4
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “แพทย์จุฬาฯ คู่กาชาดไทย วิชาการก้าวไกลสู่สากล รับใช้ปวงชนด้วยคุณธรรม” โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย “บริการประทับใจ รับใช้ชาวประชา ก้าวหน้าวิชาการ บริหารงานดีเด่น เน้นคุณภาพชีวิต” ปีท่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔ “อาจาริยมิตต์” รางวัลเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้าน “การเรียนการสอน” 2554 คณะกรรมการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้าน การเรียนการสอน ครั้งที่ 2/2554 วันอังคารที่ 7 มิถุนายน 2554 ได้พิจารณาและมีมติประกาศเกียรติคุณและยกย่องเชิดชูเกียรติ อาจารย์ด้านการเรียนการสอน รางวัล “อาจาริยมิตต์” ประจำปี 2554 ดังนี1. รศ.พญ.สมใจ หวังศุภชาติ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 2. พญ.อุษา ศิริบุญฤทธิศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลชลบุรี คณะกรรมการพิจารณาเชิดชูเกียรติอาจารย์ ด้านการเรียนการสอน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 1. รศ.นพ.ปรีดา ทัศนประดิษฐ์ ประธานกรรมการ 2. ศ.นพ.มีชัย ศรีใส กรรมการ 3. ศ.พญ.พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์ กรรมการ 4. ศ.นพ.เกรียง ตั้งสง่า กรรมการ 5. ศ.นพ.สมภพ ลิ้มพงศานุรักษ์ กรรมการ 6. ประธานชมรมคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ กรรมการ (ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ) 7. รศ.พญ.ดุจใจ ชัยวานิชศิริ กรรมการ 8. รศ.สุพีชา วิทยเลิศปัญญา กรรมการ 9. ผศ.พญ.จวงจันทร์ ชัยธชวงค์ กรรมการ 10. น.ส.กาญจนา ศรีวรพงษ์ กรรมการและ เลขานุการ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีนโยบาย เชิดชูเกียรติอาจารย์ ผู้ได้อุทิศตนเพื่อการปลูกฝังศิษย์ให้มีความรูและปัญญา และได้มีประกาศ “รางวัลเชิดชูเกียรติอาจารย์ ด้านการเรียนการสอน” รางวัล “อาจาริยมิตต์” สำหรับ อาจารย์ที่มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ ทำประโยชน์ในการเรียน การสอนและการพัฒนาศิษย์ “ครั้งแรก” เมื่อ วันที่ 9 มิถุนายน 2551 และขนานนามผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติว่า “อาจาริยมิตต์” โดยการสรรหาพิจารณาจากเกณฑ์ ดังนี1) เป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ หรือเป็นอาจารย์ พิเศษของคณะฯ โดยคณะฯ หรือมหาวิทยาลัยประกาศ แต่งตั้ง 2) อายุไม่เกิน 60 ปี 3) ไม่เป็นคณะกรรมการพิจารณาเชิดชูเกียรติอาจารย์ 4) เป็นผู้ครองตนตามประกาศจรรยาบรรณของอาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5) มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้พัฒนาวิธีจัด การเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา 6) มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในการพัฒนาตนของศิษย์ ทั้งทางด้านร่างกาย ความรู้ สังคม คุณธรรม จริยธรรม และทักษะวิชาชีพ สำหรับการสรรหาให้ภาควิชาฯ หรือกลุ่มอาจารย์ไม่น้อย กว่า 3 คน เสนอชื่อโดยวิธีลับมายังคณะกรรมการพิจารณาฯ ซึ่ง จะดำเนินการพิจารณาเป็นความลับและตรวจสอบได้ ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจาริยมิตต์” ประจำปี จะได้รับเงินเป็นเกียรติยศแปดหมื่นบาท และ โล่บูชาความดี ลักษณะโล่มีขอบข้างโค้งมนเป็นสัญลักษณ์การพนมมือ ยอดของ โล่เป็นดวงแก้ว เป็นสัญลักษณ์ของปัญญา มีข้อความจารึกว่า ปูชา จ ปูชะนียานํ บูชาบุคคลที่ควรบูชา โล่บูชาความดี ประจำปี 2554 ได้รับการยกย่องเป็น “อาจาริยมิตต์” ประจำปี 2554 ผู้อุทิศตนปลูกฝังความรู้และปัญญาแก่ศิษย์

“อาจาริยมิตต์” รางวัลเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้าน “การเรียนการ ...pr.md.chula.ac.th/spotlight/year3/Spotlightvol3-33.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “แพทย์จุฬาฯ คู่กาชาดไทย วิชาการก้าวไกลสู่สากล รับใช้ปวงชนด้วยคุณธรรม”

    โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย “บริการประทับใจ รับใช้ชาวประชา ก้าวหน้าวิชาการ บริหารงานดีเด่น เน้นคุณภาพชีวิต”

    ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓๓ วันพฤหัสบดีที่ ๒๘ เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔

    “อาจาริยมิตต์” รางวัลเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้าน “การเรียนการสอน” 2554 คณะกรรมการพิจารณายกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน ครั้งที่ 2/2554 วันอังคารที่ 7 มิถุนายน 2554 ได้พิจารณาและมีมติประกาศเกียรติคุณและยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้านการเรียนการสอน รางวัล “อาจาริยมิตต์” ประจำปี 2554 ดังนี้ 1. รศ.พญ.สมใจ หวังศุภชาติ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ 2. พญ.อุษา ศิริบุญฤทธิ์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลชลบุรี

    คณะกรรมการพิจารณาเชิดชูเกียรติอาจารย์ ด้านการเรียนการสอน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

    1. รศ.นพ.ปรีดา ทัศนประดิษฐ์ ประธานกรรมการ

    2. ศ.นพ.มีชัย ศรีใส กรรมการ

    3. ศ.พญ.พิมลรัตน์ ไทยธรรมยานนท์ กรรมการ

    4. ศ.นพ.เกรียง ตั้งสง่า กรรมการ

    5. ศ.นพ.สมภพ ลิ้มพงศานุรักษ์ กรรมการ

    6. ประธานชมรมคณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ กรรมการ

    (ศ.นพ.สุทธิพงศ์ วัชรสินธุ)

    7. รศ.พญ.ดุจใจ ชัยวานิชศิริ กรรมการ

    8. รศ.สุพีชา วิทยเลิศปัญญา กรรมการ

    9. ผศ.พญ.จวงจันทร์ ชัยธชวงค์ กรรมการ

    10. น.ส.กาญจนา ศรีวรพงษ์ กรรมการและ

    เลขานุการ

    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีนโยบายเชิดชูเกียรติอาจารย์ ผู้ได้อุทิศตนเพื่อการปลูกฝังศิษย์ให้มีความรู้และปัญญา และได้มีประกาศ “รางวัลเชิดชูเกียรติอาจารย์ ด้านการเรียนการสอน” รางวัล “อาจาริยมิตต์” สำหรับ อาจารย์ที่มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ ทำประโยชน์ในการเรียนการสอนและการพัฒนาศิษย์ “ครั้งแรก” เมื่อ วันที่ 9 มิถุนายน 2551 และขนานนามผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติว่า “อาจาริยมิตต์” โดยการสรรหาพิจารณาจากเกณฑ์ ดังนี้ 1) เป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ หรือเป็นอาจารย์ พิเศษของคณะฯ โดยคณะฯ หรือมหาวิทยาลัยประกาศ แต่งตั้ง 2) อายุไม่เกิน 60 ปี 3) ไม่เป็นคณะกรรมการพิจารณาเชิดชูเกียรติอาจารย์ 4) เป็นผู้ครองตนตามประกาศจรรยาบรรณของอาจารย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5) มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้พัฒนาวิธีจัด การเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา 6) มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ในการพัฒนาตนของศิษย์ ทั้งทางด้านร่างกาย ความรู้ สังคม คุณธรรม จริยธรรม และทักษะวิชาชีพ สำหรับการสรรหาให้ภาควิชาฯ หรือกลุ่มอาจารย์ไม่น้อยกว่า 3 คน เสนอชื่อโดยวิธีลับมายังคณะกรรมการพิจารณาฯ ซึ่งจะดำเนินการพิจารณาเป็นความลับและตรวจสอบได้ ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็น “อาจาริยมิตต์” ประจำปี จะได้รับเงินเป็นเกียรติยศแปดหมื่นบาท และ โล่บูชาความดี ลักษณะโล่มีขอบข้างโค้งมนเป็นสัญลักษณ์การพนมมือ ยอดของโล่เป็นดวงแก้ว เป็นสัญลักษณ์ของปัญญา มีข้อความจารึกว่า

    ปูชา จ ปูชะนียานํ บูชาบุคคลที่ควรบูชา

    โล่บูชาความดี ประจำปี 2554 ได้รับการยกย่องเป็น

    “อาจาริยมิตต์” ประจำปี 2554 ผู้อุทิศตนปลูกฝังความรู้และปัญญาแก่ศิษย์

  • คำประกาศเกียรติคุณ รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงสมใจ หวังศุภชาติ อาจารย์เป็น แพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับ 2 จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิบัตร การประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย และ ปริญญาโทระบาดวิทยาคลินิก จาก มหาวิทยาลัยแมคมาสเตอร์ แคนนาดา นอกเหนือจากการเป็น ผู้ เชี่ยวชาญทางรังสีวิทยาวินิจฉัยจนเป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวาง ได้รับความไว้วางใจอยู่ในทีมการดูแล พระราชวงศ์และบุคคลสำคัญ ผลงานทางด้าน การเรียนการสอนและการพัฒนาศิษย์ มีดังนี้ 1. เอกสารคำสอนและตำรา 1.1 เอกสารคำสอน หัวข้อรังสีวิทยาระบบหัวใจและหลอดเลือด ด้วยวิธีการเรียบเรียง ที่ดี อ่านเข้าใจง่าย ทำให้ผู้เรียนสามารถอ่านภาพรังสีปอดและหัวใจได้ พร้อมกับมีความรู้พื้นฐานวิธีการตรวจวินิจฉัยระบบหัวใจและหลอดโลหิต รวมถึงการเลือกผู้ป่วยในการตรวจ สามารถแปลผลภาพการตรวจวินิจฉัยปกติ จากการใช้เทคโนโลยีต่างๆ 1.2 ตำรา เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของหลอดเลือดในหัวข้อ Multidetctor CT Angiography of Peripheral Arteries เป็นตำราสำหรับแพทย์ประจำบ้าน และแพทย์ประจำบ้านต่อยอด เป็นประโยชน์ ในการฝึกอบรมเป็นผู้เชี่ยวชาญมาก 2. สื่อการเรียนการสอน ทำในรูป Electronic แบบ E Lecture จำนวน 5 เรื่อง คือ : Introduction to Diagnostic imaging : Principle of plain radiographic interpretation : Principle of contrast radiographic study : Integrated congestive heart failure : Basic CVS roentgenology สื่อการสอนดังกล่าวเป็นประโยชน์ทุกระดับผู้เรียน ตั้งแต่ นิสิตแพทย์ แพทย์ประจำบ้าน ทุกระดับ โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด และ นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาฉายาเวชศาสตร์ 3. ผลงานวิจัย 35 เรื่อง บทความวิชาการ 3 เรื่อง 4. เกียรติคุณ ผู้บริหารดีเด่น ปี 2546 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 5. การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณฯ ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้จะเป็นผู้บริหาร ก็ยังอุทิศตนเพื่อการเรียนการสอน ศิษย์ของอาจารย์มีหลายระดับ คือ นิสิตแพทย์ แพทย์ประจำบ้านระดับต่างๆ นิสิตระดับปริญญาโทและเอก และเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา นิสิตแพทย์ 12 คน ตลอดหลักสูตร การอุทิศตนเพื่อการเรียนการสอนและการพัฒนาศิษย์นั้นปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ จะเห็นได้จากการเตรียมตัวสอนเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับผู้เรียน การใช้สื่อการสอน และการทำสื่อการสอนในรูปของ Electronic และ E-lecture ซึ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ นิสิตในความดูแลนั้นอาจารย์ดูแลเอาใจใส่ และให้นิสิตติดต่อได้ตลอดเวลา ร่วมงาน ที่นิสิตจัดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ สำหรับการปรึกษาทางวิชาการนั้น อาจารย์ ไม่ปฏิเสธการขอคำปรึกษาของศิษย์และผู้ร่วมงาน ซึ่งจะได้รับการสอนและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ทั้งทางด้านเนื้อหาและทักษะในการประกอบวิชาชีพ สิ่งที่ปรากฏชัดคือ อาจารย์ได้ปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีทั้ง ทางด้านการดำเนินชีวิตส่วนตัว และ การประกอบวิชาชีพ

    รศ.พญ.สมใจ หวังศุภชาติ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ การศึกษา อุดมศึกษา : l วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ พ.ศ. 2516 (เกียรตินิยมอันดับที่ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย l แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับที่ 2) พ.ศ. 2518 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รุ่นที่ 25) l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบ พ.ศ. 2522 วิชาชีพเวชกรรม สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย แพทยสภา l Master Degree in DME; Clinical Epidemiology พ.ศ. 2534 Mc.Master University, Ontario, Canada. ตำแหน่งทางวิชาการ l อาจารย์ พ.ศ. 2522 l ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ศ. 2526 l รองศาสตราจารย์ พ.ศ. 2530 ตำแหน่งอื่นๆ l หัวหน้าภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ พ.ศ. 2544 - 2552 l กรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ พ.ศ. 2544 - 2552 l กรรมการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พ.ศ. 2544 - 2552 l ประธานกรรมการบริหาร ภาควิชารังสีวิทยา พ.ศ. 2544 - 2552 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ l กรรมการบัณฑิตศึกษา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ พ.ศ. 2548 - 2552 l กรรมการบริหารหลักสูตรปรปะกาศนียบัตรบัณฑิต พ.ศ. 2543 - ปัจจุบัน ทางวิทยาศาสตร์การแพทยคลินิก สาขารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ l กรรมการบริหารโรงเรียนรังสีเทคนิค พ.ศ. 2549 - 2552 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย l กรรมการบริหารความเสี่ยง ฝ่ายรังสีวิทยา พ.ศ. 2549 - 2552 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย l คณะอนุกรรมการพลังงานปรมาณูในกิจการแพทย์ พ.ศ. 2548 - 2550 สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ l กรรมการตัดสินและติดตามผลงานวิจัย พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ l กรรมการบริหารหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน สาขาวิชาการพัฒนาสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ l กรรมการบริหารหลักสูตรพัฒนาสุขภาพ พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ l กรรมการบริหารเงินทุน “ศ.พญ.คุณตะวัน สุรวงศ์ บุนนาค” พ.ศ. 2532 - 2552 l กรรมการตรวจสอบคุณภาพภายใน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ พ.ศ. 2543 - 2552 l กรรมการระบบคอมพิวเตอร์ส่วนกลางและฝ่ายรังสีวิทยา พ.ศ. 2531 - 2552 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย l กรรมการอำนวยการราชวิทยาลัยรังสีแพทย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2540 - 2552 และรังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย l อนุกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความชำนาญ พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน ในการประกอบวิชาชีพ สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย l อนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ อนุสาขาภาพวินิจฉัยชั้นสูง พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน l อนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ อนุสาขารังสีร่วมรักษา พ.ศ. 2548 - 2553 ระบบประสาท l อนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน l ประธานคณะทำงานบัญชียาหลักแห่งชาติ สาขารังสีวิทยา พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุข l กรรมการที่ปรึกษาการลงทุนด้านบุคลากรการวิจัย และพัฒนา พ.ศ. 2547 - 2551 เทคโลยีทางการแพทย์ในบริการตติยภูมิ ศูนย์โรคมะเร็งแห่งชาติ l กรรมการบริหารชมรม cardiac imaging พ.ศ. 2549 - 2553 l กรรมการบริหารหลักสูตรสหสาขาวิชา วทม. พ.ศ. 2551 - 2552 สาขาวิศวกรรมชีวเวช บัณฑิตวิทยาลัย l กรรมการพิจารณาผลงานวิจัยของแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน

    รศ.พญ.สมใจ หวังศุภชาติ “อาจาริยมิตต์” 2554

    2

  • พญ.อุษา ศิริบุญฤทธิ์ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลชลบุรี

    การศึกษา อุดมศึกษา : l แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับที่ 1) พ.ศ. 2527

    ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

    l วุฒิบัตร โสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2533

    รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

    l Diploma of Medical Education, พ.ศ. 2540

    Dundee University, สหราชอาณาจักร

    ตำแหน่งทางวิชาการ l อาจารย์ พ.ศ. 2534

    ตำแหน่งบริหาร l รองผู้อำนวยการศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก ฝ่ายวิชาการ รพ.ชลบุรี

    l กรรมการบริหาร รพ.ชลบุรี

    ตำแหน่งอื่นๆ l ประธานคณะทำงานความเสี่ยงทางคลินิก

    l ประธานรายวิชาบทนำทางคลินิก

    l กรรมการแผนและยุทธศาสตร์

    พื้นฐานเจตคติของนิสิตก่อนการขึ้นเรียนและปฏิบัติงานจริงบนหอผู้ป่วย

    ซึ่งโครงการนี้ได้รับการประเมินจากนิสิตอยู่ในเกณฑ์ดี จนนิสิตรุ่นพี่แนะนำ

    รุ่นน้องให้เข้าร่วมโครงการนี้ทุกคน นอกจากนั้นยังได้เป็นผู้ประสานงานให้

    รุ่นพี่หรือเพื่อนนิสิตในรุ่นเดียวกันที่มีผลการเรียนดีมาทบทวนก่อนการสอบ

    ของ ศรว. ขั้นตอนที่ 3 ให้แก่นิสิต จนเป็นผลให้นิสิตสามารถสอบผ่านใน

    การสอบครั้งแรกร้อยละ 100 นอกจากการเรียนการสอนนิสิตแพทย์แล้ว

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ ยังเป็นผู้ฝึกอบรม แพทย์ประจำบ้าน

    เวชศาสตร์ครอบครัว และ แพทย์ประจำบ้านเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ของ

    โรงพยาบาลชลบุรี ด้วย

    นอกจากนี้ แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ ยังได้ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ

    ดังนี้

    1. หัวหน้ากลุ่มงานโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลชลบุรี พ.ศ. 2540-

    2551

    2. รองผู้อำนวยการศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ฝ่ายวิชาการ

    โรงพยาบาลชลบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบัน

    3. ประธานรายวิชา Introduction to Clinical Science ตั้งแต่

    พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบัน

    4. กรรมการรายวิชา Ambulatory Care ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึง

    ปัจจุบัน

    5. กรรมการรายวิชา Care for Chronic, Critical and Terminal

    Illnesses ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ถึงปัจจุบัน

    รศ.พญ.สมใจ หวังศุภชาติ “อาจาริยมิตต์” 2554 พญ.อุษา ศิริบุญฤทธิ์ “อาจาริยมิตต์” 2554

    3

    คำประกาศเกียรติคุณ แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ จบ แพทยศาสตร

    บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จาก คณะแพทยศาสตร์

    ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เข้ารับการ

    ฝึกอบรม แพทย์ประจำบ้าน สาขาโสต ศอ นาสิก

    จาก โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้ รับ วุฒิบัตรแสดง

    ความรู้ความชำนาญสาขาโสต ศอ นาสิก จาก

    แพทยสภา ในปี พ.ศ. 2533 ได้รับ อนุมัติบัตรแสดง

    ความรู้ความชำนาญ สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว

    ในปี พ.ศ. 2545 และ ประกาศนียบัตรชั้นสูง

    แพทยศาสตรศึกษา จาก Dundee, Scotland

    ในปี พ.ศ. 2547 เป็นผู้ที่มีผลงานด้านการเรียนการสอนและการพัฒนาศิษย์

    ดังนี้

    1. เอกสารคำสอนและตำรา

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ ได้ทำหน้าที่การเรียนการสอน

    ในระดับชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลชลบุรี ในรายวิชาที่นิสิตหมุนมาเรียนระดับ

    ชั้นปีที่ 5 คือรายวิชา Ambulatory Care และ Care for Chronic,

    Critical and Terminal Illnesses ได้ผลิตคู่มือการเรียนเรื่อง

    Symptomatology in ENT และ Vertigo ทำให้นิสิตสามารถเข้าใจ

    เนื้อหาได้ง่ายขึ้น

    2. สื่อการเรียนการสอน

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ ได้ผลิตสื่อการเรียนการสอนเรื่อง

    Diseases of External, Middle, and Inner EAR และ Facial

    Nerve Paralysis

    ในรูปของ Powerpoint ซึ่งนิสิตสามารถใช้เป็นแนวทางในการอ่านหนังสือ

    และศึกษาหาความรู้ในเรื่องเหล่านี้เพิ่มเติมได้เป็นอย่างดี

    3. เกียรติคุณ

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ เป็นผู้ที่มีผลงานดีเด่น เคยได้รับ

    รางวัลดังนี้

    3.1 รางวัลบุคลากรดีเด่น กลุ่มงานโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาล

    ชลบุรี ประจำปี พ.ศ. 2549

    3.2 อาจารย์แพทย์ดีเด่น ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาชั้นคลินิก

    โรงพยาบาลชลบุรี ประจำปี พ.ศ. 2550

    4. การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    แพทย์หญิงอุษา ศิริบุญฤทธิ์ เป็นผู้ที่อุทิศตนและเวลาให้แก่

    การเรียนการสอนของนิสิตเป็นอย่างมาก ไม่เพียงแต่การเรียนการสอน

    ในหลักสูตรเท่านั้น แต่แพทย์หญิงอุษายังได้ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงที่จะให้

    คำปรึกษาแนะนำแก่นิสิตที่มีปัญหาในทุกด้าน ทั้งการเรียนและเรื่องส่วนตัว

    ทั้งในและนอกเวลาราชการ อาจารย์เป็นผู้ริเริ่มโครงการค่ายเพื่อพัฒนา

    บุคลิกภาพนิสิตขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยการนำนิสิตที่เตรียมจะขึ้นชั้นปีที่ 4

    ไปเข้าค่ายตามความสมัครใจเป็นเวลา 3 วัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับ

  • ศูนย์ประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ตึกอานันทมหิดล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โทร. (02) 256 4183, 256 4462 โทรสาร (02) 252 5959 E-mail: [email protected], [email protected]

    ติดตามอ่าน “สารสัมพันธ์” ฉบับ “Spotlight” ได้ที่ http://www.md.chula.ac.th/thai http://www.md.chula.ac.th http://www.facebook.com/prmdcu http://www.twitter.com/prmdcu

    รศ.พญ.ดวงพร ทองงาม

    หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

    ตั้งแต่ อังคาร 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

    การศึกษา

    อุดมศึกษา : l แพทยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รุ่นที่ 40) พ.ศ. 2533

    l ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาอายุรศาสตร์ พ.ศ. 2537

    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ พ.ศ. 2539

    จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

    l วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอายุรศาสตร์โรคระบบทางเดินอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541

    l วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม สาขาอายุรศาสตร ์ พ.ศ. 2541

    โรคระบบทางเดินอาหาร แพทยสภา

    l หนังสืออนุมัติแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว พ.ศ. 2546

    ตำแหน่งทางวิชาการ

    l อาจารย์ พ.ศ. 2541

    l ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ศ. 2544

    l รองศาสตราจารย์ พ.ศ. 2547

    ตำแหน่ง (ที่ผ่านมา)

    l กรรมการบริหาร หลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต ปี 2542 และหัวหน้าชั้นปี 2 พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน

    l กรรมการบริหารหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2545) phase I และ phase II และหัวหน้าชั้นปี 2 พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน

    l ประธานกรรมการ ในคณะกรรมการประจำภาควิชาสรีรวิทยา พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    l หัวหน้าศูนย์เทคโนโลยีการผลิตวัสดุและอุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula-MITC)

    l ประธานคณะอนุกรรมการบริหารรายวิชา สำหรับนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 2 คณะแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    l ประธานกรรมการรายวิชา Introduction to basic medical science พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    l ประธานกรรมการรายวิชา Alimentary system 1 พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    l กรรมการอำนวยการสมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน

    l ประธานกรรมการจัดโครงการประกวดภาพถ่ายภาพแห่งชีวิต ครั้งที่ 1 - 3 พ.ศ. 2551 - 2554

    l กรรมการอำนวยการสรีรวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน

    l ประธานกีฬาบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสภากาชาดไทย พ.ศ. 2552 - ปัจจุบัน

    “หัวหน้าภาควิชา”...ใหม่