13
การเลี้ยงกบในกระชัง สานักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม

การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

การเลี้ยงกบในกระชัง

ส านักงานประมงจังหวัดมหาสารคาม

Page 2: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม
Page 3: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

• น ากระชังเลี้ยงกบส าเร็จรูป(ใช้เครื่องจักรเย็บกระชัง จะทนทานกว่าใช้มือเย็บเอง) โดยกระชังที่นิยมที่สุดคือ ขนาด 3 x 4 เมตร ซึ่งจะใส่กบได้ประมาณ 1,200 – 2,500 ตัว/กระชัง เลยทีเดียว โดยมักจะใส่จนเต็มพอดีกับพื้นที่ และมีทางเดินตรงกลางเพื่อสะดวกต่อการให้อาหารและทยอยจับกบขายได้

• โดยจะขุดบ่อดินขนาดประมาณ 3.5 x 20 เมตรขึ้นไป ลึก 80 – 100 เซนติเมตร ไว้หลายๆ บ่อ ส่วนใหญ่จะเหมาะกับผู้ท่ีมีพื้นที่เป็นทุ่งนา

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ลักษณะบ่อดินเพื่อใช้เลี้ยงกบในกระชัง

Page 4: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

• ด้านบนปิดด้วยตาข่าย กันศัตรูกบมากิน และมีสแลนพรางแสงและกันฝน กันกบตกใจ

• สูบน้ าเข้าบ่อประมาณ 50 เซนติเมตร แล้วน ากระชังขึงด้วยไม้ไผ่ และน าแผ่นยางลอยน้ า รองใต้กระชัง เพื่อให้ลอยเหนือน้ า เป็นพื้นที่แฉะส าหรับกบอาศัยอยู่

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ลักษณะบ่อดินเพื่อใช้เลี้ยงกบในกระชัง

• ปกติถ้าน้ าดีๆจะถ่ายน้ าทุกๆ 7 วัน ก็ได้ โดยสังเกตจากกลิ่นของน้ าเป็นส าคัญ จะต้องไม่เหม็นมากนัก

Page 5: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ลักษณะบ่อดินเพื่อใช้เลี้ยงกบในกระชัง

Page 6: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

น ้ าส าหรบัใชเ้ลี้ยงกบกระชงั

• หากน้ าที่ใช้เป็นกรด จะต้องใส่ปูนขาวเพื่อปรับสภาพน้ าและตรวจวัดความเป็นกรดด่างของน้ าอีกครั้งหนึ่ง และมีการพักน้ าดังกล่าวไว้ก่อนน ามาเลี้ยงกบ

• น้ าจากแหล่งน้ าสาธารณะซึ่งคุณภาพของน้ ามักจะไม่สม่ าเสมอหรือปนเปื้อนสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร ดังนั้นควรพิจารณาในการน ามาใช้ ถ้าจะน ามาใช้ควรมีบ่อพักเก็บกักน้ าไว้ก่อน

Page 7: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

น ้ าส าหรบัใชเ้ลี้ยงกบกระชงั

• หากน้ าที่ใช้เป็นน้ าบาดาลควรผ่านการกรองและพักน้ าไว้ก่อนน ามาใช้ แต่บางที่มีคุณภาพดีก็น ามาใช้เลี้ยงกบรุ่นๆได้เลยเช่นกัน

Page 8: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ข้อด ี

1. เลี้ยงในบริเวณบ้าน หรือมีพื้นที่ทุ่งไร่ ทุ่งนาได้ดีมากๆ

2. อายุการใช้งานของกระชังเฉลี่ย 2 – 3 ปี ต่อกระชัง เงินลงทุนกระชังละไม่เกิน 600 บาท/กระชัง

3. เปลี่ยนถ่ายน้ าได้บ่อยๆ และง่าย รวดเร็ว กว่าแบบอื่นๆมาก ถ้ามีน้ าคลองสามารถเปิดให้ไหลผ่านหมุนเวียนได้ตลอด จะดีที่สุด กบจะไม่มีโรค และไม่เปลืองค่ายารักษาโรค

Page 9: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ข้อด ี

4. ให้อาหารง่าย ไม่เปลืองอาหารมากนัก เหมือนๆกับการเลี้ยงในบ่อปูน

5. ควบคุมดูแลโรคได้ง่ายกว่าแบบอื่นๆ เหมือนกับการเลี้ยงในบ่อปูน แต่ด้อยกว่าเล็กน้อย

6. เป็นการเลี้ยงเชิงพาณิชย์ได้อย่างเหมาะสม และคุ้มค่าอีกแบบหนึ่ง

7. สามารถจับกบขายได้ตลอดเวลา

Page 10: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ข้อด ี

8. กบไม่มีกลิ่นอับติดตัว เพราะเลี้ยงใกล้เคียงธรรมชาติที่สุด

9. กบมีพยาธิน้อยเพราะไม่ได้สัมผัสดิน โคลนโดยตรง

10. จ านวนกบที่รอดชีวิตจนจับขายได้ มีสูงกว่าบ่อดินธรรมดามาก

Page 11: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ข้อเสีย

1. หากผู้เลี้ยงมีอายุมาก จะเสี่ยงต่อการลื่นล้มเป็นอัมพาต หรือเป็นลมแดด จมน้ าเสียชีวิตได้ เพราะอาจต้องใช้สะพานเดินลงไปให้อาหารภายในบ่อ(ถ้าบ่อใหญ่ๆ)

3. ถ้าน้ าเสีย กบในบ่อทุกกระชังจะได้รับผลกระทบพร้อมกันหมดทั้งบ่อ เป็นโรคแล้วควบคุมหรือรักษาให้หายค่อนข้างยากกว่าบ่อปูนพอสมควร

2. ลงทุนสูงกว่าเลี้ยงกบในบ่อดินธรรมดา แต่ต้นทุนยังน้อยกว่าการสร้างบ่อปูน

Page 12: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

ก า ร เ ลี้ ย ง ก บ ใ น ก ร ะ ชั ง

ข้อเสีย

4. ถ้าท ากระชังไม่ดีพอ หรือเย็บเองโดยขาดความรู้ กระชังมักจะมีรูรั่วหรือขาดโดยที่เราไม่รู้ จนกบหนีไปหมดในที่สุด

6. ถ้าเลิกเลี้ยงต้องรื้นถอนกระชังออก และต้องซื้อดินมาถมบ่อ สิ้นเปลืองมากๆ

5. ต้องรื้อถอนและท ากระชังใหม่เมื่อครบระยะเวลา 2 – 3 ปี ท าให้ต้องลงทุนค่ากระชังอีกครั้ง

Page 13: การเลี้ยงกบในกระชัง...การเล ยงกบในกระช ง ข อด 1. เล ยงในบร เวณบ าน หร อม

จบการน าเสนอ

ประเด็นปัญหา