110
รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร (Self Assessment Report – SAR) รรรรรรรรรรรรรรรร ……… ........................(รรรรร รรร)............................ .

รายงานการประเมินตนเองir.rmutsv.ac.th/.../files/file/dowslond/RMUTSVFormSar2.docx · Web view(ช อหน วยงาน) ได จ ดทำรายงานการประเม

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)

รายงานการประเมินตนเอง

(Self Assessment Report – SAR)

ประจำปีการศึกษา ………

........................(หน่วยงาน).............................

(ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน ….. ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม .......)

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

(วัน/เดือน/ปีที่รายงาน)

คำนำ

............................ (ชื่อหน่วยงาน)......................... ได้จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2553 ฉบับนี้ขึ้นได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตลอดจนได้เพิ่มเติมในส่วนของตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ. และตัวบ่งชี้เพิ่มเติมของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งรายงานนี้ประกอบด้วย บทสรุปผู้บริหาร ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน การประเมินตนเองตามองค์ประกอบ การสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ แนวทางการแก้ไข/ปรับปรุงและพัฒนาตามผลการประเมินตนเอง และข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ

รายงานการประเมินตนเองฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นรายงานผลการดำเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในของ............................ (ชื่อหน่วยงาน)......................... เพื่อเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และสาธารณชน โดยมีรอบระยะเวลาในการดำเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2553 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 หากท่านผู้อ่านรายงานฉบับนี้มีข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงประการใด ....................(ชื่อหน่วยงาน).......................ยินดีน้อมรับข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง....................(ชื่อหน่วยงาน)......................ให้ได้มาตรฐานและมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องต่อไป

(…………………………………….)

........ (หัวหน้าหน่วยงาน)............

(........../........../..........)

สารบัญ

หน้า

คำนำ

บทสรุปผู้บริหาร

บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหน่วยงาน

· ประวัติความเป็นมา

· หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดทำการเรียนการสอน

· ข้อมูลบุคลากร

· ข้อมูลนักศึกษา

· ข้อมูลอาคารสถานที่

· ข้อมูลงบประมาณ

· ข้อมูลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์

· ข้อมูลการบริการวิชาการ

· ข้อมูลการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

· ข้อมูลความร่วมมือในการจัดการศึกษา งานวิจัย งานบริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอก

· ข้อมูลการดำเนินงานด้านความร่วมมือ

· ข้อมูลการเข้าศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอก

· ข้อมูลรางวัลที่ได้รับจากหน่วยงานภายนอก

บทที่ 2 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน

บทที่ 3 รายงานผลการประเมินตนเอง

องค์ประกอบที่ 1 : Srivijaya PM 01 “ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดำเนินการ”

องค์ประกอบที่ 2 : Srivijaya PM 02 “การผลิตบัณฑิต”

องค์ประกอบที่ 3 : Srivijaya PM 03 “กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา”

องค์ประกอบที่ 4 : Srivijaya PM 04 “การวิจัย”

องค์ประกอบที่ 5 : Srivijaya PM 05 “การบริการทางวิชาการแก่สังคม”

องค์ประกอบที่ 6 : Srivijaya PM 06 “การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม”

องค์ประกอบที่ 7 : Srivijaya PM 07 “การบริหารและการจัดการ”

องค์ประกอบที่ 8 : Srivijaya PM 08 “การเงินและงบประมาณ”

องค์ประกอบที่ 9 : Srivijaya PM 09 “ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ”

องค์ประกอบที่ 10 : Srivijaya PM 10 “อัตลักษณ์ของ มทร.ศรีวิชัย”

องค์ประกอบที่ 11 : Srivijaya PM 11 “คุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน”

องค์ประกอบที่ 99 : Srivijaya PM 99 “สถานศึกษา 3 ดี (3D)”

บทที่ 4 สรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

ภาคผนวก

· ข้อมูลพื้นฐานประจำปีการศึกษา 2553 (Common Data Set)

· ตาราง ส.1

· ตาราง ส.2

· ตาราง ส.3

· ตาราง ส.4

· ตาราง ส.5

(บทสรุปผู้บริหาร..........(ชื่อหน่วยงาน)............. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยประจำปีการศึกษา .......)

ประวัติหน่วยงาน

(ประวัติการก่อตั้ง)...........................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

หัวหน้าหน่วยงานปัจจุบันชื่อ...........................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

......................................................................................................................................................................................

มีจำนวนอาจารย์ประจำทั้งสิ้น................คน ลาศึกษาต่อ..........คน ปฏิบัติงานจริง..............คน มีบุคลากรสายสนับสนุนทั้งสิ้น............คน ลาศึกษาต่อ............คน ปฏิบัติงานจริง................คน ในปีการศึกษา 2553 เปิดสอนระดับปริญญาตรี.........หลักสูตร ปริญญาโท.......หลักสูตร มีจำนวนนักศึกษาทั้งสิ้น....................คน มีจำนวนนักศึกษาแรกเข้า..........คน มีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ……….คน มีงานวิจัยที่ดำเนินงาน ……. เรื่อง/ชิ้น มีงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่/นำเสนอ...........เรื่อง/ชิ้น มีกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการแก่สังคม...........กิจกรรม/โครงการ มีกิจกรรม/โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม………..ชิ้นเรื่อง มีเครือข่ายความร่วมมือทางด้านวิชาการ วิจัย/บริการวิชาการแก่สังคมกับหน่วยงานภายนอก.........เครือข่าย/แห่ง

ผลการประเมินตนเอง

สรุปผลการประเมินตนเองภาพรวมทุกองค์ประกอบ เท่ากับ ………….. โดยมีรายละเอียดดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 : Srivijaya PM 01 “ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดำเนินการ”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 1 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน).............. มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งผลรวมค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการประเมินบัณฑิตเท่ากับ......... โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 2 : Srivijaya PM 02 “การผลิตบัณฑิต”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 2 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตรโดยดำเนินการได้ ............. ข้อ มีอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ............. คน คิดเป็นร้อยละ ............. มีอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ............. คน คิดเป็นร้อยละ ............. มีระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ดำเนินการได้ ............. ข้อ มีระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ดำเนินการได้ ............. ข้อ มีค่าคะแนนที่ได้จากการประเมินคุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ รวมเฉลี่ยเท่ากับ ............. มีค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์ เท่ากับ ............. โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 3 : Srivijaya PM 03 “กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 3 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสารโดยดำเนินการได้ ............. ข้อ มีระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ซึ่งดำเนินการได้ ............. ข้อ และมีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการ............... คะแนน โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 4 : Srivijaya PM 04 “การวิจัย”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 4 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีจำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ..............................บาท มีงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ร้อยละ............มีงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ จำนวน ............เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ............ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด และมีผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน ............เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ............ โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 5 : Srivijaya PM 05 “การบริการทางวิชาการแก่สังคม”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 5 เท่ากับ ………..............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัยร้อยละ........... ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก……………. โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 6 : Srivijaya PM 06 “การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 6 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมโดยดำเนินการได้ ............. ข้อ มีการส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรมซึ่งดำเนินการได้ ............. ข้อ และมีการพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ที่ดำเนินการได้ ............. ข้อ โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 7 : Srivijaya PM 07 “การบริหารและการจัดการ”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 7 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีภาวะผู้นำของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน/หน่วยงานโดยดำเนินการได้ ............. ข้อ มีการดำเนินการในการพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ได้ ............. ข้อ มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจที่ดำเนินการได้ ............. ข้อ มีระบบบริหารความเสี่ยงโดยดำเนินการได้ ............. ข้อ มีการประเมินผลตามหน้าที่และบทบาทของผู้บริหารในการบริหารและการจัดการ ............. คะแนน และมีระดับคุณภาพของอาจารย์อยู่ที่............... โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 8 : Srivijaya PM 08 “การเงินและงบประมาณ”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 8 เท่ากับ ……….

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบและกลไกการเงินและงบประมาณซึ่งดำเนินการได้ ............. ข้อ โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 9 : Srivijaya PM 09 “ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 9 เท่ากับ ………..

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยดำเนินการได้ ............. ข้อ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัดได้...........คะแนน การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม 5 ส ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการได้.....ข้อ และมีคะแนนการประเมินผลกิจกรรม 5ส ร้อยละ........... โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 10 : Srivijaya PM 10 “อัตลักษณ์ของ มทร.ศรีวิชัย”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 10 เท่ากับ ………..

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีระบบกลไกพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติดำเนินการได้..........ข้อ มีกระบวนการจัดการเรียนการสอนใช้ทักษะที่มีเทคโนโลยีเป็นฐานดำเนินการได้..........ข้อ และมีระบบและกลไกสร้างความเชี่ยวชาญวิชาชีพให้กับนักศึกษา ดำเนินการได้..........ข้อ มีงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือเพื่อท้องถิ่นร้อยละ...................... และดำเนินงานการสืบสานโครงการพระราชดำริได้.....ข้อ โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 11 : Srivijaya PM 11 “คุณภาพของหน่วยงานสนับสนุน”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 11 เท่ากับ ………..

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีมีระบบและกลไกในการพัฒนาการปฏิบัติงาน:ซึ่งดำเนินการได้..........ข้อ มีระดับความสำเร็จในการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานบริการดำเนินการได้..........ข้อ ซึ่งมีจำนวนผู้รับบริการได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐานได้ร้อยละ....... และผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจในระดับดี (3.51) ขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ...... โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

องค์ประกอบที่ 99 : Srivijaya PM 99 “สถานศึกษา 3 ดี (3D)”

คะแนนเฉลี่ยองค์ประกอบที่ 99 เท่ากับ ………..

.............(ชื่อหน่วยงาน)................ มีการบริหารจัดการสถานศึกษา 3 ดี (3D) ซึ่งดำเนินการได้..........ข้อ มีผลที่เกิดกับผู้เรียนตามนโยบาย 3 ดี (3D) มีความรู้ เจตคติที่ดี ตลอดจนเกิดพฤติกรรมตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ทั้ง 3 ด้านได้.....ข้อ โดยมีจุดเด่นในเรื่อง............................. และจุดที่ควรพัฒนาในเรื่อง........................................

สรุปจุดที่ควรพัฒนา

จุดที่ควรพัฒนาโดยเร่งด่วน

1. …………………………………………………………………………….

2. …………………………………………………………………………….

3. …………………………………………………………………………….

4. …………………………………………………………………………….

5. …………………………………………………………………………….

จุดที่ควรพัฒนาภายใน 3 – 5 ปี

1. …………………………………………………………………………….

2. …………………………………………………………………………….

3. …………………………………………………………………………….

4. …………………………………………………………………………….

5. …………………………………………………………………………….

จุดที่ควรพัฒนาในระยะยาวมากกว่า 5 ปี

1. …………………………………………………………………………….

2. …………………………………………………………………………….

3. …………………………………………………………………………….

4. …………………………………………………………………………….

5. …………………………………………………………………………….

(บทที่ 1ข้อมูลทั่วไปของ..........(ชื่อหน่วยงาน).............)

1.1 ประวัติความเป็นมา

..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

1.2 คณะผู้บริหารของ...................(ชื่อหน่วยงาน).................................

ประกอบด้วย

1.

2.

3.

4.

5.

6.

1.3 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดทำการเรียนการสอน

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

เปิดทำการเรียนการสอนจำนวน..................หลักสูตรประกอบด้วย

1. ..................................................................................

2. ..................................................................................

3. ..................................................................................

4. ..................................................................................

5. ..........

ระดับปริญญาตรี

เปิดทำการเรียนการสอนจำนวน..................หลักสูตรประกอบด้วย

1. ..................................................................................

2. ..................................................................................

3. ..................................................................................

4. ..................................................................................

5. ..................................................................................

ระดับปริญญาโท

เปิดทำการเรียนการสอนจำนวน..................หลักสูตรประกอบด้วย

1. ..................................................................................

2. ..................................................................................

3. ..................................................................................

4. ..................................................................................

5. ..................................................................................

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report – SAR) ประจำปีการศึกษา 2553หน้า 40

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2553 -9-

1.4 ข้อมูลบุคลากร

1.4.1 บุคลากรสายผู้สอน (อาจารย์ประจำ)

หน่วยงาน

จำนวนอาจารย์ประจำ

คุณวุฒิ

ตำแหน่งทางวิชาการ

ทั้งหมด

ลาศึกษาต่อ

เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง

ป.ตรี

ป.โท

ป.เอก

รวม

อาจารย์

ผศ.

รศ.

ศ.

รวม

รวมทั้งสิ้น

ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554

1.4.2 บุคลากรสายสนับสนุน

ฝ่าย/แผนก/งาน

จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนทั้งหมด

คุณวุฒิของบุคลากรสายสนับสนุน

ทั้งหมด

ลาศึกษาต่อ

เฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง

ต่ำกว่า ป.ตรี

ป.ตรี

ป.โท

ป.เอก

รวม

รวมทั้งสิ้น

ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554

1.5 ข้อมูลนักศึกษา

คณะ/สาขา/สาขาวิชา

หลักสูตร (ระบุชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่มีทั้งหมดที่มีการเรียนการสอนและไม่มีการเรียนการสอน)

จำจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า

(FTES)

จำนวน

นักศึกษาแรกเข้า

จำนวน

นักศึกษาทั้งหมด

จำนวน

ผู้สำเร็จการศึกษา

ปกติ

สมทบ

รวม

ปกติ

สมทบ

รวม

ปกติ

สมทบ

รวม

รวมทั้งสิ้น

หมายเหตุ :- สมทบ คือ การจัดการเรียนการสอนในเวลานอกเวลาราชการ เสาร์อาทิตย์

:- จำนวนนักศึกษาแรกเข้าและจำนวนนักศึกษาปัจจุบัน ให้รายงานจำนวนนักศึกษา ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2553

:- จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาให้นับนักศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยฯ อนุมัติปริญญาตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1/2553 , 2/2553 และ Summer/2553

1.6 ข้อมูลอาคารสถานที่

ชื่ออาคาร

ชื่อห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการ

ประเภท

อุปกรณ์การศึกษาภายในห้อง

ความจุ

ห้องเรียน

ห้องปฏิบัติการ

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2553 -10-

1.7 ข้อมูลงบประมาณ

งบประมาณประจำปี 2553 :- (1 ต.ค.52 ถึง 30 ก.ย.53)

รายรับ : -

งบประมาณแผ่นดิน

..........1.........

งบประมาณผลประโยชน์

..........2.........

งบที่ได้รับสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก

..........3.........

รายได้อื่น ๆ

.........4.........

....5=(1+2+3+4) ....

รายจ่าย : -

งบบุคลากร

เงินเดือน

.......6.....

เงินประจำตำแหน่ง

.......7.....

ค่าจ้างประจำ

.......8.....

ค่าจ้างชั่วคราว

.......9.....

...10=(6+7+8+9) ....

ค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ

ค่าตอบแทน

......11....

ค่าใช้สอย

.......12....

ค่าวัสดุสำนักงาน

.......13....

ค่าวัสดุฝึก

.......14....

ค่าซ่อมแซม

.......15....

..16=(11+12+13+14+15).

เงินอุดหนุน

บริการวิชาการ

.......17....

งานวิจัย

.......18....

อื่น ๆ

.......19....

...20=(17+18+19)...

เงินสมทบมหาวิทยาลัยฯ

.......21.........

งบลงทุน

ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

.......22....

ครุภัณฑ์

.......23....

….24=(22+23)…..

อื่น ๆ

...25........

…26=(10+16+20+21+24+25

รายรับมากกว่ารายจ่าย (รายจ่ายมากกว่ารายรับ)

....27=(5-26) .....

ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้างประจำปี (ณ วันที่ 30 กันยายน 2553)

....28...............

งบดำเนินการทั้งสิ้น

....29=(26-24+28).....

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2553 -14-

1.8 ข้อมูลผลงานวิชาการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อบทความ/หนังสือ/ตำรา

ชื่อเจ้าของบทความ/หนังสือ/ตำรา

วันที่ตีพิมพ์/จัดพิมพ์หรือวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

ประเภทของผลงานทางวิชาการ

ระดับคุณภาพของผลงานทางวิชาการ

บทความตีพิมพ์ระดับชาติ

บทความตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

หนังสือ/ตำราที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ

หนังสือ/ตำราที่ขอตำแหน่งทางวิชาการ

ผลรวมระดับคุณภาพของผลงานทางวิชาการ

1.9 ข้อมูลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

1.9.1 เงินวิจัยภายในมหาวิทยาลัย (แหล่งทุนเงินงบประมาณแผ่นดิน/งบประมาณเงินรายได้)

ลำดับที่

ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์

ชื่อนักวิจัย

จำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร

วันที่ทำสัญญารับทุนวิจัย

รวมเงินวิจัยภายใน

1.9.2 เงินวิจัยภายนอกมหาวิทยาลัยฯ

ลำดับที่

ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์

ชื่อนักวิจัย

ชื่อแหล่งทุนวิจัย

จำนวนเงินที่ได้รับจัดสรร

วันที่ทำสัญญารับทุนวิจัย

รวมเงินวิจัยภายนอก

1.9.3 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่/นำเสนอผลงานในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์

ชื่อนักวิจัย

แหล่งที่ตีพิมพ์/นำเสนอ วันเดือนปีที่ตีพิมพ์/นำเสนอ

ระดับคุณภาพ

ผลรวมระดับคุณภาพของงานวิจัย/งานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์/เผยแพร่

1.9.4 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีการบูรณาการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์

ชื่อนักวิจัย

ประเภท

การบูรณาการ

วิธีการการบูรณาการ

การเรียนการสอน

การบริการวิชาการ

1.9.5 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์

ชื่อนักวิจัย

รายละเอียดการนำไปใช้ประโยชน์

1.10 ข้อมูลการบริการวิชาการที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

1.10.1 การบริการวิชาการที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

วัน/เดือนปีที่ดำเนินงาน

สรุปค่าใช้จ่าย/มูลค่าการบริการวิชาการ

ระบุกลุ่มผู้รับบริการ

จำนวนผู้รับบริการ

ค่าใช้จ่าย

มูลค่า

รวม

รวม

1.10.2 การบริการวิชาการที่มีการบูรณาการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

ประเภท

การบูรณาการ

วิธีการการบูรณาการ

ตัวบ่งชี้และเป้าหมายการบูรณาการ

ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย

การเรียนการสอน

การวิจัย

ตัวบ่งชี้

เป้าหมาย

1.11 ข้อมูลการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

1.11.1 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

วัน/เดือนปีที่ดำเนินงาน

สรุปค่าใช้จ่าย/มูลค่าการทำนุบำรุงศิลปะ

และวัฒนธรรม

ระบุกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ

จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ

ค่าใช้จ่าย

มูลค่า

รวม

รวม

1.11.2 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่มีการบูรณาการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

ประเภท

การบูรณาการ

วิธีการการบูรณาการ

ตัวบ่งชี้และเป้าหมายการบูรณาการ

ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย

การเรียนการสอน

กิจกรรมนักศึกษา

ตัวบ่งชี้

เป้าหมาย

1.12 ข้อมูลกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ดำเนินการในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

วัน/เดือนปีที่ดำเนินงาน

ความสอดคล้องกับ TQF

ประเภทกิจกรรม

ตัวบ่งชี้และเป้าหมายตามวัตถุประสงต์ของกิจกรรม/โครงการ

ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเป้าหมาย

คุณธรรมจริยธรรม

ความรู้

ทักษะทางปัญญา

ทักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษาการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

วิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์

กีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ

บำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม

เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม

ศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบ่งชี้

เป้าหมาย

1.13 ข้อมูลความร่วมมือในการจัดการศึกษา งานวิจัย งานบริการวิชาการกับหน่วยงานภายนอก

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงานที่มีความร่วมมือ

รายละเอียดของความร่วมมือ

วันเดือนปีที่มีการลงนามในสัญญาความร่วมมือ

1.14 ข้อมูลการดำเนินงานด้านความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา/หน่วยงานในปีการศึกษา 2553

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงานที่มีความร่วมมือ

รายละเอียดของการดำเนินงานร่วมกันในปีการศึกษา 2553

วันเดือนปีดำเนินการ

1.15 ข้อมูลการเข้าศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายนอก

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงานที่ขอเข้าศึกษาดูงาน

หัวข้อที่ขอเข้าศึกษาดูงาน

วันเดือนปี

ที่เข้าศึกษาดูงาน

1.16 ข้อมูลรางวัลที่ได้รับจากหน่วยงานภายนอก

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงานที่ให้รางวัล

รางวัลที่ได้รับ

วันเดือนปีที่ได้รับ

ประเภทรางวัลที่ได้รับ

ระดับของรางวัลที่ได้รับ (มหาวิทยาลัย/คณะ/หน่วยงาน/อาจารย์/บุคลากร/นักศึกษา/กิจกรรม/โครงการ)

อัตลักษณ์

คุณธรรมจริยธรรม

อื่น ๆ (ระบุ)

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย)

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2553 -15-

(บทที่ 2ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา)

2.1 การประกันคุณภาพกับมาตรฐานการศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในหมวด5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กำหนดให้ คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคำนึงถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทำมาตรฐานการอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน เพื่อนำไปสู่การกำหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทำขึ้นฉบับนี้ได้ใช้มาตรฐานการศึกษาของชาติที่เปรียบเสมือนร่มใหญ่เป็นกรอบในการพัฒนา โดยมีสาระสำคัญที่ครอบคลุมเป้าหมายและหลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเป็นมาตรฐานที่คำนึงถึงความหลากหลายของกลุ่มหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนำไปใช้กำหนดพันธกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได้

มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่ปรากฏตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2549 ประกอบ ด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษาและมาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานย่อยทั้ง 3 ด้านนี้ อยู่ในมาตรฐานการศึกษาของชาติที่ประกอบด้วยมาตรฐานย่อย 3 มาตรฐานเช่นกัน คือ มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก มาตรฐานที่ 2 แนวการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 3 แนวการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้ แต่ละมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการอุดมศึกษาจะมีความสอดคล้องและสัมพันธ์กับมาตรฐานย่อยของมาตรฐานการศึกษาของชาติเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาของชาติ

นอกเหนือจากมาตรฐานการอุดมศึกษาที่เป็นมาตรฐานแม่บทแล้ว คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้จัดทำมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2551 เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสถาบันอุดม ศึกษาตามกลุ่มสถาบันที่มีปรัชญา วัตถุประสงค์ และพันธกิจในการจัดตั้งที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ประกอบด้วยมาตรฐานหลัก 2 ด้าน คือ มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา และมาตรฐานด้านการดำเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา และกำหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ก วิทยาลัยชุมชน กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง และกลุ่ม ง สถาบันที่เน้นการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังได้จัดทำ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพื่อเป็นการประกันคุณภาพบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา โดยกำหนดให้คุณภาพของบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิและสาขาวิชาต้องเป็นไปตามมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะกรรมการการอุดมศึกษายังได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ อาทิ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดม ศึกษา หลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล หลักเกณฑ์การกำหนดชื่อปริญญา หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกสถานที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาได้พัฒนาด้านวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพและยกระดับมาตรฐานในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้มีความทัดเทียมกันและพัฒนาสู่สากล ซึ่งทำให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างยืดหยุ่น คล่องตัว และต่อเนื่องในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา

เพื่อให้การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่กำหนดทั้งมาตรฐานการศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและสัมพันธ์กับมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาอื่นๆ รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จึงจำเป็น ต้องมีระบบประกันคุณภาพที่พัฒนาขึ้นตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถแสดงในแผนภาพที่ 2.1

(มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษามาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้คุณภาพมาตรฐานที่ 1คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลกมาตรฐานที่ 2แนวทางการจัดการศึกษามาตรฐานที่ 3แนวทางการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้/สังคมแห่งความรู้การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ภายใต้ตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านมาตรฐานการอุดมศึกษาหลักเกณฑ์กำกับมาตรฐาน รวมถึงมาตรฐานสถาบัน อุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติ)

แผนภาพที่ 2.1 ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพ

หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้พิจารณาจากประเด็นต่อไปนี้

1. ระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคำนึงถึงมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด

2. ผลการปฏิบัติงานของคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่กำหนดไว้

3. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาตามตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา

2.1.1 วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ระบุในกฎกระทรวงให้ใช้แนวปฏิบัติดังนี้

1) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพขึ้น โดยมีหน้าที่พัฒนา บริหาร และติดตามการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

2) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อใช้กำกับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพภายใต้กรอบนโยบายและหลักการที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนด

3) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา

4) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและกลไกควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต ดังนี้ (1) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ (2) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์ (3) สื่อการศึกษาและเทคนิคการสอน (4) ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้อื่น (5) อุปกรณ์การศึกษา (6) สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้และบริการการศึกษา (7) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนของนักศึกษา (8) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร

ทั้งนี้ ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง

2.1.2 การรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพภายในถือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องดำเนินการอย่างมีระบบและต่อเนื่อง สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในเสนอต่อสภาภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาและเปิดเผยต่อสาธารณชน โดยให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์และแนวทางของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

2.1.3 การติดตามตรวจสอบของต้นสังกัด

ให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษานั้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกสามปีและแจ้งผลให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาทราบ รวมทั้งเปิดเผยผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาต่อสาธารณชน

2.1.4 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

สาขาวิชา/สาขา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยอาจพัฒนาระบบประกันคุณภาพที่เหมาะสมสอดคล้องกับระดับการพัฒนาของภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย โดยอาจเป็นระบบประกันคุณภาพที่ใช้กันแพร่หลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะที่สาขาวิชา/สาขา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้นเอง แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบบใดจะต้องมีกระบวนการทำงานที่เริ่มต้นจากการวางแผน การดำเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินภารกิจของภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยบรรลุเป้าประสงค์และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็เป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจว่าภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยสามารถสร้างผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินคุณภาพ

มาตรฐานเป็นกรอบสำคัญในการดำเนินงานของภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย คือมาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ยังต้องดำเนินการให้ได้ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น มาตรฐานภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา มาตรฐานเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่าง ๆ ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น

ตัวบ่งชี้ เป็นข้อกำหนดของการประกันคุณภาพภายในที่พัฒนาขึ้นในองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการของการอุดมศึกษาและพันธกิจสนับสนุน ได้แก่ (1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดำเนินการ (2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ซึ่งตัวบ่งชี้ดังกล่าวสามารถชี้วัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานและหลักเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบคุณภาพนั้นๆ ได้ทั้งหมด ดังนั้น ในบทที่ 3 ของคู่มือฉบับนี้จึงได้พัฒนาตัวบ่งชี้ที่ภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาจำเป็นต้องใช้ประเมินคุณภาพภายใน ทั้งตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมินปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิตหรือผลลัพธ์ นอกจากนี้ ตัวบ่งชี้ที่ใช้ประเมินกระบวนการยังได้นำเสนอตัวอย่างแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานไว้ด้วยในบทที่ 4 เพื่อประโยชน์ของภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาในการนำตัวบ่งชี้ดังกล่าวไปใช้

เกณฑ์การประเมิน เป็นมาตรวัดของแต่ละตัวบ่งชี้ซึ่งพัฒนาจากเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานซึ่งกำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาทิ สมศ. ทั้งนี้ เพื่อให้การประเมินคุณภาพการศึกษามีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน

กลไกการประกันคุณภาพ ในด้านของกลไกการประกันคุณภาพ ผู้ที่มีความสำคัญส่งผลให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จและนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องคือ คณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยที่จะต้องให้ความสำคัญและกำหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนและเข้าใจร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หน้าที่สำคัญประการหนึ่งของคณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือ การจัดระบบประกันคุณภาพพร้อมทั้งตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพที่เหมาะสมสำหรับภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถเชื่อมโยงให้เกิดคุณภาพของการปฏิบัติงาน ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับภาควิชาหรือสาขาวิชา ระดับคณะวิชาไปจนถึงระดับภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย โดยอาจจำเป็นต้องจัดทำคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับเพื่อกำกับการดำเนินงาน แต่ที่สำคัญคณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถใช้งานร่วมกันได้ในทุกระดับ

ระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์และวัดผลดำเนินงานเป็นสิ่งจำเป็นในกระบวนการประกันคุณภาพ การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานจะไม่สามารถทำได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพหากปราศจากฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศที่เป็นจริง ถูกต้องตรงกันทุกระดับตั้งแต่ระดับบุคคลภาควิชา/สาขาวิชา/คณะ/วิทยาลัย/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย ตลอดจนเป็นข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น ระบบสารสนเทศที่ดี มีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญยิ่งที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผลต่อคุณภาพในทุกขั้นตอนการดำเนินงานตั้งแต่การวางแผน การปฏิบัติงานประจำ การตรวจสอบประเมินตลอดจนถึงการปรับปรุงและพัฒนา

2.2 การเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก

ตามมาตรา 48 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ระบุว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง” ในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไว้ว่า “ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา”

จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาปกติที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการควบคุมดูแลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเพื่อนำไปสู่การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ ด้วยเหตุนี้ระบบประกันคุณภาพภายในจึงต้องดูแลทั้งปัจจัยนำเข้า (input) กระบวนการ (process) และผลผลิตหรือผลลัพธ์ (output/outcome) ซึ่งต่างจากการประเมินคุณภาพภายนอกที่เน้นการประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนั้น ความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกจึงเป็นสิ่งจำเป็นโดยได้เชื่อมโยงให้เห็นจากภาพที่ 2.2

(หลักเกณฑ์กำกับมาตรฐาน รวมถึงมาตรฐานสถาบัน อุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแห่งชาติการประเมินคุณภาพภายนอกข้อมูลป้อนกลับการตรวจเยี