108
วารสารคณะสัตว มห มหาว ปที1 วศาสตรและเทคโนโลย หาวิทยาลัยศิลปากร คณะสัตวศาสตรและเทค วิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตส ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม ยีการเกษตร คโนโลยีการเกษตร สารสนเทศเพชรบุรี ธันวาคม พ.ศ.2553 ISSN: 1906-7976

ASAT eJournal Vol 1- No 2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่ 1

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม –

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

ธันวาคม พ.ศ.2553

ISSN: 1906-7976

Page 2: ASAT eJournal Vol 1- No 2
Page 3: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

Journal of Faculty of Animal Science and Agricultural Technology,

Silpakorn University

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2553

Vol. 1 No.2 2010

ISSN 1906-7976

กําหนดการออกและการเผยแพร

ปละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน

ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – เดือนธันวาคม

เผยแพรออนไลน http://www.asat.su.ac.th

Page 4: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คณะกรรมการดําเนินการวารสารอิเล็กทรอนิกส คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

คณบดี คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร ประธานที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา

รองคณบดี ฝายกิจการนักศึกษา ที่ปรึกษา

ผูชวยคณบดี ฝายบริหารและวางแผน ที่ปรึกษา

ผูชวยคณบดี ฝายวิชาการ วิจัย ที่ปรึกษา

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล ประธานคณะกรรมการ

รองศาสตราจารย มานะ กาญจนมณีเสถียร กรรมการ

อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ กรรมการ

อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล กรรมการ

อาจารย อนวัช บุญญภักดี กรรมการ

อาจารย นวลเพ็ญ พวงพันสี กรรมการ

อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย กรรมการและเลขานุการ

นายจารุกิตติ์ สมโสภณ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 5: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

บรรณาธิการที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข

บรรณาธิการ

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

email address: [email protected]

ผูชวยบรรณาธิการ

อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล

email address: [email protected]

ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ

รองศาสตราจารย นายสัตวแพทยเกรียงศักดิ์ พูนสุข รองศาสตราจารยมานะ กาญจนมณีเสถียร

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พรรณธิภา ณ เชียงใหม ผูชวยศาสตราจารยอุไรวรรณ ไอยสุวรรณ

ผูชวยศาสตราจารยภัทราพร ภุมรินทร อาจารย ดร.ศิวพร แพงคํา

อาจารย นายสัตวแพทย ดร.นรินทร ปริยวิชญภักดี อาจารย ดร.สุภาวดี มานะไตรนนท

อาจารย ดร.อนันท เชาวเครือ อาจารย สัตวแพทยหญิง ดร.จารุณี เกษรพิกุล

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล อาจารย นายสัตวแพทยศิริชัย เอียดมุสิก

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาจารย พิสิษฐ สุวรรณแพทย นายจารุกิตติ์ สมโสภณ

Page 6: ASAT eJournal Vol 1- No 2

บ[[[บรรณาธิการแถลง

จากการเปดรับบทความเพื่อเผยแพรใน “วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร” ในคราวแรก บทความสวนหนึ่งที่ผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ ไดเผยแพรใน

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่ 1 ฉบับที่ 1 แลวนั้น เนื่องจากไดรับความ

สนใจจากคณาจารยและบุคลากรที่ไดสงบทความมาเปนจํานวนมาก และยังคงมีบทความที่ผานการพิจารณาจาก

ผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ รอการเผยแพร ทางกองบรรณาธิการจึงไดพิจารณาเผยแพรวารสารคณะสัตวศาสตร

และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรปที่ 1 ฉบับที่ 2 กอนวาระกําหนด

บทความในวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับนี้ เปนผลงานที่สงมา

จากทุกสาขาวิชาที่เปนสวนงานของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดแก

สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตวน้ํา สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช

สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย และสาขาวิชาพื้นฐานสัตวศาสตร นอกจากนั้นยังพบวาผลงานที่สงมาเกิดจากการ

ทํางานวิจัยรวมกันระหวางสาขาวิชาภายในคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรและคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย

ศิลปากร ซึ่งคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนคณะวิชาที่ใหความอนุเคราะหตอการจัดตั้งคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร และมีสวนรวมในการพัฒนาคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตรเสมอมา ในการจัดทํา

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงนับวาเปนเวทีที่ใหคณาจารย บุคลากรและ

นักศึกษา ไดมีโอกาสในการเผยแพรผลงาน ซึ่งนับวาเปนกาวที่สําคัญกาวหนึ่งของการพัฒนาคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

บรรณาธิการ

Page 7: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

สารบัญเรื่อง หนา

ผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสม

ประวิทย วงศสุวรรณ และคณะ……………………………………………………………………. 1

การใชสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชบางชนิดเปนพรีไบโอติกสสําหรับเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย

กรดแลคติก

ดาสณี นวมศิริ และคณะ……………………………………………………………………...….. 17

ผลของไคโตซานตอแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดพันธุกากีแคมปเบลล

กัลยาณี จันทคง และคณะ.......................................……………………………………………… 29

การแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสจากไกไขที่ไดรับน้ําหมักชีวภาพจากพืช

อุทุมพร กุลวงศ และคณะ…………………………………………………………………….….. 41

การพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนไขไกสดจากตลาดนัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

สุรวัฒน ชลอสันติสกุล…………………………………………………………………………... 50

ศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่จังหวัด

รอยเอ็ด

พิสิษฐ สุวรรณแพทย และคณะ………………………………………………………..………… 57

Induction and Recovery Time from Anesthesia in Mozambique Tilapia (Oreochromis

mossambicus Peters, 1852) Fingerlings Exposed to Clove Oil

Somrudee Silarudee and Others………………………………………………………..….......... 85

Page 8: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

ผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสมEffect of Prebiotics on Growth Performance in Male Thai Native Crossbred Meat-type Chicken

ประวิทย วงศสุวรรณ1 สมชาย โสรีกุน1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2 และภัทราพร ภุมรินทร1

1 สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

จากการศึกษาผลของพรีไบโอติกสตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผู โดยใชไกพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสมเชิงการคา “ไกตะนาวศรี” เพศผู อายุ 1 วัน จํานวน 60 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุมตลอด แบงเปน 5 กลุมการทดลอง กลุมละ 2 ซ้ําๆละ 6 ตัว ดังนี้ กลุมที่ 1 เปนกลุมควบคุม กลุมที่ 2 เสริม FOS (Fructo-oligosaccharide) กลุมที่ 3 เสริม IMO (Isomalto-oligosaccharide) กลุมที่ 4 เสริม Inulin กลุมที่ 5 เสริม Immunowall® โดยทุกกลุมเสริมพรีไบโอติกสที่ 4 กรัม/กิโลกรัม จากการทดลองพบวาสมรรถนะการเจริญเติบโตของกลุมที่ไดรับ FOS มีสมรรถนะการเจริญเติบโตดีที่สุดโดยแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับกลุมทดลองอื่นๆ (P<0.05) อยางไรก็ตามกลุมที่ไดรับ Inulin พบวามี FCR ดีที่สุด โดยแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับกลุมทดลองอื่นๆ (P<0.05) จากการทดลองสรุปไดวาการเสริมพรีไบโอติกสทําใหสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้ เพศผูดีขึ้น เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม

คําสําคัญ: พรีไบโอติกส ไกเนื้อ สมรรถนะการเจริญเติบโต

Page 9: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

2 | P a g e

Abstract

Effect of prebiotics on growth performance in male commercial Thai native crossbred chicken “Tanao-Sri” was investigated. Sixty of day-old chickens were divided in to 5 groups (6 birds/pen/treatment with 2 replications), using completely randomized design (CRD). Group 1 was control group. Group 2 was supplemented FOS (Fructo-oligosaccharide). Group 3 was supplemented IMO (Isomalto-oligosaccharide). Group 4 was supplemented Inulin. Group 5 was supplemented Immunowall®. The result revealed that FOS group had the greatest growth performance and was significantly different from other treatments (P<0.05), while Inulin group had the greatest Feed Conversion Ratio and was significantly different from other treatments (P<0.05). This experiment can be concluded that supplemented with prebiotics could improve growth performance of chicken compared to the control group.

Keywords: Prebiotics, Broiler Chicken, Growth Performance

บทนํา

ปจจุบันมีการปรับปรุงพันธุไกใหเหมาะสมกับความตองการของตลาดเพื่อใหไดผลผลิตสูงสุดภายในระยะเวลาที่สั้นลง ผูประกอบการจึงไดผสมสารปฏิชีวนะหรือเภสัชเคมีภัณฑเพื่อควบคุมเชื้อโรคในอาหารหรือเรงการเจริญเติบโตในอาหารสัตว แตการใชสารดังกลาวเปนระยะเวลานานจะสงผลใหเชื้อจุลินทรียที่เปนเชื้อกอโรค เกิดการดื้อยาได ซึ่งทําใหการรักษาโรคยากยิ่งขึ้น เนื่องจากเกิดการดื้อยาของเชื้อกอโรค นอกจากนี้การเลี้ยงไกดวยสารปฏิชีวนะยังประสบปญหาในเรื่องสารตกคางในผลิตภัณฑสัตว ซึ่งสงผลกระทบตอการสงออกผลิตภัณฑสัตวเปนอยางมากโดย เฉพาะการกีดกันทางการคาจากสหภาพยุโรปที่เขมงวดในเรื่องมาตรฐานสุขอนามัย ซึ่งมีการหามใชสารปฏิชีวนะในอาหาร เนื่องจากเล็งเห็นอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูบริโภค เมื่อคํานึงถึงสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารของไก กระเพาะอาหารและลําไสเล็กจะทําหนาที่ในการยอยและดูดซึมสารอาหารที่สําคัญ สวนลําไสใหญทําหนาที่สะสมกากอาหารที่ไมดูดซึมแลว โดยในลําไสใหญจะมีจุลินทรียอยูเปนจํานวนมาก ทําหนาที่ยอยสลายกากอาหารและเปลี่ยนเปนมูล โดยมีจุลินทรียที่มีผลดีตอสุขภาพ เรียกวา โปรไบโอติกส (Probiotics) เพื่อสงเสริมใหมีจุลินทรียสุขภาพในลําไสใหญเพิ่มปริมาณมากขึ้น ทําได

Page 10: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

3 | P a g e

ดวยการใหอาหารของจุลินทรีย ที่เรียกวา พรีไบโอติกส (Prebiotics) (Olano-Martin et al., 2002) พรีไบโอติกสจมีคุณสมบัติทนตอการยอยในทางเดินอาหารสวนบนได เมื่อเคลื่อนมาถึงลําไสใหญจะเปนอาหารใหกับจุลินทรียที่มีประโยชนในลําไสใหญ ซึ่งเมื่อจุลินทรียที่มีประโยชนนําพรีไบโอติกสไปใช จะเกิดการเปลี่ยนรูปพรีไบโอติกส ดวยกระบวนการหมัก (Fermentation) ของจุลินทรียที่มีประโยชน เชน กรดไขมันสายสั้น (Short Chain Fatty Acids; SCFA) ซึ่งจะใหพลังงานกับเซลลของลําไส ชวยใหผนังลําไสมีความแข็งแรง สามารถทําหนาที่ในการยอย การดูดซึมสารอาหารและการดูดซึมน้ําไดสมบูรณ สงผลใหสัตวมีสุขภาพที่ดี นอกจากนั้นจุลินทรียที่มีประโยชนยังสามารถผลิตสารปฏิชีวนะไดทําใหเกิดการควบคุมเชื้อกอโรคดวยสารปฏิชีวนะที่จุลินทรียผลิตขึ้นมาอีกดวย

แนวทางหนึ่งที่ไกจะมีการเจริญเติบโตที่ดีและปลอดภัยจากสารเคมีตกคาง ไดแก การทําใหจุลินทรียที่มีประโยชนสามารถทํางานไดอยางเต็มที่ดวยการเสริมพรีไบโอติกสใหกับจุลินทรียที่มีประโยชนในลําไสของไกเพื่อกระตุนใหจุลินทรียที่มีประโยชนเจริญเติบโต และกอประโยชนใหกับไกได

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาผลของพรีไบโอติกสชนิดตางๆ ที่มีตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผู

วิธีการวิจัย

ใชแผนการทดลองแบบสุมตลอด (Completely Randomized Design; CRD) โดยแบงกลุมการทดลองออกเปน 5 กลุม กลุมละ 2 ซ้ําๆ ละ 6 ตัว รวม 60 ตัว โดยชั่งน้ําหนักไกทุกเชากอนใหอาหารและชั่งน้ําหนักอาหารกอนใหและหลังใหอาหารใชระยะเวลาทดลอง 60 วัน กลุมการทดลองแบงออกเปน 5 กลุมการทดลองดังนี้

กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ใหอาหารสําเร็จรูปอยางเดียวกลุมที่ 2 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม FOS (Fructo-oligosaccharide) 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม กลุมที่ 3 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม IMO (Isomalto-oligosaccharide) 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัมกลุมที่ 4 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม Inulin 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม

Page 11: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

4 | P a g e

กลุมที่ 5 ใหอาหารสําเร็จรูปผสม ผลิตภัณฑพรีไปโอติกสทางการคาในรูปของผนังเซลลของยีสต ยี่หอ Immunowall® 4 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม

ผสมอาหารสําเร็จรูปกับพรีไบโอติกสที่จะใหไกกินในแตละวันโดยผสมอาหาร 2 วันตอ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 กิโลกรัมและเพิ่มอาหารตามความตองการโภชนะของไก โดยการใหอาหารจะแบงตามอายุ ดังนี้

ไกอายุ 0-3 สัปดาหจะใชไฟกกเพื่อใหไกเกิดความอบอุน และใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ เบอร 004 วันละ 3 ครั้ง เปลี่ยนน้ําทุกวัน

ไกอายุ 4-6 สัปดาหในชวงนี้จะไมมีการกก แตใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ เบอร 004 A วันละ 2 ครั้งเชาและเย็น เปลี่ยนน้ําทุกวัน

ไกอายุ 7 สัปดาหขึ้นไปใหอาหารสําเร็จรูปยี่หอ ป.เจริญพันธุ เบอร 004 วันละ 2 ครั้งเชาและเย็น เปลี่ยนน้ําทุกวัน

ทําการเก็บขอมูลจากการชั่งน้ําหนักไกทุกวันในตอนเชากอนใหอาหารโดยชั่งน้ําหนักไกทุกตัว ชั่งน้ําหนักอาหารกอนและหลังการใหอาหารเพื่อคํานวณหาปริมาณอาหารที่ไกกินในแตละวันที่ทําการทดลอง เพื่อนําไปคํานวณอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR) น้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน(Average Daily Gain; ADG), ปริมาณอาหารที่สัตวกินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน) ประสิทธิภาพการใชอาหาร (Feed Efficiency; FE) อัตราการตาย (%) (Mortality Rate) และอัตราการเลี้ยงรอด (%) (Survival Rate; SVR) นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of Variance; ANOVA) โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SAS และตรวจสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยดวยวิธี DMRT (Duncan’s New Multiple’s Range Test) (SAS, 1998)

Page 12: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

5 | P a g e

ผลการวิจัย

ตารางที่ 1 แสดงน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (ADG) อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (FCR) ปริมาณอาหารที่กินได (FI) ประสิทธิภาพการใชอาหาร (FE) น้ําหนักตัวและปริมาณอาหารที่ไกกินของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1- 60 วันของแตละกลุมการทดลอง

ADG (g) FCR (g/g) FI (g/b/d) FE (%) น้ําหนักตัว (กรัม)

ปริมาณอาหารที่ไกกิน (กรัม)

Control 19.40 b 2.07ab 41.84b 46.35 1170.00ab 2427.90 ab

FOS 21.17a 2.14a 46.92a 45.12 1273.75a 2721.70a

IMO 18.72b 2.05ab 39.86d 46.95 1129.17b 2297.50b

Inulin 19.56b 1.96b 41.20bc 47.48 1182.83ab 2389.60b

Immunowall® 18.80b 2.11a 41.01c 45.86 1128.75b 2378.40b

% CV 2.23 2.19 0.61 2.09 4.97 4.49หมายเหต ุa, b, c, ab, bc หมายถึงอักษรในคอลัมนเดียวกันหากแตกตางกัน แสดงวาคาเฉลี่ยมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

Page 13: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

6 | P a g e

แผนภูมิที่ 1 แสดงคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily Gain; ADG) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 แสดงถึงคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily Gain; ADG)ของไกเนื้อเพศผู แตละกลุมการทดลองพบวา FOS (21.17) มีคาเฉลี่ยสูงกวากลุมทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สวนกลุม Inulin (19.56), กลุมควบคุม (19.40), Immunowall® (18.80) และ IMO (18.72) มีคาเฉลี่ยไมแตกตางกัน

ADG

0.00

5.00

10.00

15.00

20.00

25.00

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

weeks

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 14: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

7 | P a g e

แผนภูมิที่ 2 แสดงคาอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 2 แสดงคาอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ (Feed Conversion Ratio; FCR) ของไกเนื้อเพศผูที่แตละกลุมการทดลองพบวา Inulin (1.96) มีคาเฉลี่ยดีที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)เมื่อเทียบกับกลุม FOS (2.14) และ Immunowall® (2.11) แตไมแตกตางจากกลุมกลุมควบคุม (2.07) และ IMO (2.05)

FCR

0

0.5

1

1.5

2

2.5

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

Weeks

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 15: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

8 | P a g e

แผนภูมิที่ 3 แสดงคาปริมาณอาหารที่กินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน)) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 3 แสดงคาปริมาณอาหารที่กินได (Feed Intake; FI (กรัม/ตัว/วัน)) ของไกเนื้อเพศผู แตละกลุมการทดลองพบวากลุม FOS (46.92) มีคาเฉลี่ยสูงกวากลุมทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สวนกลุม Inulin (41.20) ไมแตกตางจากกลุมควบคุมและกลุม Immunowall® (41.01) แตกลุมควบคุม (41.84) กลุม Immunowall® (41.01) และกลุม IMO (39.86) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

FI

0.005.00

10.0015.0020.0025.0030.0035.0040.0045.0050.00

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

weeks

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 16: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

9 | P a g e

แผนภูมิที่ 4 แสดงคาประสิทธิภาพการใชอาหาร (Feed Efficiency; FE) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 4 แสดงคาประสิทธิภาพการใชอาหาร (Feed Efficiency; FE) ของไกเนื้อเพศผูแตละกลุมการทดลองพบวา มีคาเฉลี่ยไมมีแตกตางกันทางสถิติ (P>0.05) โดยกลุม Innulin (47.48) มีคาเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมาคือกลุม IMO (46.95), Control (46.35) Immunowall® (45.86) และ FOS (45.12)

FE

0

10

20

30

40

50

60

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

weeks

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 17: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

10 | P a g e

แผนภูมิที่ 5 แสดงน้ําหนัก (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และ แผนภูมิที่ 5 แสดงน้ําหนัก (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูแตละกลุมการทดลองพบวา FOS (1273.75) มีคาเฉลี่ยของน้ําหนักตัวสูงที่สุด แตไมแตกตางกับกลุมควบคุม (1170.00) และกลุม Innulin (1182.83) แตแตกตางกับกลุม IMO (1129.17) และ กลุม Immunowall® (1128.75) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) กลุมIMOและ กลุม Immunowall® ไมตางกับกลุมควบคุมและ กลุม Innulin อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

การเจริญเติบโต

0.00

200.00

400.00

600.00

800.00

1000.00

1200.00

1400.00

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วันอายุ (สัปดาห)

น้ําหนั

ก(g)

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 18: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

11 | P a g e

แผนภูมิที่ 6 แสดงปริมาณอาหารที่ไกกิน (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูที่อายุ 1-8 สัปดาหของแตละกลุมการทดลอง

จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 6 แสดงปริมาณอาหารที่ไกกิน (กรัม) ของไกเนื้อเพศผูแตละกลุมการทดลองพบวา FOS (2721.70) มีคาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กินมากที่สุด แตไมแตกตางจากกลุมควบคุม (2427.90) แตแตกตางกับกลุม IMO (2297.50), Inulin (2389.60) และกลุม Immunowall® (2378.40) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05)

อาหารที่ไกกิน/ตัว/สัปดาห

0.00

500.00

1000.00

1500.00

2000.00

2500.00

3000.00

1 2 3 4 5 6 7 8 ที่ 60 วัน

สัปดาห

ปริมา

ณอา

หาร(

กรัม)

control

FOS

IMO

Inulin

Immunowall®

Page 19: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

12 | P a g e

อภิปรายผลการวิจัย

จากการทดลองพบวากลุมที่เสริม FOS สามารถเพิ่มน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน, ปริมาณอาหารที่กิน ได, คาเฉลี่ยของน้ําหนักตัว และ คาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กิน มากที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ Xu et al. (2003) ไดศึกษาผลของการยอยโภชนะที่มี Fructo-oligosaccharide ตอกระบวนการยอยของเอนไซม, แบคทีเรียในลําไส และรูปรางของลําไส ในไกเนื้อเพศผูพบวาการเสริม FOS ที่ 4 กรัม/กิโลกรัม ชวยเพิ่มน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันเมื่อเทียบกับกลุมควบคุม เพราะวาการเสริม FOS ทําใหมีอัตราการกินไดเพิ่มขึ้น (Ammerman. et.al., (1988) จึงชวยใหการเจริญเติบโตดีขึ้น (Waldroup et al., 1993)

จากการทดลองกลุมที่เสริม Inulin สามารถเพิ่มอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อ และประสิทธิภาพการใชอาหารได สอดคลองกับการศึกษาผลของการเสริม Chicory Fructans ตอสมรรถนะการเจริญเติบโต, ไขมันและลําไสใหญของไกเนื้อเพศผู ที่พบวามีอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น ประสิทธิภาพการใชอาหารเพิ่มขึ้นไดอยางมีนัยสําคัญ โดย Chicory Fructans มีสวนผสมของ Inulin ซึ่งมีคุณมบัติเปนพรีไบโอติกส และใน Inulin นี้มีสวนประกอบของ Ketoses-oligosaccharide ซึ่งประกอบดวย Glucose, Sucrose และ Fructose ซึ่งเปนน้ําตาลพื้นฐานของโอลิโกแซคาไรดดังกลาว (Patterson et al., 1997)

จากการทดลองกลุมที่เสริม IMO พบวาไมสงผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตไดดีเทากลุมทดลองอื่น ซึ่งแตกตางจาการทดลองของ Zhang et al. (2003) ไดศึกษาผลของการเสริม Isomalto-Oligosaccharides ตอการเจริญเติบโตและจุลินทรียในลําไสของไกเนื้อเพศผู พบวาสมรรถนะเจริญเติบโตของไกดีในชวง 3 สัปดาหแรก แตไมสงผลในชวงสัปดาหที่ 4 เพราะวา IMO มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเอนไซมและจุลินทรียในลําไส ในชวงอายุ 7 สัปดาหของไกจะมีการเปลี่ยนแปลงเอนไซมและจุลินทรียในลําไส (Barnes et al., 1972; He et al., 2000) Zhang (2000) รายงานวาการเสริม IMO ที่ 0.2 หรือ 0.4% มีผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตในชวงระยะแรกของการเลี้ยง

จากการทดลองกลุมที่เสริม Immunowall® พบวาไมสงผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตไดดีเทากลุมทดลองอื่น ซึ่งไมสอดคลองกับการทดลองของ Santin et al. (2006) ไดศึกษาผลสมรรถนะและการพัฒนาลําไสเล็กของไกเนื้อเพศผูจากอาหารที่ผสม Saccharomyces cerevisiae Cell Wall (SCCW) พบวาชวยใหอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น เนื่องจากการเสริม SCCW ชวยใหการดูดซึมในลําไสดีขึ้นทําใหสามารถเพิ่มสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผูได (Santin et al. 2001) และ Yeast cell wall มีสวนประกอบของ

Page 20: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

13 | P a g e

Mannan-oligosaccharides ที่ทําใหอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดีขึ้น (Savage & Zakrzewska, 1997, Fritts & Waldroup, 2003)

สรุปผลการวิจัย

จากการทดลองพบวาพรีไบโอติกสตางชนิดกันมีผลตอสมรรถนะการเจริญเติบโตของไกเนื้อเพศผูแตกตางกันทางสถิติ (p<0.05) โดย กลุมที่ใหอาหารสําเร็จรูปผสม FOS มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน ปริมาณอาหารที่กินได คาเฉลี่ยของน้ําหนักตัว และคาเฉลี่ยปริมาณอาหารที่กินดีที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นๆ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) สําหรับอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อและประสิทธิภาพการใชอาหารพบวากลุมที่ใหอาหารสําเร็จรูปผสม Inulin มีคาดีที่สุดเมื่อเทียบกับกลุมทดลองอื่นๆอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)และทุกกลุมการทดลองมีอัตราการตาย 0 % และ อัตราการเลี้ยงรอดที่ 100 % จากการทดลองการเสริมพรีไบโอ ติกสชนิด Inulin และ FOS มีศักยภาพในการสงเสริมสมรรถนะการเจริญโตของไกเนื้อพันธุพื้นเมืองไทยลูกผสมเชิงการคา “ไกตะนาวศรี” เพศผู

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ไชยวัฒน ไชยสุต หนวยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่อนุเคราะหพรีไบโอติกส บริษัท แอคอินเทล จํากัด ที่อนุเคราะห Immunowall® บริษัทตะนาวศรีไกไทย จํากัด ที่อนุเคราะหสัตวทดลอง บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว จํากัด ที่อนุเคราะหอาหารสัตวทดลอง โรงเรียนศึกษาสงเคราะหเพชรบุรี ที่อนุเคราะหใหใชโรงเรือนและอุปกรณเลี้ยงสัตว และขอขอบคุณ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่สนับสนุนงบประมาณการวิจัย

Page 21: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

14 | P a g e

บรรณานุกรม

เกียรติศักดิ์ สรอยสุวรรณ. (2545). การเจริญเติบโตสัตวปก. พิมพครั้งที่ 2. คณะวิชาสัตวศาสตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช. 290 น.

ธํารงศักดิ์ พลบํารุง. (2542). การเลี้ยงไกพันธุเนื้อ. พิมพครั้งที่ 9. สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 35 น.สุวิทย รัตนชัย. (2539). การเลี้ยงไกเนื้อเพศผู. สํานักพิมพเกษตรสยาม, กรุงเทพฯ. 88 น.มานพ มวงใหญ. (2542). สหสาขาศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท: การเลี้ยงสัตว. หนวยวิชาปรสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิ-

วิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยAmmerman, E., Quarles, C. and Twining P. V. (1988). Broiler response to the addition of dietary fructo-

oligosaccharides. Poultry Science. 67 (Suppl.1):46. Bailey, J. S., Blankenship, L. C. and Cox. N. A. (1991). Effect of fructo-oligosaccharides on Salmonella colonization of the chicken intestine. Poultry Science. 70:2433–2438.

Bradley, G.L., Savage, T.F. and Timm, K.I. (1994). The effects of supplementing diets with Saccharomyces cerevisiae var. boulardii on male poultry performance and ileal morphology. Poultry Science.

73:1766–1770.Barnes, E.M., Mead, G.C. and Barnum. D.A. (1972). The intestinal flora of the chicken in the period 2 to 6

weeks of age, with particular reference to the anaerobe. Poultry Science. 13:311–326.Chen, Y.C. and Chen. T.C. (2004). Mineral utilization in layers as influenced by dietary oligofructose and

inulin. International Journal of Poultry Science, 3 (7): 442-445.Chen, Y.C., Nakthong C. and Chen., T.C. (2005). Improvement of laying hen performance by dietary

prebiotic chicory oligofructose and inulin. International Journal of Poultry Science 4 (2): 103-108.Cumming, J.H., Macfarlane G.T. and Englyst H.N. (2001). Prebiotic digestion and fermentation. Am J Clin

Nutr 2001;73(suppl):S415-420.Chung, C.H. and Day., D. F. (2004). Efficacy of Leuconostoc mesenteroides (ATCC 13146)

isomaltooligosaccharides as a poultry prebiotic. Poultry Science. 83:1302–1306.Farn-Worth, E.R. (2000). Prebiotics and probiotics. Handbook of Nutraceuticals and Functional Foods. New

York, CRC Press. 2000:407-422.

Page 22: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

15 | P a g e

Francis, C., Janky D. M., Arafa A. S. and Harms, R. H. (1978). Interrelationships of lactobacillus and zinc bacitracin in diets of turkey poults. Poultry Science. 57:1687-1689.

Fritts, C.A., Waldroup P.W. (2003). Evaluation of Bio-Mos mannan-oligosaccharides as a replacement for growth promoting antibiotics in diet for turkeys. International Journal of Poultry Science; 2 (1):19-22.

Fuller, R., (1977). The importance of Lactobacilli in maintaining normal microbial balance in the crop. Br. Poultry Science. 18: 85-94

Gibson, G.R. and Roberfroid, M.B. (1995). Dietary modulation of the human colonic microbiota: introducing the concept of prebiotics. Journal of Nutrition. 125, 1401–1412.

Halsted, C.H. (2003). Dietary supplements and functional foods. Am J Clin Nutr 77 (Suppl):1001-1007.He, Z. Y., Yang, Z. H., Wu, Y. C. and Cui. F. T. (2000). Study on the law of colonization of main normal

flora in chick’s digestive tract. Acta Vet. Zootech. Sin. 31:41–48.Hopkins, M. J., Cummings, J. H., Coleman, N. and Langlands. S. J. (2004). Prebiotic carbohydrates modify

the mucosa associated microflora of the human large bowel. Gut, 2004 53:11. 1610-1616.Kleessen, B., Sykura B, Aunft H.J. and Blaut., M. (1997). Effects of inulin and lactose on fecal microflora,

microbial activity, bowel habit in elderly constipated person. Am J Clin Nutr 65: 1397-1402.Luo, J., Rizkalla S.E. and Alamowitch C. (1996). Chronic consumption of short-chain fructo-oligosaccharides

by healthy subjects decreased basal hepatic glucose production but had no effect on insulin-stimulate glucose metabolism. Am J Clin Nutr 63:939-935.

MacFaddin, J.F. (1985). Media for isolation, cultivation, identification and maintenance of medical bacteria, Volume I. Williams & Wilkins, London

Olano-Martin, E., Gibson, G.R. and Rastall R.A. (2002). Comparison of the in vitro bifidogenic properties of pectins and pecticoligosaccharides. Journal of Applied Microbiology 93, 505–511.

Ohata, A., Ohtsuki M., Baba S., Adachi T. and Sakata., T., Sakaguchi E.l. (1995). Calcium and magnesium absorption from the colon and rectum are increased in rats fed fructooligosaccharides. J Nutr; 125:2417-2424

Page 23: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

16 | P a g e

Patterson, J. A., Orban, J. I., Sutton, A. L. and Ricards, G. N. (1997). Selective enrichment of Bifidobacteriain the intestinal tracts of broilers by thermally produced ketoses and effect on broiler performance. Poultry Science. 76: 497-500.

Roberfroid, M.B. (2000). Prebiotics and probiotics: are they functional foods. Am J Clin Nutr; 71(Suppl):1682-1700.

Rycroft, C.E., Jones, M.R., Gibson, G.R. and Rastall., R.A. (2000). Fermentation properties of gentio-oligosaccharides. Letters in Applied Microbiology 32, 156–161.

SAS Institute Inc., (1989). SAS User’s Guide: Statistics, version 6.12. SAS Institute Inc., Cary, NC.Santin, E., Paulillo., A.C., Nakagui., L.S., Alessi., A.C. and Maiorka. A.M. (2006). Evaluation of yeast cell

wall on the performance of broiles fed diets with or without mycotoxins. Brazilian Journal of Poultry Science. 8:221 – 225.

Santin, E., Maiorka A., Macari M., Grecco M., Sanchez J.C., Okada T.M. and Myasaka., A.M. (2001). Performance and intestinal mucosa development in broiler chickens fed ration containing Saccharomyces cerevisiae cell wall. Journal of Applied Poultry Research; 10:236-244.

Savage, T.F., Zakrzewska E.I. (1997). The performance of male turkeys fed a starter diet containing a mannan-oligosaccharides. Zootechnia International; 20:30-32.

Waldroup, A. L., Skinner, J. T., Hierholzer, R. E. and Waldroup, P. W. (1993). An evaluation of fructo-oligosaccharide in diets for broiler chickens and effects on salmonellae contaminationof carcasses. Poultry Science. 72:643–650.

Xu, Z.R., Hu, C.H., Xia, M.S., Zhan, X.A. and Wang, M.Q. (2003). Effects of dietary fructo-oligosaccharide on digestive enzyme activities, intestinal microflora and morphology of male broilers. Poultry Science. 82:1030-1036.

Zhang, W. F., Li, D. F., Lu W. Q. and Yi, G. F. (2003). Effects of isomalto-oligosaccharides on broiler performance and intestinal microflora. Poultry Science 82:657–663.

Received 10 December 2009Accepted 10 January 2010

Page 24: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

17 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

การใชสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชบางชนิดเปนพรีไบโอติกสสําหรับเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติกThe Use of Some Plant Carbohydrate Extract as Prebiotics for Culturing of Lactic Acid Bacteria

ดาสณี นวมศิริ1 อรชุมา มีกุล1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2 และ ธนิต ผิวนิ่ม3

1 สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี3 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อทดสอบผลของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมหัวใหญ หอมแดง หอมแขก กระเทียมกลีบเล็ก กระเทียมโทน กระเทียมกลีบใหญ ผักกาดขาวปลี ผักกาดหางหงษ หัวไชเทา และมันแกว ตอการเจริญของแบคทีเรียกรดแลกติก ทําการวิเคราะหขอมูลโดยการเปรียบเทียบสวนโคงของการเจริญเติบโตของแบคทีเรียจากการวัดคาการดูดกลืนแสง ผลการศึกษาพบวาสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมหัวใหญ หอมแดง หอมแขก กระเทียมกลีบเล็ก กระเทียมโทน กระเทียมกลีบใหญ ผักกาดขาวปลี ผักกาดหางหงษ หัวไชเทา และมันแกว สามารถกระตุนการเจริญของแบคทีเรียกรดแลกติก L. acidophilus ได

คําสําคัญ: แบคทีเรียกรดแลคติก คารโบไฮเดรต สารอาหารจากพืช การเพาะเลี้ยงแบคทีเรีย

Page 25: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

18 | P a g e

Abstract

The aim of this study was studied the effects of carbohydrate extracts from Onion, Shallot, Tree onion, Garlic (small cloves), Garlic (single cloves), Garlic (large cloves), Chinese cabbage, Michilli-type cabbage, Chinese radish and Yam bean on the growth of lactic acid bacteria. The plants extracts were tested for the effects on the growth of lactic acid bacteria. The data was analyzed by using the comparison between the growth curves of lactic acid bacteria by measuring the optical density. The result revealed that carbohydrate extracts from Onion, Shallot, Tree onion, Garlic (small cloves), Garlic, Garlic (large cloves), Chinese cabbage, Michilli-type cabbage, Chinese radish and Yam bean could be able to stimulate the growth of three strains of lactic acid bacteria namely L. acidophilus.

Keywords: Lactic Acid Bacteria, Carbohydrate, Phytonutrient, Bacterial Culture

บทนํา

คารไบไฮเดรตเปนสารจําพวกอัลดีไฮด (Aldehyde) หรือคีโตน (Ketone) ที่มีหมูไฮดรอกซี (-OH group) หลายหมูในโมเลกุล ที่มีธาตุเปนองคประกอบคือ คารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ในอัตราสวน 1 : 2 : 1 (สุปรียา, 2544 ) โดยคารโบไฮเดรต (Carbohydrates) เปนสารที่ใหพลังงานแกรางกาย ทั้งนี้คารโบไฮเดรตแบงออกเปน 2 ประเภท คือ คารโบไฮเดรตที่เปนโครงสราง (Structure Carbohydrate) และคารโบไฮเดรตที่ไมเปนโครงสราง (Non-Structure Carbohydrate) ไดแก น้ําตาล (Sugar) โอลิโกแซคคาไรด (Oligosaccharides) และโพลีแซคคาไรด (Polysaccharides) บางชนิด ซึ่งเปนคารโบไฮเดรตที่มีความสําคัญตอรางกาย นําไปใชสรางพลังงาน และเปนแหลงอาหารของแบคทีเรียที่เปนประโยชนตอรางกาย (เยาวรัตน, 2547)

พรีไบโอติกส คือ สวนประกอบของสารคารโบไฮเดรตที่ไมถูกยอยและถูกดูดซึมในระบบทางเดินอาหารตอนบนและสามารถเพิ่มปริมาณแบคทีเรียชนิดสรางกรดแลคติกที่มีอยูในลําไสใหญและสงผลดีตอสุขภาพ (Gibson and Roberfroid, 1995) แหลงธรรมชาติของอาหารพรีไบโอติกสคือ อาหารที่มีเสนใยจากพืชผัก และผลไมตางๆ เชน หัวหอม กระเทียม กลวย หนอไมฝรั่ง พืชสมุนไพร ธัญพืช ฯลฯ (มาลี, 2543)

Page 26: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

19 | P a g e

ในประเทศไทยมีพืชพื้นบานที่มีสารพรีไบโอติกสที่มีประโยชนตอสุขภาพมากมาย จากการวิจัยพบวา แหลงธรรมชาติของสารพรีไบโอติกส คือ อาหารที่มีเสนใยจากพืชผักและผลไม เชน หัวหอม กระเทียม กลวย หนอไมฝรั่ง รากหัวของพืช (หัวมัน) วานหางจระเข เห็ด พืชสมุนไพร ธัญพืช ฯลฯ (มาลี, 2543) ดังนั้นจึงทําการสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักที่สามารถหาไดงายในทองถิ่นซึ่งคัดเลือกมาใชในการศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการวิเคราะหและสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักทองถิ่นตอไป

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาชนิดของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากพืชผักในทองถิ่นที่เหมาะตอการใชเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติก

วิธีการวิจัย

ทําการทดลองโดยคัดเลือกพืชจํานวน 10 ชนิดไดแก หอมหัวใหญ, หอมแดง, หอมแขก, กระเทียมกลีบเล็ก, กระเทียมโทน, กระเทียมกลีบใหญ, ผักกาดขาวปลี, ผักกาดหางหงษ, หัวไชเทา และมันแกว โดยซื้อจากตลาดกลางพืชผักในทองถิ่น สําหรับจุลินทรียที่ใชในการทดลอง ไดแก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 โดยสั่งซื้อจากศูนยจุลินทรีย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) นําพืชแตละชนิดมาสกัดคารโบไฮเดรตตามแตชนิดของพืช ไดแก หอมหัวใหญ, หอมแดง, หอมแขก, ผักกาดขาวปลี, ผักกาดหางหงษ, มันแกว และหัวไชเทา โดยวิธีการสกัดดวยน้ําอยางงาย (Simple water extraction) (Wongputtisin, 2003) สําหรับกระเทียมทั้ง 3 ชนิด ทําการกําจัดสารอัลลิซิโดยใชวิธีการอบ (ศิริกุล, 2542) แลวจึงนํามาทําการสกัดเอาคารโบไฮเดรตโดยใชเอทานอล 70% (Laura et al., 2001) แลวนําสกัดที่ไดมาประกอบสูตรอาหารเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติกที่มี deMan, Rogosa and Sharpe (MRS broth) เปนองคประกอบหลักเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติกจากสูตรอาหารเพาะเลี้ยงแบคทีเรียกรดแลคติก 27 สูตร ที่แตกตางกัน ประกอบดวยสูตรอาหารชุดควบคุม 1 สูตร และสูตรอาหารทดสอบ 26 สูตร โดยทําการทดลองพืชแตละชนิด ชนิดละ 2 ซ้ํา ดังนี้

Page 27: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

20 | P a g e

สูตรที่ 1 สูตรควบคุม MRS broth ที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% สูตรที่ 2 และ 3 MRS broth ที่ผสมสารฟรุกโตโอลิโกแซคาไรดซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกสมาตรฐาน

แทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับสูตรที่ 4 และ 5 MRS broth ที่ผสมสารไอโซมอลโตโอลิโกแซคคาไรดซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกส

มาตรฐานแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับ สูตรที่ 6 และ 7 MRS broth ที่ผสมสารอินนูลินซึ่งจัดเปนสารพรีไบโอติกสมาตรฐานแทนกลูโคสที่

ความเขมขน 1% และ 2% ตามลําดับ สูตรที่ 8 และ 9 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมกลีบเล็กแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ

2% ตามลําดับ สูตรที่ 10 และ 11 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมโทนแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ

2% ตามลําดับ สูตรที่ 12 และ 13 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากกระเทียมกลีบใหญแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1%

และ 2% ตามลําดับ สูตรที่ 14 และ 15 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากผักกาดขาวปลีแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ

2% ตามลําดับ สูตรที่ 16 และ 17 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากผักกาดหางหงษแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ

2% ตามลําดับ สูตรที่ 18 และ 19 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากมันแกวแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%

ตามลําดับ สูตรที่ 20 และ 21 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมหัวใหญแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%

ตามลําดับ สูตรที่ 22 และ 23 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมแดงแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%

ตามลําดับ สูตรที่ 24 และ 25 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหอมแขกแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%

ตามลําดับ สูตรที่ 26 และ 27 MRS broth ที่ผสมสารสกัดจากหัวไชเทาแทนกลูโคสที่ความเขมขน 1% และ 2%

ตามลําดับ

Page 28: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

21 | P a g e

ตรวจวัดอัตราการเพิ่มปริมาณของแบคทีเรียโดยการวัดความขุนในสูตรอาหารตางๆจํานวน 27 สูตร โดยการวัดคาความขุนดวยเครื่องสเปกโตโฟโตมิเตอร (Spectrophotometer) ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ทุก 4 ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมง และทําการวัดอีกครั้งในชั่วโมงที่ 38 (Olano et al., 2000 อางโดย เยาวรัตน, 2547)

ผลการวิจัย

สวนที่ 1 การศึกษาเสนโคงการเจริญของแบคทีเรียกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่ผสมสารตางกันที่ระดับความเขมขนเทากัน ที่ 1% และ 2%

Page 29: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

22 | P a g e

แผนภูมิที่ 1 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความเขมขน 1%

พบวาที่ระดับความเขมขน 1% (w/v) มีการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 เรียงจากมากไปนอยดังนี้คือ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมโทน, มันแกว, ผักกาดหางหงษ, กลูโคส, กระเทียมกลีบใหญ, ผักกาดขาวปลี, กระเทียมกลีบเล็ก, หอมแขก, หัวไชเทา, อินนูลิน, หอมแดง, หอมหัวใหญ, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด และไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด ตามลําดับ

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

1.4

1.6

0 5 10 15 20 25 30 35 40เวลา (ชั่วโมง)

OD 60

0 nm

สูตรที ่1 (glucose 2%) สูตรที ่2 (FOS 1%)สูตรที ่4 (IMO 1%) สูตรที ่6 (Inulin 1%)สูตรที ่8 (กระเทยีมกลีบเล็ก 1%) สูตรที ่10 (กระเทยีมโทน 1%)สูตรที ่12 (กระเทยีมกลีบใหญ 1%) สูตรที ่14 (ผักกาดขาวปลี 1%)สูตรที ่16 (ผักกาดหางหงษ 1%) สูตรที ่18 (มนัแกว 1%)สูตรที ่20 (หอมหัวใหญ 1%) สูตรที ่22 (หอมแดง 1%)สูตรที ่24 (หอมแขก 1%) สูตรที ่26 (หัวไชเทา 1%)

Page 30: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

23 | P a g e

แผนภูมิที่ 2 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความเขมขน 2%

พบวาที่ระดับความเขมขน 2% (w/v) มีการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 เรียงจากมากไปนอยดังนี้คือ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว, ผักกาดขาวปลี, หอมแขก, กลูโคส, หอมแดง, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด, ไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด, อินนูลิน, ผักกาดหางหงษ, กระเทียมโทน, หัวไชเทา, กระเทียมกลีบใหญ, กระเทียมกลีบเล็ก และหอมหัวใหญ ตามลําดับ

สวนที่ 2 การเจริญของแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางๆ ทั้งหมด 27 สูตร ที่ใชสารสกัดคารโบไฮเดรตทดแทนแหลงคารบอนในอาหารเลี้ยงเชื้อ

0

0.2

0.4

0.6

0.8

1

1.2

1.4

1.6

1.8

0 5 10 15 20 25 30 35 40เวลา (ชั่วโมง)

OD 60

0 nm

สูตรท่ี 1 (glucose 2%) สูตรท่ี 3 (FOS 2%)สูตรท่ี 5 (IMO 2%) สูตรท่ี 7 (Inulin 2%)สูตรท่ี 9 (กระเทียมกลีบเล็ก 2%) สูตรท่ี 11 (กระเทียมโทน 2%)สูตรท่ี 13 (กระเทียมกลีบใหญ 2%) สูตรท่ี 15 (ผักกาดขาวปลี 2%)สูตรท่ี 17 (ผักกาดหางหงษ 2%) สูตรท่ี 19 (มนัแกว 2%)สูตรท่ี 21 (หอมหัวใหญ 2%) สูตรท่ี 23 (หอมแดง 2%)สูตรท่ี 25 (หอมแขก 2%) สูตรท่ี 27 (หัวไชเทา 2%)

Page 31: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

24 | P a g e

แผนภูมิที่ 3 แสดงการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางกัน

จากแผนภูมิการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 เปรียบเทียบกันในสูตรอาหารทั้งหมด 27 สูตรพบวาแบคทีเรียมีการเจริญเรียงลําดับจากมากไปนอยดังนี้ สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว 2%, ผักกาดขาวปลี 2%, กระเทียมโทน 1%, หอมแขก 2%, มันแกว 1%, ผักกาดหางหงษ 1%, กลูโคส 2%, หอมแดง 2%, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด 2%, ไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด 2%, กระเทียมกลีบใหญ 1%, อินนูลิน 2%, ผักกาดขาวปลี 1%, กระเทียมกลีบเล็ก 1%, หอมแขก 1%, ผักกาดหางหงษ2%, กระเทียมโทน 2%, หัวไชเทา 2%, กระเทียมกลีบใหญ 2%, หัวไชเทา 1%, กระเทียมกลีบเล็ก 2%, อินนูลิน

0

0.5

1

1.5

2

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26 28 30 32 34 36 38 40เวลา (ชั่วโมง)

OD 60

0 nm

สูตรท่ี 1 (glucose 2%) สูตรท่ี 2 (FOS 1%) สูตรท่ี 3 (FOS 2%)สูตรท่ี 4 (IMO 1%) สูตรท่ี 5 (IMO 2%) สูตรท่ี 6 (Inulin 1%)สูตรท่ี 7 (Inulin 2%) สูตรท่ี 8 (กระเทียมกลีบเล็ก 1%) สูตรท่ี 9 (กระเทียมกลีบเล็ก 2%)สูตรท่ี 10 (กระเทียมโทน 1%) สูตรท่ี 11 (กระเทียมโทน 2%) สูตรท่ี 12 (กระเทียมกลีบใหญ 1%)สูตรท่ี 13 (กระเทียมกลีบใหญ 2%) สูตรท่ี 14 (ผักกาดขาวปลี 1%) สูตรท่ี 15 (ผักกาดขาวปลี 2%)สูตรท่ี 16 (ผักกาดหางหงษ 1%) สูตรท่ี 17 (ผักกาดหางหงษ 2%) สูตรท่ี 18 (มนัแกว 1%)สูตรท่ี 19 (มนัแกว 2%) สูตรท่ี 20 (หอมหัวใหญ 1%) สูตรท่ี 21 (หอมหัวใหญ 2%)สูตรท่ี 22 (หอมแดง 1%) สูตรท่ี 23 (หอมแดง 2%) สูตรท่ี 24 (หอมแขก 1%)สูตรท่ี 25 (หอมแขก 2%) สูตรท่ี 26 (หัวไชเทา 1%) สูตรท่ี 27 (หัวไชเทา 2%)

Page 32: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

25 | P a g e

1%, หอมแดง 1%, หอมหัวใหญ 2%, หอมหัวใหญ 1%, ฟรุกโตโอลิโกแซคคารไรด 1% และไอโซมอลโตโอลิโกแซคคารไรด 1% ตามลําดับ

อภิปรายผลการวิจัย

การเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความเขมขน 1% พบวาสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) โดยพบวาที่ระดับความเขมขน 1% (w/v) สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญดีกวาหอมแดง

การเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารที่แตกตางกัน ที่ความเขมขน 2% พบวาสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) เชนกัน โดยพบวาที่ระดับความเขมขน 2% (w/v) สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญสูงสุด ซึ่งดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง จากทั้ง 2 ความเขมขนของสารสกัดจากมันแกวที่ผสมในสูตรอาหาร ที่สามารถชวยใหแบคทีเรียกรดแลคติกสามารถเจริญเติบโตไดดี เนื่องจากในสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว มีปริมาณคารโบไฮเดรตมากกวาพืชชนิดอื่น

สําหรับการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางกันทั้ง 27 สูตร พบวายังคงสอดคลองกับเยาวรัตน (2547) โดยพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว 2% ทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญสูงสุด และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว 1% ทําใหแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 มีการเจริญดีกวาหอมแดง 2% และ 1% ,สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว 1% และ 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุดควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกวทั้ง 2 ความเขมขน และสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง 2% สามารถกระตุนการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน แตไมสอดคลองกับสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน และสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง 1% และ 2% ที่สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุดควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% อาจเนื่องมาจากสารอินนูลินมีคุณภาพแตกตางกัน เชน มีความบริสุทธิ์ของสารที่แตกตางกัน และแหลงที่มาของหอมแดงอาจจะมีความแตกตางกัน ซึ่ง

Page 33: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

26 | P a g e

พืชที่ปลูกตางถิ่นกัน จะมีองคประกอบของสารแตกตางกันออกไปตามแตละทองถิ่น ทั้งนี้อาจจะเกี่ยวกับชนิดของดิน ธาตุอาหารพืชในดิน และองคประกอบอื่นๆ

อยางไรก็ตามพบวาผลการทดลองสอดคลองกับฉวีวรรณ (2546) ซึ่งพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมกลีบใหญ 2% แตไมสอดคลองกับฉวีวรรณ (2546) ที่พบวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน 2%, สูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมกลีบใหญ 1% และ 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาอาหารชุดควบคุมที่มีน้ําตาลกลูโคส 2% และพบวาสูตรอาหารที่ผสมสารอินนูลิน 2% สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีกวาสูตรอาหารที่ผสมสารสกัดคารโบไฮเดรตจากกระเทียมกลีบใหญ 1% อาจเนื่องมาจากกระเทียมมาจากแหลงที่ตางกัน หรืออาจจะเปนผลมาจากการมีสารอัลลิซินในกระเทียม ซึ่งไมสามารถกําจัดใหหมดได

สรุปผลการวิจัย

จากการศึกษาการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติก Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ในสูตรอาหารตางๆ กัน พบวาสารสกัดคารโบไฮเดรตจากมันแกว ที่ความเขมขน 2% (w/v) สามารถกระตุนการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดดีที่สุดจากพืชทั้ง 10 ชนิด รองลงมาไดผักกาดขาวปลี ที่ความเขมขน 2% (w/v) และกระเทียมโทน ที่ความเขมขน 1% (w/v) สามารถกระตุนการเจริญของแบคทีเรีย Lactobacillus acidophilus TISTR 1034 ไดตามลําดับ ซึ่งพืชทั้ง 3 ชนิด มีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนสารพรีไปโอติกสสําหรับแบคทีเรียกรดแลคติกตอไปได

Page 34: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

27 | P a g e

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.ไชยวัฒน ไชยสุต หนวยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ที่อนุเคราะหพรีไบโอติกส หองปฏิบัติการ Thanit – Trobe Laboratory คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ที่อนุเคราะหเครื่องมือและสารเคมี และขอขอบคุณ คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยี การเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่สนับสนุนงบประมาณการวิจัย

บรรณานุกรม

ฉวีวรรณ สีสม. (2546). การสกัดสารพรีไบโอติกสจากกระเทียมเพื่อกระตุนการเจริญของแบคทีเรียLactobacillus acidophilus. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีศึกษา), คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม

ปรียาภรณ อิสรานุวัฒน. (2539). รายงานการวิจัยการศึกษาผลของการเติมน้ําผลไมบางชนิดตอการเจริญของเชื้อแลคโตบาซิลลัส แอซิโดฟลัสในกระบวนการผลิตแอซิโดฟลัสมิลค. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เยาวรัตน นาคตอย. (2547). ผลของสารสกัดคารโบไฮเดรตจากหอมแดง (Allium ascalonicum Linn.), ฝรั่ง (Psidium guajava Linn.) และมันแกว (Pachyrrhizus erosus Linn.) ตอการเจริญของ Lactobacillus acidophilus. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เคมีศึกษา), คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม

มาลี จิรวงศศรี. (2543). Carbohydrate: Inulin, Oligofructose. อาหารและยา. 7 (2) : 19-23.รุจา มาลัยพวง. (2544). การผลิตโปรไบโอติคสําหรับอาหารไกจากแบคทีเรียกรดแลคติคของไทย. วิทยานิพนธ

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ), คณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

วันทนีย เกรียงสินยศ. (2542). คารโบไฮเดรตกับโภชนาการมนุษย. โภชนาการ. 34 (1) : 59-68.วุฒิ วุฒิธรรมเวช. (2540). สารานุกรมสมุนไพร. สํานักพิมพโอเดียนสโตร. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส, กรุงเทพฯ.

618 น.สุปรียา ยืนยงสวัสดิ์. (2544). คารโบไฮเดรต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, สงขลา.

Page 35: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

28 | P a g e

ศิริกุล จันทรสวาง. (2542). การสกัดน้ํามันหอมระเหยจากตะไครหอม. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี 3(3): 38-42.

อรนาถ สุนทรวัฒน, พรทิพย ชัยมณี และธนิต ผิวนิ่ม. (2549). ปฏิบัติการชีวเคมี (Experimental Biochemistry). พิมพครั้งที่ 5. โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร, นครปฐม.

อบเชย วงคทอง และ ขนิษฐา พูนผลกุล. (2544). หลักการประกอบอาหาร. สํานักพิมพ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

Gibson, G. R. and Roberfoid, B. M. (1995). Dietary Modulation of the Human Colonic Microbiota : Introducing the Concept of Preioticss. Journal of Nutrition. 126(6): 1401-1412.

Ingrid, W., Gerhard, R. and Beatrice, L.P. (2001). Protective Role of Probiotics and Prebiotics in Colon Cancer. American Journal of Clinical Nutrition. 73: 45-455.

Laura, J., Martí nez., F. M., Cabrejas., A.M., Mollá., F.E., André u., J.L., Waldron, K.W. and Esteban, R.M. (2001). Study of Total Fructan and Fructooligosaccharide Content in Different Onion Tissues. Journal of the Science of Food and Agriculture 81(2): 177-182.

Lemar, K. M., Turner, M. P. and Lloyd, D. (2002). Garlic (Allium sativum) as an Anti-Candida Agent: Comparison of the Efficacy of Fresh Garlic and Freeze-dried Extracts. Journal of Applied Microbiology 93(3): 398-405.

Paludan, M., Huss, H. H. and Gram, L. (1999). Characterization of Lactic Acid Bacteria Isolate from a Thai Low-Salt Fermented Fish Product and the Role of Garlic as Substrate for Fermentation. International Journal of Food Microbiology 46(3): 219-299.

Wongputtisin, P. (2003). Selection of Oligosaccharides from Some Local Plants for Utilizing as Prebiotics. M.S. in Biotechnology Thesis, Faculty of Agro-Industry, Chiang Mai University., Chiang Mai.

Received 10 December 2009Accepted 10 January 2010

Page 36: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

29 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

ผลของไคโตซานตอแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดพันธุกากีแคมปเบลลEffect of Chitosan on Coliform Bacteria in Khaki Campbell Ducks

กัลยาณี จันทคง1 ทวีศักดิ์ พุกจีน1 ศุภชัย กองผุย1 สุรวัฒน ชลอสันติสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล2 พิเชษฐ ศรีบุญยงค1 และบุญศรี จงเสรีจิตต3

1 สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี3 ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณลักษณะบางประการของเชื้อ Escherichia coli ATCC 25922 และเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาว ระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลล หลังจากเพาะเลี้ยงเชื้อ 12 ชั่วโมง มีจํานวนเชื้อเทากับ 8.9 × 1010 CFU/ml เมื่อนํามาทดสอบหาความไวรับตอยาตานจุลชีพ พบวา E. coli ATCC 25922 มีความไวรับตอโคลิสติน และพบวาไคโตซานที่ความเขมขน 400 ppm เปนความเขมขนนอยที่สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ E. coli ATCC 25922 ได ดวยวิธีการเลี้ยงแบคทีเรียรวมกับไคโตซาน สําหรับการทดสอบในสัตว พบวากลุมทดลองที่ไดรับไคโตซาน 400 ppm มีปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมดและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียลดลง โดยมีคาใกลเคียงกับกลุมทดลองที่ไดรับโคลิสติน 400 ppm นอกจากนี้กลุมทดลองที่ไดรับไคโตซาน 400 ppm สามารถลดปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมดไดใกลเคียงกับกลุมที่ไดรับโคลิสติน 400 ppm ซึ่งแตกตางกับกลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) และมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัวดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองที่ไดรับโคลิสติน 400 ppm อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) แตอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ไมแตกตางจากกลุมควบคุม

Page 37: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

30 | P a g e

สรุปวาไคโตซานมีผลตอเชื้อ E. coli ATCC 25922 ที่ระดับความเขมขนต่ําสุดที่ 400 ppm และไคโตซานมีผลตอแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาวระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลลใกลเคียงกับยาปฏิชีวนะชนิดโคลิสติน

คําสําคัญ: ไคโตซาน เปด อี. โคไล

Abstract

This research was objected to study the effect of Chitosan on some properties of Escherichia coliATCC 25922 and coliform bacteria in pre-laying period of Khaki Campbell ducks. For twelve hours after incubated, 8.9 x 1010 CFU/ml of bacterial were found. Antimicrobial sensitivity test showed E.coli ATCC 25922 was sensitive to Colistin. Chitosan inhibited growth of E.coli ATCC 25922 by minimal inhibitory concentration test at 400 ppm. For in vivo, group given 400 ppm of chitosan had total coliform bacteria, fecal coliform bacteria and total aerobic bacteria decreased as same as 400 ppm of colistin with significantly difference (P<0.05) when compared to control. Average Daily Gain of group given 400 ppm chitosan had significantly difference (P<0.05) when compared to 400 ppm. colistin and control while feed conversion had not statistically significant (P>0.05). It can be concluded that the minimal inhibitory concentration of chitosan on E.coli ATCC 25922 was 400 ppm and the effect of chitosan on coliform bacteria in pre-laying period of Khaki Campbell was the same as colistin.

Keyword: Chitosan, Duck, E. coli

Page 38: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

31 | P a g e

บทนํา

การเลี้ยงเปดไขเพื่อใหไดผลผลิตที่ดี มีคุณภาพ ตรงตามความตองการของผูบริโภคในปจจุบัน จําเปนตองอาศัยปจจัยหลัก ๆ อยู 2 ปจจัย คือ ปจจัยภายในตัวเปด เชน สายพันธุ ภูมิตานทานโรค อายุ เปนตน และปจจัยภายนอกตัวเปด ไดแก สภาพแวดลอมทั้งภายในโรงเรือนและภายนอกโรงเรือนตองเปนสถานที่ที่ไดกอสรางถูกตองเหมาะสมตอการเลี้ยงเปด และที่สําคัญคือความสะอาดภายในโรงเรือน ที่สามารถปองกันการปนเปอนเชื้อโรคเขาสูตัวเปด ทั้งที่ปนเปอนมาจากภายนอกโดยติดตอมาทางภาชนะใหอาหาร ภาชนะใหน้ํา สัตวพาหะ หรือสิ่งแวดลอมตางๆ โดยเฉพาะเชื้อจําพวกโคลิฟอรมแบคทีเรีย (Coliform Bacteria) ซึ่งเปนเชื้อที่พบอยูในรางกายทั่วๆ ไป แตหากมีปริมาณมากกวาปกติ จะสงผลตอสุขภาพเปดได ทําใหจํานวนผลผลิตลดลง อาจจะสงผลถึงขนาดของไข สี จึงทําใหไขมีคุณภาพไมตรงตามความตองการของผูบริโภค เปนตน จินตนา (2549) กลาววา ผูประกอบการสวนมากใชยาประเภทยาปฏิชีวนะ เพื่อเปนการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย แตการใชยาปฏิชีวนะติดตอกันเปนเวลานานๆ จะกอใหเกิดการดื้อยาของจุลินทรียและเกิดสารตกคางในเปดและเกิดอันตรายตอผู บริโภคได อัญชลี (2547) กลาววาในปจจุบันไดมีการนําไคโตซาน ซึ่งเปนสารสกัดที่ไดจากเปลือกกุง กระดองปู แกนปลาหมึกและผนังเซลลของเห็ดราบางชนิดมาใชในการยับยั้งตอตานจุลินทรียโดยเฉพาะแบคทีเรียโคลิฟอรมซึ่งไคโตซานสามารถยับยั้งเชื้อ E. coli ได และอุนใจ (2544) กลาววาไคติน-ไคโตซาน สามารถใชเปนสารเสริมผสมลงในอาหารสัตวบก เชน สุกร วัว ควาย เปด ไก ได

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาคุณลักษณะบางประการของเชื้อ E.coli ATCC 25922 2. เพื่อศึกษาผลของไคโตซานตอเชื้อแบคทีเรียโคลิฟอรมในเปดสาวระยะกอนไข พันธุกากีแคมปเบลล

วิธีการวิจัย

สวนที่ 1 เปนการศึกษาแบบ In Vitro เพื่อสรางเสนโคงการเจริญเติบโตมาตรฐาน (Standard Growth Curve) ของเชื้อ E.coli ATCC 25922 โดยการวัดคาการดูดกลืนแสง ดวยเครื่อง Spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร และทดสอบความไวของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ตอยาตานจุลชีพ (Antimicrobial

Page 39: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

32 | P a g e

Sensitivity Test) พรอมกับทดสอบหาระดับความเขมขนต่ําสุดของไคโตซานที่สามารถยับยั้ง E.coli ATCC 25922 (Minimal Inhibitory Concentration) 3 วิธี ไดแก Broth dilution test, Bacterial co-culture และ Agar disc diffusion susceptibility test

สวนที่ 2 เปนการศึกษาแบบ In Vivo ใชแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design โดยใชเปดพันธุกากีแคมปเบลล เพศเมีย อายุ 14 สัปดาห เปนสัตวทดลอง โดยแบงกลุมการทดลองเปน 3 กลุม กลุมละ 3 ซ้ํา ซ้ําละ 3 ตัว รวม 27 ตัว ทําการวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด (Total Coliform Bacteria), ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (Fecal Coliform Bacteria) และการตรวจยืนยันเชื้อ E.coli กอนและหลังการใหไคโตซานและสารปฏิชีวนะดวยวิธี Most Probable Number Method จากการเก็บตัวอยางมูลในวันที่ 1 ถึง 5 และวันที่ 12 หลังจากการใหไคโตซานและสารปฏิชีวนะ ทําการเก็บขอมูลน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (Average Daily Grain; ADG) และอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว (Feed Conversion Ratio; FCR) เฉพาะระยะเวลาที่ทําการทดลอง เปนระยะเวลา 12 วัน สัตวทดลองไดรับอาหารสัตวผสมสําเร็จรูปที่มีโปรตีนไมนอยกวา 17 %โดยใหอาหารแบบจํากัดกลุมละ 20% ของน้ําหนักตัว แบงใหวันละ 2 ครั้ง คือ เชา (07.30 น .) และเย็น (17.30 น .) และมีน้ําสะอาดใหเปดกินอยางเต็มที่ตลอดวัน ซึ่งทุกกลุมจะไดรับอาหารผสมสําเร็จรูปชุดเดียวกัน แบงออกเปนกลุมการทดลองดังนี้

กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ใหเฉพาะอาหารผสมสําเร็จรูป กลุมที่ 2 กลุมทดลอง ใหอาหารผสมสําเร็จรูป + ไคโตซานที่ 400 สวนในลานสวน (ppm) กลุมที่ 3 กลุมทดลอง ใหอาหารผสมสําเร็จรูป + โคลิสตินที่ 400 สวนในลานสวน (ppm)

ไคโตซานที่ใชในการทดลองเปนชนิดแผนเกร็ดเล็ก (Flake) มีคา Degree of Deacetylation (DD) ที่ 85% โคลิสตินที่ใชในการทดลองเปนโคลิสติน ซัลเฟต ยี่หอโคลิสติน มิกซ พาวเดอร 10% ของบริษัท ไทยเมจิฟารมาซิวติคัล จํากัด

ผลการวิจัย

สวนที่ 1 การสรางเสนโคงการเจริญเติบโตมาตรฐาน ของเชื้อ E. coli ATCC 25922 โดยการวัดคาการดูดกลืนแสง ผลการทดลองปรากฏวา เมื่อวัดคาดูดกลืนแสงทุกๆ ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมงแลว พบวาคา OD เพิ่มขึ้นแปรผันตามจํานวนเชื้อที่เพิ่มขึ้นตามจํานวนชั่วโมงที่เพาะเลี้ยงโดยคาดวาอยูในชวง Lag phase ที่ชั่วโมง 0-9 และชวง Log phase จะเจริญเติบโตในชั่วโมงที่ 9 ถึงชั่วโมงสุดทาย จากการทดลองจึงเลือกใชจํานวนเชื้อ E.

Page 40: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

33 | P a g e

coli ATCC 25922 เริ่มตนที่คา OD เทากับ 0.655 ในชั่วโมงที่ 12 ซึ่งมีจํานวน 8.9 x 1010 CFU/ml สําหรับการทดสอบความไวของเชื้อ E. coli ATCC 25922 ตอยาตานจุลชีพจํานวน 7 ชนิด ไดแก โคลิสติน นอรฟลอกซาซิน เบคซิตราซิน ไนโตรฟูแรนโตอิน กานาไมซิน เจนตาไมซิน และออกซิเตตราซัยคลิน พบวานอรฟลอกซาซินเบคซิตราซินและออกซิเตตราซัยคลิน ไมสามารถยั้บยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ได สวนเจนตาไมซิน กานาไมซิน ไนโตรฟูแรนโตอินและโคลิสตินสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ได แตกานาไมซินและเจนตาไมซินเปนยาที่ใชสําหรับฉีด จึงไมเลือกใชในการทดลอง สวนไนโตรฟูแรนโตอินเปนอนุพันธของไนโตรฟูแรน ซึ่งถูกหามใชในสัตวที่ใหผลผลิตเพื่อการบริโภค ในขณะที่โคลิสตินเปนยาสําหรับรับประทาน จึงเลือกใชโคลิสตินในการทดลองสวนที่ 2 สําหรับการทดสอบหาระดับความเขมขนต่ําสุดของไคโตซานที่สามารถยับยั้งการเจริญของ E.coli ATCC 25922 พบวา ไคโตซานที่ความเขมขน 400 ppm เปนความเขมขนนอยที่สุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E.coli ATCC 25922 ไดถึง 100% โดยวิธีการเพาะเลี้ยงแบคทีเรียรวมกับไคโตซาน

สวนที่ 2 การวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรีย และการตรวจยืนยันเชื้อ E.coli พบวาในวันกอนใหไคโตซานและโคลิสติน และวันที่ 1 พบปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอรมมากกวา 1100 MPN/g ของทุกกลุมทดลองและในวันที่ 2 ของระยะใหยาพบวา กลุมที่ไดรับโคลิสตินมีจํานวนแบคทีเรียโคลิฟอรมลดลงเหลือ > 600 MPN/g และลดลงเรื่อยๆ ในวันถัดมา ในสวนกลุมที่ไดรับไคโตซานปริมาณแบคทีเรียโคลิฟอรมจะลดลงเหลือ > 742.67 MPN/g ในวันที่ 4 และพบวาในวันกอนใหไคโตซานและโคลิสติน, วันที่ 1 และวันที่ 2 ของการทดลองพบปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียมากกวา 1100 MPN/g ของทุกกลุมการทดลอง และในวันที่ 3 พบวากลุมที่ไดรับโคลิสตินมีจํานวนฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียลดลงเหลือ > 886.66 MPN/g และลดลงเรื่อยๆ ในวันถัดมา สวนกลุมที่ไดรับไคโตซานมีปริมาณฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียลดลงเหลือ 77.00 MPN/g ในวันที่ 5 ของระยะใหยาและยังลดลงในวันสุดทายของระยะพักยา (withdrawal period) อีกดวย และทดสอบยืนยันหลังเก็บผลการทดลองทั้ง 7 ครั้งแลวนั้น สามารถพบเชื้อ E. coli ทั้ง 7 ครั้งที่เก็บผลการทดลองและสามารถพบเชื้อ E. coli ทุกกลุมการทดลอง สําหรับการวิเคราะหปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมด พบวาปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมดในในวันกอนใหไคโตซานและโคลิสตินทั้ง 3 กลุมไมแตกตางกันทางสถิติ (P>0.05) สวนในวันที่ 1 พบวากลุมควบคุมไมแตกตางจากกลุมที่เสริมไคโตซาน แตทั้ง 2 กลุมแตกตางจากกลุมที่เสริมโคลิสตินอยางมีสถิติ (P<0.05) และตั้งแตวันที่ 2 จนถึงระยะพักยาวันสุดทายพบวา กลุมควบคุมแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับกลุมที่เสริมไคโตซานและกลุมที่เสริมโคลิสติน โดยกลุมที่เสริมไคโตซานมีปริมาณลดลงมากกวากลุมที่เสริมโคลิสติน

Page 41: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

34 | P a g e

แผนภูมิที่ 1 แสดงคาการลดลงของปริมาณแบคทีเรียใชอากาศทั้งหมด (106CFU/g)

สําหรับการศึกษาผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ผลการทดลองที่ไดแสดงไวในตาราง ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน (ADG)น้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ย

ตอวัน (กรัม/วัน)กลุมการทดลอง

กลุมควบคุม กลุมที่เสริมไคโตซาน กลุมที่เสริมโคลิสตินวันที่เริ่มทําการทดลอง

ถึงวันสิ้นสุดการทดลอง

จํานวน 12 วัน

0.029b 0.047a 0.022 b

หมายเหตุ a, b อักษรตางกันในแถวเดียวกันแสดงวาแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

0

20

40

60

80

100

120

ปริมาณเชื้อ

ระยะกอนใหยา วันท่ี 2 วันท่ี 4 วันท่ี 12

วันที่ทําการทดลอง

กลุมควบคุม

กลุมเสริมไคโตซานกลุมเสริมโคลิสติน

Page 42: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

35 | P a g e

จากตารางแสดงใหเห็นวา เปดมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน เทากับ 0.029 0.047 และ0.022 (กรัม/วัน)ตามลําดับ โดยกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวัน ดีสุดแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) กับกลุมควบคุมและกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่400 ppm

ตารางที่ 2 แสดงผลของไคโตซานตออัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว (FCR)อัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว

กลุมการทดลองควบคุม (T1) เสริมไคโตซาน (T2) เสริมโคลิสติน (T3)

วันที่เริ่มทําการทดลอง ถึง

วันสิ้นสุดการทดลองจํานวน 12 วัน

29.06ab 15.53b 42.60a

หมายเหตุ a, b อักษรแตกตางกันในแถวเดียวกันแสดงความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)

จากตารางที่ 2 พบวาอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว เทากับ 29.06 15.53 และ42.60 ตามลําดับ โดยกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) แตไมแตกตางจากกลุมควบคุม

อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการทดลองวิเคราะหปริมาณของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด ฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียและการตรวจยืน ยันเชื้อ E.coli ไมแตกตางกับการทดลองของ Lifeng et al. (2004) ที่ใชไคโตซานในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ E. coli โดยใชไคโตซานที่คา % Deacetylation เทากับ 85% และละลายไคโตซานดวยกรดอะซิติก 0.25% พบวาไคโตซานสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตในระยะตางๆ ของ E.coli ได เชนเดียวกับ Tsai et al.(2004) ที่รายงานวาไคโตซานมีความสามารถมากในการยับยั้งเชื้อ E.coli ได นอกจากนั้น บุญศรีและคณะ (2547) ไดทดลองการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในอาหารโดยไคโตซาน พบวาไคโตซานสามารถ

Page 43: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

36 | P a g e

ยับยั้งการเจริญของ Staphylococus aureus E.coli และ Salmonella typhimurium เชนเดียวกับ พิมพรรณ และพรรณี (2543) ที่พบวา ไคโตซานสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ E. coli ไดในเวลา 24 ชั่วโมง

จากการศึกษาผลของไคโตซานตอน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันและอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว พบวาสอดคลองกับการศึกษาของปยะบุตร (2544) ที่ใชไคโตชานชวยเพิ่มการเจริญเติบโตและเพิ่มประสิทธิภาพการใหอาหารแสดงใหเห็นถึงความนาจะเปนไปไดในการนําไคโตซานมาเสริมในอาหารไกเนื้อเพื่อเรงการเจริญเติบโต นอกจาก นั้น ปยะบุตรและคณะ (2543) ไดศึกษาการใชประโยชนของไคโตซานเปนสารเรงการเจริญเติบโตในเปดเนื้อ พบวา การใชไคโตซานที่ 350 ppm ทําใหน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันมีคาสูงสุดที่ 60.54 กรัม/วัน และมีคาอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัวดีที่สุดเทากับ 1.85 โดยพบวาเปดเนื้อใน กลุมทดลองมีขนาดตัวที่สม่ําเสมอ มีสุขภาพที่ดีและมีขนสวยงาม ในขณะที่กลุมควบคุมมีขนาดตัวที่แตกตางกัน มีคาน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันต่ํากวาเชนเดียวกับ ปยะบุตรและสุวลี (2543) รายงานวา ไคโตซานสามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพการใชอาหาร ทําใหมีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันดีขึ้น โดยในกลุมทดลองที่ใชไคโตซาน 300 ppm มีคา FCR ต่ําที่สุดที่ 1.85 ในขณะที่ สุคีพและคณะ (2546) กลาววาการใชสารไคโตซานเสริมในอาหารไกทําใหสมรรถภาพการผลิตไมแตกตางจากกลุมควบคุมที่ไมเสริมไคโตซานได เชนเดียวกับ ไพทูลและคณะ (2547) ไดศึกษาการเสริมไคโตซานในอาหารตอสมรรถภาพการผลิตของไกเนื้อ พบวาเมื่อสิ้นสุดการทดลองการเสริมไคโตซานไมมีผลตอสมรรถภาพการผลิต ตนทุนคาอาหารในการเพิ่มน้ําหนักนั้นสูงขึ้น เมื่อระดับการเสริมไคโตซานในอาหารเพิ่มขึ้น สําหรับกลุมเสริมยาปฏิชีวนะใหผลไมแตกตางกับกลุมที่เสริมไคโตซาน

สรุปผลการวิจัย

จากการทดลองพบวากลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มปีริมาณของแบคทีเรีย โคลิฟอรมและฟคัลโคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมดลดลง จากคา MPN/g เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุม แตมีคาใกลเคียงกับกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm ดังนั้นจึงสามารถใชไคโตซานทดแทนสารปฏิชีวนะได โดยทั้งนี้พบวากลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมไคโตซานที่ 400 ppm มีน้ําหนักที่เพิ่มขึ้นเฉลี่ยตอวันดีที่สุด แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) กับกลุมควบคุมและกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm รวมถึงมีอัตราการแลกเปลี่ยนอาหารเปนน้ําหนักตัว ดีที่สุด แตกตางกับกลุมทดลองใหอาหารสําเร็จรูปผสมโคลิสตินที่ 400 ppm อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) เชนกัน จึงสรุปไดวาสามารถใชไคโตซานผสมอาหารสัตวเพื่อเปนสารเสริมการเจริญเติบโตได

Page 44: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

37 | P a g e

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณ ผศ.ดร.บุญศรี จงเสรีจิตต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ที่อนุเคราะหเชื้อ E. coli ATCC 25922 ศูนยวิจัยพืชอาหารสัตวเพชรบุรี กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว ที่อนุเคราะหสถานที่เลี้ยงสัตว บริษัท A.N. LAB Aquatic Nutrition จํากัด ที่อนุเคราะหไคโตซาน และคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ที่อนุเคราะหงบประมาณการวิจัย

บรรณานุกรม

กมลศิริ พันธนียะ. (2546). ไคติน-ไคโตซาน. สถาบันวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมสัตวน้ํา, กรมประมง. แหลงที่มา : http://www.nicaonline.com/articles9/site/view_article.asp?idarticle=158, 25 มิถุนายน 2550.กองตรวจสอบรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตวน้ําและผลิตภัณฑสัตวน้ํา. 2548. การวิเคราะห ปริมาณ Coliforms,

Fecal coliforms และ E.coli. แผนพับ, ศูนยวิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตวน้ําและผลิตภัณฑสัตวน้ํา, สมุทรสาคร.

จิราภรณ เชาวลิตสุขุมาวาสี. (2544). ไคติน-ไคโตซานสารมหัศจรรยจากธรรมชาติ. LAB TODAY. 1(2) : 12-20.จินตนา อินทรมงคล. 2549. กระบวนการสารธรรมชาติทดแทนการใชเคมีภัณฑสังเคราะหในการเลี้ยงสัตว.

ปศุสัตวอินทรีย กรมปศุสัตว. กรุงเทพฯ. แหลงที่มา: http://www.dld.go.th/organic/knowlage/natural.html: 18 มีนาคม 2550

ชูศักดิ์ อาจสูงเนิน และสุนันท กิตติจารุวัฒนา. 2546. คูมือการวิเคราะหยาสัตว. เลมที่ 7. พิมพครั้งที่ 1. ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด กรุงเทพฯ

ธํารงคศักดิ์ พลบํารุง. (2547). การลงทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเปดไข. กองอาหารสัตว, กรมปศุสัตว. แหลงที่มา : http://www.dld.go.th/home/duck/cost_egg.htm, 15 เมษายน 2550.

นพพร สุขมีชัย. (2547). ไคโตซาน อีกทางเลือกของเกษตรกร. เคล็ดลับเกษตร. ปที่ 9(32): 13-15.บุญศรี จงเสรีจิตต ผุสดี นาคพลายพันธุ และสุวบุญ จิรชาญชัย. 2547. การยับยั้งแบคทีเรียในอาหารโดยไคโต

ซาน: รายงานการวิจัย. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม. 88-95.ปฐม เลาหะเกษตร. (2544). การเลี้ยงเปด. พิมพครั้งที่ 2. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว คณะ

Page 45: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

38 | P a g e

เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา วิทยาเขตเจาคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ. (2547). ไคติน-ไคโตซาน Chitin and Chitosan. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะ

วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี, กรุงเทพฯ. แหลงที่มา : http://www.kmutt.ac.th/organization/Research/.htm, 25 กุมภาพันธ 2550.

ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ และสุวลี จันทรกระจาง. (2543). การใชไคโตซานในไกเนื้อ. แผนพับ. นิทรรศการเรื่อง เกษตร ยุคใหมกับไคติน-ไคโตซาน, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมกับ ชมรมไคติน-ไคโตซาน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

ประภัสสร สุรวัฒนาวรรณ. (2544). ไคติน-ไคโตซาน. กลุมวิจัยอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. กรุงเทพฯ. แหลงที่มา : http://www.gpo.or.th/rdi/html/chitin.html, 18 เมษายน 2550.

พิมพรรณ ชํานิงาน และพรรณี ศรีบัวทอง. (2543). การใชไคโตซานเปนสารฆาเชื้อจากธรรมชาติภายใตสภาวะทางดานสรีรวิทยา. ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. แหลงที่มา : http://www.scisoc.or.th/stt/30/secl/paper/stt30L0001.pdf, 18 พฤษภาคม 2550.

ไพทูล แกวหอม, ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ และรณชัย สิทธิไกรพงษ. (2547).การเสริมไคโตซานในอาหารตอสมรรถภาพการผลิตของไกเนื้อ. รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการเกษตรแหงชาติ ประจําป 2547 สาขาสัตวศาสตร/สัตวบาล คณะเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ภาวดี เมธะคานนท. (2544). การใช ไคติน/ไคโตซานในทางการเกษตร. แผนพับ. นิทรรศการ เรื่อง เกษตร ยุคใหมกับไคติน-ไคโตซาน, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ รวมกับ ชมรมไคติน-ไคโตซาน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

มาลินี ลิ้มโภคา. (2540). การใชยาตานจุลชีพในสัตว. พิมพครั้งที่ 4. จรัลสนิทวงศ กรุงเทพฯ.วิสาตรี คงเจริญสุนทร และจิราภรณ แกนภักดี. (2545). ผลของไคโตซานในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย.

วารสารวิทยาศาสตรบูรพา. 7(1) : 25-31.วีระชัย โชควิญู. (2547). โคลิฟอรมแบคทีเรีย. เทคนิคการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําดานแบคทีเรีย.

แหลงที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/07/coliform.htm, 24 พฤษภาคม 2550.สวัสดิ์ บํารุงสุข. (2546). การเลี้ยงเปดไขพันธุกบินทรบุรี. กองบํารุงพันธุสัตว, กรมปศุสัตว. แหลงที่มา :

http://www.dld.go.th/service/dkegg_kabin/main.html, 15 เมษายน 2550.

Page 46: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

39 | P a g e

สิริรัตน จงฤทธิพร อัธยา กังสุวรรณ และสุดิป คูมาร รักชิต. (2547). การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคโดยไคโตซาน. กองพัฒนาอุตสาหกรรมสัตวน้ํา. กรมประมง. กรุงเทพฯ

โสภา พิศวงปราการ และพรทิพย วงศแกว. (2544). การทดสอบปฏิกิริยาของไคโตซานในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv.vesicatoria สาเหตุโรคใบจุดของมะเขือเทศ. ภาควิชาโรคพืชวิทยา คณะเกษตรศาสตร,มหาวิทยาลัยขอนแก น. แหลงที่มา : http://www.scisoc.or.th/stt/30/sec_l/paper/stt30_L0031.pdf, 28 สิงหาคม 2550.

สุคีพ ไชยมณี สุชน ตั้งทวีวิพัฒน และบุญลอม ชีวะอิสระกุล. (2546). การศึกษาเบื้องตนของการสกัดและใชสารไคโตซานเสริมในอาหารไกเนื้อ. เอกสารประกอบการประชุม ไคติน-ไคโตซานแหงประเทศไทย. ศูนยวัสดุชีวภาพไคติน-ไคโตซาน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. 161-164.

สุนันท กิตติจารุวัฒนา. (2545). การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสําหรับการวิเคราะหสารตองหามกลุมไนโตรฟูแรนจํานวน 5 ชนิดดวยวิธี High - Performance Liquid Chromatography. สํานักตรวจสอบคุณภาพสินคาปศุสัตว, ปทุมธานี. แหลงที่มา : http://www.dld.go.th/person/trainning/High-Performance.doc., 5 สิงหาคม 2550

อนุเทพ ภาสุระ. (2546). แหลงของจุลินทรียกอโรคในระบบทางเดินอาหาร. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยบูรพา. แหลงที่มา : http://uniserv.buu.ac.th/forum2/post.asp?method= TopicQuote&TOPIC, 5 พฤษภาคม 2550.

อัญชลี ทวีสุจินันทสกุล. (2547). อิทธิพลของ pH และอุณหภูมิที่มีตอประสิทธิภาพการยับยั้งยีสตของไคโตซาน. วิทยานิพนธปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

อุนใจ รักษพันธ. (2544). ไคติน-ไคโตซาน สารมหัศจรรยจากธรรมชาติ. Up Date. ฉบับที่ 162 : 27-28.Hayes, E. R., Davies, D.H. and Munroe, V.G. (1977). Organic solvent systems for chitosan. Proceedings of

1st International Conference on Chitin and Chitosan. MIT Sea Grant Program. Massachusetts: 103Lifeng Q., Zirong., X., Xia., J., Caihong. H. and Xiangfei, Z. (2004). Preparation and antibacterial activity of

chitosan nanoparticles: Report. Animal Science College. Zhenjiang University. 2693-2670.

Page 47: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

40 | P a g e

No, H.K., Park, N.Y., Lee, S.H. and Meyers, S.P. (2002). Antibacterial activity of chitosans and chitosan oligomers with different molecular weights. International Journal of Food Microbiology. 74(1-2): 65-72.

Rupp, H.S., Munns, R.K. and Long, A.R. (1994). Simutaneous Determination of Nitrofurazone, Nitrofurantoin, and Furazolidone in Channel Catfish (Ictalurus punctatus) Muscle Tissue by Liquid Chromatography. J of AOAC International. 77(2):344-350.

Seong, H.S., Kim, J.P. and Ko, S.W. (1999). Preparation chito-oligosaccharides as antimicrobial agents for cotton. Textile Research Journal. 69(7): 483-488.

Tsai, Guo-Jane, Zhang, Shu-lin and Shieh, Pei-Ling. (2004). Antimicrobial activity of a low-molecular-weight chitosan obtained from cellulase digestion of chitosan. Journal of Food Protection 67:2 396-398.

Wood, S.J. and Shadomy, S. (2005). Disk diffusion susceptibility tests with norfloxacin: confirmation of proposed interpretive criteria. Department of Pathology, Virginia Commonwealth University, Virginia, USA. แหลงที่มา : http://www.springerlink.com/content/r0301vnrr378l7p3/, 28 สิงหาคม2550.

Yalpani, M., Johnson, F. and Robinson, L.E. (1992). Chitin and Chitosan: Sources, Chemistry, Biochemistry, Physical Properties and Applications, Elsevier, Amsterdam. แหลงที่มา : http://www.geocities.com/wvrdc_dld/MADICINE.html, 23 พฤษภาคม 2550.

Received 10 December 2009Accepted 10 January 2010

Page 48: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

41 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

การแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสจากไกไขที่ไดรับน้ําหมักชีวภาพจากพืชIsolation of Probiotic Bacteria from Plant Biological Fermented Juice Feds - Laying Chicken

อุทุมพร กุลวงศ1 นัฐพร เปลี่ยนสมัย1 อาภัสสร อนวิเศษ1 วิชัย กอประดิษฐสกุล2 จารุณี เกษรพิกุล3 และ สุรวัฒน ชลอสันติสกุล3

1 สาขาวิชาสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจหาเชื้อและทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรีย โปรไบโอติกสที่แยกไดจากไกไข ทําการแยกแบคทีเรียโปรไบโอติกสดวยวิธีเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อที่จําเพาะ จากนั้นนํามาตรวจลักษณะทางสัณฐานวิทยาดวยกลองจุลทรรศน แลวจึงนํามาทดสอบการผลิตเอนไซมคาตาเลส ความสามารถทนตอเกลือน้ําดี การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง การทนกรด – ดาง ความไวของเชื้อตอสารปฏิชีวนะ และความสามารถตอการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค ผลการศึกษา สามารถคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียไดจํานวน 240 ไอโซเลท ในจํานวนนี้พบวาเปนแบคทีเรียซึ่งติดสีแกรมบวกจํานวน 14 ไอโซเลท และไมผลิตเอนไซมคาตาเลส โดยพบวา ASAT 0801 ที่แยกไดจากมูลของไกไข มีศักยภาพในการเปนแบคทีเรีย โปรไบโอติกสได

คําสําคัญ: แบคทีเรียโปรไบโอติกส คุณสมบัติทางชีวเคมี และไกไข

Page 49: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

42 | P a g e

Abstract

This research aimed to isolate and investigate the biochemical properties of the Probiotic bacteria isolated from the feces of the laying chicken. The feces samples were isolated for Probiotic bacteria by using MRS Selective medium and reisolate for pure culture. Single colony of bacterial isolate on the MRS medium was smeared onto slide and observed with compound microscope to determine its morphological characteristics. Other biochemical properties such as catalase activity, resistant to bile salt, production of the enzymes which digested protein, lipid and starch, and resistant to ionic stress were also investigated. These bacteria were also tested to determine their biological characteristics such as their sensitivity to antibiotics and their capability to inhibit the pathogenic bacteria. From 240 isolates, 14 isolates were Gram Positive bacteria with none catalase production and ASAT 0801 showed high potential to be a Probiotic bacteria in laying chicken production.

Keywords: Probiotic bacteria, Biochemical properties and laying chicken

บทนํา

จุลินทรียโปรไบโอติกส คือ จุลินทรียกลุมดีมีประโยชน สงเสริมการมีชีวิตที่สมบูรณของสิ่งมีชีวิต และเปนอาหารเสริมที่ประกอบดวยจุลินทรียที่ยังมีชีวิต ซึ่งจะไปปรับระดับความสมดุลยของจุลินทรียในระบบทางเดินอาหาร (Fuller, 1989) ซึ่งตรงกันขามกับคําวา สารปฏิชีวนะ (Antibiotics) ที่เปนสารทําลายและตอตานสิ่งมีชีวิต จุลินทรียโปรไบโอติกส หลายชนิดที่มีอยูในลําไสของสัตว ชวยปองกันการเกิดโรคตาง ๆ โดยจะไปควบคุมปริมาณของเชื้อโรคจนเชื้อโรคไมสามารถกอใหเกิดโรคได ดังนั้นแบคทีเรียที่ใชเปนโปรไบโอติกสตองมีคุณสมบัติของการเปนโปรไบโอติกส เชน เปนแบคทีเรียที่ไมทําใหเกิดโรค สามารถสรางกรดแลคติคได สามารถทนกรดและน้ําดีได สามารถผลิตสารตอตานจุลชีพได และเพิ่มจํานวนไดเร็ว (Nousiainen and Setala, 1998) นอกจากนี้โปรไบโอติกสยังชวยลดระดับของโคเลสเตอรอล โดยเฉพาะแบคทีเรียกรดแลคติคที่สามารถผลิตเอนไซมที่ใชในการสลายเกลือน้ําดี (Bile Salt) ซึ่งทําใหเกลือน้ําดีไมสามารถจับตัวกันได ลําไสดูดซึมเกลือน้ําดีกลับไดนอยลง โดยสวนหนึ่งจะถูกขับออกไปพรอมกับมูล (Klaver and Van Der Meer, 1993) เพื่อรักษา

Page 50: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

43 | P a g e

ระดับเกลือน้ําดีใหสมดุล กรดน้ําดี (Bile Acid) ซึ่งมีโคเลสเตอรอลเปนสวนประกอบจะถูกนําไปใชในการสรางเกลือน้ําดีทดแทนสวนที่ถูกขับออกพรอมไปกับมูล โคเลสเตอรอลรวมในรางกายถูกดึงไปใช ทําใหเปนการลดระดับของโคเลสเตอรอลในรางกายลง โปรไบโอติกสที่ใชกันในอุตสาหกรรมการปศุสัตวและการเกษตรจะชวยเพิ่มศักยภาพการผลิต โดยมีทั้งแบบที่ผลิตใชเองในระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก สวนในอุตสาหกรรมขนาดใหญเปนการนําเขาซึ่งนับวามีมูลคาสูงมากตอป ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงศึกษาคุณสมบัติการเปนโปรไบโอติกสของแบคทีเรียกรดแลคติคที่แยกไดจากไกไข ซึ่งจุลินทรียโปรไบโอติกสที่ใชกันในอุตสาหกรรมอาหารสัตวในปจจุบัน ยังตองสั่งชื้อจากตางประเทศ และในกรณีที่ตองการหาเชื้อสายพันธุใหมมาเปนโปรไบโอติกส จะตองมีการพิสูจนใหเห็นถึงความปลอดภัยอยางชัดเจนเสียกอน ซึ่งตองใชเวลานาน และตนทุนสูง (วิเชียร ลีลาวัชรมาศ, 2541) ประกอบกับสภาพแวดลอมของไทย ก็ไมเหมาะสมตอจุลินทรียที่นําเขาจากประเทศอื่น ดวยเหตุนี้ การใชจุลินทรียที่แยกไดภายในประเทศ นาจะเปนประโยชนสูงสุด และเพื่อนํามาประยุกตใชเลี้ยงไกของไทย Nousiainen and Setala (1998) กลาววาแบคทีเรียโปรไบโอติกสเปนแบคทีเรียสวนใหญที่มักเสริมในการเลี้ยงสัตวเนื่องจากมีคุณสมบัติคอนขางครบตามหลักเกณฑของโปรไบโอติกสที่ดี การศึกษาถึงการคัดเลือกสายพันธุจุลินทรียจากทางเดินอาหารของสัตวเพื่อนํามาใชในสัตวชนิดนั้นจึงเปนการลดปญหาเรื่องความจําเพาะเจาะจงระหวางตัวสัตวกับสายพันธุจุลินทรียที่ใช (Morelli, 2000)

อุปกรณและวิธีทดลอง

นําไมพันสําลีปายมูลสัตวปกจากบริเวณทวารรวมของสัตวปกแลวนํามาเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อแข็งMRS (deMan Rogosa and Sharpe) หลังจากการเพาะเชื้อแบคทีเรียแลว (Conway and others., 1987) ทําการเก็บโคโลนีเชื้อที่รอบโคโลนีเปนสีเหลือง และเลือกลักษณะโคโลนีที่แตกตางกันจากอาหารแข็ง MRS มา Streak เชื้อลงบนจานเพาะเชื้อที่มีอาหารแข็ง MRS แลวนําไปยอมสีแกรม พรอมกับทดสอบเอนไซมคาตาเลส และเก็บเชื้อไวที่ 4 องศาเซลเซียส (Axelsson, 1993) จากนั้นนําไปทดสอบความสามารถการทนตอเกลือน้ําดี 0.3 % (Conway and others., 1987) การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง (Michael and Pelezar, 1995) การทนตอสภาวะกรด – ดาง (pH 2 – 10) (Jin and others., 1998) ความไวของเชื้อตอสารปฏิชีวนะ โดยวิธี Agar Disc Diffusion Method ความสามารถของเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกไดตอการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค โดยวิธี Agar Disc Diffusion Method (Schillinger and Lucke, 1989) และ วิธี Agar Spot Diffusion Method (Spelhaug and Harlander, 1989) เชื้อแบคทีเรียกอโรคที่ทดสอบ ไดแก Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ

Page 51: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

44 | P a g e

Salmonella typhimurium จากนั้นจึงนํามาทดสอบการเลี้ยงแบคทีเรีย ณ อุณหภูมิที่เหมาะสม (งามนิจ นนทโส, 2550) และทดสอบการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยใชเครื่องวัดคาการดูดกลืนแสง (Spectrophotometer) วัดที่ 660 นาโมเมตร ทุก ๆ 2 ชั่วโมง เปนเวลา 24 ชั่วโมง (ศริสา ทวีแสง และคณะ, 2548)

ผลและวิจารณผลการทดลอง

จากการนํามูลของไกไขจํานวน 10 ตัวอยาง มาทําการเจือจางแลวนําไปเพาะเชื้อแบคทีเรียดวยวิธี Pour Plate พบวา สามารถแยกแบคทีเรียไดจํานวน 240 ไอโซเลท และเมื่อนํามาทําการยอมสีแกรม พบวาไดแบคทีเรียติดสีแกรมบวก มีรูปรางกลมและแทง การเรียงตัวเปนแบบกระจาย คู โซ และแบบกลุม จํานวน 14 ไอโซเลท โดยพบวามีแบคทีเรียรูปรางกลมมากกวารูปรางแทง (Smith, 1965) เนื่องจากแบคทีเรียแกรมลบสวนใหญจะเปนเชื้อแบคทีเรียกอโรค (ศศิมา วรหาญ, 2550) ดังนั้นจึงคัดเลือกเฉพาะแบคทีเรียแกรมบวก ทั้ง 14 ไอโซเลทไปทําการทดสอบความสามารถในการสรางเอนไซมคาตาเลส และพบวาทั้ง 14 ไอโซเลทไมสรางเอนไซมคาตาเลส จากนั้นจึงนําไปทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีในหองปฏิบัติการ โดยทดสอบการทนตอเกลือน้ําดี 0.3 % จากผลการทดลองพบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดจํานวน 14 ไอโซเลท สามารถทนตอเกลือน้ําดีไดจํานวน 12 ไอโซเลท สอดคลองกับการทดลองของ Erkkila and Petaja (2000) ที่ทดสอบการทนตอเกลือน้ําดีโดยทดลองในสภาวะที่คลายกับระบบทางเดินอาหาร ภายในสภาวะลําไสเล็กใช MRS broth ที่มี pH 4-7 และเกลือน้ําดีที่มีระดับความเขมขนรอยละ 0.15 และ 0.30 พบวา Lactobacillus sake (RM10) และ Pediococcus acidilactici (P2) สามารถทนตอเกลือน้ําดีที่มีระดับความเขมขนรอยละ 0.30 ที่ pH 6 การที่แบคทีเรียสามารถอาศัยอยูในสําไสของสัตวและมีสมบัติทนตอเกลือน้ําดีไดนั้นจะมีความสําคัญตอระบบสมดุลยของจุลินทรียภายในลําไส โดยจะไปชวยปรับปรุง และรักษาสมดุลของจุลินทรียภายในลําไส รวมถึงการชวยรักษาโรคที่เกิดกับลําไสไดดวย (Brennan and others., 1993) เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมดจํานวน 12 ไอโซเลท มาทดสอบการยอยโปรตีน การยอยไขมัน และแปง พบวาเกิดการยอยโปรตีน และไขมัน 8 และ 10 ไอโซเลท ตามลําดับ โดยดูจากเกิดวงใสรอบ ๆ โคโลนี แตไมพบไอโซเลทใดเลยที่ยอยแปง โดยในการยอยโปรตีนแบคทีเรียก็จะยอยสลายเคซีน (Casein) ซึ่งเปนโปรตีนในน้ํานมทําใหน้ํานมมีลักษณะขุนขาว การยอยสลายเคซีนได ทําใหเคซีนมีการละลายไดดีขึ้นและใสขึ้น สวนการยอยสลายไขมัน แบคทีเรียใชเอนไซมลีซิลทิเนส (Lecitinase) หรือ ฟอสฟาทิเดส (Phosphatedase) ในการตัดพันธะฟอตเฟตเอสเทอร (Phosphate ester) (กรรณิกา สรรพานิช และคณะ, 2531) จะเห็นไดวาเมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดมาทดสอบ การยอยโปรตีน ไขมัน และแปง และพบวาสามารถยอยทั้งโปรตีน และไขมันไดจํานวน 7

Page 52: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

45 | P a g e

ไอโซเลท การที่แบคทีเรียสามารถสรางเอนไซมในการยอยสลายโปรตีน และไขมันไดนั้น จะชวยในการทํางานของระบบยอยอาหาร ทําใหรางกายสามารถดูดซึมสารอาหารไปใชไดเร็วขึ้น ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของ Austin and others. (1995) ซึ่งกลาววาแบคทีเรียที่สามารถสรางเอนไซมยอยสลายโปรตีน และไขมัน จะเปนการชวยเรงการเจริญของสัตวได เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมดจํานวน 7 ไอโซเลท มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว MRS ที่ปรับใหมีสภาพ pH ตาง ๆ คือ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้งหมดจํานวน 7 ไอโซเลท สามารถทนทานตอสภาวะความเปนกรด – ดางไดจํานวน 4 ไอโซเลท สามารถเจริญไดในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว MRS ที่มีคา pH 2.0-10.0 ซึ่งสอดคลองกับขอมูลความเปนกรด - ดางในหลอดอาหารของไก ซึ่งเปนอวัยวะสวนตนในระบบทางเดินอาหารมีคาเทากับ 3.71 - 4.80 (Sturkie, 1976) และ pH ของน้ํายอยในทางเดินอาหารไก สามารถลดต่ําลงถึง 0.5 – 2.0 ได (Jin and others., 1998) จึงมีผลตอการอยูรอดของจุลินทรียโปรไบโอติกส ดังนั้นการนําจุลินทรียมาใชเปนโปรไบโอติกส ควรคัดเลือกสายพันธุที่มีความทนทานตอสภาวะที่เปนกรดตลอดจนตองสามารถมีชีวิตรอดภายใตสภาวะที่เปนกรดในกระเพาะอาหาร (Holzapfel and others., 1998) สอดคลองกับการทดลองของ Teresa and others. (2005) ซึ่งไดทดลองแยกแบคทีเรีย Bacillus spp. จากมูลแกะและแมวมาทดสอบการทนตอสภาพน้ํายอยในกระเพาะ ผลการทดลองชี้วา Bacillus spp. ที่แยกไดสามารถทนตอสภาพน้ํายอยไดดี เมื่อนําเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกไดจากการทนกรด – ดางจํานวน 4 ไอโซเลท มาทดสอบความไวของเชื้อตอสารปฏิชีวนะ จากผลการศึกษาพบวา มีการยับยั้งของสารปฏิชีวนะตอเชื้อแบคทีเรียที่คัดเลือกได การที่เชื้อมีความไวตอยาปฏิชีวนะอยูในระดับปานกลางแสดงใหเห็นวาเชื้อมีคุณสมบัติที่จะใชเปนโปรไปโอติกสตอไป เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดจํานวน 4 ไอโซเลท มาทดสอบการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียกอโรค ไดแก Escherichia coli, Staphylococcus aureus และ Salmonella typhimurium ดวยวิธี Agar disc diffusion พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้ง 4 ไอโซเลท สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli ได 4 ไอโซเลท Staphylococcus aureus ได 1 ไอโซเลท Salmonella typhimurium ได 4 ไอโซเลท สําหรับวิธี agar spot method พบวา แบคทีเรียที่คัดเลือกไดทั้ง 4 ไอโซเลท สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Escherichia coli ได 2 ไอโซเลท Staphylococcus aureus ได 4 ไอโซเลท Salmonella typhimurium ได 1 ไอโซเลท จากผลการทดลองจะเห็นไดวา ASAT 0801 เปนเชื้อที่มีความสามารถตอการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียกอโรคไดดีที่สุดเมื่อเทียบกับแบคทีเรียตัวอื่น ๆ Garriga and othes., 1998 กลาววา แบคทีเรียกอโรคที่มักเจริญเพิ่มจํานวนในทางเดินอาหารสวนมากไดแก Campylobacter, Escherichia coli และ Salmonella spp. ดังนั้น จุลินทรียที่สามารถนํามาใชเปนโปรไบโอติกส ควรมีคุณสมบัติยับยั้งจุลินทรียกลุมที่เปนสาเหตุของโรค ซึ่งนอกจากจะชวยลดความเสี่ยงตอการเปนโรคติดเชื้อในสัตวแลว ยังสามารถนําจุลินทรียที่มีสมบัติดังกลาวมาใชรักษาโรคติดเชื้อได เมื่อนําแบคทีเรียที่

Page 53: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

46 | P a g e

คัดเลือก ไดแก ASAT 0801 มาเลี้ยงในอุณหภูมิที่แตกตางกันคือ 10 , 30 และ45 องศาเซลเซียส โดยที่ 30 องศาเซลเซียสใหเปนหลอดควบคุม จากการศึกษาพบวา ที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส แบคทีเรียสามารถเจริญเติบโตไดในวันที่สามของการทดลอง และที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียสแบคทีเรียสามารถเจริญเติบโตไดในวันแรกของการทดลอง Niamsup and others. (2003) กลาววาอุณหภูมิของสัตวปกอยูที่ ประมาณ 40 – 42 องศาเซลเซียส แสดงวาที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียสมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสม เพราะมีความใกลเคียงกับอุณหภูมิของสัตว เมื่อนําแบคทีเรียที่คัดเลือกไดมาเลี้ยงในอาหารเหลว MRS เปนเวลา 24 ชั่วโมง พบวาแบคทีเรียที่คัดเลือกไดมีการเจริญไดดีในระยะแรกซึ่งอยูในชวง 2- 10 ชั่วโมง จากนั้นการเจริญเติบโต เริ่มชาลงจนถึงชั่วโมงที่ 24 สอดคลองกับ Sarantinopoulos and others. (2003) ซึ่งศึกษาการเจริญเติบโตของแบคทีเรียกรดแลคติค P. pentosaceus KUB3 สามารถปรับตัวและเขาสูระยะการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วตั้งแตชั่วโมงแรก และยังสอดคลองกับ Rodriguez and Manca de Nadra (1995) ซึ่งศึกษา Pediococcus pentosaceus 12p ที่แยกจากไวนจะเขาสูระยะการเจริญเติบโตคงที่ในชั่วโมงที่ 10

สรุปผลการทดลอง

การแยกเชื้อและคุณสมบัติทางชีวเคมีของแบคทีเรียโปรไบโอติกสที่แยกไดไกไขที่อายุ 52 สัปดาห สามารถแยกไดแบคทีเรียโปรไบโอติกส คือ Lactobacillus plantarum

ขอเสนอแนะ

ในการศึกษาครั้งตอไปควรศึกษาคุณสมบัติอื่น ๆ ของจุลินทรียโปรไบโอติกสเพิ่มเติม เชน ความสามารถในการยึดเกาะเยื่อบุผนังลําไส และศึกษาระดับการแขงขันกับเชื้อกอโรคในการยึดเกาะที่เยื่อบุผนังลําไสเพื่อยืนยันประสิทธิภาพการยับยั้งเชื้อกอโรคในลําไส

Page 54: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

47 | P a g e

บรรณานุกรม

กรรณิกา สรรพานิช, ชะลอ วิเศษเสนีย, เยาวลักษณ ดิสระ และวิลาวัณย เจริญจิระตระกูล. 2531. คูมือปฏิบัติการจุลชีววิทยา. สงขลา : ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. 114 หนา.

งามนิจ นนทโส. 2550. การแยกเชื้อแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติคและการบงชี้แบคทีเรียกรดแลคติค. แหลงที่มา: http://ilti.kku.ac.th/ams/course57/317316/pdf/317316/14isolation_and_identification_of_lactic_acid_bac teria.pdf -, 13 ธันวาคม 2550.

วิเชียร ลีลาวัชรมาศ. 2541. โปรไบโอติกส อาหารเพื่อสุขภาพสําหรับมนุษยและสัตว. ตอนที่ 1. จารพา 41 : 50-53.

รุจา มาลัยพวง. 2544. การผลิตโปรไบโอติกสสําหรับอาหารไกจากแบคทีเรียกรดแลคติคของไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ศริสา ทวีแสง, บวรศักดิ์ ลีนานนท และสิงหนาท พวงจันทนแดง. 2548. การเหลือรอดชีวิตของเชื้อแบคทีเรียโปรไบโอติกสในน้ําผลไมชนิดตาง ๆ (Survival of Probiotics Bacteria in Different Kinds of Fruit Juices). วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขอนแกน.

ศศิมา วรหาญ. 2550. การคัดเลือกและศึกษาประสิทธิภาพของโปรไบโอติกแบคทีเรียตอการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียกอโรค. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยแมโจ. เชียงใหม.

Austin, B., Stuckey, L.F., Robertson, D.A.W., Effendi, I. and Griffith, D.R.W. 1995. A probiotic strain of Vibrio alinolyticus effective in reducing diseases by Aeromonas salmonicida, Vibrio anguillarum and Vibrio ordalii. J. Fish disc. 18 : 93-96.

Axelsson, L.T. (1993). Lactic Acid Bacteria : classification and physiology. In Lactic Acid Bacteria. (ed. Salminen, S.and Wright, A.V.) New York : Marcel Dekker. Pp.1-64.

Brennan, M., Wanismail, B. and Ray. B. 1993. Prevelence of viable Lactobacillus acidophilus in dried commercial products. J. Food Prot. 46 : 877-892.

Conway, P.L., Corback, S.L. and Goldin. B.R. 1987. Survival of lactic acid bacteria in the human stomach and adhesion to intestinal cell. J.Dairy Sci. 70 : 1-12.

Erkkila, S and Petaja, E. 2000. Screening of commercial meat starter cultures at low pH and in the presence of bile salts for potential. probiotic use. J.Meat Science.55 : 297-300.

Page 55: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

48 | P a g e

Fuller, R. 1989. Probiotic in man and animal. J. App. Bacteriol. 66 : 365-378.Garriga, M., M. Pascual, J.M. Monfort and M. Hugas. 1998. Selection of lactobacilli for chicken probiotic

adjuncts. J. Appl. Microbiol. 84 : 125-132.Holzapfel, W.H., P. Haberer, J. Snel, U. Schilinger and J. Huis in’t veld. 1998. Overview of gut flora and

probiotics. Int. J. Food Microbiol. 41: 85-101. Jin, L. Z., Y.W. Ho, N. Abdullah, N.A. Ali and S. Jalaludin. 1998. Effects of adherent Lactobacillus cultures

on growth, weight of organs and intestinal microflora and volatile fatty acids in broilers. Animal Feed Science and Technology. 70: 197-209.

Klaver, F.A.M. and R. Van der Meer. 1993. The Assumed assimilation of cholesterol by lactobacilli and Bifidobacterium bifidum is due to their bile salt deconjugating activity. Appl. Environ. Microbiol. 59 : 1120-1124.

Michael, J. and Pelezar, J. 1995. Hydrolysis of polysaccharide protein and lipid. Inlaboratory exercises in microbiology. New York : MC GrawHill. pp. 126-188.

Morelli, L. 2000. In vitro selection of probiotic lactobacilli: A critical appraisal. Current IssuesInteresting of Microbiology. 1(2): 59-67

Niamsup, P., I.N. Sujaya, M. Tanaka, T. Sone, S. Hanada, Y. Kamagata, S. Lumyong, A. Assavanig, K.Asano, F. Tomita, and A. Yokota. 2003. Lactobacillus thermotolerans sp. nov., a novel thermotolerant species isolated from chicken faeces. International Journal of Systematic and Evolutionary Microbiology 53 : 263-268.

Nousiainen, J and J. Setala. 1998. Lactic acid bacteria as animal probiotics, pp. 431-473. In S. Salminen and A. von Wright (eds). Lactic Acid Bacteria. 2nd ed., Mercel Dekker Inc., New York.

Rodriguez, A.V. and M.C. Manca de Nadra. 1995. Effect of pH and hydrogen peroxide produced by Lactobacillus hilgardii on Pediococcus pentosaceus growth. FEMS Microbiol. Letters. 128 : 59-62.

Sarantinopoulos, P., L. Makras, F. Vaningelgem, G. Kalantzopoulos, L.D. Vuyst and E. Tsakalidou. 2003. Growth and energy generation by Enterococcus faecium FAIR-E 198 during citrate metabolism. Int. J. Food Microbiol. 84: 197-206.

Page 56: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

49 | P a g e

Schillinger, U. and F. Lucke. 1989. Antibacterial activity of Lactobacillus sake isolated from meat. Appl. Environ. Microbiol. 55 (8) : 1901-1906.

Smith, H.W. 1965. The Development of the flora of the alimentary tract in young animals. J. Pathol. Bacteriol. 90 : 495-513. Cited by R. Fuller. 1992. Probiotics : The Scientific Basis.398 p.

Spelhaug, S.R. and Harlander. S.K. 1989. Inhibition of foodborne bacterial pathogens by bacteriocins from Lactococcus lactis and Pediococcus pentasaceous. J. Food Prot. 52 : 856-862.

Sturkie, P.D. 1976. Avian Physiology. Springer – Verlag, Berlin. 400 p.Teresa, M.B., C.R. Serra, R.M.La Ragione,M.J. Woodward and A.O. Henriques. 2005. Screening for Bacillus

isolate in the broiler gastrointestinal tract. Appl. Environ. Microbiol. 71(2) : 968-978.

Received 10 December 2009Accepted 10 January 2010

Page 57: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

50 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

การพบเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนไขไกสดจากตลาดนัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรีOccurrence of Salmonella spp. Contamination in Fresh Hen’s Eggs from Local Retail Market in Amphoe Cha-Am, Phetchaburi

สุรวัฒน ชลอสันติสกุล1

1 สาขาวิชาเทคโนโลยีการสัตวแพทย คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจหาการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด จํานวน 54 ตัวอยาง จากแผงจําหนายไขไกสดจํานวน 12 แผง จากตลาดนัดจํานวน 8 แหง ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 ทําการตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาโดยวิธี Enrichment และ Selective Isolation ผลการศึกษาจากไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา พบวามีการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง

คําสําคัญ: ไข ไขไก เชื้อซัลโมเนลลาและตลาดนัด

Page 58: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

51 | P a g e

Abstract

The objective of this study was to survey the presence of Salmonella spp. in 54 hen’s egg samples. The subjected eggs were collected from 12 grocery stalls located in 8 local retail markets during April, 2007 in Cha-Am district, Phetchaburi province. Salmonella spp. isolation and identification by enrichment and selective isolation. According to observation and experiment, Salmonella spp. was found in 12 egg shell

Keyword: Egg, Hen’s Egg, Salmonella spp. and Local Retail Markets

บทนํา

โรคซัลโมเนลโลซิสเปนโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เรียกวา เชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่งเปนแบคทีเรียกลุมใหญกลุมหนึ่งในสกุล Enterobacteriaceae เชื้อซัลโมเนลลาเปนเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ รูป รางทอน ขนาดประมาณ 0.5 – 3 ไมครอน ไมสรางสปอร เคลื่อนที่ไดโดยแฟกเจลลาที่รายลอมตัวเชื้อ มีความ สามารถเจริญไดทั้งแบบใชอากาศและไมใชอากาศ สามารถใชน้ําตาลไดหลายชนิด ยกเวน น้ําตาลแลคโตส แบคทีเรียชนิดนี้เปนสาเหตุสําคัญของโรคซัลโมเนลโลซีส ซึ่งเปนโรคที่มีสาเหตุจากอาหาร (Foodborne diseases) โดยจะทําใหเกิดอาการทองเสีย มีไข ปวดทอง ภายหลังจากไดรับเชื้อประมาณ 12-72 ชั่วโมง อาหารที่พบไดบอยวามีการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลา คือ อาหารที่ไดจากสัตว เชน เนื้อสัตว เนื้อไก ไข หรือนม(อรุณบางตระกูลนนท, 2546) อาหารโปรตีนหลักของประชากรโลก คือเนื้อสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่มีการเลี้ยงสัตวเพื่อบริโภคเปนอาหาร ทั้งโคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร ไกเนื้อ ไกไข เปดเนื้อ เปดไข แพะ แกะ เชื้อซัลโมเนลลาจึงเปนแบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคอาหารเปนพิษที่มีอันตรายสูง นอกจากนั้นยังกอใหเกิดปญหาการติดเชื้อดื้อยาในคนและสัตว โดยเชื้อซัลโมเนลลาอาศัยอยูในทางเดินอาหาร ลําไสของสัตวและคนและแพรกระจายเชื้อไปในดิน น้ําและสิ่งแวดลอมปนเปอนเขาสูหวงโซอาหารโดยผานทางอุจจาระ ซึ่งเปนอันตรายอยางยิ่งหากนําเนื้อ นมหรือไขที่มีเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนมาใชประกอบอาหาร โดยจะทําใหผูบริโภคมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคอาหารเปนพิษ Dickson et al, 2003 พบวาวัตถุดิบอาหารจากสัตวเปนแหลงและสาเหตุสําคัญของโรคติดเชื้อซัลโมเนลลาในคน เชื้อซัลโมเนลลาสามารถปนเปอนในขบวนการผลิตเนื้อสัตวตั้งแตการเลี้ยงสัตวระดับฟารม การขนสง โรงฆาสัตว และการเก็บรักษาไดทุกขั้นตอน

Page 59: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

52 | P a g e

เชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella spp.) เปนแบคทีเรียที่บอยครั้งทําใหเกิดการระบาดขึ้นในสัตวปก เชน เปด ไก และนก สําหรับในไขนั้นถึงแมไขที่มีเปลือกหุม โดยทั่วไปเปนที่เขาใจวาถาเปลือกไมมีรอยราวหรือแตก เชื้อซัลโมเนลลาจะไมสามารถปนเปอนได แตเปลือกไขมีความพรุน ทําใหเชื้อซัลโมเนล-ลาสามารถผานเขาไปในไขขาวและไขแดงได

อุปกรณและวิธีทดลอง

ดําเนินการสํารวจจํานวนสถานที่จําหนายไขไกสดจากแผงลอยในตลาดนัด และเลือกตัวอยางประชากรโดยไมอาศัยหลักความนาจะเปน (Non-probability sampling) โดยการเลือกสุมแบบเจาะจง (Purposive sampling) จํานวน 8 แหง ตามวันนัดของตลาดนัดนั้นๆ ชวงระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี

ตัวอยางไขไกสด เลือกตัวอยางไขไกสดดวยวิธีการสุมแบบบังเอิญจากสถานที่จําหนายไข จํานวนทั้งสิ้น 127 ตัวอยาง โดยการคละขนาดและคละบรรจุภัณฑ โดยสุมไขไกสด จํานวน 1- 5 ฟองตอตัวอยาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนฟองไขในภาชนะบรรจุของผูจําหนายโดยปกติ

อาหารเลี้ยงเชื้อและสารเคม ีเปนอาหารเลี้ยงเชื้อและสารเคมีที่มีความจําเพาะในวิธีการตรวจทางแบคทีเรียวิทยาทั่วไป

สถานที่ดําเนินการ หองปฏิบัติการจุลชีววิทยา คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

วิธีการ ทําการ Swab บริเวณผิวของเปลือกไขไกสด แลวทําการตอกไขแตละตัวอยางแยกเอาเนื้อไขออกจากกัน แลวนําตัวอยางทั้งเปลือกและเนื้อไขแยกตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลา ดวยวิธี Enrichment และ Selective isolation โดยประยุกตวิธีการตรวจหาแบคทีเรียที่เปนตัวกอโรคในทางเดินอาหาร (Enteropathogen) สําหรับการตรวจหา Salmonella spp. ในการศึกษาครั้งนี้ประยุกตใชวิธีการ ISO 6579 (1993-09-01)

วิธีการวิเคราะหขอมูล

นําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel® 2003 โดยใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก รอยละ เพื่อเปรียบเทียบการพบหรือไมพบเชื้อซัลโมเนลลา

Page 60: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

53 | P a g e

ผลและวิจารณผลการทดลอง

จากการสุมเก็บตัวอยางไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง จากแผงจําหนายไขไกสด 12 แผง จากตลาดนัด 8 แหง ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ. 2550 พบการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด ดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงของผลการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด

แหลงจําหนาย จํานวนตัวอยาง

การปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา ภาชนะใสไขไกสดที่พบการปนเปอนเปลือกไขไกสด เนื้อไขไกสด ถาดกระดาษ ถาดพลาสติก ถุงพลาสติก

แผงที่ 1 4 1 0 0 0 1แผงที่ 2 6 1 0 1 0 0แผงที่ 3 2 0 0 0 0 0แผงที่ 4 4 2 0 1 1 0แผงที่ 5 6 1 0 0 1 0แผงที่ 6 5 0 0 0 0 0แผงที่ 7 5 1 0 0 1 0แผงที่ 8 3 2 0 0 1 1แผงที่ 9 5 0 0 0 0 0แผงที่ 10 4 1 0 0 1 0แผงที่ 11 6 3 0 1 2 0แผงที่ 12 4 0 0 0 0 0รวม 54 12 0 3 7 2

จากตัวอยางที่ศึกษามีไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา พบวามีการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 22.22 (12/54) แตไมพบการปนเปอนในเนื้อไขไกสดแตอยางใด เมื่อพิจารณาจากจํานวนแผงจําหนายไขไกสด จํานวน 12 แผง พบการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา จํานวน 8 แผง คิดเปนรอยละ 66.67 (8/12) สําหรับภาชนะบรรจุไขไกสดที่พบวาบรรจุ

Page 61: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

54 | P a g e

ไขไกสดที่ตรวจพบการปนเปอน พบวาภาชนะบรรจุประเภท ถาดพลาสติก มากที่สุด จํานวน 7 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 58.33 (7/12) รองลงมา ไดแก ถาดกระดาษ จํานวน 3 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 25.00 (3/12) และถุงพลาสติก นอยที่สุด จํานวน 2 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 16.67 (2/12) แสดงวาในไขไกสดที่มีจําหนายในตลาดนัดในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี มีความเสี่ยงภัยในการบริโภค ซึ่งผูบริโภคอาจจะไดรับเชื้อซัลโมเนลลาที่ปนเปอนมากับไขไกสดได จากการศึกษาครั้งนี้สอดคลองกับเสกสม อาตมางกรูและคณะ 2548 ซึ่งพบเชื้อ ซัลโมเนลลาที่เปลือกไขไก 5 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 9.40 จากฟารมขนาดเล็กและศูนยรวบรวมไข โดยพบวาฟารมไกไขที่ทําการศึกษา พบวามีการสะสมขยะมูลฝอยภายในฟารม มีการเก็บไขไกปนเปอนอุจจาระรวมกับไขไกที่เปลือกสะอาด ไมมีการทําความสะอาดผิวเปลือกไขไก ที่เก็บไขไกภายในฟารมวางอยูภายในโรงเรือนเลี้ยงไกไข มีการหมุนเวียนใชถาดไขไกที่นํามาจากภายนอกฟารมโดยไมไดทําความสะอาดหรือทําการฆาเชื้อโรคถาดไขไกกอนนํามาใชภายในฟารม และที่ศูนยรวบรวมไขไกมีการนําไขมาจากฟารมหลายแหงและไดจัดวางไขไกกับพื้น ดวยเหตุนี้อาจจะเปนสาเหตุทําใหพบการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในไขไกสด สุมณฑา วัฒนสินธุ, อรุณ บางตระกูลนนทและธเนศ ชิดเครือ 2546 ไดศึกษาการปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตว พบการปนเปอนถึงจํานวน 44 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 29.53 โดยพบวาเนื้อและกระดูกปนมีอัตราการปนเปอนสูงสุด คิดเปน รอยละ 100 รองลงมาเปนกากน้ํามันพืชคาโนลา คิดเปน รอยละ 50.00 และถั่วเหลืองนึ่งทั้งเมล็ด คิดเปนรอยละ 44.40 เนื่องจากเชื้อซัลโมเนลลาสามารถพบไดในทางเดินอาหารทั้งจากมนุษยหรือสัตวปก รวมถึงสัตวพาหะดวย โดยเชื้อซัลโมเนลลาสามารถเจริญเติบโตไดดีที่อุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซียส ทําใหเชื้อซัลโมเนลลาสามารถปนเปอนไดตั้งแตฟารมเลี้ยงสัตวปก หองเก็บรักษาไขไกกอนสงจําหนาย พาหนะขนสงไขไก สถานที่จําหนายไขไกกอนถึงผูบริโภค มีโอกาสใหเชื้อซัลโมเนลลาปนเปอนได โดยที่เชื้อ ซัลโมเนลลาสามารถมีชีวิตในอุจจาระที่ติดบนถาดไขไก อุปกรณในการเลี้ยงสัตวและผิวเปลือกไขไกไดนาน 7 วัน (สุเจตน ชื่นชมและคณะ 2547) ดังนั้นจึงสามารถกลาวไดวา เชื้อซัลโมเนลลา มีการเจริญเติบโต แพรกระจายและปนเปอนไดคอนขางงายในสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ซึ่งอยูในเขตรอนชื้น และในกระบวนการผลิตไขไกตั้งแตฟารมเลี้ยงสัตวจนถึงผูบริโภคมีจุดวิกฤตหลายจุดที่สามารถพบการปนเปอนได มาตรการสุขาภิบาลในกระบวนผลิตไขไก ตลอดจนมาตรการสุขลักษณะอาหารมีความสําคัญตอสุขภาพของผูบริโภค

Page 62: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

55 | P a g e

สรุปผล

จากตัวอยางที่ศึกษามีไขไกสดจํานวน 54 ตัวอยาง เมื่อทําการวิเคราะหการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลา พบวามีการปนเปอนเชื้อซัลโมเนลลาในเปลือกไข จํานวน 12 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 22.22 (12/54) แตไมพบการปนเปอนในเนื้อไขไกสด จากแผงจําหนายไขไกสด จํานวน 12 แผง จากตลาดนัด 8 แหง ในเขตอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในชวงเดือนเมษายน พ.ศ.2550

บรรณานุกรม

เสกสม อาตมางกรู, อรทัย ไตรวุฒานนท, สุเตน ชื่นชมและคนอื่น ๆ. 2548. รายงานการวิจัยการประกันคุณภาพไขไกเพื่อการบริโภค, ทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการวิจัยบูรณาการสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ปงบประมาณ 2548

สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ. 2548. มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ ไขไก มกอช. 6702-2548, ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เลม 122 ตอน 60ง วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2548

สุเจตน ชื่นชม,นําดี แซเฮง, อรประพันธ สงเสริม และคนอื่นๆ. 2547 .การศึกษาการคงอยูของเชื้อโรคและการลดเชื้อโรคที่ปนเปอนมากับเปลือกไขและถาดไข. ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดวนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปงบประมาณ 2547

สุมณฑา วัฒนสินธุ, อรุณ บางตระกูลนนท, ธเนศ ชิดเครือ. 2546. การปนเปอนของเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารสัตวและการควบคุม. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ครั้งที่ 2 วันที่ 13-14 มีนาคม พ.ศ. 2546 ณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

อรุณ บางตระกูลนนท สุมาลี บุญมา นพรัตน หมานริม สุพล เลื่องยศลือชากุล จตุรงค สุตัณทวิบูรย และมยุรา กุสุมภ. 2537 การศึกษาโรคSalmonellosis จากสุกรในประเทศไทย. การประชุมวิชาการกรมวิทยาศาสตรการ- แพทย. 10-11 สิงหาคม 2537.

อรุณ บางตระกูลนนท. 2546. โรคซัลโมเนลโลซีส. หนังสือประกอบการฝกอบรมโรคติดตอระหวางสัตวและคน สถาบันสุขภาพสัตวแหงชาติ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 63: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

56 | P a g e

Dickson, J.S., Hurd, H.S. and Rostagno, M. H. 2003. Review salmonella in the pork production chainNational pork board,Des Moines,LA.web:http://www.porkboard.org/

ISO-6579 (1993-09-01) Microbiology General Guidance on Method for the detection of Salmonella third Edition.

Received 20 December 2009Accepted 30 January 2010

Page 64: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

57 | P a g e

นิพนธตนฉบับ

ศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่จังหวัดรอยเอ็ด

A potential of Concentrating Solar Power Plant using Parabolic Trough at Roi Et Province

พิสิษฐ สุวรรณแพทย1 เสริม จันทรฉาย2 และจรุงแสง ลักษณะบุญสง2

1 สาขาวิชาพื้นฐานสัตวศาสตร คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี

2 ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร

Page 65: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

58 | P a g e

บทคัดยอ

ในงานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบ

รางพาราโบลาที่จังหวัดรอยเอ็ด โดยวิธีการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร (computer simulation)

โดยระบบดังกลาวมีกําลังการผลิตไฟฟา 10 MW ซึ่งประกอบดวยตัวรวมรังสีดวงอาทิตยแบบรางพาราโบลาที่มี

พื้นที่รวม 75,000 ตารางเมตร และเครื่องยนตกังหันไอน้ําที่ทํางานดวยวัฎจักร Rankin ในการจําลองการทํางาน

จะใชโปรแกรม TRANSYS รวมกับ STEC LIBRARY ที่พัฒนาโดยศูนยวิจัยอวกาศประเทศเยอรมัน (German

Aerospace Center) และใชขอมูลรังสีตรงราย 10 นาทีจํานวน 1 ป ซึ่งผูวิจัยไดทําการวัดที่จังหวัดรอยเอ็ด จากผล

การวิเคราะหพบวาระบบดังกลาวมีประสิทธิภาพเฉลี่ยตอปเทากับ 18% และสามารถผลิตไฟฟาได 18.4 GWh/hr

โดยมี capacity factor 21% เมื่อพิจารณาตนทุนการผลิตไฟฟาในรูปของ levelized electricity cost พบวามีคา

เทากับ 8.5 บาท/kWh

คําสําคัญ; รังสีตรง โรงไฟฟาพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย ระบบความรอนแบบรางพาราโบลา

Page 66: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

59 | P a g e

Abstract

In this work, a solar thermal power plant using parabolic troughs for Roi Et province was investigated

by using a computer simulation. The power plant has a capacity of 10 MW. It consists of parabolic troughs

with the total area of 75,000 m2 and a Rankin cycle steam turbine. A simulation program named TRANSYS

with the STEC LIBRARY developed by the German Aerospace Center was used to perform the simulation. A

one-year period of direct normal solar radiation measured at Roi Et was employed for this simulation. Results

obtained from the simulation show that the power plant can product annually the electricity of 18.4 GWh with

the average efficiency of 18% and capacity factor of 21%. The levelized electricity cost is found to be 8.5

bahts/kWh.

Keyword: Direct Normal Radiation, Solar Thermal Power Plant, Parabolic Trough

Page 67: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

60 | P a g e

บทนํา

การผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลา(parabolic trough) ในชวง

20 ป ที่ผานมา ไดมีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีนี้อยางกวางขวางจนถึงขั้นการจัดตั้งโรงไฟฟาเพื่อปอน

กระแสไฟฟาเขาสูระบบสายสงในเชิงพานิชย โดยในปจจุบันมีโรงงานไฟฟาแบบดังกลาวในรัฐแคลิฟอรเนีย

ประเทศสหรัฐอเมริกา จํานวน 9 โรง ซึ่งมีกําลังการผลิตรวม 350 MWe ปริมาณไฟฟาดังกลาวคิดเปน 90 % ของ

การผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยทั่วโลกหรือเปนกําลังไฟฟาที่สามารถตอบสนองความตองการของ

350,000 ครัวเรือน นอกจากนี้ยังมีโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนอีกหลายแหงที่อยูในระหวาง

ดําเนินการกอสราง โดยตนทุนการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาแบบนี้จะต่ํากวาการใชโซลารเซลล และมีแนวโนมที่

จะสามารถแขงขันไดกับพลังงานในรูปแบบตางๆ ไดในอนาคต อยางไรก็ตาม สมรรถนะของการผลิตไฟฟา

พลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาข้ึนกับความเขมรังสีตรงของดวงอาทิตย (Direct normal

irradiance) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรังสีรวมของดวงอาทิตย โรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบ

รางพาราโบลาจะมีสมรรถนะสูงในกรณีที่ตั้งอยูในบริเวณที่มีคาความเขมรังสีตรงสูง สําหรับกรณีประเทศไทย

ขอมูลดังกลาวยังไมชัดเจน ทั้งนี้เพราะการวัดรังสีตรงมีเฉพาะที่สถานศึกษาบางแหงเทานั้น จึงไมสามารถชี้ชัด

ถึงศักยภาพการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาในประเทศไทยได

ดังนั้นผูวิจัยจึงไดดําเนินการวิเคราะหศักยภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบราง

พาราโบลาในประเทศไทย เพื่อนําผลที่ไดไปใชประโยชนตอไป

Page 68: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

61 | P a g e

วัตถุประสงคของโครงการวิจัย

เพื่อศึกษาเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบรางพาราโบลาที่มีอยู

ในปจจุบันและเพื่อวิเคราะหศักยภาพในการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยระบบความรอนแบบราง

พาราโบลาในกรณีของจังหวัดรอยเอ็ด

วิธีดําเนินการวิจัย

การเลือกตําแหนงที่ตั้งของระบบผลิตไฟฟา

เนื่องจากระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยแบบรางพาราโบลาทํางานดวยรังสีตรง และการ

จําลองการทํางานของระบบตองใชขอมูลรังสีตรงจากการวัดรายชั่วโมง หรือนอยกวา 1 ชั่วโมง ดังนั้น ในลําดับ

แรก ผูวิจัยจะทําการเลือกบริเวณที่มีความเขมรังสีตรงสูงโดยอาศัยแผนที่ความเขมรังสีตรง ซึ่งพัฒนาโดย

หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตยรวมกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ซึ่งไดแสดงใน

รูปที่ 1

Page 69: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

62 | P a g e

รูปที่ 1 แสดงบริเวณที่ความเขมรังสีตรงมีคาสูงสุด และตําแหนงที่มีขอมูลรังสีตรงที่ได

จากการวัด

บริเวณที่ความเขมรังสีตรงมี

คาสูงสุด

จุดที่ทําการวัดความเขมรังสีตรง

Page 70: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

63 | P a g e

จากรูปที่ 1 พบวาบริเวณที่ไดรับความเขมรังสีตรงสูงอยูในพื้นที่บางสวนของภาคกลางครอบคลุมบางสวนของ

จังหวัดสิงหบุรี นครสวรรค ลพบุรี และชัยนาท สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง ครอบคลุมพื้นที่บางสวน

ของจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ รอยเอ็ด ยโสธร สุรินทร และอุบลราชธานี โดยมีคาอยูในชวง 1, 350-1,400

kWh/m2-yr ผูวิจัยไดเลือกพื้นที่ของจังหวัดรอยเอ็ดสําหรับจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาดวย

คอมพิวเตอร ทั้งนี้เพราะจังหวัดรอยเอ็ดอยูในบริเวณที่ไดรับพลังงานจากรังสีตรงคอนขางสูง นอกจากนี้ยังเปน

จังหวัดที่มีขอมูลรังสีตรงราย 10 นาที ซึ่งจําเปนตอการจําลองการทํางานดวยคอมพิวเตอร

การเตรียมขอมูลรังสีตรงและขอมูลอุตุนิยมวิทยาอื่นๆ

ขอมูลรังสีตรง

ขอมูลความเขมรังสีตรงที่จะนํามาใชในงานวิจัยนี้ไดจากสถานีอุตุนิยมวิทยาเกษตร อําเภอเมือง จังหวัด

รอยเอ็ด (16.07 ON, 103.00OE) โดยเครื่องวัดเปนของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ซึ่งติดตั้ง

อยูที่สถานีอุตุดังกลาว ตั้งแตเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบัน (พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เครื่องวัดเปนไพ

เฮริโอมิเตอรของบริษัท Epply รุน NIP ติดตั้งบนเครื่องติดตามดวงอาทิตย (Solar tracker) ของบริษัท

Kipp&Zonen รุน 2AP สัญญาณที่ไดจะบันทึกดวยเครื่องบันทึกสัญญาณแบบตัวเลข (data logger) ของบริษัทโย

โกกาวา รุน DC100

Page 71: ASAT eJournal Vol 1- No 2

64 | P a g e

รูปที่ 2

เครื่องวัดรังสีตรงจะไดสัญญาณเปนศักยไฟฟา โดยเครื่องบันทึกขอมูลจะรับสัญญาณจากเครื่องวัดรังสี

ตรงทุกๆ 1 วินาที จากนั้นจะเฉลี่ยทุกๆ

ประจําสถานีจะทําการบันทึกขอมูลลงดิสตเก็ตของเครื่องบันทึกขอมูลและจัดสงมาทาง อีเมลล

หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผูวิจัยจะทําการแปลงขอมูลสัญญาณไฟฟาใหเปนความเขมรังสีตรงโดยการหารดวยคา

เครื่องวัดซึ่งมีคาประมาณ 8 V/ (W

จนถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550

เนื่องจากคาความเขมรังสีตรงและรังสีรวมที่ไดนั้น ถึงแมจะไดมาจากเครื่องวัดที่มีสมรรถนะสูง แตก็มี

โอกาสเกิดการผิดพลาดได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดทําการควบคุมคุณภาพขอมูลโดยการตรวจสอบขอมูลราย

ดวยวิธีการอาศัยการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรใหแสดงกราฟคา

รวมตลอดทั้งปซึ่งจะตรวจสอบคาที่ผิดปกติไดโดยงาย ซึ่งคาที่ผิดปกตินี้ไดแกคาความเขมรังสีตรงหรือรังสีรวม

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม

แสดงเครื่องวัดรังสีตรงและเครื่องบันทึกขอมูล

ที่สถานีอุตุเกษตร อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด

เครื่องวัดรังสีตรงจะไดสัญญาณเปนศักยไฟฟา โดยเครื่องบันทึกขอมูลจะรับสัญญาณจากเครื่องวัดรังสี

วินาที จากนั้นจะเฉลี่ยทุกๆ 10 นาที และเก็บคาเฉลี่ยในหนวยความจํา เมื่อครบ

ประจําสถานีจะทําการบันทึกขอมูลลงดิสตเก็ตของเครื่องบันทึกขอมูลและจัดสงมาทาง อีเมลล

หองปฏิบัติการวิจัยพลังงานแสงอาทิตย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผูวิจัยจะทําการแปลงขอมูลสัญญาณไฟฟาใหเปนความเขมรังสีตรงโดยการหารดวยคา

V/ (W-m2) โดยขอมูลที่นํามาใชงานจะเริ่มตั้งแตวันที่ 1

คาความเขมรังสีตรงและรังสีรวมที่ไดนั้น ถึงแมจะไดมาจากเครื่องวัดที่มีสมรรถนะสูง แตก็มี

โอกาสเกิดการผิดพลาดได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดทําการควบคุมคุณภาพขอมูลโดยการตรวจสอบขอมูลราย

ดวยวิธีการอาศัยการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรใหแสดงกราฟคาความเขมรังสีตรงและรังสี

รวมตลอดทั้งปซึ่งจะตรวจสอบคาที่ผิดปกติไดโดยงาย ซึ่งคาที่ผิดปกตินี้ไดแกคาความเขมรังสีตรงหรือรังสีรวม

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

เครื่องวัดรังสีตรงจะไดสัญญาณเปนศักยไฟฟา โดยเครื่องบันทึกขอมูลจะรับสัญญาณจากเครื่องวัดรังสี

คาเฉลี่ยในหนวยความจํา เมื่อครบ 1 เดือนเจาหนาที่

ประจําสถานีจะทําการบันทึกขอมูลลงดิสตเก็ตของเครื่องบันทึกขอมูลและจัดสงมาทาง อีเมลล (email) มายัง

ผูวิจัยจะทําการแปลงขอมูลสัญญาณไฟฟาใหเปนความเขมรังสีตรงโดยการหารดวยคา Sensitivity ของ

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

คาความเขมรังสีตรงและรังสีรวมที่ไดนั้น ถึงแมจะไดมาจากเครื่องวัดที่มีสมรรถนะสูง แตก็มี

โอกาสเกิดการผิดพลาดได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดทําการควบคุมคุณภาพขอมูลโดยการตรวจสอบขอมูลราย 10 นาที

ความเขมรังสีตรงและรังสี

รวมตลอดทั้งปซึ่งจะตรวจสอบคาที่ผิดปกติไดโดยงาย ซึ่งคาที่ผิดปกตินี้ไดแกคาความเขมรังสีตรงหรือรังสีรวม

Page 72: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

65 | P a g e

ที่สูงจนผิดปกติหรือต่ํากวาผิดปกติ ซึ่งผูวิจัยไดแสดงตัวอยางการตรวจสอบขอมูลที่ผิดปกติดังรูปที่ 3 จากนั้นทํา

จึงทําการซอมคาที่ผิดปกติดังกลาว โดยผูวิจัยใชวิธี linear interpolation กับขอมูลที่ผิดพลาดหรือขาดหายเพียง

เล็กนอยในเพียงบางชวงเวลาเล็กนอยเพียง 1-2 คาในแตละวัน

รูปที่ 3 แสดงขอมูลรังสีดวงอาทิตยที่มีคาสูงผิดปกติ

Page 73: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

66 | P a g e

หลังจากผูวิจัยไดทําการควบคุมคุณภาพของขอมูล โดยกลั่นกรองขอมูลที่ผิดปกติออกจากขอมูลทั้งหมด

และทําการซอมขอมูลเสร็จสิ้น จะไดขอมูลความเขมรังสีตรงราย 10 นาทีดังกลาวขางตนมีจํานวน 52, 560คาดัง

แสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 แสดงเขมรังสีตรงตั้งแต วันที่ 1/5/2549 ถึง วันที่ 30/4/50ของจังหวัดรอยเอ็ดที่

ผานการควบคุมคุณภาพขอมูลแลว

Page 74: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

67 | P a g e

ขอมูลความเร็วลม

ขอมูลความเร็วลมที่ไดมาทั้งหมดมาจากงานบริการขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมง

มีหนวยเปน (น็อต) ซึ่งขอมูลดังกลาวเปนขอมูลที่อยูในรูปแบบ html สําหรับขอมูลความเร็วลมที่ใชนั้นเปน

ขอมูลความเร็วลมราย 10 นาทีในหนวย m/s ผูวิจัยทําการแปลงขอมูลดังกลาวใหอยูในรูปแบบ text file ใหมี

หนวยเปน m/s จากนั้นทําการคํานวณหาคาความเร็วลมราย 10 นาที ผูวิจัยใชวิธี linear interpolation โดยอาศัย

โปรแกรม IDL

ขอมูลอุณหภูมิ

ขอมูลอุณหภูมิที่ไดมาทั้งหมดมาจากงานบริการขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมงมี

หนวยเปน Co ซึ่งขอมูลอยูในรูปแบบ html file เชนเดียวกับขอมูลความเร็วลม ผูวิจัยไดทําการคํานวณใหเปน

ขอมูลราย 10 นาทีโดยใชวิธี linear interpolation ดวยโปรแกรม IDL

ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศ

ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศนี้ไดมาจากงานบริการขอมูลของกรมอุตุนิยมวิทยาเปนขอมูลราย 3

ชั่วโมง เชนเดียวกับกรณีขอมูลความเร็วลมและขอมูลอุณหภูมิ โดยเปนขอมูลราย 3 ชั่วโมงอยูในรูปแบบ html

file ผูวิจัยใชวิธี linear interpolation ดวยโปรแกรม IDL ใหเปนขอมูลราย 10 นาทีสําหรับนํามาใชงาน

Page 75: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

68 | P a g e

การจัดทําชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยา (Metrological Data)

สําหรับการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรเพื่อหาพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดตอป

ตองใชรูปแบบชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาที่เปนรูปแบบเฉพาะซึ่งเปนขอมูลชนิด text file นามสกุล dat ซึ่ง

จะแสดงใหเห็นรูปแบบชุดขอมูลดังกลาวที่เปดดวยโปรแกรม Notepad จะแสดงใหเห็นในรูปที่ 5 ซึ่ง

การสรางชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาสามารถสรางโดยอาศัยโปรแกรม Microsoft Excel

รูปที่ 5 แสดงลักษณะรูปแบบมาตรฐานของชุดขอมูลอุตุนิยมวิทยาสําหรับการจําลอง

การทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

Page 76: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

69 | P a g e

จากรูปที่ 5 จะเห็นไดวาขอมูลอุตุนิยมวิทยาดังกลาวนั้นเปนขอมูลที่เปนลักษณะสดมภในแตละสดมภก็

จะเปนขอมูลอุตุนิยมวิทยาตางๆตามลําดับดังนี้ สดมภที่ 1 คือลําดับของขอมูลซึ่งขอมูลที่นํามาใชงานนั้นมีลําดับ

ตั้งแตลําดับที่ 1 จนถึงลําดับที่ 52560 สดมภที่ 2 คือเวลาซึ่งเปนเวลาทั้งสิ้น 1 ปนั้นคือเวลาที่ใชทั้งสิ้น สดมภที่ 3

คือ ขอมูลความเร็วลมราย 10 นาทีหนวย m/s สดมภที่ 4 คือ ขอมูลอุณหภูมิอากาศแวดลอมราย 10 นาทีหนวย

สดมภที่ 5 คือ ขอมูลความชื้นสัมพัทธของอากาศราย 10 นาที สดมภที่ 6 คือ ขอมูลความเขมรังสีรวมราย 10 นาที

หนวย W/m2 สดมภที่ 7 คือ ขอมูลความเขมรังสีรวมราย 10 นาที W/m2

รายละเอียดของระบบที่จะทําการวิเคราะห

ระบบรางพาราโบลา

สําหรับระบบรางพาราโบลานั้นเปนระบบแรกที่พัฒนาและใชงานมาเปนเวลากวา 20 ป ซึ่งระบบ

ดังกลาวมีการใชงานจริงในรัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีจํานวนระบบการผลิตไฟฟาทั้งสิ้น 9

ระบบและขณะนี้กําลังอยูระหวางการกอสรางอีก 1 ระบบในประเทศสเปน แตละระบบมีรายละเอียดปลีกยอยที่

แตกตางกัน ผูวิจัยจะเลือกระบบที่มีการทํางานคลายกับระบบ SEG ซึ่งใชงานที่สหรัฐอเมริกาในปจจุบัน โดย

กําหนดใหมีกําลังการผลิตไฟฟา เทากับ 10 MW ทั้งนี้เพราะเปนระบบขนาดกลางที่ไมซับซอน มีความเหมาะสม

กับประเทศไทย สําหรับลักษณะของระบบแสดงไดดังแผนภูมิในรูปที่ 6

Page 77: ASAT eJournal Vol 1- No 2

70 | P a g e

รูปที่ 6 แสดงแผนภูมิของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา

ระบบนี้ประกอบดวย ตัวรับรังสีดวงอาทิตยแบบรางพาราโบลา

รอน (heat exchanger) กังหันไอน้ํา

หลักการทํางานของระบบนั้นเริ่มจากรังสีดวงอาทิตยตกกระทบตัวรับรังสีแบบ

สะทอนไปรวมกันที่ทอดูดกลืนรังสีซึ่งอยูที่โฟกัสของรางพาราโบลา ความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปใหน้ํามันที่

มีจุดเดือดสูง น้ํามันดังกลาวจะไหลไปยังถึงเก็บความรอน

ความรอน โดยความรอนจะถายเทไปใหน้ํา ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนกลายเปนไอน้ํายิ่งยวด

steam) แลวสงผานเขาไปในกังหันไอน้ํา เพื่อใหกําลังกับเครื่องกําเนิดไฟฟา สําหรับไอน้ําอิ่มตัว

steam) ที่ออกมาจากกังหันไอน้ําจะผานตัวควบแนน

ความรอนอีกครั้งหนึ่ง โดยในชวงที่รังสีดวงอาทิตยมีความเขมต่ํา จะนําความรอนจากถังเก็บความรอนมาใชงาน

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม

แสดงแผนภูมิของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา

ระบบนี้ประกอบดวย ตัวรับรังสีดวงอาทิตยแบบรางพาราโบลา (parabolic trough)

กังหันไอน้ํา (steam turbine) เครื่องควบแนน (condenser) และเครื่องกําเนิดไฟฟา

หลักการทํางานของระบบนั้นเริ่มจากรังสีดวงอาทิตยตกกระทบตัวรับรังสีแบบรางพาราโบลา รังสีดวงอาทิตยถูก

สะทอนไปรวมกันที่ทอดูดกลืนรังสีซึ่งอยูที่โฟกัสของรางพาราโบลา ความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปใหน้ํามันที่

มีจุดเดือดสูง น้ํามันดังกลาวจะไหลไปยังถึงเก็บความรอน (thermal storage) และจะถูกสูบไปผานตัวแลกเปลี่ยน

จะถายเทไปใหน้ํา ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนกลายเปนไอน้ํายิ่งยวด

แลวสงผานเขาไปในกังหันไอน้ํา เพื่อใหกําลังกับเครื่องกําเนิดไฟฟา สําหรับไอน้ําอิ่มตัว

ที่ออกมาจากกังหันไอน้ําจะผานตัวควบแนน (condenser) กลายเปนน้ําไหลกลับไปใชผานตัวแลกเปลี่ยน

ความรอนอีกครั้งหนึ่ง โดยในชวงที่รังสีดวงอาทิตยมีความเขมต่ํา จะนําความรอนจากถังเก็บความรอนมาใชงาน

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

แสดงแผนภูมิของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา

parabolic trough) ตัวแลกเปลี่ยนความ

และเครื่องกําเนิดไฟฟา

รางพาราโบลา รังสีดวงอาทิตยถูก

สะทอนไปรวมกันที่ทอดูดกลืนรังสีซึ่งอยูที่โฟกัสของรางพาราโบลา ความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปใหน้ํามันที่

และจะถูกสูบไปผานตัวแลกเปลี่ยน

จะถายเทไปใหน้ํา ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นจนกลายเปนไอน้ํายิ่งยวด (super-heated

แลวสงผานเขาไปในกังหันไอน้ํา เพื่อใหกําลังกับเครื่องกําเนิดไฟฟา สําหรับไอน้ําอิ่มตัว (saturated

บไปใชผานตัวแลกเปลี่ยน

ความรอนอีกครั้งหนึ่ง โดยในชวงที่รังสีดวงอาทิตยมีความเขมต่ํา จะนําความรอนจากถังเก็บความรอนมาใชงาน

Page 78: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

71 | P a g e

สําหรับระบบที่จะทําการศึกษามีกําลังการผลิตไฟฟา 10 MW โดยมีพื้นที่รับแสงของรางพาราโบลารวมทั้งหมด

75,000 ตารางเมตร และมีอุปกรณเก็บสะสมความรอนไวใชในขณะที่ไมมีแสงแดดไดประมาณ 2 ชั่วโมง (Jones

et al., 2001)

การจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร (computer simulation)

โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับใชในการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

ในการจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรสําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย

ระบบความรอนแบบรวมแสง ผูวิจัยเลือกที่จะจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอรโปรแกรม TRNSYS

ซึ่งเปนซอฟแวรที่พัฒนาโดย University of Wisconsin ซึ่งซอฟแวรดังกลาวมีลักษณะเปนโมดุล และนิยมใชใน

งานดานพลังงานแสงอาทิตยทั่วไป โดยโปรแกรมดังกลาวจะประกอบดวย subroutine ที่แทนองคประกอบของ

ระบบ ผูใชตองนํา subroutine ตางๆ มาเชื่อมตอกันใหเปนระบบสําหรับใชงาน ขอดีของโปรแกรม TRNSYS คือ

ผูใชสามารถดู source code ซึ่งเปนภาษา FORTRAN และศึกษาแบบจําลองทางคณิตศาสตร นอกจากนี้ผูใชยัง

สามารถเขียน source code เปน subroutine เพิ่มเติมตามระบบของตนเองได เนื่องจากขอดีดังกลาวขางตนคณะ

นักวิจัยจาก German Aerospace Agency (DLR) จึงไดทําการพัฒนา subroutine เปนโมดุลขององคประกอบตางๆ

ของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยอุณหภูมิสูงขึ้น โดยเรียกกันทั่วไปวา STEC LIBRARY ผูวิจัยได

ดําเนินการจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยดวยโปรแกรม TRNSYS และ STEC

LIBRARY โดยไดสงนักวิจัยไปทําการพัฒนาโปรแกรมสําหรับระบบผลิตไฟฟาทั้ง 3 ระบบ รวมกับผูเชี่ยวชาญ

Page 79: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

72 | P a g e

ดาน TRNSYS และ STEC LIBRARY ที่ Aerospace Agency (DLR) เมือง Koln ประเทศเยอรมัน เมื่อเดือน

เมษายน ค.ศ. 2006.

แบบจําลองขององคประกอบของระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยในโปรแกรม TRNSYS และ

STEC LIBRARY (Schwarzbozl, 2002)

ระบบรางพาราโบลา ใน STEC LIBRARY ทําการจําลองแบบ (modeling) ประสิทธิภาพของตัวรับรังสี

แบบรางพาราโบลาดวยสมการ (Lippke, 1995)

DNI

TTTTD

DNI

TTWSCwC

TTBAShMK

inoutinout

inoutinout

2)(3

1

2)(

2

(1)

= ประสิทธิภาพของตัวรับรังสีแบบรางพาราโบลา

pC = ความรอนจําเพาะ (specific heat)

DNI = รังสีตรงที่ตกตั้งฉากกับระนาบรับแสง reflector ของตัวรับรังสี (kJ/h-m2)

outT = ความแตกตางระหวางอุณหภูมิของเหลวที่ไหลออกจากชองรับรังสีที่โฟกัสกับอุณหภูมิอากาศแวดลอม

inT = ความแตกตางระหวางอุณหภูมิของเหลวที่ไหลเขาทอรับรังสีกับอุณหภูมิอากาศแวดลอม

K = incident angle modifier

Page 80: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

73 | P a g e

M = สัมประสิทธิ์การสูญเสียความรอนที่สวนทาย (end losses) ของทอรับรังส ี

Sh = แฟคเตอรเนื่องมาจากผลที่เกิดจากการบังกันของตัวรับรังสีในแถวขางเคียง

WS= ความเร็วลม

wC = สัมประสิทธิ์การสูญเสียความรอนจากลม

A, B, C, D เปนคาคงที่

จากคาประสิทธิภาพ จะสามารถคํานวณพลังงานที่ทอรับรังสีดูดกลืน (absorber tube) ไดดวยสมการ

DNIAQ effabs (2)

absQ = พลังงานที่ทอรับรังสีดูดกลืนได

effA = พื้นที่รับรังสีดวงอาทิตยของรางพาราโบลา

DNI = รังสีตรงที่ตกตั้งฉากกับระนาบของรางพาราโบลา

= ประสิทธิภาพ

เนื่องจากจะมีการสูญเสียพลังงานจากทอรับรังสี ดังนั้นพลังงานที่ไดจึงเปนไปตามสมการ

pipeabsnet QQQ (3)

netQ = พลังงานที่ของไหลในทอรับรังสีไดรับ เมื่อพิจารณาการสูญเสียความรอนแลว

Page 81: ASAT eJournal Vol 1- No 2

74 | P a g e

absQ = พลังงานที่ทอรับรังสีไดรับ

pipeQ = พลังงานที่สูญเสียจากทอรับรังสี

จากนั้นจะทําการคํานวณอัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี เพื่อใหไดอุณหภูมิของไหลที่กําหนดไว

โดยใชสมการ

inoutp

net

TTc

QM

เมื่อ M = อัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี

netQ = พลังงานที่ของไหลในทอรับรังสีไดรับ เมื่อพิจารณาการสูญเสียความรอนแลว

outT = อุณหภูมิของเหลวที่ไหลออกจากชองรับรังสีซึ่งจะกําหนดใหคงที่

inT = อุณหภูมิของเหลวที่ไหลเขาทอรับรังสี

แบบจําลองของตัวเก็บความรอน

โดย total heat transfer coefficient

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม

พลังงานที่ทอรับรังสีไดรับ

พลังงานที่สูญเสียจากทอรับรังสี

จากนั้นจะทําการคํานวณอัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี เพื่อใหไดอุณหภูมิของไหลที่กําหนดไว

อัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี

พลังงานที่ของไหลในทอรับรังสีไดรับ เมื่อพิจารณาการสูญเสียความรอนแลว

อุณหภูมิของเหลวที่ไหลออกจากชองรับรังสีซึ่งจะกําหนดใหคงที่

อุณหภูมิของเหลวที่ไหลเขาทอรับรังสี

แบบจําลองของตัวเก็บความรอน (thermal storage) ตัวเก็บความรอนที่ใชเปนแบบ

total heat transfer coefficient จะมีความสัมพันธกับ mass flow rate ตามสมการ

สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

จากนั้นจะทําการคํานวณอัตราการไหลของของเหลวในทอรับรังสี เพื่อใหไดอุณหภูมิของไหลที่กําหนดไว

(4)

ตัวเก็บความรอนที่ใชเปนแบบ concrete / oil storage

(5)

Page 82: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

75 | P a g e

refUA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมอางอิง

m = อัตราการไหลเชิงมวล (mass flow rate)

refm = อัตราการไหลเชิงมวลอางอิง

iak = เปนคาคงที่เอมไพริคัล

แบบจําลองของ Economizer และ super heater ในที่นี้จะใชแบบจําลองของตัวแลกเปลี่ยนความรอน

แบบไหลสวนทาง (counter flow heat exchanger) ซึ่ง effectiveness, ECO เขียนไดดังสมการ

max

min

min

max

min

min

1

max

min

1

1

1

C

C

C

UA

C

C

C

UA

ECO

eC

C

e

(6)

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

minC = Min ),( hotpcoldp CmCm (7)

m = อัตราการไหลเชิงมวล (mass flow rate)

pC = ความรอนจําเพาะ (specific heat)

แบบจําลองของ Evaporator

Effectiveness ของ evaporator จะหาโดยใชสมการ

hothotEvaporator cpm

UA

exp1 (8)

เมื่อ UA = สัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวม (total heat transfer coefficient)

Page 83: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

76 | P a g e

hotm = อัตราการไหลดานอุณหภูมิสูง

hot,pC = ความรอนจําเพาะของดานอุณหภูมิสูง

3.4.3 การสรางโปรแกรมสําหรับจําลองการทํางานของระบบ

ผูวิจัยจะนําโปรแกรมของแบบจําลองของแตละองคประกอบมาตอเรียงกันใหเปนโปรแกรมสําหรับใช

จําลองการทํางานของระบบ ดังแสดงในรูปที่ 7

Page 84: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

77 | P a g e

รูปที่ 7 แผนภูมิจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาแบบรางพาราโบลา ในโปรแกรม

TRNSYS

Page 85: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

78 | P a g e

การจําลองการทํางานของระบบดวยคอมพิวเตอร

ในการจําลองการทํางานของระบบผลิตไฟฟาทั้ง 3 ระบบ ผูวิจัยไดทําการพัฒนาโปรแกรมโดยอาศัย

TRNSYS software และ STEC Library จากนั้นใชโปรแกรมดังกลาวทําการคํานวณปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดรายป

(ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550) โดยทําการคํานวณทุกๆ 10 นาที ตลอดทั้ง

วัน โปรแกรมจะทําการคํานวณวน loop จนครบป หลังจากนั้นจะทําการหาคาเฉลี่ยรายป ตาม flow chart ดังรูป

ที่ 8

Page 86: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

79 | P a g e

รูปที่ 8 แสดง flow chart การคํานวณปริมาณไฟฟาที่ไดจากระบบผลิตไฟฟา

แบบจําลองของระบบผลิตไฟฟา

พลังงานไฟฟาที่ไดรายป

อานขอมูล

Time loop (10 min)

STOP

Page 87: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

80 | P a g e

ผลการคํานวณ

ปริมาณไฟฟาที่ผลิตได

ผลจากการคํานวณปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดเฉลี่ยตอเดือนระบบรางพาราโบลาไดแสดงไวในรูปที่ 9

รูปที่ 9 แสดงปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดในเดือนตางๆ ในรอบปจากระบบรางพาราโบลา

Roiet

0

500

1000

1500

2000

2500

3000

May-06 Jun-06 Jul-06 Aug-06 Sep-06 Oct-06 Nov-06 Dec-06 Jan-07 Feb-07 Mar-07 Apr-07month

Ener

gy pr

oduc

tion (

MW

h)

Page 88: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

81 | P a g e

พบวาคาปริมาณพลังงานไฟฟาเฉลี่ยตอปที่ไดจากระบบรางพาราโบลาของจังหวัดรอยเอ็ด

ประสิทธิภาพ

การทํางานของระบบผลิตไฟฟาจะมีการสูญเสียพลังงานทั้งจากอุปกรณรวมแสง (optical losses) และ

จากระบบความรอน (thermal losses) ดังนั้นพลังงานจากรังสีตรงจึงไมสามารถแปลงเปนพลังงานไฟฟาได

ทั้งหมด ความสามารถในการแปลงพลังงานจากรังสีตรงเปนไฟฟาจะบอกในรูปของประสิทธิภาพ (solar-to-

electricity efficiency) จากการคํานวณปริมาณรังสีดวงอาทิตยและไฟฟาที่ผลิตไดตลอดทั้งป ไดคาประสิทธิภาพ

ของระบบรายปเทากับ 18.4%

Capacity factor

เนื่องจากระบบผลิตไฟฟาที่ออกแบบใหมีกําลังการผลิต 10 MW แตในการทํางานจริง ระบบมิไดทํางาน

ที่กําลังการผลิตดังกลาว อัตราสวนของพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจริงตอคาพลังงานไฟฟาที่ผลิตได ถาระบบทํางาน

ตามกําลังการผลิตที่ออกแบบตลอดทั้งปจะเรียกวา capacity factor หรือเขียนในรูปสมการไดดังนี้

= × (9)

ผลการคํานวณ capacity factor ของระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาของรอยเอ็ดเทากับ 21%

Page 89: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

82 | P a g e

ตนทุนการผลิตไฟฟา

หลังจากที่ทราบคาปริมาณพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดเฉลี่ยตอปของระบบ investment cost และ

maintenance & operating cost แลว ผูวิจัยไดรวมกับฝายพัฒนาพลังงานทดแทน การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ

ไทยทําการคํานวณตนทุนการผลิตไฟฟาในรูปของ Levelized Electricity Cost (LEC) โดยอาศัยสมการ (Pitz-

Paal et al., 2003):

net

fuelmoinvest

E

kkkcrfLEC

& (10)

เมื่อ insurancend

ndd k

k

kkcrf

1)1(

)1( (11)

โดยที่ insurancek = annual insurance rate

investk = total investment of the plant

fuelk = annual fuel cost

dk = real dept interest rate

m&ok = annual operation and maintenance cost

netE = annual net electricity

n = depreciation period in years

เนื่องจากทุกระบบทํางานดวยพลังงานแสงอาทิตยเพียงอยางเดียว ดังนั้น fuelk มีคาเปนศูนย สําหรับขอมูลหลัก

ที่ใชในการคํานวณแสดงไวตามตารางที่ 1

Page 90: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

83 | P a g e

ตารางที่ 1 ขอมูลหลักที่ใชในการคํานวณ

รายการ ขอมูล ที่มา

Real dept interest rate 8 % ภาวะเศรษฐกิจป ค.ศ. 2006

Labor cost per employee 4,615 USD/year EGAT*

Depreciation period in years 25 years SEG

Annual insurance rate 0.6 % EGAT

หมายเหตุ *EGAT คือ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

SEG คือ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยโรงแรกใชงาน

มาแลวประมาณ 20 ปพบวาคา Levelized Electricity Cost ของระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาของรอยเอ็ด

คํานวณไดเทากับ 8.53 (บาท/kWh)

สรุป

ระบบผลิตไฟฟาระบบรางพาราโบลาที่ออกแบบใหเปนระบบที่มีกําลังการผลิต 10 MW พบวาระบบราง

พาราโบลามีตนทุนการผลิตไฟฟาคอนขางต่ํา กลาวคือคา levelized electricity cost (LEC) เทากับ 8.53 บาท/

kWh โดยมีประสิทธิภาพรายปเทากับ 18.4% และคา capacity factor เทากับ 21.0 %

Page 91: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

84 | P a g e

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงานและหองปฏิบัติการวิจัย

พลังงานแสงอาทิตย ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ใหทุนสนับสนุนงานวิจัยนี้

บรรณานุกรม

Jones, S., Pitz-Paal, R., Schwarzboezl, P., Blair, N., Cable, R., TRNSYS Modelling of the SEGS VI parabolic

trough solar electric generating system, Proceedings of Solar Forum 2001, April 21-25, 2001,

Washington DC, (2001).

Lippke F., Simulation of Part load behavior of a 30 MWe SEGS plant, Report number SAD 95- 1293, Sandia

National Laboratories Albuquerque, NM, (1995).

Pitz-Paal, R., Dersch, J., Milow, B., European Concentrated Solar Thermal Road-Mapping, Research Report

no. SES6-CT-2003-502578, European Commission, (2003).

Received 22 December 2009Accepted 02 February 2010

Page 92: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

85 | P a g e

Short Communication

Induction and Recovery Time from Anesthesia in Mozambique Tilapia (Oreochromis mossambicusPeters, 1852) Fingerlings Exposed to Clove Oil

Somrudee Silarudee1, Surawat Chalorsuntisakul2 and Sathit Boonnom1

1 Division of Aquatic Animal Production Technology, Faculty of Animal Science and Agricultural Technology, Silpakorn University, Phetchaburi IT Campus2 Division of Veterinary Technology, Faculty of Animal Science and Agricultural Technology, Silpakorn University, Phetchaburi IT Campus

Abstract

The use of clove oil as an anesthetic for Mozambique Mouth Breeder (Oreochromis mossambicus Linn.) fingerlings was examined. Clove oil was mixed with ethanol in a 1:9 ratio to facilitate mixing. The stock clove oil and ethanol solution was mixed thoroughly with 10 L of water to obtain test concentrations of 600, 1,200, and 1,800 ppm. Fish in 600 ppm was completes loss of equilibrium (stage 3) average in 18.05 min, two treatment groups (1,200 and 1,800 ppm) were easily handled in <5 min and all treatment groups recovered equilibrium within <5 min when placed in fresh water.

Keywords: Oreochromis mossambicus, Clove oil, Fish Anesthetic

Page 93: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

86 | P a g e

Introduction

Tilapias are native fresh water fish of Africa (Trewawas, 1983). They are one of the commercial important perch-like fishes in the family Cichlidae. Tilapias are easily growing fish species since they eat a variety of foods, resist to diseases and grow well in poor quality water with low dissolved oxygen (Mair and Roberts, 1988). Anesthetics play an important role in both fisheries research and aquaculture, being used to facilitate various handling procedures, such as weighing, sorting, and collection of spawning material, tagging, or veterinary treatment (Summerfelt and Smith 1990, Kazuñ, Siwicki 2001). Clove oil and its derivatives (eugenol and iso-eugenol) have become popular fish anesthetics due to their low cost and apparent safety to both fish and humans. Eugenol is approved for use on food fish with no withdrawal period (Stehly and Gingerich, 1999). Clove oil have regulatory approval for use on food fish in North America at present (US FDA, 2002), however both are being used in research and field applications. There have been a number of studies on the efficacy of different doses of clove oil with various fish species. The purpose of this study was to determine whether induction and recovery from clove oil anesthesia in Mozambique tilapia(Oreochromis mossambicus) fingerlings.

Methods

Clove oil was mixed with ethanol in a 1:9 ratio (Anderson et al., 1997) to facilitate mixing. The stock clove oil and ethanol solution was mixed thoroughly with 10 L of water to obtain test concentrations of 600, 1,200, 1,800 ppm. Water chemistry at the site was reported as pH 7.48 and dissolved oxygen, 4.97 mg/L. Fish were placed in the anesthesia tank and stages of anesthesia were visually monitored, timed and classified (Table I. Once a fish had reached a state where it completes loss of equilibrium (stage 3) it was removed from the anesthetic bath, weight and length were measured. After handling, fish were placed in a freshwater recovery tank and monitored until fully recovered. It was then transferred to an identical aerated fresh water tank and recovery was monitored and timed (Table I). Three fish were individually tested at each

Page 94: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

87 | P a g e

concentration. Mean induction and recovery times were compared among treatment groups using one-way ANOVA.

Table I. Designated stages of anesthesia used for Mozambique tilapia clove oil efficacy tests

Stage Characteristic behavior1 Opercular movement visibly slows or becomes erratic2 Sporadic loss of equilibrium, difficulty maintaining position while at rest3 Complete loss of equilibrium; inability to regain upright position4 No reaction to handling or a sharp prod in the peduncle

Recovery Ability to remain upright, normal swimming behavior

Results and Conclusions

Fish in 600 ppm was completes loss of equilibrium (stage 3) average in 18.05 min, two treatment groups (1,200 and 1,800 ppm) were easily handled in <5 min and all treatment groups recovered equilibrium within <5 min when placed in fresh water. Induction times were more rapid at high clove oil concentrations, with fish treated at concentrations 1,800 ppm exhibiting significantly shorter induction times than 600 and 1,200 ppm (differ significantly at P<0.05). Recovery time results were somewhat ambiguous, with fish treated at 600 ppm taking significantly longer to recover than fish treated at 1,200 and 1,800 ppm. (not significantly at P>0.05).

Clove oil does appear to have promise as an effective and safe anesthetic for use on food fishes. However, until further studies are conducted regarding physiological effects, it should be used with caution and at the lowest concentrations necessary to induce anaesthesia.

Page 95: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

88 | P a g e

Table II. Induction and recovery time for Mozambique tilapia anaesthetized at three clove oil concentrations.

References

Anderson, G. W., McKinley, S. R. & Colavecchia, M. (1997). The use of clove oil as an anesthetic for rainbow trout and its effects on swimming performance. North American Journal of Fisheries Management 17, 301–307.

Davidson, G.W., P.S. Davie, G. Y., Fowler R.T. 2000. Physiological responses of rainbow trout Oncorhynchus mykiss to crowding and anesthesia with AQUI-S. Journal of the World Aquaculture Society 31: 105-114.

Hajek G.J., Klyszejko B., Dziaman R. 2006. The anesthetic effect of clove oil on common carp, Cyprinus carpio L. Acta Ichthyol. Piscat. 36 (2): 93.97.

Iversen, M., B. Finstad, R.S. McKinley and R.A. Eliassen. 2003. The efficacy of metomidate, clove oil, Aqui-S and Benzoak as anaesthetics in Atlantic salmon (Salmo salar) smolts, and their potential stress-reducing capacity. Aquaculture 221: 549-566.

Kazuñ K., Siwicki A.K. 2001. Propiscin a safe new anaesthetic for fish. Archives of Polish Fisheries 9:183.190.

Mair, J. F. and Roberts, R. J. 1988. Recent advances in aquaculture. 407 pp.Olsen, Y.A., I. Einarsdottir and K.J. Nilssen. 1995. Metomidate anaethesia in Atlantic salmon, Salmo salar,

prevents plasma cortisol increase during stress. Aquaculture 134: 155-168.

0 5 10 15 20

600 ppm

1200 ppm

1800 ppm

Average Recovery Time (Min)

Average Induction Time (Min)

Page 96: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

89 | P a g e

Stehly, G.R. and W.H. Gingerich. 1999. Evaluation of AQUI-S (efficacy and minimum toxic concentration) as a fish anaesthetic/sedative for public aquaculture in the United States. Aquaculture Research 30: 365-372.

Summerfelt R.C., Smith L.S. 1990. Anesthesia, surgery, and related techniques. In: Schreck C.B.,Moyle P.B. (eds.) Methods for fish biology. American Fisheries Society, Bethesda. 213.272.

Trewavas, E. 1983. Tilapiine fishes of the genera Sarotherodon, Oreochromis and Danakilia.London : British Museum (Natural History).

Thomas, P. and L. Robertson, 1991. Plasma cortisol and glucose stress responses of red drum (Sciaenops ocellatus) to handling and shallow water stressors and anesthesia with MS-222, quinaldine sulfate and metomidate. Aquaculture 96: 69-86.

US FDA. 2002. Status of clove oil and eugenol for anesthesia of fish. Guidance for Industry 150. US Dept. of Health and Human Services, Food and Drug Administration, Center for Veterinary Medicine. June 11, 2002. 4 p.

Received 20 December 2009Accepted 30 January 2010

Page 97: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

คําแนะนําสําหรับผูสงบทความเพื่อลงตีพิมพ

จุดมุงหมายและขอบเขต

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนวารสารทางวิชาการของคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เปนวารสารที่ไดรับการประเมินบทความโดยผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ (peer-reviewed journal) เปดโอกาสใหเสนอบทความที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร รวมถึงสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ บทความที่จะลงตีพิมพในวารสารไดแก

- นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles) - รายงานสังเขป (Short communication) - รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report) - บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles) - บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles) - บทความแนะนําหนังสือ (Book review) และ - จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor)

ประเภทของบทความ

นิพนธตนฉบับ (Original articles or Research articles) เปนรายงานผลการวิจัยทางดานวิทยาศาสตร

การเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

รายงานสังเขป (Short communication) เปนรายงานผลการวิจัยหรือผลการทดลองทางดาน

วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ โดยประสงคเผยแพรแบบสังเขป

Page 98: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (Case report) เปนรายงานสัตวปวย วิจารณอาการทางคลินิกและผล

ตรวจทางหองปฏิบัติการที่นาสนใจ รวมถึงกรณีศึกษาทางดานวิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ

บทความปริทรรศน (Review articles or Educational articles) เปนบทความที่รวบรวมเอาผลงานใน

เรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งเคยลงตีพิมพมาแลว นํามาวิเคราะห วิจารณ เพื่อใหเกิดความกระจางในเรื่องนั้นยิ่งขึ้น

บทความปกิณกะ หรือ รายงานพิเศษ (Miscellany articles or Special articles) เปนบทความที่ให

ขอมูลเกี่ยวกับบทความและขาวสารสําหรับผูที่สนใจ

บทความแนะนําหนังสือ (Book review) เปนบทความเพื่อแนะนําหนังสือที่นาสนใจโดยสรุป ทางดาน

วิทยาศาสตรการเกษตรและสังคมศาสตรการเกษตร และสาขาอื่นที่เกี่ยวของ ที่ตองการแนะนําใหนักศึกษาหรือผูที่สนใจไดติดตาม

จดหมายถึงบรรณาธิการ (Letter to the editor) เปนขอความถึงบรรณาธิการเพื่อการแนะนํา หรือ

โตแยงตามหลักวิชาการตอบทความที่ไดเผยแพรในวารสาร หรือแสดงขอคิดเห็นในประเด็นที่มีประโยชนทางวิชาการตามสมควร โดยมีรายละเอียดดังนี้

นิพนธตนฉบับ (original articles) ใหมีความยาวไมควรเกิน 5000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 50 ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป รายงานสังเขป (short communication) ใหมีความยาวไมควรเกิน 2500 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20

ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 5 รูป บทความปริทรรศน (review articles) และบทความปกิณกะ (miscellany articles) ใหมีความยาวไมควร

เกิน 10000 คํา, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 100 ขอ, รูปภาพและตารางรวมกันไมควรเกิน 10 รูป รายงานสัตวปวย หรือ กรณีศึกษา (case report) ใหมีความยาวไมควรเกิน 1500 คํา, รูปภาพและตารางไม

ควรเกิน 5 รูป, เอกสารอางอิงไมควรเกิน 20 ขอ บทความแนะนําหนังสือ (book review) และ จดหมายถึงบรรณาธิการ (letter to the editor) ใหมีความ

ยาวไมควรเกิน 500 คํา หรือ ตามความเหมาะสม

ประเภทของบทความนอกเหนือจากนี้ใหอยูในดุลยพินิจของบรรณาธิการ

Page 99: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

การสงบทความและการเผยแพรวารสารอิเล็กทรอนิกส

กองบรรณาธิการวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอแจงใหทราบวา เพื่อความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการสงบทความ ไดจัดทําวารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากรในรูปแบบออนไลนเผยแพรผานเว็บไซตของคณะสัตวศาสตรและ

เทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ http://www.asat.su.ac.thผูเขียนสามารถเสนอบทความเพื่อพิจารณาไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (email) ที่

[email protected] หรือ [email protected] หรือ บันทึกลงในแผนดิสก ประเภท CD หรือ DVD สงใหกองบรรณาธิการ

โดยจาหนาถึง

การเตรียมตนฉบับ

เกณฑการเขียนบทความ1. อธิบายเนื้อหาของบทความหรือวิเคราะหขอมูลที่ไดมาใหชัดเจน2. หากตนฉบับมีขอผิดพลาดของรูปแบบหรือมีความไมสมบูรณขององคประกอบในบทความ

บทความนั้นจะถูกสงกลับไปยังผูเขียนเพื่อทําการแกไขตอไป หรือ อาจจะไมรับพิจารณา3. แกไขปรับปรุงเนื้อหาของตนฉบับตามคําแนะนําของผูประเมินบทความ

หากมีการเขียนบทความโดยกลุม กรุณาระบุชื่อผูเขียนทุกคน และระบุชื่อผูวิจัยหลักใหชัดเจน

อาจารย นายสัตวแพทยสุรวัฒน ชลอสันติสกุล

สํานักงานกองบรรณาธิการ วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยศิลปากร หอง สทก.1403

คณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขที่ 1 ถ.ชะอํา - ปราณบุรี ต.สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 76120

Page 100: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

ควรแสดงความขอบคุณแกบุคคลที่ไมไดมีสวนรวมในการเขียนบทความ แตมีสวนชวยเหลือโดยตรงในการวิจัย เชน ผูชวยทางเทคนิค, ที่ปรึกษาดานการเขียนบทความ, ผูสนับสนุนทุนและวัสดุในการทํางานวิจัย เปนตน ไวในกิตติกรรมประกาศ (acknowledgement)

บทความที่สงมาจะตองเปนเรื่องที่ไมเคยตีพิมพที่ใดมากอน และผูเขียนจะตองไมสงบทความเพื่อไปตีพิมพในวารสารฉบับอื่นในเวลาเดียวกัน

หลักเกณฑสําหรับผูเขียนบทความ

ผูเขียนบทความตองไมมีเจตนาสงขอมูลเท็จ บทความที่สงมาตองเปนผลงานของทานเอง ผูเขียนบทความจะตองไมสงบทความที่เคยลงตีพิมพในวารสารอื่น โดยไมระบุวาทานไดเสนอผลงาน

นั้นในวารสารใดบางอยางถูกตองและสมเหตุสมผล ตองระบุรายชื่อผูเขียนทุกคนตามความเปนจริง ผูเขียนบทความตองสงตนฉบับที่ไดรับการรับรองที่แทจริง ผูเขียนบทความตองไมใชวิธีการศึกษาที่มีผูเผยแพรมากอน โดยไมไดรับการอนุมัติจากเจาของลิขสิทธิ์

# หนาแรก (Title page) ประกอบดวย

1. ชื่อ สกุลของผูเขียน (เฉพาะภาษาไทย กรณีผูเขียนรวมเปนชาวตางชาติใหเขียนชื่อ สกุลเปนภาษาอังกฤษ)

2. ชื่อเรื่อง ที่สื่อความหมายและชี้ใหเห็นสาระสําคัญของเนื้อหาในตัวบทความ3. สถานที่ทํางาน

# บทคัดยอ (Abstract) สําหรับบทความภาษาไทย ตองมีบทคัดยอเปนภาษาไทยและควรมีภาษาอังกฤษ สําหรับบทความภาษาอังกฤษ ตองมีบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ มีหรือไมมีบทคัดยอภาษาไทยก็ได โดยมีความยาวไมเกิน 100 - 150 คํา ควรเรียงลําดับเนื้อหาหลัก ดังนี้

Page 101: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

1. วัตถุประสงค (Purpose)2. วิธีการศึกษา (Methods)3. ผลการศึกษา (Results)4. สรุป (Conclusions)

# คําสําคัญ (Keyword) ระบุไวใตวัตถุประสงค มีความยาว 3 – 6 คํา

# ตนฉบับ (Manuscript) เปนภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษ

# เนื้อเรื่อง (Text Formatting) ใหลําดับความสําคัญของเนื้อหาดังนี้คือ สวนบทนํา (introduction), สวนวิทยวิธี(methods), สวนผลลัพธ (results), สวนอภิปราย (discussion), สวนบทขอบคุณ หรือ กิตติกรรมประกาศ(acknowledgements), สวนเอกสารอางอิง หรือ บรรณานุกรม (references), และสวนตารางและรูปภาพประกอบ (tables and figures) ทั้งนี้ผูเขียนอาจจะมีสวนอื่นเพิ่มเติมจากที่กําหนดไวก็ได และอาจจะใชคําที่แตกตางจากที่ระบุไวก็ได เชน สวนบทนํา ผูเขียนอาจจะใชคําวา “บทนํา” หรือ “คํานํา” ก็ได เปนตน

โดยตนฉบับจะตองใชรูปแบบ ดังนี้

1. ใชตัวพิมพมาตรฐาน เชน บทความ ภาษาไทยควรใช ตัวอักษร “Angsana New” ขนาด 16 point หรือบทความภาษาอังกฤษ ควรใชตัวอักษร “Times Roman” ขนาด 12 point

2. พิมพขอความสําคัญดวยตัวเอน หรือ ตัวหนา หรือ ขีดเสนใต3. ไมใช “field functions”4. ใชปุม “Tab” เมื่อขึ้นยอหนาตอไป5. ควรเลือกคําสั่งตาราง (Table) เมื่อตองการพิมพตาราง6. หากใชโปรแกรม “Microsoft Word 2007” ควรใชโปรแกรม “Microsoft equation editor” หรือ

โปรแกรม “Math Type”7. สงตนฉบับในรูปของแฟมขอมูล โดยบันทึกขอมูลเปนไฟล “.doc” หรือบันทึกเปนไฟล “.docx”

หามบันทึกเปนไฟล “.pdf” หรือไฟลอื่นๆ แนะนําวาควรบันทึกเปนไฟล “.docx”

Page 102: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# หัวขอ (headings) ไมควรมีขนาดตางๆ มากกวา 3 ระดับ

# คํายอ (abbreviations) จะตองมีคําเต็มเมื่อปรากฏเปนครั้งแรกในบทความ หลังจากนั้นสามารถใชคํายอเหลานั้นไดตามปกติ

# เชิงอรรถ (footnotes) คือ การอางอิงขอความที่ผูเขียนนํามากลาวแยกจากเนื้อหาอยูตอนลางของหนา โดยใสหมายเลขกํากับไวทายขอความที่คัดลอกหรือเก็บแนวคิดมา และจะไมเขียนเชิงอรรถเอาไวที่หนาแรกของบทความ ถาตองการแสดงที่มาของตารางหรือภาพประกอบใหใชเครื่องหมายแทนตัวเลข โดยเขียนไวที่สวนลาง ของหนา หรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดงความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ

# กิตติกรรมประกาศ (acknowledgement) เปนการแสดงความขอบคุณแกผูที่ชวยเหลือในการทําวิจัย หรือ ผูสนับสนุนทุนการวิจัย เปนตน โดยจะเขียนไวกอนเอกสารอางอิงและควรเขียนชื่อสถาบันที่ใหการสนับสนุนทุนการวิจัยโดยใชชื่อเต็ม

# ตาราง (tables)

1. ใหเขียนหมายเลขตารางเปนเลขอารบิก2. ใหเรียงตามลําดับที่ของตารางอยางตอเนื่องกันจาก 1, 2, 3, …3. การอธิบายผลในตารางตองไมซ้ําซอนกันและมีใจความกระชับรัดกุม และมีคําอธิบายกํากับไวเหนือ

หรือใตตาราง4. เขียนคําอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแหลงที่มาของเอกสารอางอิงไวที่ใตตาราง5. เชิงอรรถ (footnotes) ของตารางจะเขียนไวใตตารางหรือใชเครื่องหมายดอกจัน (*) เพื่อแสดง

ความหมายของคาหรือขอมูลทางสถิติ6. ตาราง หรือแผนภูมิประกอบจะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบายประกอบควร

ใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา

Page 103: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

# รูปภาพ (figures)

1. ควรใชโปรแกรมกราฟกคอมพิวเตอรในการวาดรูป2. รูปภาพที่เปนลายเสนควรใชรูปแบบ EPS ในการวาดเสนรูปภาพและรูปภาพที่เปนโทนสีควรใช

รูปแบบ TIFF ในการไลเฉดสี3. รูปภาพทุกรูปจะตองมีหมายเลขและคําบรรยายภาพกํากับไวใตภาพ โดยใชชื่อรูปภาพเปน “รูปที่...”

หรือ “ภาพที่...” หรือ “Fig…” ตามดวยลําดับที่ของรูปภาพ เชน “Fig. 1” เปนตน4. ภาพประกอบ เชน ภาพถาย แผนภาพ ฯลฯ จะตองชัดเจน แสดงเนื้อหาสําคัญของเรื่อง สําหรับคําอธิบาย

ภาพประกอบควรใชขอความที่กะทัดรัด ชัดเจนและระบุที่มา

# เอกสารอางอิง (references)

1. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม ควรเรียงลําดับการอางอิงตามการอางอิงถึงชื่อบุคคลหรือองคกรตามลําดับตัวอักษร โดยอางอิงภาษาไทยกอนภาษาตางประเทศ

2. ในเนื้อเรื่อง ถามีผูเขียนมากกวา 3 คน ใหใสชื่อคนแรก แลวตามดวย “และคณะ” หรือ “และคนอื่น” สําหรับภาษาไทย และ “et al.” หรือ “and others” สําหรับภาษาอังกฤษ และระบุชื่อผูเขียนทุกคนในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรม

3. ในเนื้อเรื่อง ถาอางอิงจากภาษาไทย หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงตามระบบนาม – ป โดยเขียนเฉพาะชื่อ หรือ ชื่อและนามสกุล และตามดวยป พ.ศ. เชน “สุรวัฒน, 2553” หรือ “สุรวัฒน ชลอสันติสกุล, 2553” หรือ “สุรวัฒน (2553)” หรือ “สุรวัฒน ชลอสันติสกุล (2553)” ถาอางอิงจากภาษาตางประเทศ หากเปนชื่อบุคคล ใหเขียนอางอิงเฉพาะนามสกุล และตามดวยป ค.ศ. เชน “Chalorsuntisakul, 2010” หรือ “Chalorsuntisakul (2010)” หากอางอิงเปนชื่อองคกร ควรเขียนดวยชื่อเต็มขององคกรนั้น ไมควรอางอิงแตเพียงคํายอ หรือ อักษรยอขององคกร

4. การเขียนอางอิงในสวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานุกรมจากวารสาร ควรระบุชื่อเต็มของวารสารนั้น และควรเขียนดวยตัวเอียง หากประสงคจะใชชื่อยอของวารสารนั้น ควรใชชื่อยอตามที่วารสารนั้นระบุใหใช หรือ ตามฐานขอมูล ISI

Page 104: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการเปดรับบทความหลายประเภท จึงมิไดกําหนดรูปแบบการเขียนบทความอยางเฉพาะเจาะจง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประเภทของบทความ โดยมีความประสงคเพื่อเนนคุณคาของเนื้อหาเปนสําคัญ มากกวาระเบียบวิธีในการเขียนบทความ บรรณาธิการจะใชดุลยพินิจและอาจจะปรับปรุงแกไขตามสมควรในการพิจารณาบทความที่สงมาเพื่อเผยแพร

ผลงานของทานจะไดรับการตรวจจากผูทรงคุณวุฒิประจํากองบรรณาธิการ ถามีสวนที่จะตองปรับปรุงแกไข กองบรรณาธิการจะแจงใหทานทราบ เพื่อการปรับปรุงแกไขและโปรดสงคืนมายังกองบรรณาธิการตามกําหนด

Page 105: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

เรียน บรรณาธิการ

ขาพเจา นาย นาง นางสาว อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………….……….………...ชื่อ – สกุล .........................................................................................................................................................

ตําแหนงทางวิชาการ (โปรดระบุ) ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย อื่น ๆ ระบุ......................................................................

คุณวุฒิ (โปรดระบุ) ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

สถานที่ทํางาน ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ...............................................................โทรสาร.....................................................................E-mail.............................................................................

มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง :

ชื่อบทความ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ใบสมัครขอสงบทความเพื่อเผยแพร

(การกรอกใบสมัครโปรดใชวิธีการพิมพ)

Page 106: ASAT eJournal Vol 1- No 2

วารสารคณะสัตวศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ.2553

กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่ สถานที่ทํางานที่ระบุขางตน ที่อยูดังตอไปนี้........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

โทรศัพทที่ทํางาน......................................................โทรศัพทมือถือ............................................................โทรสาร.....................................................................E-mail........................................................................

และในกรณีที่ไมสามารถติดตอขาพเจาได กองบรรณาธิการสามารถติดตอบุคคลดังตอไปนี้ชื่อ – สกุล.....................................................................................................................................................โทรศัพท.......................................................................................................................................................

โทรสาร.....................................................................E-mail..........................................................................

มีความเกี่ยวของเปน......................................................................................................................................

.........................................................ลายมือชื่อ(............................................)

เจาของผลงาน

Page 107: ASAT eJournal Vol 1- No 2
Page 108: ASAT eJournal Vol 1- No 2