ดชนิดถอดออกได้ พ้ืนที่ช่องเปิดเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่า 2 เท่าของขนาดท่อน้ าฝน ขนาดข้อต่อของช่องเปิดรับน้ าฝนจะต้องเท่ากับขนาดท่อน้ าฝน และต่อแบบเกลียว

(2) การวางท่อหรือรางระบายน้ าจะต้องมีรอยต่อสนิทแนบเนียน ได้แนวตรง และมีระดับลาดเอียงไม่น้อยกว่า 1:200 หรือเพียงพอให้น้ าไหลได้ด้วยความเร็วไม่ต่ ากว่า 0.6 เมตรต่อวินาที

Page 79:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 40/41

-40-

(3) บ่อพักส าหรับตรวจการระบายน้ า ให้ก่อสร้างทุกมุมเลี้ยว และทุกระยะไม่เกิน 12 เมตร ส าหรับท่อระบายน้ าที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร และทุกระยะไม่เกิน 24 เมตร ส าหรับท่อระบายน้ าที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 60 เซนติเมตรขึ้นไป เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอ่ืน

4.7 ระบบบ าบัดน าเสีย (1) เป็นถังบ าบัดน้ าเสียส าเร็จรูปที่สามารถบ าบัดน้ าเสียได้คุณภาพน้ าทิ้งตามมาตรฐานของกระทรวง

ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องเสนอแบบแปลน รายการค านวณ ชนิด ขนาด และขั้นตอนการติดตั้งของถังบ าบัดฯ ที่เลือกใช้ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาเห็นชอบก่อนด าเนินการจัดหา

(2) การติดตั้งถังบ าบัดฯ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการเริ่มต้นการท างาน (Start up) ให้เป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต ทั้งนี้ ทุกขั้นตอนผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องจัดหาวิศวกรสิ่งแวดล้อมหรือผู้ที่มีความรู้ในด้านระบบบ าบัดน้ าเสียโดยเฉพาะดูแลการติดตั้ง จนกระทั่งระบบมีการท างานคงที่และคุณภาพน้ าออกจากระบบได้ตามมาตรฐานน้ าทิ้ง

(3) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องรับประกันระบบบ าบัดน้ าเสียเป็นระยะเวลา 730 วัน นับถัดจากวันที่คณะกรรมการได้ตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย

4.8 การทดสอบระบบ (1) ทุกระบบจะต้องได้รับการตรวจสอบหรือทดสอบให้เรียบร้อยก่อนที่ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะติดตั้งฝ้า

เพดาน กลบดิน หรือกระท าการใดๆ ที่ปิดบังท่อ โดยแรงงาน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จ าเป็น และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เก่ียวข้องทั้งหมดในการทดสอบระบบเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง/ผู้ขายทั้งสิ้น

(2) การทดสอบระบบท่อน้ าประปา (ภายในอาคาร) ด้วยแรงดัน เมื่อติดตั้งท่อน้ าประปาเสร็จ ก่อนต่อท่อเข้าเครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ทั้งหมด ให้ปิดก๊อกน้ าทั้งหมดและใช้น้ าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานน้ าดื่มอัดเข้าในระบบท่อ โดยให้มีขนาดความดันไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของความดันใช้งานจริง แต่ไม่เกินความดันตามชั้นคุณภาพของท่อ และทิ้งไว้โดยไม่มีการรั่วเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง หากพบส่วนใดของระบบท่อรั่วซึมหรือช ารุดจะต้องแก้ไขให้เรียบร้อยโดยวิธีถอดออกต่อใหม่หรือเปลี่ยนของใหม่เท่านั้น แล้วทดสอบใหม่อีกครั้งจนได้ผลการติดตั้งเรียบร้อย ใช้งานได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ทุกประการ

(3) การทดสอบระบบท่อน้ าทิ้ง ท่อน้ าโสโครก ท่ออากาศ และท่อระบายน้ าฝน ให้ใช้ปลั๊กอุดทางออกท่อทั้งหมดของระบบที่จะท าการทดสอบให้แน่น ยกเว้นช่องที่อยู่ระดับสูงสุด เติมน้ าจนเต็มท่อ และทิ้งไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 นาที แล้วตรวจระดับน้ า หากระดับน้ าลดลงไม่เกิน 10 เซนติเมตร ก็ถือว่าใช้ได้ ในกรณีทดสอบท่อเป็นส่วนๆ แยกจากกัน ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้างต้น แต่ต้องต่อท่อจากส่วนที่จะท าการทดสอบขึ้นในแนวดิ่ง 3 เมตร เพื่อให้เกิดแรงกดของน้ า หรืออาจใช้เครื่องสูบน้ าให้เกิดแรงดันเท่ากับความดันน้ าสูง 3 เมตรก็ได ้

(4) การทดสอบระบบต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นอาจใช้วิธีอ่ืนได้ตามความเหมาะสมแต่ต้องได้รับอนุมัติจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนด าเนินการ

Page 80:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 41/41

-41-

(5) จากผลการตรวจสอบหรือทดสอบระบบต่างๆ หากปรากฎว่ามีท่อรั่วซึมหรือช ารุดบุบสลาย ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ฯลฯ ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องด าเนินการแก้ไขให้ทันที โดยวิธีถอดออกแล้วติดตั้งใหม่หรือเปลี่ยนของใหม่เท่านั้น และต้องท าการทดสอบใหม่อีกครั้ง จนปรากฎผลว่าระบบที่ติดตั้งนั้นเรียบร้อยสมบูรณ์

4.9 การท าความสะอาด เมื่อผ่านการติดตั้งและทดสอบระบบเรียบร้อยแล้ว จะต้องท าความสะอาดระบบทั้งหมด รวมถึงเครื่อง

สุขภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ติดตั้งในระบบทุกชิ้นอย่างทั่วถึง ทั้งภายนอกและภายใน โดยเช็ดถูขัดล้างน้ ามันจาระบี

เศษโลหะ และสิ่งสกปรกต่างๆ ออกให้หมด หากการติดตั้งหรือการท าความสะอาดนี้กระท าความช ารุด

เสียหายต่อส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารหรือวัสดุตกแต่งอาคาร ผู้รับจ้าง/ผู้ขายจะต้องซ่อมแซมหรือเปลี่ยนส่วน

นั้นๆ ให้ใหม่ทันที โดยค่าใช้จ่ายเป็นของผู้รับจ้าง/ผู้ขาย

ระบบท่อน้ าประปา (ภายในอาคาร) จะต้องฆ่าเชื้อโรค โดยเติมสารละลายคลอรีนเข้มข้นลงไปในระบบ

ท่อที่มีน้ าสะอาดขังอยู่เต็ม เปิดให้น้ ามีการหมุนเวียนจนกระทั่งตรวจสอบได้ว่าน้ าในระบบท่อมีคลอรีนเข้มข้นไม่

ต่ ากว่า 50 มิลลิกรัมต่อลิตร แล้วแช่ทิ้งไว้ 24 ชั่วโมง เมื่อครบก าหนดเวลา ให้เปิดวาล์วทุกตัวเพ่ือระบายน้ าออก

และใช้น้ าสะอาดไล่สารละลายคลอรีนออกจนน้ าที่ออกมีคลอรีนเหลือไม่ถึง 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงหยุดได้และ

ถือว่างานท าความสะอาดระบบท่อน้ าประปาแล้วเสร็จ

4.10 ข้อก าหนดอ่ืนๆ (1) ท่อปลอก (SLEEVE) การสกัด การตกแต่ง

(1.1) ในกรณีที่ระบุหรือมีความจ าเป็นต้องเดินท่อผ่านคาน เสา หรือพ้ืนคอนกรีตเสริมเหล็ก จะต้องเดินท่อเหล่านั้นให้เรียบร้อยก่อนเทคอนกรีต หรืออาจจะใส่ท่อปลอก (SLEEVE) ฝังไว้ก่อนก็ได้ และก่อนเทคอนกรีตจะต้องแจ้งให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานทราบล่วงหน้าเพ่ือตรวจสอบให้ถูกต้อง

(1.2) ผู้รับจ้าง/ผู้ขายสามารถจะสกัดหรือตกแต่งส่วนต่างๆ เพ่ือท าให้เหมาะสมต่อการติดตั้งวางท่อได้ แต่การสกัดหรือตกแต่งส่วนต่างๆ ที่เป็นโครงสร้างตัวอาคารจะกระท าได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากนายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานแล้วเท่านั้น

(2) เครื่องยึดเหนี่ยวและเครื่องรองรับ (2.1) เครื่องมือที่ใช้ในการแขวน รองรับและรัดหรือยึดท่อจะต้องมีขนาดเหมาะสมและมีความ

แข็งแรงเพียงพอกับการรับน้ าหนักท่อ (2.2) ท่อที่วางในแนวราบหรือในแนวระดับ จะต้องมีที่ยึดหรือรัดท่อหรือแขวนหรือรองรับกับ

แผ่นพ้ืนหรือคานด้านบน ท่อที่อยู่ติดกับก าแพง เสา หรือพ้ืนให้ใช้เข็มขัดโลหะรัดท่อเข้ากับก าแพง เสาหรือพ้ืนทุกๆ ระยะ

(2.3) ขนาดเหล็กแขวนที่รองรับมีขนาดดังนี้

Page 81:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 42/41

-42-

ขนาดของท่อ, มิลลิเมตร (นิ ว) ขนาดของเหล็กแขวน, มิลลิเมตร (นิ ว)

65 (2 1/2) ลงมา

80 (3) - 150 (6)

200 (8) - 300 (12)

RB 6 (1/4)

RB 9 (3/8)

RB 12 (1/2)

(2.4) ระยะแขวนท่อในแนวนอน ท่อเหล็กอาบสังกะสี (GI) แขวนทุกระยะ 2.00 เมตร ท่อพีวีซีแขวนทุกระยะ 1.50 เมตร

(2.5) ท่อที่ติดตั้งในแนวดิ่งหรือแนวตั้งจะต้องยึดหรือรัดท่อให้มั่นคงแข็งแรงทุกๆ รอยต่อต้องมีที่ยึดอย่างน้อย 1 แห่ง หรือไม่น้อยกว่าทุกช่วงของความยาวแต่ละท่อน

(2.6) เครื่องยึดเหนี่ยวและอุปกรณ์แขวนท่อทุกชิ้นต้องทาสีกันสนิม 1 ครั้ง และทาสีเทาทับหน้า 2 ครั้ง

(3) แคตตาล็อกและของตัวอย่าง (3.1) กรณีที่รายการประกอบแบบไม่ได้ระบุชนิดของผลิตภัณฑ์ หรือผู้รับจ้าง/ผู้ขายต้องการใช้

ผลิตภัณฑ์ท่ีเทียบเท่า ให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายเสนอแค็ตตาล็อกและเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยต้องท าการตรวจสอบและระบุ/ท าเครื่องหมายให้ชัดเจน (Highlight) ถึงรุ่นที่ต้องการใช้ คุณสมบัติของรายละเอียดตามที่ก าหนดของผลิตภัณฑ์ที่จะใช้ให้นายช่างโครงการ/ผู้ควบคุมงานพิจารณาตรวจสอบ และส่งให้ผู้ออกแบบคัดเลือกก่อนด าเนินการสั่งซื้อและก่อสร้าง

(3.2) การประปานครหลวงสงวนสิทธิ์ที่จะให้ผู้รับจ้าง/ผู้ขายส่งมอบของตัวอย่าง วัสดุ อุปกรณ์ที่จะต้องใช้ติดตั้งในระบบสุขาภิบาลนี้ เพ่ือเป็นมาตรฐานในการเปรียบเทียบกับของที่ติดตั้ง

Page 82:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

รายละเอียดการเสนอราคา

งานปรับปรุงห้องน ้าพร้อมวางระบบท่อและระบบบ้าบัดของเสียใหม่ ภายในอาคาร 1 และ 2 ส้านักงานประปาสาขาตากสิน

สัญญาเลขที่ สสตสข 14/2561

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน 1 งานรื้อถอนพื้นคสล. กระเบื้องห้องน้้า เครื่องสุขภัณฑ์ เหมาจ่าย 1

ประตู หน้าต่าง ฝ้าเพดาน ระบบไฟ และระบบท่อเดิม

2 งานระบบสุขาภิบาลภายในอาคาร และปรับปรุงระบบ เหมาจ่าย 1

บ้าบัดอาคาร 1 และ 2

3 งานระบบไฟฟ้าภายในอาคาร เหมาจ่าย 1

4 งานสถาปัตย์และตกแต่งอาคาร 1 เหมาจ่าย 1

5 งานสถาปัตย์และตกแต่งอาคาร 2 เหมาจ่าย 1

6 งานก่อสร้างบันไดเหล็กพร้อมฐานคอนกรีต และพ้ืนปูบล็อคคอนกรีตบริเวณด้านหลังอาคาร 2

เหมาจ่าย 1

รวมเงินค่าก่อสร้างทั งสิ น = .................................................................. บาท

(ตัวหนังสือ)................................................................................................................. ........................

(ราคาที่เสนอรวมภาษีมูลค่าเพ่ิม)

หมายเหตุ.-

1. ราคาที่เสนอเป็นราคาแบบปรับราคาได้ (คิดค่า K) 2. ราคาที่ เสนอเป็นราคาเหมารวมค่าวัสดุ แรงงาน เครื่องมือ เครื่องจักร ค่าด้าเนินการ ก้าไร และ

ส่วนประกอบอื่นๆ ไว้แล้ว 3. ปริมาณงานที่ให้เป็นจ้านวนโดยประมาณเท่านั้น มีไว้เพ่ือเป็นแนวทางในการเสนอราคา ผู้เสนอราคาจะต้อง

ส้ารวจ ตรวจ วัด ปริมาณงานในสนามเป็นหลัก หากมีข้อผิดพลาดหรือขาดตกบกพร่องเกิดข้ึน จะเรียกร้องค่าเสียหายจากการประปานครหลวงไม่ได้

4. ราคาค่างานตามราคาท่ีเสนอนี้รวมภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีอากรอ่ืน และค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้แล้ว 5. ผู้รับจ้าง/ผู้ขาย สามารถท้างานได้ในช่วงเวลาตามปกติ และวันหยุดของการประปานครหลวง

Page 83:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

บัญชีรายการก่อสร้าง

งานปรับปรุงห้องน ้าพร้อมวางระบบท่อและระบบบ้าบัดของเสียใหม่ ภายในอาคาร 1 และ 2 ส้านักงานประปาสาขาตากสิน

สัญญาเลขที่ สสตสข 14/2561

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

งานปรับปรุงห้องน ้าพร้อมวางระบบท่อ และระบบบ้าบัดของเสียใหม่ภายในอาคาร 1

1 งานรื้อถอน 1.1 รายการวัสดุพื้น

(พ1) พ้ืน คสล. ปูผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 54

(พ2) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวหนิแกรนิต ม2 1 (พ3) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 2

1.2 รายการวัสดุผนัง

(ผ2) ผนังก่ออิฐฉาบปูน ผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 176 (ผ4) ผนังก้ันห้องส้าเร็จรูป ม2 11

(ผ5) ผนังก้ันห้องอลูมิเนียมลอนลูกฟูก ม2 8

1.3 รายการวัสดุฝ้าเพดาน (ฝ1) ฝ้าเพดานแผ่นยิปซั่ม โครงเคร่า ที-บาร์ ม2 54

1.4 รายการประต-ูหน้าต่าง

(ป1) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 7 (ป2) ประตูบานเปิดเดี่ยว ชุด 8

(ป3) ประตูบานเปิดเดี่ยวส้าเร็จรูป ชุด 5

(น1) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 7 1.5 รายการสุขภัณฑ์

โถส้วมชักโครกแบบนั่งราบ ชุด 8

โถส้วมชักโครกแบบนั่งยอง ชุด 5 โถปัสสาวะชาย พร้อมอุปกรณ์ ชุด 9

อ่างล้างหน้า พร้อมก็อกน้้าและอุปกรณ์ ชุด 11

ที่ใส่กระดาษช้าระ ชุด 7 สายฉีดช้าระ ชุด 13

ฝักบัวอาบน้้า ชุด 4

ที่แขวนผ้า ชุด 3

Page 84:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

กระจกเงาครึ่งตัว ชุด 8

ก๊อกซักล้าง ชุด 7 FLOOR DRAIN (FD.) ชุด 13

แผงบังตา ที่ใส่น้้ายาล้างมือ

ชุด ชุด

7 3

1.6 เครื่องใช้ไฟฟ้า

พัดลมระบายอากาศ ชุด 7

พัดลมติดเพดาน ชุด 6 1.7 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง เหมาจ่าย 1

2 งานท้าความสะอาด

(ผ1) ผนังก่ออิฐฉาบปูน ม2 33 (ผ3) ผนังบล็อคแก้ว เหมาจ่าย 1

3 งานติดตั้งใหม่

3.1 รายการวัสดุพื้น

(พ1) กระเบื้องปูพ้ืนแกรนิตโต้ชนิดผิวด้านกันลื่น ขนาด

0.60x 0.60 ม. ม2 54

(พ2) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวปหูินแกรนิต หนา 20 มม. ม2 5 3.2 รายการวัสดุผนัง

(ผ1) ทาสีผนังก่ออิฐฉาบปูนเดิม ม2 33

(ผ2) กระเบื้องแกรนิตโต้ ผิวมัน ขนาด 0.60x 0.60 ม. ม2 229

(ผ2) โมเสคแก้ว ขนาดกว้าง 15 ซม. (ส้าหรับช่วงกลาง

ผนัง) ม2 14

(ผ3+ป3) ผนังกั้นห้องส้าเร็จรูปใหม่ พร้อมอุปกรณ์ครบ

ชุด ชุด 4

3.3 รายการประตู

(ป1) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 7 (ป2) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องระบายอากาศ ชุด 5

3.4 รายการหน้าต่าง

(น1) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 1 (น2) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 3

(น3) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 3

3.5 รายการฝ้าเพดาน

Page 85:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

(ฝ1) ฝ้าเพดานยิปซั่ม ขนาด 0.60x0.60 ม. หนาไม่น้อย

กว่า 7.5 มม. โครงเคร่า ที-บาร์ ม2 54

3.6 รายการสุขภัณฑ์

โถส้วมชักโครกแบบนั่งราบ ชุด 13

โถปัสสาวะชาย พร้อมอุปกรณ์ SENSOR ชุด 10

อ่างล้ างมือ พร้อมอุปกรณ์ SENSOR แบบฝั งครึ่ ง

เคาน์เตอร์ ชุด 6

อ่างล้างมือ พร้อมอุปกรณ์ SENSOR แบบแขวนผนัง ชุด 7

ที่ใส่กระดาษช้าระ สายฉีดช้าระ

ชุด ชุด

7 13

ฝักบัวอาบน้้า ชุด 7 ก๊อกซักล้าง ชุด 7

ตะแกรงกันกลิ่น (FD 2") ชุด 18

DOOR STOP ชุด 4 ที่ใส่น้้ายาล้างมือ ชุด 7

ถังขยะ STAINLESS STEEL ชุด 7

ชั้นวางของส้าเร็จรูป ชุด 4 กระจกเงา แบบครึ่งตัว ชุด 13

กระจกเงา แบบเต็มตัว ชุด 3

3.7 เครื่องใช้ไฟฟ้า

พัดลมระบายอากาศ แบบดูดอากาศ ชนิดติดกระจก

ขนาด 10" ชุด 7

พัดลมติดผนัง แบบ Pull Switch สีขาว ขนาด 16" ชุด 7 4 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง

เต้ารับแบบสามตา ชุด 7

ชุดโคมตะแกรงถ่ี แบบฝังฝ้า ขนาด 0.60x0.60 ม. ชุด 7 ชุดโคม Downlight แบบฝังฝ้า ชุด 13

สวิตช์ PANASONIC รุ่น WEG 5001K ชุด 28

สายไฟ THW 2.5 mm2 ม. 554 ท่อร้อยสายไฟ EMT dia 0.5" ม. 153

อุปกรณ์ เหมาจ่าย 1

5 งานระบบสุขาภิบาล

Page 86:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

S 2" ม. 32

S 4" ม. 66 W 2" ม. 65

W 3" ม. 39

VW 1 1/2" ม. 49 VW 2" ม. 44

VW 2 1/2" ม. 16

VS 1 1/2" ม. 41 VS 2" ม. 14

VS 2 1/2" ม. 20

WL 2" ม. 3 CW 1 1/4" ม. 24

CW 1 1/2" ม. 1

CW 1" CW 3/4"

ม. ม.

19 13

CW 1/2" ม. 74

LAV 2" ม. 13 UR 2" ม. 10

GV 1 1/4" ชุด 6

FCO 2" ชุด 1 FCO 3" ชุด 1

FCO 4" ชุด 1

CO 2" ชุด 1 CO 3" ชุด 4

CO 4" ชุด 5

ข้อต่อ ข้องอ และอุปกรณ์

งานปรับปรุงห้องน ้าพร้อมวางระบบท่อภายในอาคาร 2 เหมาจ่าย

1

1 งานรื้อถอน

1.1 รายการวัสดุพื้น (พ1) พ้ืน คสล. ปูผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 23

(พ2) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวหนิแกรนิต ม2 1

Page 87:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

(พ3) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 2

1.2 รายการวัสดุผนัง (ผ2) ผนังก่ออิฐฉาบปูน ผิวกระเบื้องเซรามิค ม2 62

(ผ4) ผนังก้ันห้องส้าเร็จรูป ม2 8

1.3 รายการวัสดุฝ้าเพดาน (ฝ1) ฝ้าเพดานแผ่นยิปซั่ม โครงเคร่า ที-บาร์ ม2 23

1.4 รายการประต-ูหน้าต่าง

(ป1) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 3 (ป2) ประตูบานเปิดเดี่ยว ชุด 2

(ป3) ประตูบานเปิดเดี่ยวส้าเร็จรูป ชุด 4

(น1) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 3 1.5 รายการสุขภัณฑ์

โถส้วมชักโครกแบบนั่งราบ ชุด 5

โถส้วมชักโครกแบบนั่งยอง ชุด 1 โถปัสสาวะชาย พร้อมอุปกรณ์ ชุด 4

อ่างล้างหน้า พร้อมก็อกน้้าและอุปกรณ์ ชุด 4

ที่ใส่กระดาษช้าระ ชุด 3 สายฉีดช้าระ ชุด 6

ที่แขวนผ้า กระจกเงาครึ่งตัว

ชุด ชุด

1 3

FLOOR DRAIN (FD.) ชุด 6

แผงบังตา ชุด 4

ที่ใส่น้้ายาล้างมือ ชุด 1 1.6 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง เหมาจ่าย 1

2 งานท้าความสะอาด

(ผ1) ผนังก่ออิฐฉาบปูน ทาสี ม2 17 3 งานติดตั้งใหม่

3.1 รายการวัสดุพื้น

(พ1) กระเบื้องปูพ้ืนแกรนิตโต้ชนิดผิวด้านกันลื่น ขนาด

0.60x 0.60 ม. ม2 23

(พ2) เคาท์เตอร์ ค.ส.ล. ผิวปหูินแกรนิต หนา 20 มม. ม2 3

3.2 รายการวัสดุผนัง

Page 88:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

(ผ1) ทาสีผนังก่ออิฐฉาบปูนเดิม ม2 17

(ผ2) กระเบื้องแกรนิตโต้ ผิวมัน ขนาด 0.60x 0.60 ม. ม2 87

(ผ2) โมเสคแก้ว ขนาดกว้าง 15 ซม. (ส้าหรับช่วงกลาง

ผนัง) ม2 5

(ผ3+ป3) ผนังกั้นห้องส้าเร็จรูปใหม่ พร้อมอุปกรณ์ครบ

ชุด ชุด 2

3.3 รายการประตู

(ป1) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 3 (ป2) ประตูบานเปิดเดี่ยว พร้อมช่องระบายอากาศ ชุด 2

3.4 รายการหน้าต่าง

(น2) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 1 (น3) หน้าต่างบานประทุ้ง พร้อมช่องแสงติดตาย ชุด 2

3.5 รายการฝ้าเพดาน

(ฝ1) ฝ้าเพดานยิปซั่ม ขนาด 0.60x0.60 ม. หนาไม่น้อย

กว่า 7.5 มม. โครงเคร่า ที-บาร์ ม2 23

3.6 รายการสุขภัณฑ์

โถส้วมชักโครกแบบนั่งราบ ชุด 6 โถปัสสาวะชาย พร้อมอุปกรณ์ SENSOR ชุด 4

อ่างล้างมือ พร้อมอุปกรณ์ SENSOR แบบฝังครึ่ง

เคาน์เตอร์ ชุด 4

ที่ใส่กระดาษช้าระ ชุด 3

สายฉีดช้าระ ชุด 6

ก๊อกซักล้าง ชุด 3

ตะแกรงกันกลิ่น (FD 2") DOOR STOP

ชุด ชุด

6 2

ที่ใส่น้้ายาล้างมือ ชุด 3 ถังขยะ STAINLESS STEEL ชุด 3

กระจกเงา แบบครึ่งตัว ชุด 4

กระจกเงา แบบเต็มตัว ชุด 1 3.7 เครื่องใช้ไฟฟ้า

พัดลมระบายอากาศ แบบดูดอากาศ ชนิดติดกระจก

ขนาด 10"

ชุด 3

Page 89:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

พัดลมติดผนัง แบบ Pull Switch สีขาว ขนาด 16" ชุด 3

4 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่าง เต้ารับแบบสามตา ชุด 3

ชุดโคมตะแกรงถ่ี แบบฝังฝ้า ขนาด 0.60x0.60 ม. ชุด 3

ชุดโคม Downlight แบบฝังฝ้า ชุด 6 สวิตช์ PANASONIC รุ่น WEG 5001K ชุด 12

สายไฟ THW 2.5 mm2 ม. 266

ท่อร้อยสายไฟ EMT dia 0.5" ม. 83 อุปกรณ์ เหมาจ่าย 1

5 งานระบบสุขาภิบาล

S 2" ม. 13 S 4" ม. 26

W 2" ม. 21

W 3" ม. 14 W 4" ม. 8

VW 1 1/2" ม. 16

VW 2 1/2" ม. 7 VS 2" ม. 46

VS 2 1/2" ม. 7

CWL 2" ม. 2 CW 2" ม. 2

CW 1 1/4" ม. 3

CW 1 1/2" ม. 5 CW 1" ม. 3

CW 3/4" ม. 15

CW 1/2" ม. 22 LAV 2" ม. 4

UR 2" ม. 4

GV 1 1/4" GV 1"

ชุด ชุด

2 1

FCO 3" ชุด 1

FCO 4" ชุด 1

Page 90:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

ล้าดับ รายละเอียด ปริมาณ ค่าวัสดุ/แรงงาน(บาท)

หน่วย จ้านวน ราคาต่อหน่วย รวมเงิน

CO 3" ชุด 2

CO 4" ชุด 2

อุปกรณ์ยึดและรองรับท่อ

งานปรับปรุงบริเวณด้านหลังอาคารส้านักงาน 2 ชั น เหมาจ่าย

1

1 งานรื้อถอน 1.1 ทางเดิน และบันได

คอนกรีตเสริมเหล็ก ม3 10

2 งานติดตั้งใหม่ 2.1 ทางเดิน

คอนกรีตบล็อกประสานปูพ้ืน รูปทรงรวงผึ้ง ตร.ม. 13

ทรายหยาบ ม3 1 คอนกรีตหยาบ ม3 1

ขอบคันหิน ขนาด 15x100x30 ซม. ม 13

2.2 งานบันได ฐานราก ชุด 24

ขุดดิน ม3 1

คอนกรีต ม3 0 ไม้แบบ ม2 4

Bolt & Nut 4-M12 มม. ยาว 12 มม. อัน 96

เหล็กรูปพรรณ Plate ขนาด 0.2x0.2 หนา 5 มม. กก. 66

เหล็ก [] 90x45x3.2 มม. กก. 75

เหล็ก [] 75x45x3.2 มม. กก. 110 เหล็ก [] 75x45x3.2 มม. กก. 79

เหล็ก [] 50x25x3.2 มม. กก. 66

Checkers Plate หนา 4.5 มม. กก. 173 ทาสีเหล็กรูปพรรณ ตร.ม. 41

รวมเงินค่าก่อสร้างทั งสิ น = .................................................................. บาท

(ตัวหนังสือ)......................................................................................................... ................................

(ราคาที่เสนอรวมภาษีมูลค่าเพ่ิม)

Page 91:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท

เอกสารแนบท้าย “ก”0

Page 92:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 93:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 94:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 95:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 96:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 97:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 98:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 99:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 100:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 101:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 102:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 103:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 104:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 105:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 106:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 107:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 108:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 109:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 110:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 111:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 112:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 113:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 114:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 115:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 116:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 117:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 118:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 119:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 120:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 121:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 122:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 123:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 124:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 125:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 126:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 127:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 128:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 129:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 130:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 131:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 132:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 133:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 134:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 135:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 136:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 137:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 138:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 139:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท
Page 140:  · เอกสารแนบท้ายข้อ 1.1 (2) หน้า 4/41 -4-ทางการจัดท าแบบขยายตาม "คู่มือการจัดท