51
Assingment 1 : MAP2405 สมการเช งอนุพั นธสามั ญ หั วขอ สมการเช งอนุพั นธ อั นดั บหน่ง คะแนน 10 คะแนน เวลา สัปดาห ท่1 ป การศ กษา 1/2562 ผู สอน ผู วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาว ชาคณ ตศาสตร คณะครุศาสตร มหาว ทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1. จงแสดงว y = 1+ ce t 1 - ce t เม่อ c เป นค าคงตัวไมเจาะจง เป นผลเฉลยทั่วไปของสมการ dy dt = 1 2 (y 2 - 1) และหาผลเฉลยเฉพาะของสมการดังกล าวเม่อ y(0) = 0 อ 2-4 จงหาผลเฉลยทั ่วไปของสมการ 2. (x 2 + 1)y + y 2 +1=0 3. 2xydx +(x 2 + y 2 )dy =0 4. (e y + ye x )dx +(e x + xe y )dy =0

Assingment1:MAP2405สมการเชงอนิ พุันธ สามัญ · 1. จงหาผลเฉลยทั่วไปของสมการ y(1+ x2y)dx xdy

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Assingment 1 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการเชงิอนพัุนธอันดับหนึง่ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 1 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงแสดงวา y =1 + cet

1− cetเมือ่ c เปนคาคงตัวไมเจาะจง เปนผลเฉลยทัว่ไปของสมการ

dy

dt=

1

2(y2 − 1)

และหาผลเฉลยเฉพาะของสมการดังกลาวเมือ่ y(0) = 0

ขอ 2-4 จงหาผลเฉลยทัว่ไปของสมการ2. (x2 + 1)y′ + y2 + 1 = 0

3. 2xydx+ (x2 + y2)dy = 0

4. (ey + yex)dx+ (ex + xey)dy = 0

1

เฉลย Assingment 1 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการเชงิอนพัุนธอันดับหนึง่ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 1 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงแสดงวา y =1 + cet

1− cetเมือ่ c เปนคาคงตัวไมเจาะจง เปนผลเฉลยทัว่ไปของสมการ

dy

dt=

1

2(y2 − 1)

และหาผลเฉลยเฉพาะของสมการดังกลาวเมือ่ y(0) = 0วธิทีำ จะเห็นวา

dy

dt=

(1− cet)cet − (1 + cet)(−cet)

(1− cet)2

=cet − c2e2t + cet + c2e2t

(1− cet)2

=2cet

(1− cet)2

พิจารณา

1

2(y2 − 1) =

1

2

[(1 + cet

1− cet

)2

− 1

]

=1

2

[1 + 2cet + c2e2t

1− 2cet + c2e2t− 1

]=

1

2

[1 + 2cet + c2e2t − (1− 2cet + c2e2t)

1− 2cet + c2e2t

]=

1

2

[4cet

(1− cet)2

]=

2cet

(1− cet)2=

dy

dt

ดังน้ัน y =1 + cet

1− cetเปนผลเฉลยทัว่ไปของสมการนี้ จาก y(0) = 0 จะไดวา

0 = y(0) =1 + c

1− c

0 = 1 + c

c = −1

ดังน้ัน y =1− et

1 + etเปนผลเฉลยเฉพาะของสมการนี้

2

2. (x2 + 1)y′ + y2 + 1 = 0วธิทีำ

(x2 + 1)dy

dx+ y2 + 1 = 0

(x2 + 1)dy = −(y2 + 1)dx

1

y2 + 1dy = − 1

x2 + 1dx∫

1

y2 + 1dy =

∫− 1

x2 + 1dx

arctan(y) = − arctan(x) + c

ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื arctan(y) + arctan(x) = c #

3. 2xydx+ (x2 + y2)dy = 0

วธิทีำ ให M(x, y) = 2xy และ N(x, y) = x2 + y2

วธิทีี ่ 1. พิจารณา

M(kx, ky) = 2(kx)(ky) = 2k2xy = k2(2xy) = k2M(x, y)

N(x, y) = (kx)2 + (ky)2 = k2x2 + k2y2 = k2(x2 + y2) = k2N(x, y)

จะไดวาสมการนี้ เปนสมการเอกพันธุ ให y = vx จะไดวา dy = vdx+ xdv นัน่คอื

2x(vx)dx+ (x2 + v2x2)(vdx+ xdv) = 0

2x2vdx+ x2vdx+ x3dv + v3x2dx+ v2x3dv = 0

(2x2v + x2v + v3x2)dx+ (x3 + v2x3)dv = 0

x2(3v + v3)dx+ x3(1 + v2)dv = 0

1

xdx = − 1 + v2

3v + v3dv∫

1

xdx =

∫− 1 + v2

3v + v3dv

lnx = −∫

1

3v + v3d(v +

1

3v3)

lnx = −1

3

∫1

3v + v3d(3v + v3)

lnx = −1

3ln(3v + v3) + c

lnx = −1

3ln(3y

x+(yx

)3)+ c #

หรอื − 3 lnx = ln(3y

x+(yx

)3)− 3c

x−3 =

(3y

x+(yx

)3)e−3c

x−3e3c =3y

x+

y3

x3

c1 = 3x2y + y3 เมือ่ c1 = e3c

ดังน้ัน 3x2y + y3 = c1 หรอื lnx = −1

3ln(3y

x+(yx

)3)+ c เปนผลเฉลยของสมการนี้

3

วธิทีี ่ 2. พิจารณา∂M

∂y= 2x =

∂N

∂x

ดังน้ันสมการอนพัุนธนี้ เปนสมการแมนตรง มีผลเฉลยเปน F (x, y) = c โดยที่

F (x, y) =

∫M(x, y)dx =

∫2xydx = x2y + c(y)

จาก ∂F

∂y= N(x, y) จะไดวา

x2 + c′(y) = x2 + y2

c′(y) = y2

c(y) =1

3y3 + c1

ดังน้ัน F (x, y) = x2y + 13y3 + c1 สรปุไดวาผลเฉลยของสมการนี้คอื x2y + 1

3y3 = c2 #

4. (ey + yex)dx+ (ex + xey)dy = 0

วธิทีำ ให M(x, y) = ey + yex และ N(x, y) = ex + xey พิจารณา∂M

∂y= ex + ey และ ∂N

∂x= ex + ey

จะเห็นวา ∂M

∂y=

∂N

∂xสรปุไดวาเปนสมการแมนตรง มีผลเฉลยคอื F (x, y) = c โดยที่

F (x, y) =

∫M(x, y)dx =

∫ey + yexdx = xey + yex + c(y)

จาก ∂F

∂y= N(x, y) จะไดวา

xey + ex + c′(y) = ex + xey

c′(y) = 0

c(y) = c1

ดังน้ัน F (x, y) = xey + yex + c1 สรปุไดวาผลเฉลยของสมการนี้คอื xey + yex = c2 #

4

Assingment 2 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการเชงิเสนอันดับหนึง่ และผลเฉลยเดยีว คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 2 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลเฉลยทัว่ไปของสมการ y(1 + x2y)dx− xdy = 0

2. จงหาผลเฉลยทัว่ไปของสมการ 2(y − 3 sinx) cos xdx+ sinxdy = 0

3. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ x2 dy

dx− 2xy = 3y4 เมือ่ y(1) = 1

4. จงหาผลเฉลยเดยีวของสมการ y′′ − 2y′ + y = 0 เมือ่ y(0) = 1 และ y′(0) = 2

โดยที่ ex, xex เปนผลเฉลยของสมการดังกลาว

5

เฉลย Assingment 2 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการเชงิเสนอันดับหนึง่ และผลเฉลยเดยีว คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 2 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลเฉลยทัว่ไปของสมการ y(1 + x2y)dx− xdy = 0

วธิทีำ ให M(x, y) = y + x2y2 และ N(x, y) = −x จะไดวา∂M

∂y= 1 + 2x2y และ ∂N

∂x= −1

จะไดวา

g(y) =1

M

(∂N

∂x− ∂M

∂y

)=

1

y(1 + x2y)(−1− (1 + 2x2y)) =

1

y(1 + x2y)· (−2)(1 + x2y) = −2

y

ดังน้ันµ = e

∫g(y)dy = e

∫− 2

ydy = e−2 ln y = y−2

พิจารณาy−2y(1 + x2y)dx− y−2xdy = 0

y−1dx+ x2dx− y−2xdy = 0

(y−1dx− y−2xdy) + x2dx = 0

d(y−1x) + x2dx = 0

y−1x+x3

3= c

ดังน้ัน y−1x+ x3

3= c เปนผลเฉลยของสมการนี้ #

2. จงหาผลเฉลยทัว่ไปของสมการ 2(y − 3 sinx) cos xdx+ sinxdy = 0วธิทีำ

2(y − 3 sinx) cos x+ sinxdy

dx= 0

2y cosx− 6 sin x cos x+ sinxdy

dx= 0

sin xdy

dx+ (2 cos x)y = 6 sinx cosx

dy

dx+ (2 cot x)y = 6 cos x

ให P (x) = 2 cotx และ Q(x) = 6 cos x จะไดวาµ = e

∫2 cotxdx = e2 ln sinx = sin2 x

ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื

y =1

sin2 x

(∫sin2 x(6 cosx)dx+ c

)= csc2 x

(6

∫sin2 xd sinx+ c

)= csc2 x

(2 sin3 x+ c

)#

6

3. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ x2 dy

dx− 2xy = 3y4 เมือ่ y(1) = 1

วธิทีำ จัดรปูสมการใหมไดเปนdy

dx− 2

xy =

3

x2y4

จะเห็นวาสมการนี้ เปนสมการแบรนลูลโีดยที่ n = 4 ให z = y4−1 = y−3 จะไดวา

P (x) = −2

xและ Q(x) =

3

x2

แลวµ = e

∫(1−n)P (x)dx = e

∫6xdx = e6 lnx = x6

ดังน้ันผลเฉลยทัว่ไปของสมการนี้คอื

z =1

µ

(∫(1− n)µQ(x) dx+ c

)y−3 =

1

x6

(∫(−3)x6 · 3

x2dx+ c

)= x−6

(∫−9x4dx+ c

)= x−6

(−9x5

5+ c

)

จาก y(1) = 1 จะไดวา

1 = 1

(−9

5+ c

)c =

14

5

ดังน้ันผลเฉลยเฉพาะของสมการนี้คอื

y−3 = x−6

(−9

5x5 +

14

5

)#

4. จงหาผลเฉลยเเดยีวของสมการ y′′ − 2y′ + y = 0 เมือ่ y(0) = 1 และ y′(0) = 2

โดยที่ ex, xex เปนผลเฉลยของสมการดังกลาววธิทีำ เนือ่งจาก ex, xex เปนผลเฉลยของสมการ ดังน้ัน y = c1e

x + c2xex เปนผลเฉลยทัว่ไปของสมการนี้ดวย

โดยเงือ่นไขทีก่ำหนดใหจะไดวา

1 = y(0) = c1 + 0

ดังน้ัน c1 = 1 และ y′ = c1ex + c2e

x + c2xex จะไดวา

2 = y′(0) = 1 + c2

แลว c2 = 1 สรปุไดวา y = ex + xex เปนผลเฉลยเดยีวของสมการนี้ #

7

Assingment 3 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ อสิระเชงิเสน และสมการชวย คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 3 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงตรวจสอบวา f1, f2, f3 เปนอสิระเชงิเสนตอกันหรอืไม เมือ่ f1(t) = 1, f2(t) = sin2 t, f3(t) = cos2 t

2. จงใชฟงกชัน e2x, xex, x2, x+ 1 หาผลเฉลยบรบูิรณของสมการ (2x+ 1)y′′ − (4x+ 4)y′ + 4y = 0

3. จงหาผลเฉลยบรบูิรณของสมการ(a) y′′ − 4y′ − 5y = 0

(b) 4y′′ + 4y′ + y = 0

(c) y′′′ − 3y′′ + y′ + 5y = 0

4. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการy′′′ − 3y′′ + 4y = 0

เมือ่ y(0) = 1, y′(0) = −8 และ y′′(0) = −4

8

เฉลย Assingment 3 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ อสิระเชงิเสน และสมการชวย คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 3 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงตรวจสอบวา f1, f2, f3 เปนอสิระเชงิเสนตอกันหรอืไม เมือ่ f1(t) = 1, f2(t) = sin2 t, f3(t) = cos2 tวธิทีำวธิทีี ่ 1. พิจารณา

c1f1(t) + c2f2(t) + c3f3(t) = c1 + c2 sin2 t+ c3 cos2 t = 0

เลอืก c1 = −1, c2 = c3 = 1 จะไดวา

−1 + sin2 t+ cos2 t = −1 + 1 = 0

ดังน้ัน f1, f2, f3 ไมเปนอสิระเชงิเสนตอกันวธิทีี ่ 2. เนือ่งจาก f ′

2(t) = 2 sin t cos t = sin 2t และ f ′3(t) = −2 cos t sin t = − sin 2t และพิจารณา∣∣∣∣∣∣

1 sin2 t cos2 t0 sin 2t − sin 2t0 2 cos 2t −2 cos 2t

∣∣∣∣∣∣ = 1

∣∣∣∣ sin 2t − sin 2t2 cos 2t −2 cos 2t

∣∣∣∣= −2 sin 2t cos 2t+ 2 sin 2t cos 2t = 0 ทกุ ๆ t ∈ R

ดังน้ัน f1, f2, f3 ไมเปนอสิระเชงิเสนตอกัน2. จงใชฟงกชัน e2x, xex, x2, x+ 1 หาผลเฉลยบรบูิรณของสมการ (2x+ 1)y′′ − (4x+ 4)y′ + 4y = 0

วธิทีำ ให y1 = e2x และ y2 = x+ 1 จะไดวา y′1 = 2e2x, y′′1 = 4e2x, y′2 = 1 และ y′′2 = 0 จะไดวา

(2x+ 1)y′′1 − (4x+ 4)y′1 + 4y1 = (2x+ 1)(4e2x)− (4x+ 4)(2e2x) + 4e2x

= 8xe2x + 4e2x − 8xe2x − 8e2x + 4e2x = 0

(2x+ 1)y′′2 − (4x+ 4)y′2 + 4y2 = (2x+ 1)(0)− (4x+ 4)(1) + 4(x+ 1)

= −4x− 4 + 4x+ 4 = 0

ดังน้ัน y1, y2 เปนคำตอบของสมการ และ∣∣∣∣ e2x x+ 12e2x 1

∣∣∣∣ = e2x − (x+ 1)2e2x = −2xe2x − e2x = −1 เมือ่เลอืก x = 0

นัน่คอื y1, y2 เปนอสิระเชงิเสนตอกัน สรปุไดวาผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1e2x + c2(x+ 1) #

3. จงหาผลเฉลยบรบูิรณของสมการ(a) y′′ − 4y′ − 5y = 0

วธิทีำ สมการชวยคอื m2 − 4m− 5 = (m− 5)(m+ 1) = 0 จะไดวา m = −1, 5

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1e−x + c2e

5x #(b) 4y′′ + 4y′ + y = 0

วธิทีำ สมการชวยคอื 4m2 + 4m+ 1 = (2m+ 1)2 = 0 จะไดวา m = −1

2,−1

2

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1e− 1

2x + c2xe

− 12x #

9

(c) y′′′ − 3y′′ + y′ + 5y = 0วธิทีำ สมการชวยคอื m3 − 3m2 +m+ 5 = 0 จะไดวา

(m+ 1)(m2 − 4m+ 5) = 0

(m+ 1)[(m− 2)2 + 1] = 0

m = −1, 2± i

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1e−x + e2x[c2 cosx+ c3 sinx] #

4. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการy′′′ − 3y′′ + 4y = 0

เมือ่ y(0) = 1, y′(0) = −8 และ y′′(0) = −4วธิทีำ สมการชวยคอื m3 − 3m2 + 4 = 0 จะไดวา

(m+ 1)(m2 − 4m+ 4) = 0

(m+ 1)(m− 2)2 = 0

m = −1, 2, 2

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1e−x + c2e

2x + c3xe2x จะไดวา

y′ = −c1e−x + 2c2e

2x + c3e2x + 2c3xe

2x

y′′ = c1e−x + 4c2e

2x + 4c3e2x + 4c3xe

2x

จากเงือ่นไข y(0) = 1, y′(0) = −8 และ y′′(0) = −4 จะไดวา

y(0) = c1 + c2 = 1 .............(1)y′(0) = −c1 + 2c2 + c3 = −8 .............(2)y′′(0) = c1 + 4c2 + 4c3 = −4 .............(3)

(1) + (2) : 3c2 + c3 = −7 .............(4)(2) + (3) : 6c2 + 5c3 = −12 .............(5)2× (4) : 6c2 + 2c3 = −14 .............(6)

(5)− (6) : 3c3 = 2 .............(7)

จะได c3 = 2

3แลวแทน c3 ในสมการ (4) และแทน c2 ในสมการ (1)

3c2 +2

3= −7

3c2 = −7− 2

3= −23

3

c2 = −23

9

c1 −23

9= 1

c1 = 1 +23

9=

32

9

ดังน้ันผลเฉลยเฉลยเฉพาะของสมการนี้คอื

y =32

9e−x − 23

9e2x +

2

3xe2x #

10

Assingment 4 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ตัวดำเนนิการ และการหาผลเฉลยโดยใชตัวดำเนนิการ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 4 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลคณูของตัวดำเนนิการ (D − 1)(D2 − xD + 1)

2. จงหานพิจนตอไปนี้ (xD2 +D − 2)(ex + x cosx)

3. จงหาผลเฉลยของสมการตอไปนี้ โดยใชตัวดำเนนิการ(a) 25y′′′ + y′ = 0

(b) (D5 − 16D)(D2 + 2D + 5)2y = 0

4. จงหาผลเฉลยของสมการตอไปนี้ โดยใชตัวดำเนนิการ(a) y′′′ − 4y′′ + 5y′ = 0

(b) (D − 1)2(D2 + 1)2(D2 − 1)y = 0

11

เฉลย Assingment 4 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ตัวดำเนนิการ และการหาผลเฉลยโดยใชตัวดำเนนิการ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 4 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลคณูของตัวดำเนนิการ (D − 1)(D2 − xD + 1)

วธิทีำ พิจารณา(D − 1)(D2 − xD + 1)f = (D − 1)(D2f − xDf + f)

= D(D2f − xDf + f)− (D2f − xDf + f)

= D3f −D(xDf) +Df −D2f + xDf − f

= D3f − (Dx)Df − xD(Df) +Df −D2f + xDf − f

= D3f −Df − xD2f +Df −D2f + xDf − f

= D3f − (x+ 1)D2f + xDf − f

= (D3 − (x+ 1)D2 + xD − 1)f

ดังน้ัน (D − 1)(D2 − xD + 1) = D3 − (x+ 1)D2 + xD + 1 #

2. จงหานพิจนตอไปนี้ (xD2 +D − 2)(ex + x cosx)วธิทีำ จะไดวา

(xD2 +D − 2)(ex + x cos x) = xD2(ex + x cos x) +D(ex + x cosx)− 2(ex + x cosx)= xD(Dex +D(x cos x)) +Dex +D(x cos x)− 2ex − 2x cos x= xD(ex + cos x− x sinx) + ex + cos x− x sinx− 2ex − 2x cosx= x(Dex +D cos x−D(x sinx))− ex + cos x− x sinx− 2x cos x= x(ex − sin x− sinx− x cos x)− ex + cos x− x sinx− 2x cos x= xex − 2x sinx− x2 cos x− ex + cos x− x sin x− 2x cosx= xex − ex − 3x sinx− x2 cos x+ cos x− 2x cosx #

3. จงหาผลเฉลยของสมการตอไปนี้ โดยใชตัวดำเนนิการ(a) 25y′′′ + y′ = 0

วธิทีำ ให D =d

dxจะไดวา

(25D3 +D)y = 0

D(25D2 + 1)y = 0

D

[D2 +

1

25

]y = 0

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1 + c2 cos(15x) + c3 sin(1

5x) #

(b) (D5 − 16D)(D2 + 2D + 5)2y = 0

วธิทีำ พิจารณาD(D4 − 16)[(D + 1)2 + 4]2 = 0

D(D2 − 4)(D2 + 4)[(D + 1)2 + 4]2 = 0

D(D − 2)(D + 2)(D2 + 4)[(D + 1)2 + 4]2 = 0

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอืy = c1 + c2e

2x + c3e−2x + c4 cos 2x+ c5 sin 2x+ (c6 + c7x)e

−x cos 2x+ (c8 + c9x)e−x sin 2x #

12

4. จงหาผลเฉลยของสมการตอไปนี้ โดยใชตัวดำเนนิการ(a) y′′′ − 4y′′ + 5y′ = 0

วธิทีำ ให D =d

dxจะไดวา

(D3 − 4D2 + 5D)y = 0

D(D2 − 4D + 5)y = 0

D[(D − 2)2 + 1]y = 0

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื y = c1 + e2x(c2 cos x+ c3 sinx) #(b) (D − 1)2(D2 + 1)2(D2 − 1)y = 0

วธิทีำ พิจารณา

(D − 1)2(D2 + 1)2(D − 1)(D + 1)y = 0

(D − 1)3(D + 1)(D2 + 1)2y = 0

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอื

y = c1ex + c2xe

x + c3x2ex + c4e

−x + (c5 + c6x) cosx+ (c7 + c8x) sin x #

13

Assingment 5 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ วธิีการเทยีบสัมประสทิธิ์ และตัวดำเนนิการผกผัน และการหาผลเฉลยโดยใชตัวดำเนนิการ คะแนน10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 5 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาหาผลเฉลยบรบูิรณของ y′′ − y′ = 4ex โดยใชวธิเีทยีบสัมประสทิธิ์

2. จงหาหาผลเฉลยบรบูิรณของ y′′ − 2y′ − 15y = 130 sinx โดยใชวธิเีทยีบสัมประสทิธิ์

3. จงหารปูแบบปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − 3y′ + 2y = 1 + xex + xex cosx

4. จาหาปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − y = ex + x2 + x โดยใชตัวดำเนนิการผกผัน5. จาหาปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − y = ex(x2 − 1) โดยใชตัวดำเนนิการผกผัน

14

เฉลย Assingment 5 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ วธิกีารเทยีบสัมประสทิธิ์ และการหาผลเฉลยโดยใชตัวดำเนนิการ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 5 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

จงหาผลเฉลยบรบูิรณของสมการตอไปนี้ โดยใชวธิเีทยีบสัมประสทิธิ์1. y′′ − y′ = 4ex

วธิทีำ พิจารณาผลเฉลยสมการ y′′−y′ = 0 นั ่นคอื (D2−D)y = D(D−1)y = 0 ดังน้ัน yc = c1+ c2ex เนือ่งจาก

(D − 1)(4ex) = 0 จะไดวา(D − 1)D(D − 1)y = (D − 1)4ex

(D − 1)2Dy = 0

ผลเฉลยของสมการนี้คอื y = c1 + c2ex + Axex แลว yp = Axex จะไดวา

y′p = Aex + Axex

y′′p = 2Aex + Axex

ดังน้ันy′′p − y′p = 4ex

(2Aex + Axex)− (Aex + Axex) = 4ex

Aex = 4ex

จะได A = 4 ผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอืy = c1 + c2e

−x + 4xex #

2. y′′ − 2y′ − 15y = 130 sinx

วธิทีำ พิจารณาผลเฉลยสมการ y′′ − 2y′ − 15 = 0 นั ่นคอื (D2 − 2D − 15)y = (D − 5)(D + 3)y = 0

ดังน้ัน yc = c1e5x + c2e

−3x เนือ่งจาก (D2 + 1)(130 sinx) = 0 จะไดวา(D2 + 1)(D − 5)(D + 3)y = (D2 + 1)130 sinx = 0

ผลเฉลยของสมการนี้คอื y = c1e5x + c2e

−3x + A cos x+B sinx แลว yp = A cosx+B sinx จะไดวาy′p = −A sinx+B cos x และ y′′p = −A cos x−B sinx

ดังน้ันy′′p − 2y′p − 15yp = 130 sinx

(−A cos x−B sin x)− 2(−A sin x+B cos x)− 15(A cos x+B sinx) = 130 sinx

(−16A− 2B) cos x+ (−16B + 2A) sinx = 130 sinx

จะได −16A− 2B = 0 หรอื B = −8A และ −16B + 2A = 130 นัน่คอื−16(−8A) + 2A = 130

130A = 130

A = 1

แลว B = −8(1) = −8 สรปุไดวาผลเฉลยบรบูิรณของสมการนี้คอืy = c1e

5x + c2e−3x + cos x− 8 sinx #

15

3. จงหารปูแบบปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − 3y′ + 2y = 1 + xex + xex cosxวธิทีำ พิจารณาสมการ (D2 − 3D + 2)y = 1 + xex + xex cos x นัน่คอื

(D − 2)(D − 1)y = 1 + xex + xex cosx

จะไดวา yc = c1ex + c2e

2x แลวD(D − 1)2[(D − 1)2 + 1]2(D − 2)(D − 1)y = D(D − 1)2[(D − 1)2 + 1]2(1 + xex + xex cos x) = 0

ฉะน้ัน y = c1ex + c2e

2x + A+Bxex + Cx2ex + ex(E cos x+ F sin x) + ex(Gx cos x+Hx sin x) ดังน้ันyp = A+Bxex + Cx2ex + ex(E cos x+ F sinx) + ex(Gx cosx+Hx sinx) #

4. จาหาปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − y = ex + x2 + x โดยใชตัวดำเนนิการผกผันวธิทีำ

(D2 − 1)y = ex + x2 + x

yp =1

D2 − 1ex +

1

D2 − 1(x2 + x)

= ex1

(D + 1)2 − 11− 1

1−D2(x2 + x)

= ex1

D2 + 2D1− (1 +D2)(x2 + x)

= ex1

D(D + 2)e0x − (x2 + x)− 2

= ex1

D

[1

D + 2e0x]− x2 − x− 2

= ex1

D

[1

2

]− x2 − x− 2

=1

2xex − x2 − x− 2

5. จาหาปรพัินธเฉพาะของสมการ y′′ − y = ex(x2 − 1) โดยใชตัวดำเนนิการผกผันวธิทีำ

(D2 − 1)y = ex(x2 − 1)

yp =1

D2 − 1ex(x2 − 1)

= ex1

(D + 1)2 − 1(x2 − 1) = ex

1

D2 + 2D(x2 − 1)

= ex1

(D + 2)D(x2 − 1) = ex

1

D + 2

[1

D(x2 − 1)

]= ex

1

D + 2

[1

3x3 − x

]= ex

1

2(1 + D2)

[1

3x3 − x

]=

1

2ex

(1− D

2+

(D

2

)2

−(D

2

)3)[

1

3x3 − x

]=

1

2ex[1

3x3 − x− 1

2x2 +

1

2+

1

2x− 1

2

]= ex

[1

6x3 − 1

4x2 − 1

4x

]#

16

Assingment 6 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ตัวดำเนนิการผกผัน (ตอ) และการแปรพารามิเตอร คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 6 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

ขอ 1-4 จงหาปรพัินธเฉพาะของสมการตอไปนี้ โดยใชตัวดำเนนิการผกผัน1. (D2 + 2D + 2)y = x2 + ex sinx

2. D2(D − 2)2y = 48e2x + ex cosx

3. (D2 + 1)y = x sinx

4. (D2 + 1)y = x cos x

5. จงหาผลเฉลยโดยการแปรพารามิเตอร xy′ + 2y = cosx

6. จงหาผลเฉลยโดยการแปรพารามิเตอร y′′ + y = tanx

17

เฉลย Assingment 6 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ตัวดำเนนิการผกผัน (ตอ) และการแปรพารามิเตอร คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 6 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. (D2 + 2D + 2)y = x2 + ex sinxวธิทีำ จะไดวา

yp =1

D2 + 2D + 2x2 +

1

D2 + 2D + 2ex sinx

=1

2

[1

1 + D2+2D2

x2

]+ ex

1

(D + 1)2 + 2(D + 1) + 2sinx

=1

2

[1−

(D2 + 2D

2

)+

(D2 + 2D

2

)2]x2 + ex

1

D2 + 4D + 5sin x

=1

2

[1− D2

2−D +

(D4 + 4D3 + 4D2

4

)]x2 + ex

1

−12 + 4D + 5sinx

=1

2

[1− D2

2−D +D2

]x2 + ex

1

4D + 4sinx

=1

2

[1 +

D2

2−D

]x2 + ex(D − 1)

1

4(D2 − 16)sinx

=1

2

[x2 +

D2x2

2−Dx2

]+ ex(D − 1)

1

4(−12 − 1)sinx

=1

2

[x2 + 1− 2x

]− 1

8ex(D − 1) sinx

=1

2

[x2 − 2x+ 1

]− 1

8ex(cos x− sin x) #

2. D2(D − 2)2y = 48e2x + ex cosxวธิทีำ จะไดวา

yp = 481

D2(D − 2)2e2x +

1

D2(D − 2)2ex cos x

= 48e2x1

(D + 2)2D21 + ex

1

(D + 1)2(D − 1)2cosx

= 48e2x1

D2

[1

(D + 2)2e0x]+ ex

1

[(D + 1)(D − 1)]2cos x

= 48e2x1

D2

[e0x

1

(0 + 2)2

]+ ex

1

(D2 − 1)2cos x

= 48e2x1

D2

[1

4

]+ ex

1

(−12 − 1)2cosx

= 48e2x1

D

[1

D

1

4

]+ ex

1

4cosx

= 48e2x1

D

[1

4x

]+

1

4ex cos x

= 48e2x[1

8x2

]+

1

4ex cos x

= 6x2e2x +1

4ex cos x #

18

3. (D2 + 1)y = x sinxวธิทีำ

yp =1

D2 + 1x sinx = Im

(1

D2 + 1eixx

)= Im

(eix

1

(D + i)2 + 1x

)= Im

(eix

1

D2 + 2iDx

)= Im

(eix

1

D(D + 2i)x

)= Im

(eix

1

D + 2i

1

Dx

)= Im

(eix

1

D + 2i

1

2x2

)= Im

(eix

1

2i(1 + D2i)

1

2x2

)

= Im(eix

1

4i

(1− D

2i+

(D

2i

)2)x2

)

= Im(eix

1

4i

(x2 − 2x

2i+

2

−4

))= Im

(eix(−1

4x2i+

x

4+

1

8i

))= Im

((cos x+ i sin x)

(−1

4x2i+

x

4+

1

8i

))=

x

4sinx+

(−1

4x2 +

1

8

)cosx #

เนือ่งจาก sinx เปนผลเฉลยมูลฐานของสมการ y′′ + y = 0 ดังน้ัน

yp =x

4sinx− 1

4x2 cosx #

19

4. (D2 + 1)y = x cos xวธิทีำ

yp =1

D2 + 1x sinx = Re

(1

D2 + 1eixx

)= Re

(eix

1

(D + i)2 + 1x

)= Re

(eix

1

D2 + 2iDx

)= Re

(eix

1

D(D + 2i)x

)= Re

(eix

1

D + 2i

1

Dx

)= Re

(eix

1

D + 2i

1

2x2

)= Re

(eix

1

2i(1 + D2i)

1

2x2

)

= Re(eix

1

4i

(1− D

2i+

(D

2i

)2)x2

)

= Re(eix

1

4i

(x2 − 2x

2i+

2

−4

))= Re

(eix(−1

4x2i+

x

4+

1

8i

))= Re

((cos x+ i sinx)

(−1

4x2i+

x

4+

1

8i

))=

(1

4x2 − 1

8

)sin x+

x

4cos x #

เนือ่งจาก cos x เปนผลเฉลยมูลฐานของสมการ y′′ + y = 0 ดังน้ัน

yp =1

4x2 sinx+

x

4cos x #

20

5. จงหาผลเฉลยโดยการแปรพารามิเตอร xy′ + 2y = cosxวธิทีำ หา yc จากสมการ xy′ + 2y = 0 ดังน้ัน

xdy

dx= −2y

1

ydy = −2

xdx∫

1

ydy =

∫−2

xdx

ln |y| = −2 ln |x|+ c

y = e−2 lnx + c = elnx−2 · ec = c1x−2 เมือ่ c1 = ec

ดังน้ัน yp = ux−2 แลวy′p = u′x−2 − 2x−3u

จะไดวาxy′p + 2yp = tanx

x(u′x−2 − 2x−3u) + 2ux−2 = cosxx−1u′ − 2x−2u+ 2ux−2 = cosx

x−1u′ = cosxu′ = x cos x

u =

∫x cos x dx = x sinx+ cosx By part

ดังน้ันผลเฉลยบูรณของสมการy = c1x

−2 + x−2(x sinx+ cos x) #

6. จงหาผลเฉลยโดยการแปรพารามิเตอร y′′ + y = tanx

วธิทีำ หา yc จากสมการ y′′ + y = 0 หรอื (D2 + 1)y = 0 ดังน้ันyc = c1 cos x+ c2 sinx

ให y1 = cosx และ y2 = sinx แลว

W (y1, y2;x) =

∣∣∣∣ cos x sinx− sinx cosx

∣∣∣∣ = 1

ดังน้ัน yp = u1y1 + u2y2 โดยที่

u1 = −∫

y2W (y1, y2; x)

tanx

1dx = −

∫ sinx

1tanx dx

= −∫ sin2 x

cos x dx =

∫ cos2 x− 1

cosx dx

=

∫cos x− secx dx

= sin x− ln | secx+ tanx|และ

u2 =

∫y1

W (y1, y2;x)

tanx

1dx =

∫ cosx1

tanx dx =

∫sinx dx = − cosx

ดังน้ันผลเฉลยบรบูิรณคอืy = c1 cos x+ c2 sin x+ (sinx− ln | secx+ tanx|) cos x− cos x sinx #

21

Assingment 7 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ระบบสมการเชงิอนพัุนธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 9 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

กำหนดให D =d

dtจงหาคำตอบของระบบสมการตอไปนี้

1.{

Dx = y

Dy = x

2.{

x′ = 2x− y − 12

y′ = x′ + y + 4et

3.

Dx − 6y = 0

x − Dy + z = 0

x + y − Dz = 0

4.

Dx = 2y

Dy = 2z

Dz = 2x

22

เฉลย Assingment 7 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ระบบสมการเชงิอนพัุนธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 9 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

กำหนดให D =d

dtจงหาคำตอบของระบบสมการตอไปนี้

1.{

Dx = y

Dy = x

วธิทีำ จัดรปูสมการไดดังนี้ {Dx− y = 0

−x+Dy = 0

จะไดวา ∣∣∣∣D −1−1 D

∣∣∣∣x =

∣∣∣∣0 −10 D

∣∣∣∣(D2 − 1)x = 0

(D − 1)(D + 1)x = 0

ดังน้ัน x = c1et + c2e

−t เนือ่งจาก y = Dx ดังน้ันy = D(c1e

t + c2e−t) = c1e

t − c2e−t

ดังน้ันผลเฉลยของระบบสมการนี้คอืx(t) = c1e

t + c2e−t

y(t) = c1et − c2e

−t

2.{

x′ = 2x− y − 12

y′ = x′ + y + 4et

วธิทีำ จัดรปูสมการไดดังนี้ {(D − 2)x + y = −12

−Dx + (D − 1)y = 4et

จะไดวา ∣∣∣∣D − 2 1−D D − 1

∣∣∣∣x =

∣∣∣∣−12 14et D − 1

∣∣∣∣[(D − 2)(D − 1) +D]x = (D − 1)(−12)− 4et

(D2 − 2D + 2)x = 12− 4et

[(D − 1)2 + 1]x = 12− 4et

ดังน้ัน xc = et(c1 cos t+ c2 sin t) + xp โดยที่

xp =1

D2 − 2D + 2(12− 4et) = 12

1

D2 − 2D + 2e0t − 4et

1

12 − 2(1) + 2= 6− 4et

23

จะไดวา x = et(c1 cos t+ c2 sin t) + 6− 4et เนือ่งจาก x′ = 2x− y − 12 ดังน้ัน

y = 2x− 12− x′

= 2(et(c1 cos t+ c2 sin t) + 6− 4et)− 12−D(et(c1 cos t+ c2 sin t) + 6− 4et)

= 2et(c1 cos t+ c2 sin t) + 12− 8et − 12− et(c1 cos t+ c2 sin t)− et(−c1 sin t+ c2 cos t) + 4et

= et[(c1 − c2) cos t+ (c1 + c2) sin t]− 4et

ดังน้ันผลเฉลยของระบบสมการนี้คอื

x(t) = et(c1 cos t+ c2 sin t) + 6− 4et

y(t) = et[(c1 − c2) cos t+ (c1 + c2) sin t]− 4et

3.

Dx − 6y = 0

x − Dy + z = 0

x + y − Dz = 0

วธิทีำ จะไดวา ∣∣∣∣∣∣D −6 01 −D 11 1 −D

∣∣∣∣∣∣x =

∣∣∣∣∣∣0 −6 00 −D 10 1 −D

∣∣∣∣∣∣(0− 1

∣∣∣∣D −61 1

∣∣∣∣−D

∣∣∣∣D −61 −D

∣∣∣∣)x = 0

[−(D + 6)−D(−D2 + 6)]x = 0

(D3 − 7D − 6)x = 0

(D + 1)(D2 −D − 6)x = 0

(D + 1)(D − 3)(D + 2)x = 0

ดังน้ัน xc = c1e−t + c2e

3t + c3e−2t เนือ่งจาก Dx = 6y ดังน้ัน

6y = D(c1e−t + c2e

3t + c3e−2t)

6y = −c1e−t + 3c2e

3t − 2c3e−2t

นัน่คอื y = −16c1e

−t + 12c2e

3t − 13c3e

−2t เนือ่งจาก z = Dy − x ดังน้ัน

z = D

(−1

6c1e

−t +1

2c2e

3t − 1

3c3e

−2t

)− (c1e

−t + c2e3t + c3e

−2t)

=1

6c1e

−t +3

2c2e

3t +2

3c3e

−2t − c1e−t − c2e

3t − c3e−2t

= −5

6c1e

−t +1

2c2e

3t − 1

3c3e

−2t

ดังน้ันผลเฉลยของระบบสมการนี้คอื

x(t) = c1e−t + c2e

3t + c3e−2t

y(t) = −1

6c1e

−t +1

2c2e

3t − 1

3c3e

−2t

z(t) = −5

6c1e

−t +1

2c2e

3t − 1

3c3e

−2t

24

4.

Dx = 2y

Dy = 2z

Dz = 2x

วธิทีำ จัดรปูสมการไดดังนี้ Dx − 2y = 0

Dy − 2z = 0

−2x + Dz = 0

จะไดวา ∣∣∣∣∣∣D −2 00 D −2−2 0 D

∣∣∣∣∣∣x =

∣∣∣∣∣∣0 −2 00 D −20 0 D

∣∣∣∣∣∣(D3 − 8)x = 0

(D − 2)(D2 + 2D + 4)x = 0

(D − 2)[(D + 1)2 + 3

]x = 0

ดังน้ัน x = c1e2t + e−t

(c2 cos

√3t+ c3 sin

√3t) เนือ่งจาก 2y = Dx ดังน้ัน

2y = D(c1e

2t + e−t(c2 cos

√3t+ c3 sin

√3t))

2y = 2c1e2t − e−t

(c2 cos

√3t+ c3 sin

√3t)+ e−t

(−√3c2 sin

√3t+

√3c3 cos

√3t)

y = c1e2t + e−t

[1

2

(√3c3 − c2

)cos

√3t− 1

2

(√3c2 + c3

)sin

√3t

]เนือ่งจาก 2z = Dy จะไดวา

2z = Dc1e2t +D

(e−t

[1

2

(√3c3 − c2

)cos

√3t− 1

2

(√3c2 + c3

)sin

√3t

])2z = 2c1e

2t − e−t

[1

2

(√3c3 − c2

)cos

√3t− 1

2

(√3c2 + c3

)sin

√3t

]+ e−t

[−√3 · 1

2

(√3c3 − c2

)sin

√3t−

√3 · 1

2

(√3c2 + c3

)cos

√3t

]2z = 2c1e

2t + e−t

[1

2

(−√3c3 + c2

)cos

√3t+

1

2

(√3c2 + c3

)sin

√3t

]+ e−t

[1

2

(−3c3 +

√3c2

)sin

√3t− 1

2

(3c2 +

√3c3

)cos

√3t

]z = c1e

2t + e−t

[1

2(−

√3c3 − c2) cos

√3t+

1

2(−c3 +

√3c2) sin

√3t

]

ดังน้ันผลเฉลยของระบบสมการนี้คอื

x(t) = c1e2t + e−t

(c2 cos

√3t+ c3 sin

√3t)

y(t) = c1e2t + e−t

[1

2

(√3c3 − c2

)cos

√3t− 1

2

(√3c2 + c3

)sin

√3t

]z(t) = c1e

2t + e−t

[1

2(−

√3c3 − c2) cos

√3t+

1

2(−c3 +

√3c2) sin

√3t

]

25

Assingment 8 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการโคช-ีออยเลอร จดุสามัญและจดุเอกฐาน คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 10 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลเฉลยของสมการ(a) x2y′′ + xy′ − y = 0

(b) xy′′′ + y′′ = x

2. จงหาผลเฉลยของสมการ(a) x2y′′ + 5xy′ + 4y = 0

(b) xy(4) + 6y′′′ = x

3. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ x2y′′ + xy′ + y = 5x2 เมือ่ y(1) = 1, y′(1) = 2

4. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ (x− 1)2y′′ − 5(x− 1)y′ + 9y′ = 0 เมือ่ y(2) = y′(2) = 1

5. จงหาจดุสามัญ จดุเอกฐานปรกติ และจดุเอกฐานไมปรกติ ของสมการ (x2 − x4)y′′ − 2y′ + 9xy = 0

26

เฉลย Assingment 8 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สมการโคช-ีออยเลอร จดุสามัญและจดุเอกฐาน คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 10 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลเฉลยของสมการ(a) x2y′′ + xy′ − y = 0

วธิทีำ เห็นไดชัดวาสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = lnx และ D = ddz

จะไดวา[D(D − 1) +D − 1]y = 0

(D2 − 1)y = 0

(D − 1)(D + 1)y = 0

จะไดวา y = c1ez + c2e

−z เนือ่งจาก ez = x ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื y = c1x+ c21x

#(b) xy′′′ + y′′ = x

วธิทีำ เขียนสมการใหมไดเปน x3y′′′ + x2y′′ = x3 ดังน้ันสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = lnx และD = d

dzจะไดวา

[D(D − 1)(D − 2) +D(D − 1)]y = e3z

D(D − 1)(D − 1)y = e3z

D(D − 1)2y = e3z

จะไดวา yc = c1 + c2ez + c3ze

z และ

yp =1

D(D − 1)2e3z = e3z

1

3(3− 1)2=

1

12e3z

แลว y = c1 + c2ez + c3ze

z + 112e3z เนือ่งจาก ez = x ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื

y = c1 + c2x+ c3x lnx+1

12x3 #

2. จงหาผลเฉลยของสมการ(a) x2y′′ + 5xy′ + 4y = 0

วธิทีำ เห็นไดชัดวาสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = lnx และ D = ddz

จะไดวา[D(D − 1) + 5D + 4]y = 0

(D2 + 4D + 4)y = 0

(D + 2)2y = 0

จะไดวา y = c1e−2z + c2ze

−2z เนือ่งจาก ez = x ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื y = c11x2 + c2

1x2 lnx #

(b) xy(4) + 6y′′′ = x

วธิทีำ เขียนสมการใหมไดเปน x4y(4) +6x3y′′′ = x4 ดังน้ันสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = lnx และD = d

dzจะไดวา

[D(D − 1)(D − 2)(D − 3) + 6D(D − 1)(D − 2)]y = e4z

D(D − 1)(D − 2)(D + 3)y = e4z

27

จะไดวา yc = c1 + c2ez + c3e

2z + c4e−3z และ

yp =1

D(D − 1)(D − 2)(D + 3)e4z = e4z

1

4(3)(2)(7)=

1

168e4z

แลว y = c1 + c2ez + c3e

2z + c4e−3z + 1

168e4z เนือ่งจาก ez = x ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื

y = c1 + c2x+ c3x2 + c4

1

x3+

1

168x4 #

3. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ x2y′′ + xy′ + y = 5x2 เมือ่ y(1) = 1, y′(1) = 2

วธิทีำ เห็นไดชัดวาสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = lnx และ D = ddz

จะไดวา

[D(D − 1) +D + 1]y = 5e2z

(D2 + 1)y = 5e2z

จะไดวา yc = c1 cos z + c2 sin z และ

yp =1

D2 + 15e2z = 5e2z

1

22 + 1= e2z

เนือ่งจาก ez = x ดังน้ัน

y = c1 cos(lnx) + c2 sin(lnx) + x2 −→ y(1) = c1 + 1 = 1

y′ = −1

xc1 sin(lnx) +

1

xc2 cos(lnx) + 2x −→ y′(1) = c2 + 2 = 2

จะไดวา c1 = c2 = 0 ดังน้ันผลเฉลยเฉพาะของสมการนี้คอื y = x2 #

4. จงหาผลเฉลยเฉพาะของสมการ (x− 1)2y′′ − 5(x− 1)y′ + 9y′ = 0 เมือ่ y(2) = y′(2) = 1

วธิทีำ เห็นไดชัดวาสมการนี้ เปนสมการโคช-ีออยเลอร ให z = ln(x− 1) และ D = ddz

จะไดวา

[D(D − 1)− 5D + 9]y = 0

(D2 − 6D + 9y = 0

(D − 3)2y = 0

จะไดวา y = c1e3z + c2ze

3z เนือ่งจาก z = ln(x+1) จะไดวา y = c1(x− 1)3 + c2(x− 1)3 ln(x− 1) จากเงือ่นไขy(2) = y′(2) = 1 จะไดวา

y(2) = c1 = 1

y′(x) = 3c1(x− 1)2 + 3c2(x− 1)2 ln(x− 1) + c2(x− 1)2

y′(2) = 3c1 + c2

1 = 3(1) + c2

−2 = c2

ดังน้ันผลเฉลยเฉพาะของสมการนี้คอื

y = (x− 1)3 − 2(x− 1)3 ln(x− 1) #

28

5. จงหาจดุสามัญ จดุเอกฐานปรกติ และจดุเอกฐานไมปรกติ ของสมการ (x2 − x4)y′′ − 2y′ + 9xy = 0

วธิทีำ จัดรปูสมการใหมจะไดวา

y′′ − 2

x2(1− x)(1 + x)y′ +

9

x(1− x)(1 + x)y = 0

ให P (x) = − 2

x2(1− x)(1 + x)และ Q(x) =

9

x(1− x)(1 + x)

จะเห็นไดวาทกุจดุ x เปนจดุสามัญ ยกเวนจดุ x = 0, 1,−1 เปนจดุเอกฐานพิจารณาจดุ x = 0 จะไดวา

xP (x) = − 2

x(1− x)(1 + x)ไมเปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = 0

x2Q(x) =9x

(1− x)(1 + x)เปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = 0

ดังน้ัน x = 0 เปนจดุเอกฐานปรกตไิมปรกติพิจารณาจดุ x = 1 จะไดวา

(x− 1)P (x) =2

x2(1 + x)เปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = 1

(x− 1)2Q(x) = − 9

x(1 + x)เปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = 1

ดังน้ัน x = 1 เปนจดุเอกฐานปรกติพิจารณาจดุ x = −1 จะไดวา

(x+ 1)P (x) = − 2

x2(1− x)เปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = −1

(x+ 1)2Q(x) =9

x(1− x)เปนฟงกชันวเิคราะหทีจ่ดุ x = −1

ดังน้ัน x = −1 เปนจดุเอกฐานปรกติ

29

Assingment 9 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลเฉลยในรปูอนกุรมรอบจดุสามัญ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 11 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

จงหาผลเฉลยในรปูอนกุรมกำลังรอบจดุกำเนดิของสมการ1. y′′ + y′ + (x− 1)y = 0

2. (1 + x)y′′ + y = 0

30

เฉลย Assingment 9 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลเฉลยในรปูอนกุรมรอบจดุสามัญ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 11 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลเฉลยในรปูอนกุรมกำลังรอบจดุกำเนดิของสมการ y′′ + y′ + (x− 1)y = 0

วธิทีำ จะเห็นไดชัดวาทกุจดุ x เปนจดุสามัญ ให y =∞∑n=0

anxn เปนผลเฉลยของสมการ จะได

y′ =∞∑n=1

nanxn−1 และ y′′ =

∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2

ดังน้ัน∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2 +

∞∑n=1

nanxn−1 + (x− 1)

∞∑n=0

anxn = 0

∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2 +

∞∑n=1

nanxn−1 +

∞∑n=0

anxn+1 −

∞∑n=0

anxn = 0

ตอไปทำใหแตละอนกุรมเปน xn−1 โดยการเปลีย่นคา n ดังนี้∞∑n=1

(n+ 1)nan+1xn−1 +

∞∑n=1

nanxn−1 +

∞∑n=2

an−2xn−1 −

∞∑n=1

an−1xn−1 = 0

จากน้ันทำใหอนกุรมเริม่ตนทีจ่ดุเดยีวกันคอื n = 2 นัน่คอื

2a2 + a1 − a0 +∞∑n=2

(n+ 1)nan+1xn−1 +

∞∑n=2

nanxn−1 +

∞∑n=2

an−2xn−1 −

∞∑n=2

an−1xn−1 = 0

(2a2 + a1 − a0) +∞∑n=2

[(n+ 1)nan+1 + nan + an−2 − an−1]xn−1 = 0

สมการดังกลาวจะเปนจรงิก็ตอเมือ่2a2 + a1 − a0 = 0

(n+ 1)nan+1 + nan + an−2 − an−1 = 0 เมือ่ n = 2, 3, 4, ...

จะไดวา a2 = −1

2a1 +

1

2a0 สำหรับ n ≥ 2 จะไดวา สตูรเวยีนเกดิ (recurrence formula)

an+1 =an−1 − an−2 − nan

n(n+ 1)

เมือ่แทนคา n = 2, 3, 4, ... จะไดวา

n = 2 : a3 =a1 − a0 − 2a2

2 · 3=

a1 − a0 + (a1 − a0)

2 · 3= −1

3a0 +

1

3a1

n = 3 : a4 =a2 − a1 − 3a3

3 · 4=

−12a1 +

12a0 − a1 + (a0 − a1)

3 · 4=

1

8a0 −

5

24a1

n = 4 : a5 =a3 − a2 − 4a4

4 · 5=

−13a0 +

13a1 +

12a1 − 1

2a0 − 1

2a0 +

56a1

4 · 5= − 1

15a0 +

5

3a1

...... .....................................

31

ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอืy = a0 + a1x+ a2x

2 + a3x3 + a4x

4 + a5x5 + · · ·

= a0 + a1x+

(−1

2a1 +

1

2a0

)x2 +

(−1

3a0 +

1

3a1

)x3 +

(1

8a0 −

5

24a1

)x4 +

(− 1

15a0 +

5

3a1

)x5 + · · ·

= a0

(1 +

1

2x2 − 1

3x3 +

1

8x4 − 1

15x5 + · · ·

)+ a1

(x− 1

2x2 +

1

3x3 − 5

24x4 +

5

3x5 + · · ·

)#

2. จงหาผลเฉลยในรปูอนกุรมกำลังรอบจดุกำเนดิของสมการ (1 + x)y′′ + y = 0

วธิทีำ จัดรปูสมการใหมจะไดวา

y′′ +1

1 + xy′ +

1

1 + xy = 0

จะเห็นไดวาทกุจดุ x เปนจดุสามัญ ยกเวนจดุ x = −1 เปนจดุเอกฐาน ให y =∞∑n=0

anxn เปนผลเฉลยของสมการ จะได

y′ =∞∑n=1

nanxn−1 และ y′′ =

∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2

ดังน้ัน

(1 + x)∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2 +

∞∑n=0

anxn = 0

∞∑n=2

n(n− 1)anxn−2 +

∞∑n=2

n(n− 1)anxn−1 +

∞∑n=0

anxn = 0

ตอไปทำใหแตละอนกุรมเปน xn โดยการเปลีย่นคา n ดังนี้∞∑n=0

(n+ 2)(n+ 1)an+2xn +

∞∑n=1

(n+ 1)nan+1xn +

∞∑n=0

anxn = 0

จากน้ันทำใหอนกุรมเริม่ตนทีจ่ดุเดยีวกันคอื n = 1 นัน่คอื

2a2 + a0 +∞∑n=1

(n+ 2)(n+ 1)an+2xn +

∞∑n=1

(n+ 1)nan+1xn +

∞∑n=1

anxn = 0

(2a2 + a0) +∞∑n=1

[(n+ 2)(n+ 1)an+2 + (n+ 1)nan+1 + an]xn = 0

สมการดังกลาวจะเปนจรงิก็ตอเมือ่2a2 + a0 = 0

(n+ 2)(n+ 1)an+2 + (n+ 1)nan+1 + an = 0 เมือ่ n = 1, 2, 3, ...

จะไดวา a2 = −1

2a0 สำหรับ n ≥ 1 จะไดวา สตูรเวยีนเกดิ (recurrence formula)

an+2 = −(n+ 1)nan+1 + an(n+ 1)(n+ 2)

เมือ่แทนคา n = 1, 2, 3, ... จะไดวา

32

n = 1 : a3 = −2a2 + a12 · 3

= −−a0 + a16

=1

6a0 −

1

6a1

n = 2 : a4 = −6a3 + a23 · 4

= −(a0 − a1)− 1

2a0

12= − 1

24a0 +

1

12a1

n = 3 : a5 = −12a4 + a34 · 5

= −−1

2a0 + a1 +

16a0 − 1

6a1

20=

1

60a0 −

1

24a1

...... .....................................

ดังน้ันผลเฉลยของสมการนี้คอื

y = a0 + a1x+ a2x2 + a3x

3 + a4x4 + a5x

5 + · · ·

= a0 + a1x+

(−1

2a0

)x2 +

(1

6a0 −

1

6a1

)x3 +

(− 1

24a0 +

1

12a1

)x4 +

(1

60a0 −

1

24a1

)x5 + · · ·

= a0

(1− 1

2x2 +

1

6x3 − 1

24x4 +

1

60x5 + · · ·

)+ a1

(x− 1

6x3 +

1

12x4 − 1

24x5 + · · ·

)#

33

Assingment 10 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ฟงกชันแกมมาและฟงกชันบีตา คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 12 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย

สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาคาตอไปนี้ โดยใชฟงกชันพิเศษ

(a)∫ ∞

0

e−xx5dx

(b)∫ ∞

0

e−x2

x3dx

(c)∫ 1

2

0

x√1− 2x

dx

2. จงหาคาตอไปนี้ โดยใชฟงกชันพิเศษ

(a)∫ ∞

0

e−xx7dx

(b)∫ ∞

0

e−3xx3dx

(c)∫ 1

4

0

√x(1− 4x)dx

3. จงหาคาของ∫ π

2

0

sin5 2θ cos θdθ

4. จงใชอปุนัยเชงิคณติศาสตร พิสจูนวา

Γ

(n+

1

2

)=

(2n− 1)!√π

22n−1(n− 1)!เมือ่ n ∈ N

34

เฉลย Assingment 10 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ฟงกชันแกมมาและฟงกชันบีตา คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 12 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ. ดร.ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาคาตอไปนี้ โดยใชฟงกชันพิเศษ

(a)∫ ∞

0

e−xx5dx

วธิทีำ ∫ ∞

0

e−xx5dx =

∫ ∞

0

e−xx6−1dx = Γ(6) = 5! = 120 #

(b)∫ ∞

0

e−x2

x3dx

วธิทีำ ให u = x2 จะไดวา du = 2xdx ดังน้ัน∫ ∞

0

e−x2

x3dx =

∫ ∞

0

e−x2

x21

2(2xdx)

=1

2

∫ ∞

0

e−uudu

=1

2

∫ ∞

0

e−uu2−1du

=1

2Γ(2)

=1

21! =

1

2#

(c)∫ 1

2

0

x√1− 2x

dx

วธิทีำ ให u = 2x จะไดวา du = 2dx และ u(0) = 0, u(12) = 1 ดังน้ัน∫ 1

2

0

x√1− 2x

dx =

∫ 1

0

u2√

1− u

du

2

=1

4

∫ 1

0

u(1− u)−12du

=1

4

∫ 1

0

u2−1(1− u)12−1du

=1

4B

(2,

1

2

)=

1

4·Γ(2)Γ

(12

)Γ(2 + 1

2

)=

1! ·√π

4 · 32· 12

√π

=1

3#

35

2. จงหาคาตอไปนี้ โดยใชฟงกชันพิเศษ

(a)∫ ∞

0

e−xx7dx

วธิทีำ ∫ ∞

0

e−xx7dx =

∫ ∞

0

e−xx8−1dx = Γ(8) = 7! = 5040 #

(b)∫ ∞

0

e−3xx3dx

วธิทีำ ให u = 3x จะไดวา du = 2dx ดังน้ัน∫ ∞

0

e−3xx3dx =

∫ ∞

0

e−u(u3

)3 du3

=1

81

∫ ∞

0

e−uu3du

=1

81

∫ ∞

0

e−uu4−1du

=1

81Γ(4)

=1

813! =

2

27#

(c)∫ 1

4

0

√x(1− 4x)dx

วธิทีำ ให u = 4x จะไดวา du = 4dx, u(0) = 0 และ u(14) = 1 แลว

∫ 14

0

√x(1− 4x)dx =

1

4

∫ 14

0

√x√1− 4x(4dx) =

1

4

∫ 1

0

√u

4

√1− udu

=1

8

∫ 1

0

u12 (1− u)

12du =

1

8

∫ 1

0

u32−1(1− u)

32−1du

=1

8B

(3

2,3

2

)=

1

8·Γ(32

)Γ(32

)Γ(32+ 3

2

)=

1

8·Γ(32

)Γ(32

)Γ (3)

=1

12

√π · 1

2

√π

2!=

π

64#

36

3. จงหาคาของ∫ π

2

0

sin5 2θ cos θdθ

วธิทีำ ∫ π2

0

sin5 2θ cos θdθ =

∫ π2

0

(2 sin θ cos θ)5 cos θdθ

= 32

∫ π2

0

sin5 θ cos6 θdθ

= 16

(2

∫ π2

0

sin2(3)−1 θ cos2( 72 )−1 θdθ

)

= 16B

(3,

7

2

)= 16

Γ(3)Γ(72

)Γ(3 + 7

2

)= 16 ·

2!Γ(72

)Γ(132

) =32 · 5

2· 32· Γ(12

)112· 92· 72· 52· 32Γ(12

)=

256

693#

4. จงใชอปุนัยเชงิคณติศาสตร พิสจูนวา

Γ

(n+

1

2

)=

(2n− 1)!√π

22n−1(n− 1)!เมือ่ n ∈ N

บทพิสจูน . ให P (n) แทนขอความ Γ

(n+

1

2

)=

(2n− 1)!√π

22n−1(n− 1)!จะเเห็นไดวา

Γ

(1 +

1

2

)= Γ

(3

2

)=

1

2

√π =

1!√π

21(0)!=

(2(1)− 1)!√π

22(1)−1(1− 1)!

ดังน้ัน P (1) เปนจรงิสมมตวิา P (k) เปนจรงิ เมือ่ k ∈ N นัน่คอื Γ

(k +

1

2

)=

(2k − 1)!√π

22k−1(k − 1)!ทำใหได

Γ

(k + 1 +

1

2

)=

(k +

1

2

(k +

1

2

)=

2k + 1

2· (2k − 1)!

√π

22k−1(k − 1)!

=(2k + 1)(2k)(2k − 1)!

√π

2 · 22k−1(2k)(k − 1)!

=(2k + 1)!

√π

22k · 2 · k(k − 1)!

=(2k + 1)!

√π

22k+1 · k!

=(2(k + 1)− 1)!

√π

22(k+1)−1 · (K + 1− 1)!

ดังน้ัน P (k + 1) เปนจรงิโดยหลักอปุนัยเชงิคณติศาสตรสรปุไดวา

Γ

(n+

1

2

)=

(2n− 1)!√π

22n−1(n− 1)!ทกุ ๆ n ∈ N

37

Assingment 11 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลการแปลงลาปลาซ สมบัตเิชงิเสน สมบัตกิารเลือ่น และการคณู tn คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 13 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงพิสจูนโดยใชนยิามวา L{sin bt} =b

s2 + b2เมือ่ s > 0

2. จงหา(a) L{sin2 3t cos2 5t}

(b) L−1

{s+ 2

s2(s+ 1)

}3. จงหา

(a) L{1 + sin t+ sin2 t+ sin3 t}

(b) L−1

{5

s(9s2 + 6s+ 5)

}4. จงหา

(a) L{t2 sin2 2t}

(b) L−1

{2s

(s2 − 4)2

}

38

เฉลย Assingment 11 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลการแปลงลาปลาซ สมบัตเิชงิเสน สมบัตกิารเลือ่น และการคณู tn คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 13 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงพิสจูนโดยใชนยิามวา L{sin bt} =b

s2 + b2เมือ่ s > 0

บทพิสจูน .

L{f(t)} = L{sin bt} =

∫ ∞

0

e−st sin bt dt = limr→∞

∫ r

0

e−st sin bt dt

= limr→∞

[1

De−st sin bt

]r0

เมือ่ D =d

dt

= limr→∞

[e−st 1

D − ssin bt

]r0

= limr→∞

[e−st(D + s)

1

D2 − s2sin bt

]r0

= limr→∞

[e−st(D + s)

1

−b2 − s2sin bt

]r0

= limr→∞

[− e−st

s2 + b2(b cos bt+ s sin bt)

]r0

= limr→∞

[− e−sr

s2 + b2(b cos br + s sin br) +

b

s2 + b2

]=

b

s2 + b2เมือ่ s > 0

ดังน้ัน

L{sin bt} =b

s2 + b2เมือ่ s > 0

2. จงหา(a) L{sin2 3t cos2 5t}

วธิทีำ จะไดวา

L{sin2 3t cos2 5t} = L{1− cos 6t

2· 1 + cos 10t

2

}=

1

4L{(1− cos 6t)(1 + cos 10t)}

=1

4L{(1− cos 6t+ cos 10t− cos 6t cos 10t)}

=1

4L{1− cos 6t+ cos 10t− 1

2(cos 4t− cos 16t)

}=

1

4L{1− cos 6t+ cos 10t− 1

2cos 4t+ 1

2cos 16t

}=

1

4

(1

s− s

s2 + 36+

s

s2 + 100− s

2(s2 + 16)+

s

2(s2 + 256)

)#

39

(b) L−1

{s+ 2

s2(s+ 1)

}วธิทีำ พิจารณา

s+ 2

s2(s+ 1)=

A

s+

B

s2+

C

s+ 1

s+ 2 = As(s+ 1) +B(s+ 1) + Cs2

จะไดวา

s = 0 : 0 + 2 = 0 +B + 0 −→ B = 2

s = −1 : −1 + 2 = 0 + 0 + C −→ C = 1

s = 1 : 1 + 2 = 2A+ 2B + C −→ A = −1

ดังน้ัน

L−1

{s+ 2

s2(s+ 1)

}= L−1

{−1

s+

2

s2+

1

s+ 1

}= −1 + 2t+ e−t #

3. จงหา(a) L{1 + sin t+ sin2 t+ sin3 t}

วธิทีำ จะไดวา

L{1 + sin t+ sin2 t+ sin3 t} = L{1 + sin t+

1

2(1− cos 2t) + 1

4(3 sin t− sin 3t)

}= L

{3

2+

7

4sin t− 1

2cos 2t− 1

4sin 3t

}=

3

2s+

7

4(s2 + 1)− s

2(s2 + 4)− 3

4(s2 + 9)#

(b) L−1

{5

s(9s2 + 6s+ 5)

}วธิทีำ พิจารณา

5

s(9s2 + 6s+ 5)=

A

s+

Bs+ C

9s2 + 6s+ 5

5 = A(9s2 + 6s+ 5) + (Bs+ C)s

จะไดวา

s = 0 : 5 = 5A −→ A = 1

s = −1 : 5 = 8A+B − C = 8(1) +B − C −→ B − C = −3 ....(1)

s = 1 : 5 = 20A+B + C = 20(1) +B + C −→ B + C = −15 ....(2)

(1) + (2) : 2B = −18

B = −9

แทน B ในสมการ (2) − 9 + C = −15 −→ C = −6

40

ดังน้ัน

L−1

{1

s(9s2 + 6s+ 5)

}= L−1

{1

s+

−9s− 6

9s2 + 6s+ 5

}= L−1

{1

s+

−9(s+ 23)

9(s+ 13)2 + 4

}= L−1

{1

s+

−9(s+ 23)

9((s+ 13)2 + 4

9)

}= L−1

{1

s−

s+ 23

(s+ 13)2 + 4

9

}= L−1

{1

s−

(s+ 13) + 1

3

(s+ 13)2 + 4

9

}= L−1

{1

s

}− L−1

{s+ 1

3

((s+ 13)2 + 4

9)

}− L−1

{ 13

((s+ 13)2 + 4

9)

}= 1− L−1

{s+ 1

3

((s+ 13)2 + 4

9)

}− 1

2L−1

{ 23

((s+ 13)2 + 4

9)

}= 1− L−1

{s

(s2 + 49)

}s→s+ 1

3

− 1

2L−1

{ 23

(s2 + 49)

}s→s+ 1

3

= 1− e−13t cos

(2

3t

)− 1

2e−

13t sin

(2

3t

)#

4. จงหา(a) L{t2 sin2 2t}

วธิทีำ จะไดวา

L{t2 sin2 2t} = (−1)2d2

ds2L{

sin2 2t}

=d2

ds2L{1

2(1− cos 4t)

}=

d2

ds21

2

[1

s− s

s2 + 16

]=

1

2

d

ds

[− 1

s2− 16− s2

(s2 + 16)2

]=

1

2

[2

s3− 2s3 − 96s

(s2 + 16)3

]=

32(3s4 + 24s2 + 128)

s3(s2 + 16)3#

41

(b) L−1

{2s

(s2 − 4)2

}วธิทีำ พิจารณา

2s

(s2 − 4)2=

2s

(s− 2)2(s+ 2)2

=1

4

[1

s2 − 4s+ 4− 1

s2 + 4s+ 4

]=

1

4

[1

(s− 2)2− 1

(s+ 2)2

]จะไดวา ดังน้ัน

L−1

{2s

(s2 − 4)2

}=

1

4L−1

{1

(s− 2)2− 1

(s+ 2)2

}=

1

4L−1

{1

(s− 2)2

}− 1

4L−1

{1

(s+ 2)2

}=

1

4L−1

{1

s2

}s→s−2

− 1

4L−1

{1

s2

}s→s+2

=1

4e2tt− 1

4e−2tt #

42

Assingment 12 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลการแปลงลาปลาซ ของอนพัุนธ และปรพัินธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 14 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลการแปลงลาปลาซ(a) L{(1 + t+ t2 + · · · t100)et}

(b) L{1− et

t

}

2. จงหาลาปลาซผกผัน L−1

{arctan

(1

s+ 1

)}3. จงหาคาของ

∫ ∞

0

te−t sin2 t dt โดยใชผลการแปลงลาปลาซ

4. จงหาผลเฉลยของปญหาคาเริม่ตน โดยใชผลการแปลงลาปลาซ

(a) y′′ − 2y′ + y = 1 + t เมือ่ y(0) = 0 และ y′(0) = 0

(b) y′′ − 6y′ + 9y = te2t เมือ่ y(0) = 0 และ y′(0) = 0

43

เฉลย Assingment 12 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ ผลการแปลงลาปลาซ ของอนพัุนธ และปรพัินธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 14 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงหาผลการแปลงลาปลาซ(a) L{(1 + t+ t2 + · · · t100)et}

วิธีทีำ จะไดวา

L{(1 + t+ t2 + · · · t100)et} = (1−D +D2 −D3 + · · ·+D100)L{et}

= (1−D +D2 −D3 + · · ·+D100)1

s− 1

=1

s− 1+

1

(s− 1)2+

2!

(s− 1)3+

3!

(s− 1)4+ · · ·+ 100!

(s− 1)101#

(b) L{1− et

t

}วธิทีำ เนือ่งจาก

limt→0+

1− et

t= lim

t→0+

−et

1= −1 มีคา

และ F (s) = L{1− et} =1

s− 1

s− 1ดังน้ัน

L{1− et

t

}=

∫ ∞

s

F (r) dr

= limk→∞

∫ k

s

1

r− 1

r − 1dr

= limk→∞

[ln |r| − ln |r − 1|]ks

= limk→∞

[ln∣∣∣∣ r

r − 1

∣∣∣∣ks

= limk→∞

ln∣∣∣∣ k

k − 1

∣∣∣∣− ln∣∣∣∣ s

s− 1

∣∣∣∣= ln 1− ln

∣∣∣∣ s

s− 1

∣∣∣∣= ln

∣∣∣∣s− 1

s

∣∣∣∣ #

44

2. จงหาลาปลาซผกผัน L−1

{arctan

(1

s+ 1

)}วธิทีำ ให f(t) = L−1

{arctan

(1

s+ 1

)}นัน่คอื

L{f(t)} = F (s) = arctan(

1

s+ 1

)จะไดวา

L{tf(t)} = (−1)1d

dsF (s)

= − d

dsarctan

(1

s+ 1

)= − 1

1 + ( 1s+1

)2·(

1

s+ 1

)′

= − 1

1 + ( 1s+1

)2·(− 1

(s+ 1)2

)=

1

(s+ 1)2 + 1

tf(t) = L−1

{1

(s+ 1)2 + 1

}= L−1

{1

s2 + 1

}s→s+1

= e−t sin t

f(t) =e−t sin t

t=

sin t

tet

ดังน้ัน L−1

{arctan

(1

s+ 1

)}=

sin t

tet#

3. จงหาคาของ∫ ∞

0

te−t sin2 t dt โดยใชผลการแปลงลาปลาซ

วธิทีำ ให f(t) = t sin2 t และ F (s) = L{f(t)} จะเห็นวา

F (1) =

∫ ∞

0

te−t sin2 t dt = L{t sin2 t}|s = 1

เนือ่งจากF (s) = L{t sin2 t}

= (−1)1d

dsL{sin2 t}

= − d

dsL{1− cos 2t

2

}= −1

2

d

ds

(1

s− s

s2 + 4

)= −1

2

(− 1

s2− (s2 + 4)− s(2s)

(s2 + 4)2

)F (1) = −1

2

(−1− 5− 2

(5)2

)= −14

25

ดังน้ัน∫ ∞

0

te−t sin2 t dt = −14

25#

45

4. จงหาผลเฉลยของปญหาคาเริม่ตน โดยใชผลการแปลงลาปลาซ(a) y′′ − 2y′ − 3y = 1 + t เมือ่ y(0) = 0 และ y′(0) = 0

วธิทีำL{y′′} − 2L{y′} − 3L{y} = L{1 + t}

s2Y (s)− sy(0)− y′(0)− 2(sY (s)− y(0))− 3Y (s) =1

s+

1

s2

(s2 − 2s− 3)Y (s) =s+ 1

s2

(s− 3)(s+ 1)Y (s) =s+ 1

s2

Y (s) =s+ 1

(s− 3)(s+ 1)s2

=1

(s− 3)s2=

1

s

[1

(s− 3)s

]=

1

3s

[1

s− 3− 1

s

]=

1

3s(s− 3)− 1

3s2

=1

9

[1

s− 3− 1

s

]− 1

3s2

ดังน้ันy(t) = L−1{Y (s)} =

1

9(e3t − 1)− 1

3t #

(b) y′′ − 6y′ + 9y = te2t เมือ่ y(0) = 0 และ y′(0) = 0

วธิทีำL{y′′} − 6L{y′}+ 9L{y} = L{te2t}

s2Y (s)− sy(0)− y′(0)− 6(sY (s)− y(0)) + 9Y (s) = (−1)1d

dsL{et}

(s2 + 6s+ 9)Y (s) =d

ds

1

s− 2

(s+ 3)2Y (s) =1

(s− 2)2

Y (s) =1

(s− 3)2(s− 2)2

=

[1

(s− 3)(s− 2)

]2=

[1

s− 3− 1

s− 2

]2=

1

(s− 3)2− 2

(s− 3)(s− 2)+

1

(s− 2)2

=1

(s− 3)2− 2

[1

s− 3− 1

s− 2

]+

1

(s− 2)2

=1

(s− 3)2− 2

s− 3+

2

s− 2+

1

(s− 2)2

ดังน้ันy(t) = L−1

{1

s2

}s→s−3

− 2e3t + 2e2t + L−1

{1

s2

}s→s−2

= te3t − 2e3t + 2e2t + te2t #

46

Assingment 13 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สังวัฒนาการและระบบสมการเชงิอนพัุนธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 15 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงใช สังวัฒนาการ (convolution) หาลาปลาซผกผันของ

(a) L−1

{1

s2(s2 + 2)

}(b) L−1

{s

(s2 + 1)2

}2. จงหาผลเฉลยของระบบสมการโดยใชผลการแปลงลาปลาซ{

x′′ − x+ y′ = t

−10x′ + y′′ − 4y = −3

เมือ่ x(0) = x′(0) = y(0) = y′(0) = 0

47

เฉลย Assingment 13 : MAP2405 สมการเชงิอนพัุนธสามัญหัวขอ สังวัฒนาการและระบบสมการเชงิอนพัุนธ คะแนน 10 คะแนนเวลา สัปดาหที ่ 15 ป การศกึษา 1/2562ผูสอน ผศ.ดร. ธนัชยศ จำปาหวาย สาขาวชิาคณติศาสตร คณะครศุาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนสนัุนทา

1. จงใช สังวัฒนาการ (convolution) หาลาปลาซผกผันของ

(a) L−1

{1

s2(s2 + 2)

}วธิทีำ

L−1

{1

s2(s2 + 2)

}= L−1

{1

s2· 1

s2 + 2

}= L−1

{1

s2

}∗ L−1

{1

s2 + 2

}= t ∗ 1√

2sin

√2t

=1√2

∫ t

0

(t− x) sin√2x dx

=1√2

[− 1√

2(t− x) cos

√2x− 1

2sin

√2x

]x=t

x=0

=1√2

[−1

2sin

√2t+

1√2t

]= − 1

2√2

sin√2t+

1

2t #

(b) L−1

{s

(s2 + 1)2

}วธิทีำ

L−1

{s

(s2 + 1)2

}= L−1

{1

s2 + 1· s

s2 + 1

}= L−1

{1

s2 + 1

}∗ L−1

{s

s2 + 1

}= sin t ∗ cos t

=

∫ t

0

sin x cos(t− x) dx

=1

2

∫ t

0

sin t+ sin(2x− t) dx

=1

2

[x sin t− 1

2cos(2x− t)

]x=t

x=0

=1

2

[t sin t− 1

2cos t+ 1

2cos(−t)

]=

1

2t sin t #

48

2. จงหาผลเฉลยของระบบสมการโดยใชผลการแปลงลาปลาซ{x′′ − x+ y′ = t

−10x′ + y′′ − 4y = −3

เมือ่ x(0) = x′(0) = y(0) = y′(0) = 0

วธิทีำ ให X(s) = L{x} และ Y (s) = L{y} จะไดวา

L{x′′ − x+ y′} = L{t}

s2X(s)− sx(0)− x′(0)−X(s) + sY (s)− y(0) =1

s2

(s2 − 1)X(s) + sY (s) =1

s2......(1)

L{−8x′ + y′′ − 4y} = L{−3}

−10(sX(s)− x(0)) + s2Y (s)− sy(0)− y′(0)− 4Y (s) = −3

s

−10sX(s) + (s2 − 4)Y (s) = −3

s......(2)

จะไดวา [(s2 − 1) s−10s (s2 − 4)

] [X(s)Y (s)

]=

[1s2

−3s

]ดังน้ัน

X(s) =

∣∣∣∣ 1s2

s−3

s(s2 − 4)

∣∣∣∣∣∣∣∣(s2 − 1) s−10s (s2 − 4)

∣∣∣∣ =1s2(s2 − 4) + 3

(s2 − 1)(s2 − 4) + 10s2=

4s2 − 4

s2(s4 + 5s2 + 4)

=4s2 − 4

s2(s2 + 1)(s2 + 4)=

4(s2 + 1)− 8

s2(s2 + 1)(s2 + 4)

=4(s2 + 1)

s2(s2 + 1)(s2 + 4)− 8

s2(s2 + 1)(s2 + 4)

=4

s2(s2 + 4)− 8

s2

[1

(s2 + 1)(s2 + 4)

]=

1

s2− 1

s2 + 4− 8

3s2

[1

s2 + 1− 1

s2 + 4

]=

1

s2− 1

s2 + 4− 8

3

[1

s2(s2 + 1)− 1

s2(s2 + 4)

]=

1

s2− 1

s2 + 4− 8

3

[1

s2− 1

s2 + 1− 1

4

(1

s2− 1

s2 + 4

)]= − 5

3(s2 + 4)− 1

s2+

8

3(s2 + 1)

x(t) = −5

6sin 2t− t2 +

8

3sin t #

49

Y (s) =

∣∣∣∣(s2 − 1) 1s2

−10s −3s

∣∣∣∣∣∣∣∣(s2 − 1) s−10s (s2 − 4)

∣∣∣∣ =−3

s(s2 − 1) + 10

s

(s2 − 1)(s2 − 4) + 10s2=

−3s2 + 13

s(s4 + 5s2 + 4)

=−3s2 + 13

s(s2 + 1)(s2 + 4)=

−3(s2 + 1) + 16

s(s2 + 1)(s2 + 4)

=−3(s2 + 1)

s(s2 + 1)(s2 + 4)+

16

s(s2 + 1)(s2 + 4)

= − 3

s(s2 + 4)+

16

s

[1

(s2 + 1)(s2 + 4)

]= −3

4

[1

s− s

s2 + 4

]+

16

3s

[1

s2 + 1− 1

s2 + 4

]= − 3

4s+

3s

4(s2 + 4)+

16

3

[1

s(s2 + 1)− 1

s(s2 + 4)

]= − 3

4s+

3s

4(s2 + 4)+

16

3

[1

s− s

s2 + 1− 1

4

(1

s− s

s2 + 4

)]= − 16s

3(s2 + 1)+

25s

12(s2 + 4)+

13

4s

y(t) = −16

3cos t+ 25

12cos 2t+ 13

4#

3. จงหาผลเฉลยของระบบสมการโดยใชผลการแปลงลาปลาซ{(D − 1)x+ (D + 2)y = sin t

(D + 1)x+Dy = cos t

เมือ่ x(0) = 0 และ y(0) = −12

วธิทีำ ให X(s) = L{x} และ Y (s) = L{y} จะไดวา

L{(D − 1)x+ (D + 2)y} = L{sin t}L{x′ − x+ y′ + 2y} = L{sin t}

sX(s)− x(0)−X(s) + sY (s)− y(0) + 2Y (s) =1

s2 + 1

sX(s)−X(s) + sY (s) +1

2+ 2Y (s) =

1

s2 + 1

(s− 1)X(s) + (s+ 2)Y (s) =1

s2 + 1− 1

2=

−s2 + 1

2(s2 + 1)......(1)

L{(D + 1)x+Dy} = L{cos t}L{x′ + x+ y′} = L{cos t}

sX(s)− x(0) +X(s) + sY (s)− y(0) =s

s2 + 1

sX(s) +X(s) + sY (s) +1

2=

s

s2 + 1

(s+ 1)X(s) + sY (s) =s

s2 + 1− 1

2=

−s2 + 2s− 1

2(s2 + 1)......(2)

50

จะไดวา

[s− 1 s+ 2s+ 1 s

] [X(s)Y (s)

]=

−s2 + 1

2(s2 + 1)

−s2 + 2s− 1

2(s2 + 1)

ดังน้ัน

X(s) =

∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣−s2 + 1

2(s2 + 1)s+ 2

−s2 + 2s− 1

2(s2 + 1)s

∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣s− 1 s+ 2s+ 1 s

∣∣∣∣ =s− 1

2(2s+ 1)(s2 + 1)

= − 3

10· 1

s+ 12

+3

10

s

s2 + 1+

1

10· 1

s2 + 1

x(t) = − 3

10e−

t2 +

1

10(3 cos t+ sin t) #

และ

Y (s) =

∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣s− 1

−s2 + 1

2(s2 + 1)

s+ 1−s2 + 2s− 1

2(s2 + 1)

∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣s− 1 s+ 2s+ 1 s

∣∣∣∣ =−s2 − s

2(2s+ 1)(s2 + 1)

= − 3

10· 1

s+ 12

+3

5

1

s2 + 1− 1

5· s

s2 + 1

y(t) = − 3

10e−

t2 +

1

5(3 sin t− cos t) #

51