15

Click here to load reader

anamai49

  • Upload
    -

  • View
    25

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: anamai49

- 1 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย - อนามัย 49

อนามัย 49 เปนแบบตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก ที่สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัยจัดทําขึ้นรวมกับผูเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัย กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย เพื่อเปนการคัดกรองเบื้องตนสําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข พอแม บุคลากรที่เกี่ยวของ โดยเนนใหเปนแบบประเมินพัฒนาการที่ใชงาย สะดวก และศึกษาแนวทางในการทดสอบดวยตนเองได โดยแบงเปน 15 ชวงอายุ ตั้งแต แรกเกิด จนถึง 72 เดือน หัวขอในการประเมิน(Items) ที่ใชในการทดสอบ ประกอบดวย 4 ดานหลัก รวมทั้งหมด 48 Items ไดแก

1. ดานสังคม (Social and ) ประกอบดวย 9 Items (คิดเปนรอยละ 19 ของ Items ทั้งหมด) เริ่มจากจองหนา การยิ้ม การแสดงอารมณ การเลน การแสดงความตองการ รวมไปถึงการเลน การรูจักปฏิเสธ และการรอคอย

2. ดานภาษา (Language ) ประกอบดวย 23 Items (คิดเปนรอยละ 48 ของ Items ทั้งหมด) โดยเริ่มจาก Body Language ที่ตอบสนองตอการไดยิน การพูดเปนคําๆที่ไมมีความหมาย จนสามารถพูดไดหลายพยางคและมีความหมายมากขึ้น และพัฒนาที่จะรูถึงรูปประโยค ประธาน (subject) กริยา (Verb) คําคุณศัพท (adjective) คําบุรพบท (Preposition) ทราบความหมายของ สี จํานวนนับ ของคําตางๆ รวมถึงประโยชนของสิ่งของตางๆ และการเปรียบเทียบ เปนตน

3. ดานการใชกลามเนื้อมัดเล็ก (Fine Motors) ประกอบดวย 10 items(คิดเปน รอยละ 21 ของ Items ทั้งหมด) กลามเนื้อมัดเล็กที่ใชเมื่อแรกคลอดใหมๆ คือ กลามเนื้อตา ตอมาคือฝามือและใชนิ้วชวยในการหยิบของเล็กๆ

4. ดานการใชกลามเนื้อมัดใหญ (Gross Motors) ประกอบดวย 6 items (คิดเปนรอยละ 13 ของ Items ทั้งหมด)โดยเริ่มพัฒนาจากกลามเนื้อคอ การพลิกคว่ําพลิกหงาย นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด และสามารถยืนขาเดียวไดนานขึ้นๆ เมื่อจํานวนเดือนมากขึ้น เนื่องจากผลการสํารวจของเด็กไทย พบวา เด็กไทยไมคอยมีปญหาในเรื่อง Gross Motors แตมีปญหาในเรื่องภาษา จึงลดจํานวน Items ของ Gross Motors ลง เพื่อไมใหแบบประเมินมีจํานวน items มากเกิน ไป ซึ่งเปรียบเทียบจํานวน Items ของ อนามัย 49 และ Denver II ไดดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 เปรียบเทียบจํานวน Items ของดานตางๆ ใน Denver II กับอนามัย 49

Items % Items %Social and Personal 25 20% 9 19%Language 39 31% 23 48%Fine Motors 29 23% 10 21%Gross Motors 32 26% 6 13%

รวม 125 100% 48 100%

Denver II อนามัย 49

Page 2: anamai49

- 2 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

หลักการในการจัดทําเครื่องมือในการวัดพัฒนาการเด็ก

1. กําหนดตัววัดที่เปนตัวแทนที่ดีในการสะทอนพัฒนาการในชวงอายุตางๆ ใหครอบคลุมทั้ง 4 ดาน พรอมทั้งกําหนดวิธีการวัดที่ทําไดงาย ไมตองใชเครื่องมือมากหรือราคาแพง แตมีความเชื่อถือได และความเที่ยง

2. ทดลองนําไปปฏิบัติจริง แลวคัดเลือกตัววัดที่มี Reliability และ Validity ที่ดี และจํานวนที่พอเหมาะ ไมมากหรือนอยเกินไป ซึ่งอนามัย 49 คัดเลือกมา 48 items

3. Standardized วิธีการวัดของแตละ Items และผูทําการประเมิน ตองผานการอบรมจนสามารถ ประเมินแตละ Items ไดแมนยําตามวิธีการที่มาตรฐานที่กําหนด

4. นําเครื่องมือดังกลาว ไปทําการประเมินเด็กในชวงอายุตางๆกัน โดยตองดําเนินการตามวิธีการที่มาตรฐานกําหนด เพื่อหาวา รอยละที่เด็กปรกติสามารถผานแบบทดสอบขอนี้ โดยจะแบงเปอรเซ็นตเปน 4 ชวง คือ 25%,50%,75% และ 90 % หรือจะใช P25 , P50,P75,P90 แทน

5. การทราบคามาตรฐานของเด็กปรกติวาที่แตละชวงอายุที่กําหนด มีเด็กรอยละเทาไร ที่สามารถผานขอทดสอบนั้นได จะทําใหเราสามารถหาไดวาเด็กคนใดมีพัฒนาการชา หรือเร็วเมื่อเทียบกับคามาตรฐานนี้

6. ในแตละขอทดสอบ (Items) ถาเด็กคนใดไมสามารถผานขอทดสอบที่รอยละ 75 – 90 ทําได แสดงวาตองระวัง (Caution) หรือเขียนแทนดวยการใชอักษร F ที่แทงหรือหัวขอที่ประเมิน (รูปซายมือดานลาง) และถาเด็กคนใดไมสามารถผานขอทดสอบที่มากกวาหรือเทากับรอยละ 90 ทําได (โดยตั้งใจทําอยางเต็มที่แลว) แสดงวาขอนั้นนาจะ Delay (รูปขวา)

Caution Delay 7. ประเด็นที่สําคัญคือ ถาจะใชคา P75 – P90 ของแตละหัวขอแลว ผูประเมินก็ตองประเมินดวยวิธีการและ

เครื่องมือตามที่กําหนดไวในมาตรฐาน เหมือนกับการหาคา Lab ตางๆ เชน Fasting Blood sugar ถาจะใชคา FBS >= 126 mg/dl เพื่อวินิจฉัยเบาหวาน ก็ตองทําตามมาตรฐานที่กําหนดเชน อดน้ําและอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง เจาะเลือดที่เสนเลือดดํา วิธีการทํา lab ตองเปนไปตามมาตรฐานการทําที่กําหนด และตองตรวจ 2 ใน 3 ครั้งตางวันกัน แลวคา FBS >= 126 mg/dl ถึงจะวินิจฉัย แตถาไมไดทําตามมาตรฐานที่กําหนด ก็ไมสามารถที่จะนําไปใชได นี่เปนสาเหตุที่ผูที่จะประเมินพัฒนาการเด็กดวยอนามัย 49 ตองผานการอบรม เพื่อ Standardized วิธีการประเมินในแตละ Items เพราะถาวิธีการไมตรงตามมาตรฐานแลว การนําไปเทียบกับคา P75-P90 เพื่อประเมินพัฒนาการวาผานหรือไม จะเกิดขอผิดพลาดตามมาอยางมาก

Page 3: anamai49

- 3 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

วิธีการใชอนามัย 49.

1. ศึกษาวิธีการประเมินพัฒนาการตามแบบอนามัย 49 อยางละเอียดและระมัดระวัง โดยตองตระหนักอยูเสมอวา การตรวจใหตรงตามหลักเกณฑวิธีการ และใชเครื่องมือตามที่มาตรฐานกําหนด มีความสําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากมีความจําเปนตองใชคามาตรฐานวาเด็กปรกติ รอยละ 75 – 90 สามารถผานการประเมินพัฒนาการในหัวขอนั้นที่ชวงอายุเทาไร (P75 , P90)

2. เตรียมอุปกรณสําหรับการตรวจ โดยใชอุปกรณตามที่มาตรฐานกําหนดหรือใกลเคียงใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เชน ไหมพรมแดง ก็ควรเปนไหมพรมแดง ไมจําเปนจริงๆก็อยาไปเอาสีอื่น หรืออุปกรณอื่นที่ไมใชไหมพรม ใหหยิบลูกเกด ก็ควรเปนลูกเกด เพื่อที่จะไดขนาดตามที่มาตรฐานกําหนด โดยอุปกรณที่ตองเตรียมเพื่อการตรวจมีดังนี้ 2.1. กอนไม 10 กอน ซึ่งมีสีแตกตางกัน 5 สี 2.2. ไหมพรมสีแดง 2.3. ลูกเกด 2.4. ตุกตา 2.5. กระดาษ และดินสอ 2.6. รูปภาพของคน สัตว และรูปทรงเรขาคณิตไดแก วงกลม สามเหลี่ยน ส่ีเหลี่ยม เสน 2 เสนที่มีความยาวตางกัน (ดู

รูปภาพประกอบการตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย หนา 15) 3. ไปดูที่ ตารางมาตรฐานการตรวจแตละ Item ตามอนามัย 49 (หนา 8-14 ) หรือจะเขาไปที่ Web

(http://hph4.anamai.moph.go.th/hph/mch/anamai49.php) โดยใหดูวาขอทดสอบแตละชวงอายุ เปนการวัดดานใด (Social , Language ,Fine หรือ Gross Motors) และแตละหัวขอในอนามัย 49 และใหดูคา P75-P90 วาเทากับกี่เดือน เพื่อที่จะไดเปรียบเทียบกับอายุจริงของเด็กที่รับการตรวจ

Page 4: anamai49

- 4 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

4. หัวขอประเมินขอใดที่ไมแนใจ อยาตีความเอง ใหสอบถามผูที่ผานการอบรมมาแลว เพื่อจะไดทําใหถูกตั้งแตแรกและถูกตลอดไป ในเรื่องการประเมินพัฒนาการจําเปนตอง Standardized หรือ Calibrate ผูประเมิน เหมือนกับการสอบเทียบเครื่องมือวัดตามระบบ ISO 9001 เพื่อควบคุมใหแตกตางจากมาตรฐานใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได

5. ตรวจประเมินพัฒนาการเด็กโดย 5.1. คํานวณอายุของเด็กเปนจํานวนเดือน กรณีที่คลอดกอนกําหนดมากกวา 2 สัปดาหและอายุต่ํากวา 2 ป ใหหัก

อายุของเด็กเทากับจํานวนวันที่คลอดกอนกําหนด เมื่อ Adjust แลวถามีเศษของเดือนไมวาเปนเทาไรใหตัดทิ้ง 5.2. ประเมินพัฒนาการทุกหัวขอในชวงอายุที่คํานวณได โดยตองประเมินตามวิธีการ และใชเครื่องมือตามที่มาตรฐาน

กําหนด 5.3. พิจารณาผลการประเมิน โดยแบงเปน

5.3.1. P = ผานการประเมิน 5.3.2. F = ไมผานการประเมิน 5.3.3. R = เด็กไมใหความรวมมือ 5.3.4. No = เด็กไมไดรับโอกาส

6. แนะนําผูเล้ียงดูเด็ก ถึงวิธีการกระตุน หรือจัดกิจกรรมการเรียนรูใหเด็ก ในหัวขอที่ผลการประเมินไมผาน (ทั้ง F หรือ R หรือ No) และแนะนําใหมาติดตาม (Follow up) ในอีก 2-4 อาทิตย โดยชวงที่อยูบานใหผูเล้ียงดูจัดกิจกรรมใหเด็กไดเรียนรูใหมากที่สุดเทาที่จะทําได

7. ถาตามมารักษาแลว ยังไมผานในหัวขอนั้นอีก ใหทําการประเมิน โดย 7.1. ผูเล้ียงดูมีเวลาไดกระตุนหรือจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาหัวขอที่ไมผานหรือไม 7.2. ใหดูที่ตารางหนา 8-14 เพื่อดูคา P90 ของหัวขอที่ไมผานวาตรงกับจํานวนอายุ(เดือน) เทาไร เชน เด็กอายุขณะ

ประเมิน 2 เดือน แต P90 ของหวัขอที่ไมผาน = 2.8 เดือน แสดงวายังไม delay แตอยูในชวงตองระวัง (caution) หรือถาอายุขณะประเมิน เมื่อดูอายุ(เดือน) นอยกวาที่ชวงของ P75-P90 ก็แสดงวา ชวงอายุนั้นแมจะไมผานการประเมิน ก็นาจะรอได เนื่องจากอนามัย 49 มี Range คอนขางกวาง เชน ในชวง 19-24 เดือน จะมีขอทดสอบของ 19-24 เดือนรวมกัน เด็กที่อายุ 19 เดือน ถาตองไปทําแบบทดสอบของอายุ 24 เดือน ก็เหมือนเด็ก ป 2. และ ป 3 เรียนอยูในชั้นเดียวกัน เมื่อคราวออกขอสอบ ก็มีขอสอบ ป.2 และ ป 3 ปนกัน ถาเด็ก ป 2 ตองไปทําขอสอบของ ป.3 ไมผานก็ไมนาเสียหายอะไร แตเราตองรูวาขอสอบแตละขอเปนขอสอบของชั้นไหน

7.3. ถาสงสัยวาการไมผานการประเมินเกิดจากชวงอายุของ อนามัย 94 มี range กวาง ตองการที่จะทําการประเมินพัฒนาการชวงอายุเฉพาะ ใหประเมินดวย Denver II ในกรณีที่ไมมีแบบประเมิน Denver II ใหโทรติดตอโรงพยาบาลที่งานพัฒนาการเด็ก เพื่อจะบอก User Name และ Password ที่จะเขาสูฐานขอมูลของโรงพยาบาล เมื่อ Click ที่ แบบประเมินชวงอายุเฉพาะ เมื่อประเมินดวยอนามัย 49 แลวผิดปรกติ โปรแกรมจะให key ชื่อ และ นามสกุล ของเด็ก ตอดวยวันเดือนปเกิด และถาเด็กคลอดกอนกําหนดมากกวา 2 สัปดาห ก็ใหระบุดวยวาคลอดกอนกําหนดกี่สัปดาห หลังจากนั้นโปรแกรมจะคํานวณอายุ(เปนเดือน) จากวันเกิด และถาอายุนอยกวา 2 ปและคลอดกอนกําหนด มากกวา 2 สัปดาหโปรแกรมจะทําการปรับอายุให ตอจากนั้นโปรแกรมจะดึงขอมูลจากฐานขอมูล (Query) โดยดึง Items ของการประเมินเฉพาะในชวงอายุนั้น โดยจะนําทั้งในสวนของ P75- P50 (ถาไมผานถือวาเปน Caution) และในสวนที่มากกวา P90 (ถาไมผานถือวา Delay) โดยสามารถ Print ออกมาเพื่อทําการประเมินตามหัวขอได จากนั้นนับวา มี caution และ delay จํานวนกี่ขอ เพื่อทําการประเมินวา Normal

Page 5: anamai49

- 5 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

หรือ Suspect หรือ No Testable โปรแกรมนี้จะชวยอํานวยความสะดวกในการคํานวณอายุและดึงหัวขอการประเมินของชวงอายุดังกลาวเทานั้น แตความยากของการประเมินพัฒนาการเด็กคือ ผูประเมินตองผานการอบรมเพื่อใหสามารถที่จะประเมินแตละ Items ไดถูกตองตามมาตรฐาน และทักษะในการประเมิน การหลอกลอเด็ก การถามผูเล้ียงดูเพื่อใหไดขอมูลไปใชในการประเมิน ซึ่งเรื่องดังกลาวไมมีโปรแกรมที่ไหนสามารถที่จะทําใหได

7.4. ถาทําการประเมินในชวงอายุเฉพาะแลว พบวา Suspect หรือ No Testable ก็ใหทําการ Refer ไปยังโรงพยาบาลที่มีกุมารแพทยหรือพยาบาลที่ผานการอบรมที่สามารถประเมินพัฒนการเด็กได เพื่อทําการประเมินพัฒนาการและดําเนินการตามที่เหมาะสมตอไป

Page 6: anamai49

- 6 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

เด็กที่พัฒนาการที่ลาชา (Delay ) บงบอกอะไร

ถาประเมินพัฒนาการเด็ก 0-72 ปตามอนามัย 49 แลวพบวาลาชา และเมื่อใชชวงอายุเฉพาะแลวก็ยังลาชาอีก บงบอกวามูลเหตุที่เกี่ยวของ 3 ประการ เรียงตามลําดับ ไดดังนี้

(1) เด็กขาดโอกาส พัฒนาการทั้ง 4 ดานของเด็กไมวาจะเปนดานสังคม ดานภาษา ดานกลามเนื้อมัดเล็กหรือมัดใหญนั้นจะพัฒนาไปไดดีหรือไม ขึ้นกับปจจัยของตัวเด็ก และส่ิงแวดลอม ส่ิงแวดลอมที่สงเสริมหรือกระตุนใหเกิดการเรียนรู จะทําใหเด็กพัฒนาการทางดานตางๆไดดี เพราะฉะนั้นถาเด็กขาดโอกาสที่จะไดรับการสงเสริมหรือกระตุนดานการเรียนรู แมปจจัยของตัวเด็กจะสมบูรณ ก็ไมสามารถพัฒนาการใหสมวัยได เพราะฉะนั้นเมื่อพบวาเด็กมีพัฒนาการที่ไมผานในหัวขอใด ตองแนะนําใหผูเล้ียงดูใหสรางสิ่งแวดลอมเพื่อการเรียนรูใหกับเด็กในหัวขอนั้น เชนเด็กประเมินไมผานในเรื่อง จํานวนนับ ผูเล้ียงดูก็ตองสงเสริมในเรื่องจํานวนนับใหกับเด็ก เปนตน หลายคนเขาใจผิดคิดวา ถาประเมินแลวไมผานแสดงวาเด็กมีปญหาดานเชาวปญญา ซึ่งความจริงแลวหาใชเปนเชนนั้น เหมือนกับเราทําขอสอบหรือโจทยขอใดขอหนึ่งไมผาน พอเปดดูเฉลยหรือมีคนแนะนําวาตองทําโจทยขอนี้อยางไร ตอไปเราก็สามารถทําได เพราะฉะนั้นการทําไมได เนื่องจากเราขาดโอกาสที่จะฝกทําโจทยในลักษณะนั้นมากอนเทานั้น

(2) ระบบบริการสาธารณสุขในดานอนามัยแมและเด็ก ผูใหบริการสาธารณสุขมักจะไมไดมองปจจัยขอนี้วาเปนสาเหตุ แตความเปนจริงสวนนี้ก็เปนสาเหตุดวย ตองยอมรับวาการเลี้ยงลูกใหมีพัฒนาการสมวัยนั้นตองใชพอแมมืออาชีพ ไมใชพอแมมือใหมหัดขับ ปจจุบัน Teenage Pregnancy สูงขึ้นเกือบ 20 % ในบางพื้นที่ เมื่อพอแมมีอายุนอยการเลี้ยงดูบุตรยิ่งมีปญหา ระบบบริการสาธารณสุขในดานอนามัยแมและเด็กยิ่งตองใหความสําคัญมากขึ้นเพื่อชดเชยสวนขาดตรงนี้ โดยเรื่องที่ตองพัฒนาใหเกิดความพรอม มีดังนี้ • โรงเรียนพอแม (Parental Class) เพื่อเตรียมความพรอมของพอแม หรือผูเล้ียงดูเด็ก ใหเปนพอแมมืออาชีพ ที่

สามารถที่จะสรางสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูใหกับเด็ก ทําใหเด็กไมขาดโอกาสที่จะไดสงเสริมการเรียนรูเพื่อใหมีพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ดาน โดยโรงเรียนพอแมใหบูรณาการในเรื่อง มุมโภชนาการทันต กรรม และพัฒนาการ (NDDC) ,คลินิกนมแม

• Exclusive Breast Feeding 6 เดือน การเลี้ยงลูกดวยนมแมนอกจากจะไดสารอาหารและภูมิคุมกันที่เหนือกวานมผสม แลว ส่ิงที่ไดมากยิ่งกวาคือ Bonding ถา Exclusive Breast feeding ไดถึง 6 เดือน แสดงวา แมลูกคูนั้นแทบจะแยกออกจากกันไมได ความใกลชิดคือส่ิงแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูที่สําคัญ และความสัมพันธนี้จะเปนพื้นฐานของความสัมพันธอื่นๆตามมา

• ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว ซึ่งจะเปนเครือขายเชื่อมโยงกัน ทําใหสามารถเรียนรูในเรื่องการตั้งครรภ การคลอด การดูแลเด็กหลังคลอด จากเพื่อน จากพี่ ซึ่ง Peer Learning จะชวยลดชองวางของการสื่อสาร และเปนการสื่อสาร 2 ทาง ผิดกับการใหสุขศึกษาของเจาหนาที่ ที่นอกจากจะเปนการสื่อสารทางเดียวแลว ภาษาที่ใชของเจาหนาที่สาธารณสุขอาจจะเขาใจยากกวาภาษาของชาวบานดวยกัน นอกจากนี้ยังเปนการแกปญหาเรื่องความจํากัดของทั้งปริมาณและเวลาของเจาหนาที่สาธารณสุข เพราะมีเครือขายในการชวยแนะนําเพื่อใหพอแมมือใหมมีประสบการณการเลี้ยงดูลูกจากผูที่มีประสบการณมากอน

• ระบบบริการทางการแพทย ทั้งทางดาน ANC, LR ,OR ,PP และ Nursery ที่ตองใหบริการตามมาตรฐานโรงพยาบาลลูกเกิดรอดแมปลอดภัย โรงพยาบาลสายสัมพันธแมลูก เพื่อเปนหลักประกันในเรื่องของความ

Page 7: anamai49

- 7 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

พรอมในการใหบริการ เพื่อใหลูกเกิดรอด (ไมมี Birth Asphyxia) น้ําหนักแรกคลอดดี (ไม Low Birth Weight) แมปลอดภัย และเลี้ยงลูกดวยนมแมอยางเดียว 6 เดือน (Exclusive Breast Feeding 6 เดือน) ซึ่งเมื่อไดปจจัยตามที่กลาวขางตนแลว จะนําไปสูพัฒนาการเด็กสมวัยตามมา ( ทั้งหมดที่กลาวคือผลลัพธ ทั้ง 4 เรื่องของโรงพยาบาลสายใยรักแหงครอบครัวนั่นเอง)

(3) ปจจัยของตัวเด็ก คนสวนใหญมักเขาใจวาพัฒนาการที่ลาชาไมสมวัย เกิดจากความผิดปรกติของตัวเด็ก เชน เด็ก Asphyxia ชวงแรกคลอด โรคพันธุกรรมที่เปนสาเหตุใหพัฒนาการลาชา เชน Down ‘s Syndrome หรือเปนโรคอื่นๆ เชน สมาธิส้ัน ออรธิสติค เปนตน ซึ่งสวนนี้พบได แตคิดวาไมมากเทา 2 สาเหตุแรก นอกจากนี้ถามุมมองในเรื่องพัฒนาการสมวัยของเราจํากัดสาเหตุอยูที่เรื่องปจจัยของตัวเด็กแลว ยุทธศาสตรการแกปญหาจะอยูที่การไปกระตุนพัฒนาการของเด็กที่มีปญหาลาชาซึ่งถือเปนยุทธศาสตรเชิงรับ ทําใหบดบังยุทธศาสตรเชิงรุกในเรื่องการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขดานอนามัยแมและเด็ก เพื่อเตรียมพื้นฐานที่ดีสําหรับเด็ก (ลูกเกิดรอด ไม Asphyxia , ไม Low Birth Weight ,แมปลอดภัย และเลี้ยงลูกดวยนมแม) และพัฒนาความพรอมของพอแมใหเปนพอแมมืออาชีพ อีกทั้งเครือขายชุมชม (ชมรมสายใยรักแหงครอบครัว) เพื่อสรางสิ่งแวดลอมแหงการเรียนรูสําหรับเด็ก ใหเด็กมีโอกาสไดรับการเรียนรูเพื่อใหมีพัฒนาการสมวัยทั้งทางดาน สังคม ภาษา กลามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ

Page 8: anamai49

- 8 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ตารางมาตรฐานการตรวจในแตละ Item ตามอนามัย 49 ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน

ใหเด็กนอนหงาย ผูทดสอบยื่นหนาหางจากหนาเด็กประมาณ 12 นิ้ว มองหนา – สบตา (Social ) P75-P90 = 0 1.1 เดือน ผาน เด็กมองดูหนาผูทดสอบนาน 1-3 วินาที

ระหวางทดสอบ สังเกตวาเด็กสงเสียงอะไรก็ไดที่ไมใชเสียงรองไห

< 1 เดือน

ตอบสนองตอเสียงพูดในลําคอ (Language) P75-P90 =0.3 0.8เดือน ผาน ถาไมไดยิน ถามพอแมวาเด็กสงเสียงที่ออกจากคอบางหรือไม

ระหวางการทดสอบ ผูทดสอบพูดคุยเลนกับเด็ก สังเกตวาเด็กมีเสียงอูอาอยางชัดเจน หรือทําเสียงออกจากลําคอไดยินในระยะ 2 ฟุต และสังเกตการตอบสนองความสนใจของเด็ก

สนใจฟงและมองหาเสียง ทําเสียงอูอาโตตอบ (Language) P75-P90 =1.6 2.8 เดือน ผาน เด็กทําเสียงออกจากลําคอจนไดยินในระยะ 2 ฟุต ได และเด็กตอบสนอง

โดยการเคลื่อนไหวตัวหรือใบหนาเมื่อผูทดสอบพูดคุยดวย เด็กนอนหงาย ผูทดสอบถือกลุมไหมพรมสีแดงหางจากเด็กประมาณ 8 นิ้ว ใหอยูทิศทางที่ตาเด็กกําลังมอง เขยากลุมไหมพรมใหเด็กสนใจ และเคลื่อนไหมพรมชา ๆ ไปดานขางตัวเด็ก ขางใดขางหนึ่ง หลาย ๆ ครั้ง

มองตามสิ่งที่เคลื่อนไหว (Fine Motor) P75-P90 =0.3 1.4 เดือน

ผาน เด็กมองตามกลุมไหมพรมจากดานขางลําตัวขางใดขางหนึ่งไปจนกึ่งกลางลําตัวเด็กได ใหเด็กนอนคว่ํา ขอศอกงอ มือทั้งสองขางวางที่พื้น

อายุ 1-2 เดือน

ชันคอในทาคว่ํา (Gross Motor) P75-P90 =2 2.8 เดือน

ผาน เด็กยกศีรษะตั้งขึ้นได 45 องศา ไดนาน 3 วินาที

ใหเด็กนั่งตักพอแม หันหนาไปทางพอแม ผูทดสอบอยูดานหลังเด็กหาง 8 นิ้ว ใชกอนไมใสในถวยกระเบื้องเคลือบเขยา (แทนการสงเสียง) หลาย ๆ ครั้ง ผาน เด็กหันหาเสียง

หันหาเสียง (Language) P75-P90 =4.8 5.8 เดือน

ขอควรระวัง การสงเสียงจะควบคุมความดังของแตละคนยาก ใหใชกอนไมใสถวยแกวแลวเขยาดวยความแรงพอสมควร เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ระหวางการทดสอบสังเกตวาเด็กหัวเราะไดหรือไม ถาไม ถามพอแมวาเด็กเคยหัวเราะหรือไม

หัวเราะได (Hx) (Language) P75-P90 = 2.6 – 3.1 เดือน ผาน พอแมบอกวาเด็กเคยหัวเราะ

ผูทดสอบพูดคุยหรือเลนกับเด็ก สงเสียงออแอโตตอบ (Language) P75-P90 =

ผาน เด็กเปลงเสียงดังขึ้น นานขึ้น เมื่อผูทดสอบพูดดวย

วางเด็กนอนหงาย ใชไหมพรมสีแดง ถือหางจากหนาเด็ก 8 นิ้ว เขยาใหเด็กสนใจ และมองตามจากดานขางลําตัวเด็กดานหนึ่งไปสุดอีกดานหนึ่ง

อายุ 3-4 เดือน

มองตามจากดานหนึ่ง จนสุดอีกดานหนึ่ง (Fine Motor) ผาน เด็กมองตามของเลนจากดานหนึ่งไปสุดดานหนึ่งได

Page 9: anamai49

- 9 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน P75-P90 =3.9 4.1 เดือน ขอควรระวัง ใหใชไหมพรมสีแดง เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

วางเด็กนอนคว่ํา เรียกชื้อเด็ก/เขยากรุงกริ๋ง ในทาคว่ําใชแขนยันชูคอตั้ง 90 องศา (Gross Motor) P75-P90 = 3.0 3.8 เดือน

ผาน เด็กชูคอมองได 90 องศา ไดนาน 3 วินาที

ระหวางทดสอบ ผูทดสอบสังเกตเด็กแสดงอารมณและทาทางดีใจ/ขัดใจ หรือไม หรือถามพอแมวาเด็กเคยแสดงอารมณทางสีหนา/ทาทาง ดีใจ หรือรองไหขัดใจบางหรือไม

แสดงอารมณและทาทาง เชน ดีใจ ขัดใจ (Hx) (Social) P75-P90 = ผาน ถาเด็กสามารถแสดงสีหนา/ทาทางดีใจหรือขัดใจได

ผูทดสอบเขาไปดานหลังเด็ก และเรียกชื่อเด็ก หันตามเสียงเรียกชื่อ (Language) P75-P90 =5.8 6.8 เดือน

ผาน เด็กหันตามเสียงเรียกชื่อ

ระหวางทดสอบ สังเกตเด็กสงเสียงสูง ๆ ต่ําๆ คุยคนเดียว หรือคุยกับพอแม สงเสียงสูง ๆ ต่ํา ๆ (Language) P75-P90 =2.9 4.5 เดือน

ผาน ถาเด็กสามารถเปลงเสียงสูง ๆ ต่ํา ๆ ได แมวาจะไมเปนคําพูด

พยุงเด็กในทานั่ง ผูทดสอบถือของเลนหางจากกึ่งกลางลําตัวเด็ก 15 ซม. เขยาใหเด็กสนใจ ผาน เด็กเอื้อมมือควาของเลนไวได และสามารถเปลี่ยนมือถือของเลนได

อายุ 5-6 เดือน

ควาของมือเดียวและเปลี่ยนมือถือของได (Fine Motor) P75-P90 =6.9 7.9 เดือน ขอควรระวัง การประเมินตองเตรียมของเลน 2 ชิ้นขนาดไมใหญเมื่อเทียบกับมือ

เด็ก โดยถายื่นชิ้นแรกแลวเด็กควาได ใหนําชิ้นที่ 2 ไปวางไวหลังมือที่ขางที่เด็กถือของเลน เพื่อใหเด็กเปล่ียนมือจากของของเลนชิ้นแรกเพื่อไปควาชิ้นที่ 2 ถาไมสามารถเปลี่ยนมือได ถือวาไมผาน สังเกตเด็กสงเสียงพยางคเดียว เชน จะ หม่ํา หรือซักถามจากพอแม ทําเสียงพยางคเดียว เชน จะ

หม่ํา (Hx) (Language) P75-P90 = 6.8 7.8 เดือน

ผาน เด็กทําได หรือพอแมตอบวาเคยไดยินเด็ก สงเสียงพยางคเดียว

ใชไหมพรมสีแดงเปนของเลนใหเด็กเด็กมองตามระดับสายตาเด็ก เมื่อเด็กมองแลวใหปลอยไหมพรมสีแดงใหหลนจากมือโดยไมขยับแขน ผาน เด็กมองตามของที่ตก

มองตามของตก (Fine Motor) P75-P90 =6.5 – 7.4 เดือน

ขอควรระวัง ใหใชไหมพรมแดง เปนของเลนเพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน จับเด็กนั่งกับพื้น

อายุ 7-8 เดือน

นั่งทรงตัวไดเอง โดยไมตองใชมือยัน (Gross Motor) P75-P90 = 6.3 7.0 เดือน

ผาน ถาเด็กนั่งไดเองโดยไมตองพยุง ไดนานอยางนอย 5 วินาที

Page 10: anamai49

- 10 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน เรียกชื่อเด็ก ใหเด็กมองผูทดสอบ ผูทดสอบซอนหนาหลังแผนกระดาษ หรือผา และโผลหนาดูเด็กพรอมพูด จะเอ (ทดสอบวาเด็กรูจักเลนหรือไม) ผาน เด็กจองมองตรงที่ผูทดสอบโผลหนาออกไปดูเด็กหรือเด็กรูจักเลนกับ ผูทดสอบได

เลนจะเอ (Social)

หมายเหตุ คา P75-P90 ของการเลนจะเอไมมี มีแตการเลนกับผูประเมินดวยการโยนบอลกลับไปหาผูประเมิน P75-P90 = 12.0 15.8 เดือน ผูทดสอบถามพอแมวา เด็กแสดงความตองการ โดยใชทาทางหรือชี้บอกความตองการไดหรือไม

ใชทาทางหรือการชี้บอกความตองการ (Hx) (Social) P75-P90 =11.0 13.0 เดือน

ผาน เด็กใชทาทางหรือช้ีบอกความตองการได

วางลูกเกด หรือขนมปงชิ้นเล็ก ๆ วางไวตรงหนาเด็ก และพูดชักชวนใหเด็กหยิบลูกเกด ถาหากเด็กไมทําผูทดสอบหยิบลูกเกดใหเด็กดูและชักชวนเด็ก กระทําตาม ผาน เด็กสามารถใชปลายนิ้วหัวแมมือ และปลายนิ้วชี้หยิบลูกเกดขึ้นมาได

ใชนิ้วชี้และนิ้วหัวแมมือหยิบของ (Fine Motor) P75-P90 = 9.2 10.2 เดือน

ขอควรระวัง ใหใชลูกเกค เพื่อเปนมาตรฐานเดียวกันในการควบคุมขนาดวาเด็กสามารถใชกลามเนื้อมัดเล็กไดดีเทาไร ถาใชขนมปงเกรงวาแตละคนจะปนกันคนละขนาด จับใหเด็กนั่งที่พื้นโดยมีเกาอี้หรือโตะเตี้ย ๆ วางอยูใกล ๆ กระตุนใหเด็กลุกขึ้นยืนโดยวางของเลนไวบนโตะ

อายุ 9-10 เดือน

เกาะยืนและเหนี่ยวตัว ลุกขึ้นยืนจากทานั่ง (Gross Motor) P75-P90 = 7.9 8.8 เดือน

ผาน เด็กลุกเกาะยืนดวยตนเองและเกาะยืนไดนาน 5 วินาทีขึ้นไป

ผูทดสอบแสดงทาทาง เชน ทําปากจู แลบล้ิน ยิ้มหวาน แลวสังเกตวาเด็ก ทําตามไดหรือไม ผาน ถาเด็กทําตามไดอยางนอย 1 อยาง

เลียนแบบทาทาง (Social) P75-P90

หมายเหตุ ไมทราบ P75-P90 ของเลียนแบบทาทางดวยการ ทําปากจู แลบล้ิน มีแต การเลียนแบบในเรื่องการทํางานบาน การรับโทรศัพท โดย P75-P90 =12.5 16.0 เดือน ถามพอแมวา ถาเด็กกําลังกระทําส่ิงใดอยูและพอแมสงเสียงหามใหเด็กหยุดการกระทํานั้น ๆ

เขาใจเสียงหามและ หยุดทํา (Hx) (Social) P75-P90 =

ผาน ถาพอแมตอบวา เด็กเขาใจและหยุดกระทําส่ิงนั้น

อายุ 11-12 เดือน

ยืนเองไดชั่วครูหรือตั้งไข จับเด็กใหยืนบนพื้น สังเกตดูวาเด็กมีทีทาวาจะทรงตัวได ปลอยมือที่จับเด็ก

Page 11: anamai49

- 11 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน (Gross Motor)

P75-P90 = 11.0 11.8 เดือน

ผาน เด็กสามารถยืนไดดวยตนเองโดยไมตองพยุงนาน 2 วินาทีขึ้นไป

ผูทดสอบบอกใหเด็กระทําตามคําส่ังงาย เชนเอาขนมไปใหแม ทําตามคําบอกงาย ๆ (Social) P75-P90 = 15.8 17.2 เดือน

ผาน ถาเด็กทําได

ถามพอแมวาเด็กพูดคําอื่นที่ไมใชเรียกพอ หรือแมและมีความหมายคําใดบาง ผาน ถาพอแมบอกวา เด็กพูดไดอยางนอย 1-3 คําขึ้นไป

พูดคําที่มีความหมายได 1-3 คํา (Language) P75-P90 =13.2 16.1 เดือน ขอควรระวัง ขอนี้ใหใชพูดได 1 คํา เปนมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากพูด 2-3 คํา

P75-P90 นั้นตกนอกชวง 13-15 เดือน สังเกตขณะเด็กเดินวา ทรงตัวดีโดยไมลมบอย

อายุ 13-15 เดือน

เดินไดเอง (Gross Motor) P75-P90 =13.8 15.0 เดือน

ผาน เด็กเดินไดเอง

ผูทดสอบสังเกตวาเด็กแสดงทาทางปฏิเสธ เชน สายหนา หรือพูดคําวาไม ระหวางการทดาอบหรือไม

รูจักปฏิเสธ (Social) P75-P90 = ผาน เด็กระทําได

ผูทดสอบถามเด็กวา ตา จมูก หู ปากหรือสวนอื่น ๆ ของรางกายอยูไหน ผาน ถาเด็กชี้ไดถูกตอง 1-2 สวน

ทําตามคําส่ังงาย ๆ โดยการชี้อวัยวะ 1-2 สวน (Language) P75-P90 =21 24 เดือน หมายเหตุ คา P75-P90 ที่นํามาเปนการชี้รูปตามคําบอก 2 รูป คือบอกวาใหชี้

รูปแมว หมา เด็กสามารถชี้รูปไดตรง ผูทดสอบวางบล็อกไมส่ีเหลี่ยมขนาด 1 นิ้ว ขางหนาเด็ก และบอกใหเด็กซอนเปนชั้น ๆ ถาเด็กไมทํา ใหผูทดสอบทําใหเด็กดูกอน

อายุ 16-18 เดือน

วางของซอนกัน 2-3 ชิ้น (Fine Motor) P75-P90 = 17.0 20.9 เดือน ผาน เด็กซอนกอนไมได 2-3 ชั้น

ผูทดสอบสังเกตหรือถามพอแมวาเด็กพูด 2 คําติดตอกันไดบางหรือไม มี คําอะไรบาง

พูดคํา 2 คํา ตอกันอยางมีความหมาย (Language) P75-P90 =22.5 27.0 เดือน

ผาน ถาเด็กพูดคําตอกัน 2 คําไดอยางมีความหมายตั้งแต 2 คําขึ้นไป เชน เอานม กินน้ํา ได แตพูดคําวา บายบาย จะเอ นับวาไมผาน ผูทดสอบวางหนังสือภาพสําหรับเด็ก หรือนิทานไวขางหนาเด็ก และชี้ชวนใหเด็กเปดดู

อายุ 19-24 เดือน

เปดหนาหนังสือไดทีละหนา (Fine Motor) P75-P90 = ผาน เด็กสามารถเปดไดทีละหนาได

ผูทดสอบชักชวนใหเด็กพูดคุยหรือสังเกตขณะเด็กพูดคุยกับพอแม อายุ 25-30 เดือน

พูดคุยโตตอบเปนประโยคสั้น ๆ (Language) ผาน เด็กพูดโตตอบเปนประโยคสั้น ๆ และสามารถเขาใจได

Page 12: anamai49

- 12 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน P75-P90 = 24 36 เดือน หมายเหตุ P75-P90 ใชเกณฑประเมินวา ผูประเมินฟงจากเด็กพูด ถาเขาใจ

ครึ่งหนึ่งของที่เด็กพูดออกมาแสดงวาผานเกณฑ ถาเด็กพูดเขาใจไดหมดจะอยูที่เกณฑอายุ 37-48 เดือน ผูทดสอบนําตุกตาเพื่อถามเด็กวา ตา หู ปาก จมูก ของตูกตาอยูตรงไหน ผาน เด็กสามารถชี้อวัยวะไดถูกตอง 6 สวน ขึ้นไป

ชี้หรือทําตามคําบอก เชน ชี้อวัยวะอยางนอย 6 สวน (Fine Motor) P75-P90 = 23-29 เดือน ขอควรระวัง เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน การชี้อวัยวะจะใหเด็กชี้ที่ตุกตาแทนที่

จะชี้ที่อวัยวะของตัวเด็ก โดยอวัยวะที่จะถาม 8 อยางไดแก ตา หู จมูก ปาก มือ เทา ทอง ผม ถาสามารถชี้ไดถูก 6 ใน 8 อยางถือวาผาน ผูทดสอบวางกระดาษและดินสอตรงหนาเด็ก และวาดบนกระดาษบอกใหเด็กทําตาม

ขีดเขียนเปนเสนวน ๆ (Fine Motor) P75-P90 = ผาน เด็กลากเสนเปนวงได

ผูทดสอบบอกเด็กใหคอยสักครู และจะนําของเลนหรือหนังสือนิทานมาใหดู หรือถามพอแมวาเด็กสามารถรอคอยไดหรือไม

รูจักรอคอย (Social) P75-P90 = ผาน ถาเด็กรูจักรอคอย จนผูทดสอบนําของเลนมาใหเด็กได

ผูทดสอบถามเด็กวา เด็กชื่ออะไร บอกชื่อตนเองได (Language) P75-P90 =

ผาน เด็กสามารถบอกชื่อตัวเองได (บอกชื่อเลนก็ไดก็ถือวาผาน)

ถามเด็กวา เด็กเปนผูหญิงหรือผูชาย หรือช้ีรูปภาพคนที่เตรียมมาถามวา ชายหรือหญิง ผาน เด็กบอกได หรือช้ีบอกชาย หญิงได

อายุ 31-36 เดือน

เขาใจเพศ ชาย-หญิง (Language) P75-P90 =

ขอควรระวัง เด็กมักจะพูดตาม เชนเมื่อถามเด็กผูหญิงวา หนูเปนผูชายหรือผูหญิง ตอบวาเปนผูหญิง ใหลองถามใหมวา หนูเปนผูหญิงหรือผูชาย ถาตอบวา ชาย แสดงวาเด็กพูดตาม จึงตองแนใจวาเด็กตอบเพราะรูเพศจริงหรือพูดตาม ถามเด็กสีของสิ่งของตาง ๆ ผาน เด็กบอกไดถูกตองอยางนอย 1 สี

บอกไดอยางนอย 1 สี (Language) P75-P90 = 39 45 เดือน ขอควรระวัง เพื่อใหเปนมาตรฐาเดียวกันใหวางกอนไมสี แดง เหลือง น้ําเงิน

เขียว ชี้กอนที่ 1 แลวถามวาสีอะไร เมื่อตอบแลว สลับที่ของกอนไม แลวถามสีตอไปจนครบทั้ง 4 สี ถาเด็กสามารถตอบไดตั้งแต 1 สีแสดงวาผาน ผูทดสอบวางรูปภาพวงกลมใหเด็กดู และบอกใหเด็กวาดรูปตามรูปนี้ โดยไมบอกวาเปนรูปวงกลม

อายุ 37-48 เดือน

เขียนวงกลมตามแบบได (Fine Motor) P75-P90 = 44 48 เดือน ผาน เด็กวาดวงกลมไดตามแบบได (เสนตองจรดกันเปนวงกลม โดยรูปตอง

ใกลเคียงวงกลมที่สุด ไมมีเหลี่ยมใหเห็น)

Page 13: anamai49

- 13 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน ขอควรระวัง ใหใชรูปภาพจากหนา 15 ที่เปนรูปทรงเรขาคณิต โดยชี้รูปวงกลม

ใหเด็กแลวบอกใหวาดรูปนี้ (เนนใหชี้ไปที่วงกลม หามพูดคําวาวงกลม) ผูทดสอบชี้ชวนใหเด็กดูรูปภาพ หนังสือนิทานและชักชวนใหเด็กเลาเรื่องที่เกี่ยวกับภาพใหฟง ผาน เด็กสามารถเลาเปนเรื่องราวและเขาใจได

พูดเลาเรื่องใหคนอื่น เขาใจเกือบทั้งหมด (Language) P75-P90 = 40 53 เดือน ขอควระวัง ใหนําภาพจากหนา 15 แลวใหเด็กเลาเรื่องเกี่ยวกับภาพนั้น

ผูทดสอบถามเด็กวา ถาเด็กหิวจะทําอยางไร ถาเด็กเหนื่อย จะทําอยางไร (ใหเพิ่มอีกคําถามวา ถาเด็กหนาวจะทําอยางไร) ผาน เด็กบอกวาถาหิวจะกินขาว หรือกินน้ํา หรือกินขนม ถาเหนื่อย จะ พักผอน หรือ นอน

เขาใจ และอธิบายเหตุผลงาย ๆ (Language) P75-P90 = 37 43 เดือน

ขอควรระวัง ขอนี้เปนการทดสอบวาเด็กเขาใจคุณศัพท็ (Adjective) หรือไม ซึ่งถารูคุณศัพท 2 คํา คือ หิว กับ เหนื่อย P 75-P90 ประมาณ 37-43 เดือน ซึ่งต่ํากวากวาชวงอายุที่ทดสอบ จึงใหถามคุณศัพทอีกคํา คือ ถาเด็กหนาวจะทําอยางไร เพราะการรูคุณศัพท 3 คํา P75-P90 = 47-65 เดือน ผูทดสอบถบอกใหเด็กหยิบของ 1-5 ชิ้น (ถาชวงทดสอบมีกอนไมอยูแลว บอกใหเด็กหยิบกอนไม 1 กอนออกมาใหดู ถาหยิบขึ้นมาแลวใหถามซ้ําวานี่กอนไมกี่กอน ถาทําได ใหทําเชนเดียวกัน โดยบอกใหหยิบกอนไม 3,2,4,5 กอน ดูวาทําถูกหรือไม ผาน เด็กทําได (การทดสอบนี้เนนวาเด็ก นับ และรู จํานวน ไมใชทดสอบวาเด็กทอง 1-5 ได แตเมื่อทดสอบแลวไมรูความหมายที่แทของตัวเลขถือวาไมผาน)

นับและรูจํานวน 1-5 (Language) P75-P90 =

ขอควรระวัง การรูจํานวน 1 กอน (P75- P90 = 43 -47 เดือน ) ซึ่งต่ํากวาชวงอายุที่จะประเมิน การรูจํานวน 5 กอน (P75- P90 = 60 -65 เดือน ) ซึ่งใกลกับชวงที่ทําการประเมิน ในขอนี้การหยิบของ 1 ถึง 5 ชิ้น ตองรูเลขตั้งแต 1 จนถึง 5 จึงจะถือวาผานการประเมิน ผูทดสอบถามเด็ก ถึงสีของวัตถุตาง ๆ (ชวงทดสอบเรามีกอนไมที่หลากสีอยูแลว ใหหยิบกอนไมมา 5 กอนที่ตางสีกันแลวถามวา กอนไมสีอะไร ) ผาน เด็กบอกสีไดถูกตองอยางนอย 4 สี

บอกสีได 4 สี (Language) P75-P90 = 51 58 เดือน

ขอควรระวัง เพื่อใหเปนมาตรฐาเดียวกันใหวางกอนไมสี แดง เหลือง น้ําเงิน เขียว ชี้กอนที่ 1 แลวถามวาสีอะไร เมื่อตอบแลว สลับที่ของกอนไม แลวถามสีตอไปจนครบทั้ง 4 สี ถาเด็กสามารถตอบไดถูกหมดทั้ง 4 สีถึงใหผาน ผูทดสอบวางกระดาษ ดินสอขาหนาเด็ก และบอกเด็กใหวาดรูปคน บนกระดาษ

อายุ 49-60 เดือน

วาดรูปคนอยางงาย ๆ (Fine Motor) P75-P90 = 61 67 เดือน ผาน เด็กวาดรูปคนได โดยมีสวนประกอบของใบหนา แขน ขา รวมไดอยางนอย

6 สวน

Page 14: anamai49

- 14 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

ชวงอายุ หัวขอ Items วิธีการตรวจและการประเมิน ขอควรระวัง การนับสวนรางกาย ถาอวัยวะใดเปนคู เชน หู ตา แขน ขา ถาวาด

ขางใดขางหนึ่ง จะไมนับ 1 สวน และถาวาดเปนคูใหนับแค 1 สวน ผูทดสอบบอกเด็กใหวางสิ่งของไวตามคําส่ัง ขางซาย ขางขวา บนส่ิงของ ใตส่ิงของขางหนา ขางหลัง ผาน เด็กสามารถทําไดถูกตอง

รูจักซาย ขาว ขางบน ขางใต ขางหนา ขางหลัง (Language) P75-P90 = 46 56 เดือน หมายเหตุ ขอนี้จะเปนการทดสอบวาเด็กเขาใจ Preposition (บุพบท) หรือไม

ซึ่งการทดสอบภาษา คือการเนนวาเด็กรูจัก ประธาน (Subject) กริยา (verb) คําคุณศัพท (Adjective) บุพบท (Proposition) รวมถึงเรื่องจํานวนนับ สี การเปรียบเทียบ การใชประโยชน ผูทดสอบบอกใหเด็กหยิบของจํานวน 10 ชิ้น ผาน เด็กหยิบของจํานวน 10 ชิ้นตามคําบอกไดถูกตอง

รูจํานวน 1 จนถึง10 ชิ้น (Language) P75-P90 = หมายเหตุ ไมมี P75-P90 สําหรับนับ 10 ชิ้น แตถานับ 5 ชิ้น P75-P90 =

59 65 เดือน ผูทดสอบวางรูปสามเหล่ียม และบอกใหเด็กวาดรูปตาม ผาน เด็กสามารถทําได โดย สามเหลี่ยมตองใกลเคียงสามเหลี่ยมดานเทา ดานของสามเหลี่ยมยาวตางกันเกิน 2 เทาไมได มุมของสามเหลี่ยมไมมีมุมใดมุมหนึ่งเปนมุมฉาก และตองลากเสนใหมุมทั้ง 3 จรดกัน

อายุ 61-72 เดือน

วาดรูปสามเหลี่ยม (Fine Motor) P75-P90 = 67 72 เดือน

ขอควรระวัง ใหนํารูปภาพจากหนา 15 โดยชี้รูป สาเหลี่ยม (ไมตองพูด) แลวบอกใหเด็กวาดรูปตามภาพนี้ ถาทําไมไดถึงจะวาดรูปสามเหลี่ยมใหดูแลวใหวาดตาม

หมายเหตุ 1. ตัวเลข P75-P90 = 67 72 เดือน ใน Items วาดรูปสามเหลี่ยม หมายถึง รอยละ 75 ของเด็กสามารถที่จะลอกรูป

สามเหลี่ยมไดที่ 67 เดือน และรอยละ 90 สามารถที่จะลอดรูปสามเหลี่ยมไดภายใน 72 เดือน คา P75-P90 ถือเปนคาใชเปนมาตรฐานวา ถาเด็กที่มีอายุระหวาง 67 ถึง 72 เดือน ควรจะผานการประเมินในเรื่องการวาดรูปสามเหลี่ยม ถาไมผาน แสดงวาอยูในกลุมตองระวัง (Caution) แตถาเด็กอายุ 73 เดือน ยังลอกรูปสามเหล่ียมไมได โดยที่ใหความรวมมือและมีความพรอมที่ชวงตรวจ แสดงวาเด็กคนนั้นนาจะ Delay ในเรื่องการวาดรูปสามเหลี่ยม ซึ่งเราตองแนะนําผูเล้ียงดูใหกระตุนหรือสงเสริมเรื่องการใชกลามเนื้อมัดเล็กโดยการวาดรูปทรงเรขาคณิต เชนรูปสาเหล่ียมใหมากขึ้นและนัดมาตรวจใหมเพื่อประเมินซ้ําเพื่อดูความกาวหนา

2. ตัวเลข P75-P90 ที่ไมไดกําหนดให เนื่องจากยังไมมีขอมูล

Page 15: anamai49

- 15 -

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ คูมือการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยดวยอนามัย 49 (Version 6July07) จัดทําโดย โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ศอ. 4

รูปภาพประกอบการตรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย