11
CPI : Corruption Perception Index ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน CPI คือ ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์ปัญหาคอร์รัปชันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ที่มีค่าคะแนนตั้งแต่ 0 (คอร์รัปชันมากที่สุด) – 100 (คอร์รัปชันน้อยที่สุด) ยิ่งค่า CPI สูง ประเทศมีความโปร่งใสมาก คอร์รัปชันต่า ยิ่งที่ค่า CPI ต่า ประเทศมีความโปร่งใสน้อย คอร์รัปชันสูง จัดท่าโดย องค์กรโปร่งใสนานาชาติ ( TI : Transparency International ) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระนานาชาติที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่น และมีเครือข่ายใน 120 ประเทศทั่วโลก การจัดท่า CPI ในปี พ.ศ. 2557 TI ได้จัดอันดับจากประเทศต่างๆทั่วโลก จ่านวน 175 ประเทศ และจากผลการส่ารวจของส่านักโพลล์ต่างๆ จ่านวน 12 แห่ง 1

ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

CPI : Corruption Perception Index ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน

CPI คือ ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์ปัญหาคอร์รัปชันของประเทศต่างๆ ทั่วโลก

ที่มีค่าคะแนนตั้งแต่ 0 (คอร์รัปชันมากที่สุด) – 100 (คอร์รัปชันน้อยที่สุด)

ยิ่งค่า CPI สูง ประเทศมีความโปร่งใสมาก คอร์รัปชันต่่า

ยิ่งที่ค่า CPI ต่่า ประเทศมีความโปร่งใสน้อย คอร์รัปชันสูง

จัดท่าโดย องค์กรโปร่งใสนานาชาติ (TI : Transparency International) ซึ่งเป็นองค์กรอิสระนานาชาติที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่น

และมีเครือข่ายใน 120 ประเทศทั่วโลก

การจัดท่า CPI ในปี พ.ศ. 2557 TI ได้จัดอันดับจากประเทศต่างๆทั่วโลก จ่านวน 175 ประเทศ

และจากผลการส่ารวจของส่านักโพลล์ต่างๆ จ่านวน 12 แห่ง

1

Page 2: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

อันดับในภูมิภาคอาเซียน อันดับที่ 3 จากการจัดอันดับทั้งหมด 9 ประเทศ

ประเทศไทยได้คะแนน 38 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน

ผลการจัดอันดับพบว่า

อันดับโลก อันดับที่ 85 จากการจัดอันดับทั้งหมด 175 ประเทศ

อันดับในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก อันดับที่ 12 จากการจัดอันดับทั้งหมด 28 ประเทศ

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

2 แหล่งข้อมูล www.transparency.org

Page 3: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

อันดับ ประเทศ คะแนน (100) 1 ราชอาณาจักรเดนมาร์ก 92

2 นิวซีแลนด์ 91

3 สาธารณรัฐฟินแลนด์ 89

4 ราชอาณาจักรสวีเดน 87

5 ราชอาณาจักรนอร์เวย ์ 86

5 สมาพันธรัฐสวิส 86

7 สาธารณรัฐสิงค์โปร์ 84

8 ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ 83

9 ราชรัฐลักเซมเบิร์ก 82

10 แคนาดา 81

อันดับ ประเทศ คะแนน (100) 85 บูร์กินาฟาโซ 38

85 สาธารณรัฐอินเดีย 38

85 จาเมกา 38

85 สาธารณรัฐเปรู 38

85 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 38

85 สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา

38

85 ราชอาณาจักรไทย 38

85 สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก 38

85 สาธารณรัฐซิมบับเว 38

3 แหล่งข้อมูล www.transparency.org

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

อันดับที่ 85 จาก 175 ประเทศทั่วโลก

Page 4: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

อันดับ ประเทศ คะแนน (100)

1 นิวซีแลนด์ 91

2 สาธารณรัฐสิงคโปร์ 84

3 เครือรัฐออสเตรเลีย 80

4 ญี่ปุ่น 76

5 เขตบริหารพิเศษฮ่องกง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน

74

6 ราชอาณาจักรภูฏาน 65

7 สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) 61

8 สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) 55

9 มาเลเซีย 52

9 รัฐเอกราชซามัว 52

11 มองโกเลีย 39

12 สาธารณรัฐอินเดีย 38

12 สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 38

12 สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา

38

อันดับ ประเทศ คะแนน (100)

12 ราชอาณาจักรไทย 38

16 สาธารณรัฐประชาชนจีน 36

17 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 34

18 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 31

19 ราชอาณาจักรเนปาล 29

19 สาธารณรัฐปากีสถาน 29

21 สาธารณรัฐประชาธิปไตย ติมอร์เลสเต

28

22 สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ 25 22 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 25 22 ปาปัวนิวกินี 25

25 ราชอาณาจักรกัมพูชา 21

25 สหภาพพม่า 21

26 รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน 12

27 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ)

8 4

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

อันดับที่ 12 จาก 28 ประเทศในเอเชียแปซิฟิก

Page 5: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90100

นิวซีแลนด์ เครือรัฐออสเตรเลีย

เขตบริหารพิเศษฮ่องกง

สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)

มาเลเซีย

มองโกเลีย

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

ราชอาณาจักไทย

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ราชอาณาจักรเนปาล

สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์เลสเต

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ราชอาณาจักรกัมพูชา

รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน

91 84

80 76

74 64

61 55

52 52

39 38 38 38 38 38

34 31

29 29 28

25 25 25

21 21

12 8

คะแนน CPI

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

อันดับที่ 12 จาก 28 ประเทศในเอเชียแปซิฟิก

Page 6: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

อันดับ ประเทศ คะแนน (จาก 100 คะแนนเต็ม)

1 สาธารณรฐัสิงคโปร์ 84

2 มาเลเซีย 52

3 ราชอาณาจักรไทย 38

3 สาธารณรฐัฟลิิปปินส์ 38

5 สาธารณรฐัอินโดนีเซีย 34

6 สาธารณรฐัสังคมนิยมเวียดนาม 31

7 สาธารณรฐัประชาธิปไตยประชาชนลาว 25

8 สหภาพพม่า 21

8 ราชอาณาจักรกัมพูชา 21

แหล่งข้อมูล www.transparency.org 6

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

อันดับที่ 3 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน

Page 7: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

แหล่งข้อมูล www.transparency.org 7

CPI : Corruption Perception Index 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน พ.ศ. 2557

อันดับที่ 3 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

Page 8: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

ตารางแสดงค่าดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศสมาชิกอาเซียน ระหว่างปี 2556-2557

ปี 2557

อันดบั

ในอาเซยีน

อันดบัโลก (175 ประเทศ)

ประเทศ

คะแนน

1 7 สิงคโปร์ 84

2 50 มาเลเซีย 52

3 85 ไทย 38

4 85 ฟิลิปปินส์ 38

5 107 อินโดนีเซีย 34

6 119 เวียดนาม 31

7 145 ลาว 25

8 156 พม่า 21

9 156 กัมพูชา 21

ประเทศบรูไน n/a

ปี 2556

แหล่งข้อมูล www.transparency.org 8

อันดบั

ในอาเซยีน

อันดบัโลก (177 ประเทศ)

ประเทศ

คะแนน

1 5 สิงคโปร์ 86

2 38 บรูไน 60

3 53 มาเลเซีย 50

4 94 ฟิลิปปินส์ 36

5 102 ไทย 35

6 114 อินโดนีเซีย 32

7 116 เวียดนาม 31

8 140 ลาว 26

9 157 พม่า 21

10 160 กัมพูชา 20

Page 9: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

พ.ศ. คะแนน อันดับ จ านวนประเทศ

2538 2.79 (เต็ม 10) 34 41

2539 3.33 (เต็ม 10) 37 54

2540 3.06 (เต็ม 10) 39 52

2541 3.00 (เต็ม 10) 61 85

2542 3.20 (เต็ม 10) 68 98

2543 3.20 (เต็ม 10) 60 90

2544 3.20 (เต็ม 10) 61 91

2545 3.20 (เต็ม 10) 64 102

2546 3.30 (เต็ม 10) 70 133

2547 3.60 (เต็ม 10) 64 146

พ.ศ. คะแนน อันดับ จ านวนประเทศ

2548 3.80 (เต็ม 10) 59 159

2549 3.60 (เต็ม 10) 63 163

2550 3.30 (เต็ม 10) 84 179

2551 3.50 (เต็ม 10) 80 180

2552 3.40 (เต็ม 10) 84 180

2553 3.50 (เต็ม 10) 78 178

2554 3.40 (เต็ม 10) 80 183

2555 37 (เต็ม 100) 88 176

2556 35 (เต็ม 100) 102 177

2557 38 (เต็ม 100) 85 175

แหล่งข้อมูล www.transparency.org 9

Thailand Corruption Perception Index 1995 - 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทย

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538-2557

Page 10: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

แหล่งข้อมูล www.transparency.org 10

หมายเหตุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 มีการเปลี่ยนค่าดัชนีชี้วัด จากคะแนนเต็ม 0-10 เป็น 0-100 คะแนน

Thailand Corruption Perception Index 1995 - 2014 ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทย

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538-2557

2.00

3.00

4.00

คะแนน CPI

Page 11: ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชันacoc.ops.moc.go.th/article_attach/1 CPI.pdfCPI : Corruption Perception Index ด ชน ช

บทวิเคราะห์ จาก ดร.จุรี วิจิตรวาทการ

11

“การจัดอันดับดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันเป็นวิธีการที่ใช้กระตุ้นความสนใจของผู้คนทั่วโลก ต่อปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นที่มีการท ากันทุกปีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผลคะแนนปีนี้

ประเทศไทยเรามีคะแนนดีขึ้นเล็กน้อยจาก 35 คะแนนในปีที่แล้วมาเป็น 38 คะแนน และขยับอันดับ ขึ้นมาจากอันดับที่ 102 เป็นอันดับที่ 85 ซึ่งการที่อันดับของประเทศไทยเลื่อนขึ้นเป็นเพราะหลายประเทศที่เคยมีคะแนนเท่ากันหรือมากกว่าเราในปีที่แล้ว ได้คะแนนเท่าเดิมหรือบางประเทศกลับได้คะแนนลดลงหรือเพิ่มขึ้น แต่ยังน้อยกว่าเรา

ซึ่งอาจหมายถึงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา หลายภาคส่วนได้พยายาม มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและเห็นผลอของการแก้ปัญหาบางด้าน เช่น การปลูกฝังความดีให้เด็กๆ

ในการเรียนการสอนหลักสูตร “โตไปไม่โกง” และการด าเนิน “โรงเรียนคุณธรรม” รวมถึง การตื่นตัวของภาคธุรกิจในการต่อต้านการทุจริต อีกทั้งคนไทยจ านวนมาก

ได้แสดงความรู้สึกไม่พอใจต่อการทุจริตคอร์รัปชั่น การที่คนในสังคมตื่นตัวต่อปัญหาร่วมกันเช่นนี้ เป็นสัญญาณที่ดีว่าประเทศไทยได้น าพลังร่วม

ของคนในสังคมมาผลักดัน การแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นให้เป็นวาระแห่งชาติที่แท้จริง

รวมถึง การไม่ยอมรับการโกงทุกรูปแบบและไม่ให้คนโกง มีพื้นที่ยืนในสังคม และมีการกลั่นกรองและตรวสอบผู้บริหารประเทศให้ท างาน

ด้วยความรับผิดชอบและโปร่งใส นึกถึงผลประโยชน์ส่วนร่วมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง”

ดร. จุรี วิจิตรวาทการ

เลขาธิการมูลนิธิองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย กรรมการ สศช. (แหล่งข้อมูล : มูลนิธิองค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย)