19
อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

  • Upload
    others

  • View
    14

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

อนรัุกษ์ ศรีอริยวฒัน์

ภาควิชาวิศวกรรมแหลง่นํา้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

Page 2: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

โครงสร้างป้องกนัการกดัเซาะชายฝ่ัง

ข้อดี และข้อด้อยของโครงสร้างป้องกนัชายฝ่ังแตล่ะชนิด

Page 3: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

การแบง่ประเภทของโครงสร้างป้องกนัชายฝ่ัง แบง่ได้ 2 ชนิด คือ

แบง่ตามลกัษณะของวสัดท่ีุใช้ในการก่อสร้าง ◦ การปักไมไ่ผ ่/ ไม้ไผร่วก สลายพลงังานคล่ืน

◦ เข่ือนหรือกําแพงหินป้องกนัคล่ืนใกล้ฝ่ัง

◦ การปักเข็มคอนกรีตสลายพลงังานคล่ืน

◦ ไส้กรอกทราย

แบง่ตามลกัษณะการใช้งาน (SPM, 1984) ◦ กําแพงกนัคล่ืน (Seawall, Revetment)

◦ คนัดกัตะกอน (Groin)

◦ Jetty

◦ เข่ือนกนัคล่ืนนอกชายฝ่ัง (Offshore Breakwater)

Page 4: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

การปักไมไ่ผ ่/ ไม้ไผร่วก สลายพลงังานคล่ืน

เข่ือนหรือกําแพงหินป้องกนัคล่ืนใกล้ฝ่ัง

การปักเข็มคอนกรีตสลายพลงังานคล่ืน

ไส้กรอกทราย

Page 5: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

รูปแบบ ข้อดี ข้อเสีย การปักไม่ไผ่ / ไม้ไผ่รวกสลายพลงัคล่ืน -ใช้แนวทางธรรมชาติในการแก้ไขปัญหา

-ใช้งบประมาณน้อย

-มีผลกกระทบต่อชายฝ่ังข้างเคียงและ

ระบบนิเวศน้อย

-ลดพลงัคล่ืนได้น้อย

-อายกุารใช้งานสัน้ (1-3 ปี) จําเป็นต้องมี

การบํารุงรักษาตลอด

-ใช้วสัดปุริกมาณมาก (ไม่ไผ่ 48,000 ลํา

ต่อ 1 กม.)

-ต้องใช้แรงงานจํานวนมาก

เข่ือนหรือกําแพงหินป้องกนัคล่ืนใกล้ฝ่ัง -ลดพลงัคล่ืนได้ดี ขึน้กบัความสงูของ

เข่ือนหรือกําแพง

-ลดพลงังานคล่ืนได้สงู

-ต้องการการบํารุงรักษาน้อย

-นํา้หนกัเยอะทําให้เกิดการทรุดตวั

-ใช้งบประมาณสงู โดยเฉพาะพืน้ท่ีอ่าว

ไทยตอนบน เน่ืองจากต้องปรับปรุงฐาน

ราก

-ทําให้การถ่ายเทนํา้ไม่สะดวก เกิด

ปัญหาด้านสิ่งแวดงล้อมได้

-เกิดผลกระทบต่อชายฝ่ังข้างเคียง

-ทําให้เสียทศันียภาพชายฝ่ัง

Page 6: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

รูปแบบ ข้อดี ข้อเสีย การปักเข็มคอนกรีตสลายพลงัคล่ืน -อายกุารใช้งานนาน

-ต้องการการบํารุงรักษาน้อย

-ทรุดตวัน้อย นํา้หนกัเบา

-ใช้งบประมาณสงู ขึน้กบัรูปแบบจํานวน

แถวและความยาวเข็ม

-ทําให้เสียทศันียภาพชายฝ่ัง

-ประสิทธิภาพการลดพลงังานคล่ืนน้อย

กว่าเข่ือนหรือกําแพงหิน โดยเฉพาะเม่ือ

ความยาวคล่ืนหรือคาบเวลาคล่ืนมากขึน้ ไส้กรอกทราย -เป็นโครงสร้างท่ีผสมผสานระหว่าง

แนวทางธรรมชาติและวิศวกรรม

-สามารถลดพลงังานคล่ืนได้สงู

-นํา้หนกัเบากว่าเข่ือนคอนกรีต และหิน

ทิง้

-ต้องใช้งบประมาณสงู

-มีการทรุดตวัหรือทรายร่ัวทําให้เประ

สิทธิภาพลดลง และอาจเกิดผลกระทบต่อ

ระบบนิเวศชายฝ่ังได้

-ทําให้ทศันียภาพชายฝ่ังเสีย

-ทําให้เกิดผลกระทบต่อชายฝ่ังข้างเคียง

Page 7: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

กําแพงกนัคล่ืน (Seawall, Revetment) คนัดกัตะกอน (Groin) Jetty เข่ือนกนัคล่ืนนอกชายฝ่ัง (Offshore Breakwater)

Page 8: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

กําแพงกันคล่ืน เป็นโครงสร้างท่ีวางตัวในแนวขนานหรือเกือบจะขนานกับชายฝ่ัง

ทะเล เพ่ือแบ่งเขตแดนท่ีเป็นดินกบันํา้ วตัถุประสงค์หลกัของโครงสร้างชนิดนี ้ใช้ใน

การป้องกนัการกัดเซาะของดินจากคล่ืนและกระแสนํา้โดยจะพยายามกนันํา้กบัดิน

ออกจากกนั

ข้อดีของโครงสร้าง คือ สามารถกนัพืน้ดินบริเวณด้านหลงัโครงสร้างได้

ข้อด้อยของโครงสร้าง คือ คล่ืนท่ีกระทบตวัโครงสร้างจะเกิดคล่ืนสะท้อน ทําให้คล่ืนมี

ความสงูคล่ืนเพ่ิมขึน้ และทําให้เกิดการกดัเซาะในแนวดิ่งบริเวณฐานของโครงสร้าง

ได้ สง่ผลให้เกิดการพงัทลายหรือชํารุดได้

Page 9: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 10: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

คนัดกัตะกอน คือ โครงสร้างท่ีทําหน้าท่ีดกัตะกอนท่ีเคล่ือนตวัตามแนวชายฝ่ัง ทําให้

เกิดการทับถมและตกตะกอนในบริเวณท่ีกระแสนํา้พัดพาตะกอนมา ซึ่งโดยปกติ

โครงสร้างชนิดนี ้จะวางตวัในแนวตัง้ฉากกบัชายฝ่ัง

ข้อดีข้อด้อย คือ ผลจากการดกัตะกอนท่ีเคล่ือนตวัตามแนวชายฝ่ังได้สง่ผลให้เกิดการ

งอกหรือทบัถมขึน้ แตจ่ะสง่ผลการกดัเซาะท่ีเพ่ิมขึน้กบัพืน้ท่ีท่ีอยูถ่ดัไปของโครงสร้าง

Page 11: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 12: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 13: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

From SPM (1984)

Page 14: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

Jetty คือ โครงสร้างท่ีย่ืนไปในแม่นํา้คล้ายคนัดกัตะกอน แต่สร้างเพ่ือจดุประสงค์

ในการรักษาสภาพปากแม่นํา้ให้มีเสถียรภาพ ไม่เกิดการเคล่ือนตวัตามฤดูกาล โดย

โครงสร้างนีจ้ะไม่ยอมให้ตะกอนจากการเคล่ือนตวัแนวชายฝ่ังและจากตวัแม่นํา้เอง

มาตกตะกอนปากแม่นํา้ได้ นอกจากนีย้งัส่งผลให้เกิดการทบัถมของชายฝ่ังได้แบบ

คนัดกัตะกอนด้วย

ข้อดีข้อด้อย คือ Jetty สามารถรักษาสภาพปากแมนํ่า้ได้ แต่มีข้อด้อยเช่นเดียวกบั

คนัดกัตะกอน คือ มีพืน้ท่ีได้ประโยชน์และเสียประโยชน์มากขึน้

Page 15: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 16: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 17: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

เข่ือนกนัคล่ืนนอกชายฝ่ัง หรือเข่ือนกนัคล่ืนเป็นโครงสร้างท่ีถกูออกแบบเพ่ือลดทอน

พลังงานคล่ืนก่อนท่ีคล่ืนจะเข้าสู่ชายฝ่ัง โดยผลของการลดทอนคล่ืนนีช้่วยให้เกิด

พืน้ท่ีอบัคล่ืน หรือพืน้ท่ีคล่ืนสงบด้านหลงัโครงสร้าง ทําให้ตะกอนทรายท่ีเคล่ือนตวั

มาตามกระแสนํา้ชายฝ่ังเกิดการตกตะกอนได้ ส่งผลให้เกิดการทับถมของตะกอน

ด้านหลงัโครงสร้าง โดยปกติแล้วโครงสร้างชนิดนีจ้ะวางตวัในแนวขนาดกบัชายฝ่ัง

ข้อดีข้อด้อย คือ เม่ือมีพืน้ท่ีท่ีได้ทบัถมของตะกอนบริเวณด้านหลงัโครงสร้างเข่ือนกนั

คล่ืนนี ้ก็จะมีพืน้ท่ีท่ีถกูกดัเซาะด้านข้างด้วย

Page 18: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง
Page 19: อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์ ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งนํ้า คณะ .... โครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง