18
ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Page | 135 วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ปี ที7 ฉบับที1 มกราคม 2558 ลิขสิทธิ โดย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, Office of Education Ratchaburi Area 2, Photharam District, Ratchaburi Province 1 Rakkanawan Saotong 2 Received: July 18, 2014 Accepted: August 1, 2014 Abstract The purposes of this research were 1) to study level of domestic violence, influence of friends, imitation from media, influence from teachers and aggressive behaviors among prathom 6 students, 2) to compare aggressive behaviors of prathom 6 students by gender, number of siblings, dwelling state, closed care taker, physical punishment from family members, verbal punishment from family members, verbal punishment from school, verbal aggression from friends, physical aggression from friends, and type of school, 3)to study Domestic Violence, influence from friends, imitation from the media, influence from teachers as predictors of aggressive behavior of prathom 6 students. Samples were 227 children derived by stratified random sampling technique. Construction questionnaires were used to collect data. Data were analyzed for percentage, mean, standard, deviation, t-test, One-Way ANOVA and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results showed that; 1) Domestic Violence, influence from friends, imitation from the media of prathom 6 students were at minimal level, aggressive behaviors was in the low level, and influence from teachers was in a very minimal level; 2) Aggressive behaviors of prathom 6 students with different dwelling state was significantly different at a statistical level of .05. Students who lived with there father and mother were more aggressive than those who lived with relatives and others. However, when classified by gender, number of siblings, close care taker, physical punishment from family members, verbal punishment from family members, verbal punishment from school, verbal aggression from friends, physical aggression from friends, and type of school showed no significant differences and 3) Imitation from the media and influence from friends predicted the aggressive behavior of prathom 6 students at a percentage of 24.3, with a statistical significant level of .001. Keywords: Domestic violence, Influence from friend, Imitation from the media , Influence from teacher, Aggressive behavior prathom 6 student 1 A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree 2 M.A. in Community Psychology, Silpakorn University.

Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: [email protected] . ISSN 2228-9453

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 135

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, Office of Education Ratchaburi Area 2, Photharam District, Ratchaburi Province1

Rakkanawan Saotong2

Received: July 18, 2014 Accepted: August 1, 2014 Abstract The purposes of this research were 1) to study level of domestic violence, influence of friends, imitation from media, influence from teachers and aggressive behaviors among prathom 6 students, 2) to compare aggressive behaviors of prathom 6 students by gender, number of siblings, dwelling state, closed care taker, physical punishment from family members, verbal punishment from family members, verbal punishment from school, verbal aggression from friends, physical aggression from friends, and type of school, 3)to study Domestic Violence, influence from friends, imitation from the media, influence from teachers as predictors of aggressive behavior of prathom 6 students. Samples were 227 children derived by stratified random sampling technique. Construction questionnaires were used to collect data. Data were analyzed for percentage, mean, standard, deviation, t-test, One-Way ANOVA and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results showed that; 1) Domestic Violence, influence from friends, imitation from the media of prathom 6 students were at minimal level, aggressive behaviors was in the low level, and influence from teachers was in a very minimal level; 2) Aggressive behaviors of prathom 6 students with different dwelling state was significantly different at a statistical level of .05. Students who lived with there father and mother were more aggressive than those who lived with relatives and others. However, when classified by gender, number of siblings, close care taker, physical punishment from family members, verbal punishment from family members, verbal punishment from school, verbal aggression from friends, physical aggression from friends, and type of school showed no significant differences and 3) Imitation from the media and influence from friends predicted the aggressive behavior of prathom 6 students at a percentage of 24.3, with a statistical significant level of .001. Keywords: Domestic violence, Influence from friend, Imitation from the media , Influence from teacher, Aggressive behavior prathom 6 student

1 A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree 2 M.A. in Community Psychology, Silpakorn University.

Page 2: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

136 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อ าเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี1

รักขณาวรรณ เสาทอง2

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา 1) ระดับการใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือนการเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครู และพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จําแนกตามเพศ จํานวนพ่ี-นอง สภาพการพักอาศัย ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดมากที่สุด ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียน 3) การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากครู เป็นตัวแปรในการทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษามีจํานวน 227 คน ไดมาจากการสุมแบบแบงชั้นภูมิ สถิติที่ใชในการวิเคราะห์ขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปรที่นําเขาสมการ ผลการวิจัยพบวา 1. การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยูในระดับนอย สวนอิทธิพลจากครูอยูในระดับนอยที่สุด 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีสภาพการพักอาศัยตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากเพ่ือน สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ไดรอยละ 24.3 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001

คําสําคัญ: การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครูพฤติกรรมกาวราว นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

1 วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศิลปากร 2 มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร

E-mail: [email protected]

Page 3: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 137

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

บทน า ปัจจุบันสังคมไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางมากมายไมวาจะเป็นดานสังคม เศรษฐกิจ หรือ แมกระทั่งสิ่งแวดลอมที่อยูใกลตัวนั้นก็ลวนแตสงผลตอสภาพจิตใจของคนทุกเพศ ทุกวัย ไมวาจะเป็นวัยเด็ก วัยผูใหญ คนวัยทํางาน หรือแมคนวัยชรา สําหรับเด็กนั้นจะพบวาเขาไดรับอิทธิพลจากการมองเห็นตัวอยางจากผูใหญดวยการกระทําตาง ๆ ของผู ใหญสงผลตอเด็กทั้งทางตรงและทางออม พฤติกรรมที่ผูใหญในสังคมกระทํานั้นเด็กๆสามารถเห็นไดและเลียนแบบได รวมทั้งในปัจจุบันเทคโนโลยีก็มีความเจริญอยางรวดเร็วทําใหเด็กๆ สามารถพบเห็นการกระทํา รับรูสิ่งตาง ๆ จากสื่อตาง ๆ เชน โทรทัศน์ วิทยุ อินเตอร์เน็ตไดเชนเดียวกัน การเลียนแบบจากสิ่งที่เด็กไดเห็นไดพบนั้นเกิดขึ้นได โดยที่เด็กอาจจะไมเขาใจวาสิ่งที่ตนเองเห็นนั้นเป็นสิ่งที่ดี หรือไมดีอยางไร เพราะเขาเห็นวาผูใหญทําไดเขาก็ตองทําไดเหมือนกัน ทําใหเด็กและเยาวชนนั้นมีพฤติกรรมกาวราวเพ่ิมมากขึ้น ดังตัวอยางที่เห็นไดตามขาวหนาหนังสือพิมพ์ที่มีเด็กและเยาวชนทําผิดกฎหมายกันเพ่ิมมากขึ้นทําใหสังคมไทย จากความจริงที่วาเด็กและเยาวชนเป็นประชากรที่สําคัญของชาติซึ่งประชากรเหลานี้เป็นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติใหเจริญรุงเรืองตอไปในอนาคต ถาเด็กและเยาวชนเป็นประชากรที่มีคุณภาพ มีพฤติกรรมที่เหมาะสม การพัฒนาประเทศชาติใหเจริญรุงเรืองยิ่งๆขึ้นก็เกิดขึ้นได แตถาประชากรเหลานี้ เป็นประชากรที่ไมมีคุณภาพมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมก็จะเป็นการสรางปัญหาใหกับสังคมอีกตอไป ซึ่งพฤติกรรมตาง ๆ ของเด็กและเยาวชนที่พบเห็นในสังคมที่ไมมีความเหมาะสมและพบวาเป็นปัญหาสําหรับในสังคมไทยในปัจจุบันคือ พฤติกรรมความกาวราวรุนแรง พฤติกรรมการติดเกม พฤติกรรม

เที่ยวกลางคืน พฤติกรรมการติดการพนัน เป็นตน เติมทิพย์ พานิชพันธุ์ (2550) การใชความรุนแรงในครอบครัวนั้นก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเด็กเกิดพฤติกรรมกาวราวไดเชนกัน เด็กที่เติบโตมาจากครอบครัวที่ใชความรุนแรงในการเลี้ยงดูยอมสงผลตอสภาพจิตใจของเด็ก เมื่อเติบโตขึ้นมาเป็นผูใหญเขาก็จะซึมซับเอานิสัยที่ชอบใชความรุนแรงในการแกไขปัญหาชอบใชอารมณ์ ในบางรายนั้นตองหนีออกจากบานมาเพราะไมสามารถทนรับความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับตนเองได วิชา มหาคุณ (2542) ลักษณะของความรุนแรงในครอบครัวที่เกิดขึ้นกับตัวเด็กมีหลากหลายรูปแบบ ไดแก การทํารายรางกายโดยการใชกําลัง เชน การตบ การตี รวมทั้งการใชอาวุธจนไดรับบาดเจ็บ หรือการใชวาจาเหยียดหยาม หยาบคาย ดูถูกทําใหเด็กเกิดความนอยเนื้อต่ําใจ การใชความรุนแรง การละเลยไมใหความสนใจ การทํารายทางเพศเชิงอนาจาร การบังคับใหคาประเวณี คณะกรรมาธิการกิจการสตรี เยาวชนและผูสูงอายุวุฒิ (2549) โดยสวนใหญมีสาเหตุมาจากบิดามารดา และสมาชิกในครอบครัวของตัวเด็กเอง รวมถึงสภาพแวดลอมในสังคมของเด็กดวยการกระทํารุนแรงตอเด็กจะสงผลกระทบตอเด็กดานรางกาย จิตใจ และสติปัญญา (เติมทิพย์ พานิชพันธุ์) ผลกระทบของความรุนแรงที่มีตอเด็กทําใหเกิดความเครียด ความสะเทือนใจ รูสึกเจ็บปวดทรมาน บาดเจ็บ พิการและเสียชีวิต เมื่อเกิดปัญหาขึ้นก็ยากตอการรักษาใหหายขาดได เด็กเหลานี้สวนหนึ่งกลายเป็นเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม ทําใหเด็กแสดงพฤติกรรมกาวราวมากขึ้น สาหรี จิตตินันท์ (2539) เ พ่ือนก็ เป็นบุคคลที่มี อิทธิพลและเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่นําไปสูพฤติกรรมกาวราวของเด็กไดเหมือนกัน เพราะวาเป็นธรรมชาติของเด็กที่ตองมี

Page 4: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

138 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

เพ่ือน แตวาการคบเพ่ือนนั้นถาคบเพ่ือนไมดีก็ทําใหเราไมดีตามไปดวย ถาเราคบเพ่ือนดีเราก็จะไดดีตามเพ่ือนไปดวย จากสถิติของกรมพินิจคุมครองเด็กและเยาวชนปี 2548 พบวาการคบเพ่ือนเป็นสาเหตุของการกระทําผิดอันดับที่ 2 รองจากการเลียนแบบสื่อ โดยเด็กจะสนใจคบหาเพ่ือนเพศเดียวกันและตางเพศ ถาเพ่ือนสวนใหญในกลุมมีการแสดงความรูสึกในทางกาวราว การแสดงออกทางพฤติกรรมของเด็กกลุมนั้นก็จะมีแนวโนมในทางรุนแรงและอันตรายเพ่ิมข้ึน

ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ สมพร สุทัศนีย์ (2530) ที่พบวาตัวแปรที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรมกาวราวในระดับสูงสุดไดแก อิทธิพลจากกลุมเพ่ือน

การเสพสื่อที่ไมเหมาะสม เชน สื่อที่กาวราวรุนแรงก็มีอิทธิพลตอการแสดงพฤติกรรมของเด็กดวยเชนกัน เด็กจะซึมซับพฤติกรรม และเลียนแบบพฤติกรรมตาง ๆ จากสื่อ อันจะนําไปสูการแสดงพฤติกรรมกาวราว และพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมในดานตาง ๆ ได ในขณะที่ วิภา อุดมฉันท์ (2538) กลาววา อิทธิพลของโทรทัศน์ที่มีตอเด็กวา บทบาทของโทรทัศน์ที่มีตอเด็กแตละคนไมเทากัน เด็กที่มีประสบการณ์ชีวิตเขากับเพ่ือนฝูงได ชอบไปโรงเรียน มีครอบครัวที่อบอุนมักดูโทรทัศน์แตเพียงพอไมมากเกินไป แตก็มีเด็กไมนอยที่แตกตางไป เชน ขาดความรัก ความอบอุน คบเพ่ือนนอย มีปมดอย เด็กเหลานี้นอกจากจะชอบเก็บตัวมีความรูสึกเก็บกดและยังแสดงออกในลักษณะที่ยึดโทรทัศน์เป็นเพ่ือนแกเหงา ซึ่งมีผลเสียตอการการพัฒนาความคิด สติปัญญา และการรับรูทางสังคมของเด็กไมไดสงผลใหเด็กมีประสบการณ์ที่สรางสรรค์ขึ้นนอกจากความคิดอยากเอาตามอยาง ในขณะเดียวกันครูก็เป็นอีกบุคคลหนึ่งที่มีความสําคัญรองจากพอแมของนักเรียน หรือบางทีอาจจะมากกวาพอแมของนักเรียน ครูมีอิทธิพลตอ

ความคิดและพัฒนาการของนักเรียนมาก ถาเด็กไดรับการถายทอดจากครูที่ดีจะสงผลตอการปฏิบัติตนในอนาคตของพวกเขาเหลานั้นอีกดวย ครูเป็นบุคคลที่ใกลชิดและใชเวลาอยูกับนักเรียนวันละหลายชั่วโมง ดังนั้นพฤติกรรมตาง ๆ ของครูจึงอยูในสายตาของนักเรียน นักเรียนมองเห็นซึมซับ และทําตาม อนึ่งบุคลิกภาพของครูและนิสัยของครูแตละทานไมเหมือนกันทําใหการปฏิบัติตนตอลูกศิษย์นั้นก็ยอมแตกตางกันออกไป ดังนั้นพฤติกรรมการปฏิบัติของครูนั้นก็จะสงผลตอพฤติกรรมกาวราวของเด็กนักเรียนไดเหมือนกัน ปิยศรี บวรธนสาร (2550) ถาจะกลาวถึงในเรื่องของพฤติกรรมกาวราวในเด็กๆนั้นเป็นที่รูกันดีอยูวาเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานที่ และกับเด็กทุกคน เพียงแตวาจะเกิดขึ้นมากหรือนอยขึ้นอยูกับพฤติกรรมของเด็กแตละคนขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมความเป็นอยูและการอบรมเลี้ยงดูของแตละครอบครัว จากการสอบถามครูผูสอนของแตละโรงเรียน พบวาวานักเรียนสวนใหญมีพฤติกรรมกาวราวทางดานวาจาและทางดานรางกาย เชน ชอบดาทอเพ่ือน ชอบแกลงเพ่ือน ชอบใชกําลังในการเวลาที่ตนเองไมพอใจ ผูวิจัยสนใจที่จะเลือกศึกษาพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี วามีพฤติกรรมกาวราวอยูในระดับใด เพ่ือเป็นแนวทางในการปูองกันแกปัญหาในภายหนาตอไป และเพ่ือเป็นแนวทางใหผูที่ ตองการสนใจไดศึกษาเกี่ ยวกับพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนในอําเภอตาง ๆของจังหวัดราชบุรีตอไป จากขอมูลดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจศึกษาถึงการใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครูที่สงผลตอพฤติกรรมความกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6

Page 5: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 139

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เพ่ือนําผลของการวิจัยไปใชในเชิงการปูองกันพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนและเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนเป็นผูใหญที่ดีในอนาคต

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพ่ือศึกษาระดับพฤติกรรมกาวราว ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6สั งกัด เขตพ้ืนที่ การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 2. เพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่ การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ที่มีลักษณะสวนบุคคลแตกตางกัน

3. เ พ่ือศึกษาปัจจัยที่ส งผลตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

สมมติฐานการวิจัย

1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ที่มีลักษณะสวนบุคคลตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกัน

2. การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครู สามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

กรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยกําหนดใหตัวแปรอิสระ คือ ขอมูลสวนบุคคล การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพล

จากครู และตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมกาวราว ซึ่งไดจากการทบทวนเอกสาร งานวิจั ยที่ เกี่ ยวกับพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนไดแก 1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) 2) ทฤษฎีความกาวราวเกี่ยวกับการตอบสนองความคับของใจ (Frustration-Aggression Theory) 3) ทฤษฎีการเรียนรูทางปัญญาสังคม (Social Cognitive Theory)

สมมติฐานของการวิจัย

1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ที่มีลักษณะสวนบุคคลและภูมิหลังแตกตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกัน

2. การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเ พ่ือน การเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครู สามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

วิธีการศึกษา การวิจัยเรื่อง “ปัจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ” เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยมีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นหนวยวิเคราะห์ (Unit of

analysis)

กลุมตัวอยางที่ ใช ในการศึกษาครั้ งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพศชายและเพศหญิงที่กําลังศึกษาอยูชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จาก 6 โรงเรียน คือ 1. โรงเรียนเทศบาล

Page 6: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

140 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

วัดไทรอารีรักษ์ (มณีวิทยา) 2. โรงเรียนเทศบาลวัดโชค (ธรรมเสนานีวรคุณ) 3. โรงเรียนธารพระพรวิทยานุสรณ์ 4. โรงเรียนราษฎร์บํารุงวิทย์ 5.

โรงเรียนแยมวิทยการ และ 6. โรงเรียนเจี้ยไช รวมทั้งสิ้นจํานวนประชากร 526 คน โดยทําการกําหนดขนาดกลุมตัวอยางจากสูตรของยามาเน (Yamane)

ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 ยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 ไดจํานวนตัวอยาง 227 คน แลวทําการสุมแบบแบงชั้นตามสัดสวนของโรงเรียน จากนั้นทําการสุมอยางงายเพ่ือเลือกกลุมตัวอยางดวยวิธีการจับฉลากตามจํานวนที่คํานวณไว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวยแบบสอบถามที่ผูวิจัยไดปรับใชจากแบบสอบถามที่มีผูสรางไวแลว และเพ่ิมเติมในสวนที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น

จากการศึกษาทฤษฎี และแนวคิดตางๆ ตลอดจนงานวิจัยที่ เกี่ยวของเพ่ือใหไดคําถามที่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่ตองการศึกษา ตรวจสอบคุณภาพเครื่ อ งมือ เ พ่ือ ให สอดคล องกับข อคํ าถามโดยผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีการวัดแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ ที่กําหนดไวในงานวิจัยในครั้งนี้ ซึ่งมีสวนประกอบที่สําคัญของเนื้อหา 6 สวน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล จํานวน 10 ขอ ลักษณะของแบบสอบถามเป็นการเลือกตอบ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการใชความรุนแรงในครอบครัว จํานวน 27 ขอ ลักษณะของคําตอบเป็นการประมาณคา (Rating Scales) 5

พฤติกรรมก้าวร้าว

- การใชความรุนแรงในครอบครัว - อิทธิพลจากเพื่อน - การเลยีนแบบสื่อ - อิทธิพลจากคร ู

ข้อมูลส่วนบุคคล - เพศ - จํานวนพี่ -นอง - สภาพการพักอาศยั - ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิด - ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว - ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากบุคคลในครอบครัว - ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน - ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพื่อน - ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพื่อน - ประเภทของโรงเรียน

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

Page 7: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 141

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

ระดับ ไดแก จริงที่สุด คอนขางจริง จริงปานกลาง ไมคอยจริง ไมจริงเลย มีคาความเชื่อมั่น .9467

ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับอิทธิพลจากเพ่ือนจํานวน 16 ขอ ลักษณะของคําตอบเป็นการประมาณคา (Rating Scales) 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีคาความเชื่อมั่น .9649

ส่ วนที่ 4 แบบ สอบถา ม เ กี่ ย ว กั บ ก า รเลียนแบบสื่อ จํานวน 18 ขอ ลักษณะของคําตอบเป็นการประมาณคา (Rating Scales) 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีคาความเชื่อมั่น .9297

ส่วนที่ 5 แบบสอบถามเกี่ยวกับอิทธิพลจากครู จํานวน 17 ขอ ลักษณะของคําตอบเป็นการประมาณคา (Rating Scales) 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีคาความเชื่อมั่น .9170

ส่วนที่ 6 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมกาวราว จํานวน 42 ขอ ลักษณะของคําตอบเป็นการประมาณคา (Rating Scales) 5 ระดับ ไดแก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีคาความเชื่อมั่น .9323

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผู วิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง โดยการนําแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นไปดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอนตอไปนี้ 1. ผูวิจัยทําหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ในการทําหนังสือขอความรวมมือไปยังโรงเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพ

ธาราม จังหวัดราชบุรี เพ่ือขออนุญาตเก็บรวบรวมขอมูลโดยการใชแบบสอบถาม

2. ผูวิจัยนําแบบสอบถามที่ไดรับ

การพัฒนา และปรับปรุงจนมีคุณภาพในระดับที่ยอมรับไดไปดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองระหวางวันที่ 16-20 กันยายน 2556

3. ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมแบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง จํานวน 227 คน ไดรับแบบสอบถามคืนมาจํานวน 227 คน คิดเป็นรอยละ 100

4. ผู วิ จั ย ต ร ว จส อบคว า มสมบู รณ์ ข อ งแบบสอบถาม พบวาแบบสอบถามมีความสมบูรณ์ทุกชุด คิดเป็นรอยละ 100

การวิจัยในครั้งนี้ ทําการวิเคราะห์ขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป กําหนดความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีข้ันตอนการวิเคราะห์ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ขอมูลสวนบุคคลดานเพศ จํานวนพี-่นอง สภาพการพักอาศัย ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดมากที่สุด ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถู กล ง โทษทาง ว าจาจ ากบุ คคล ในครอบครั วประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียน ใชคารอยละ (%) 2. การวิ เคราะห์ระดับพฤติกรรมกาวราว การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากครู โดยใชคาเฉลี่ย ( ̅) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

3. การวิ เคราะห์ เปรียบเทียบพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธ า ร า ม จั ง ห วั ด ร า ช บุ รี จํ า แน กต า ม เ พ ศ ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลใน

Page 8: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

142 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

ครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียนโดยใชการทดสอบคาทางสถิติ t-test การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางพฤติกรรมกาวราวจําแนกตามจํานวนพ่ี-นอง สภาพการพักอาศัยของนักเรียน ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดมากที่สุด โดยทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และหากพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติจะทดสอบรายคูโดยใชวิธีการของเชฟเฟุ (Scheffé test for all

possible comparison)

4. การวิเคราะห์พฤติกรรมการใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากครู เป็นปัจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ตามลําดับความสําคัญของตัวแปรที่นํา เขาสมการ (Stepwise Multiple

Regression Analysis)

ผลการวิจัย

ผลการวิจัยแบงออกเป็น 2 สวน ไดแก สวนแรกเป็นผลการวิ เคราะห์ขอมูลสวนบุคคลและลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา และสวนที่สองเป็นผลการวิเคราะห์ตามวัตถุประสงค์ 1. กลุมตัวอยางสวนมากเป็นเพศชายจํานวน 125 คน คิดเป็นรอยละ55.1 มีพ่ี-นอง 2 คนจํานวน 112 คน คิดเป็นรอยละ 49.3

อาศัยอยูกับพอและแม จํานวน 140 คนคิดเป็นรอยละ 61.7 ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดมากที่สุดคือแมจํ า นวน 142 คน คิ ด เป็ น ร อ ยล ะ 62.6 เ ค ยมี

ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว จํานวน 202 คนคิดเป็นรอยละ 89.0 เคยมีประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากบุคคลในครอบครัว จํานวน 193 คน คิดเป็นรอยละ 85.0 เคยมีประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียนจํานวน 212 คน คิดเป็นรอยละ 93.4 เคยมีประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจา จากเพ่ือน จํ า นวน 175 คน คิ ด เป็ น ร อ ยล ะ 77.1 เ ค ยมีประสบการณ์การถูกกาวราวทางจากเพ่ือน จํานวน 161 คน คิด เป็นรอยละ 70.9 และศึกษาอยู ในโรงเรียนเอกชน จํานวน 162 คน คิดเป็นรอยละ 71.4 ในสวนของการใชความรุนแรงในครอบครัวอยูในระดับนอย ( ̅ = 1.8120) อิทธิพลจากเพ่ือนอยูในระดับนอย ( ̅ = 1.8706) การเลียนแบบสื่ออยูในระดับนอย ( ̅ = 18744) และอิทธิพลจากครูอยูในระดับนอยที่สุด ( ̅ = 1.3944)

2. การวิเคราะห์ระดับพฤติกรรมกาวราว การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ อยูในระดับนอย ( ̅ = 2.0012)

3. การวิเคราะห์เปรียบเทียบพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จําแนกตาม สภาพการพักอาศัยของนักเรียน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เมื่อจําแนกตาม เพศ จํานวนพ่ี-นอง ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดมากที่สุด ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวกาว

ทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียน ไมพบความแตกตาง

Page 9: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 143

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

ตารางที่ 1 แสดงคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาระดับพฤติกรรมกาวราวของกลุมตัวอยางนักเรียนช้ันประถมศึกษา

ปีท่ี 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพื่อน การเลียนแบบสื่อ อิทธิพลจากครู

ตัวแปร ค่าเฉลี่ย

( ̅ )

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.)

ค่าระดับ

พฤติกรรมกาวราวของนักเรียน 2.0012 .489 นอย การใชความรุนแรงในครอบครัว 1.8120 .367 นอย อิทธิพลจากเพื่อน 1.8706 .461 นอย การเลยีนแบบสื่อ 1.8744 .461 นอย อิทธิพลจากคร ู 1.3944 .415 นอยที่สุด

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรีจําแนกตามสภาพการพักอาศัย

สภาพการพักอาศัย จ านวน

(คน) ค่าเฉลี่ย

( ̅ )

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.)

ค่าระดับ

อยูกับพอแม 140 2.0510 .512 นอย

อยูกับพอหรือแม 39 2.0348 .535 นอย

อยูกับญาติและอื่นๆ 48 1.8284 .449 นอย

ตารางที่ 3 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนของพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จําแนกตามสภาพการพักอาศัย

แหล่งความแปรปรวน df SS MS F

ระหวางกลุม

ภายในกลุม 4

222

1.825

52.215

.913

.223

3.915**

รวม 226 54.040

ตารางที่ 4 การเปรียบเทียบความแตกตางเป็นรายคูของตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จําแนกตามสภาพการพักอาศัย

สภาพการพักอาศัย อยู่กับพ่อและแม่

( ̅ = 2.0510) อยู่กับพ่อหรือแม่

( ̅ = 2.0348) อยู่กับญาติและอ่ืนๆ

( ̅ = 1.8284) อยูกับพอและแม ( ̅ = 2.0510) -

อยูกับพอหรือแม ( ̅ = 2.0348) .0162 -

อยูกับญาติและอ่ืนๆ ( ̅ = 1.8284) .2226* .2064 -

Page 10: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

144 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

ผลการทดสอบความแตกตางของพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จําแนกตามสภาพการพักอาศัย พบวานักเรียนที่มีสภาพการพักอาศัยอยูกับพอและแมกับอยูกับญาติและอ่ืนๆมีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนที่มีสภาพการพักอาศัยอยูกับพอและแม มีพฤติกรรมกาวราวมากกวานักเรียนที่มีสภาพการพักอาศัยอยูกับญาติหรืออ่ืนๆ ( ̅ = 2.0510,1.8284 ตามลําดับ) นอกนั้นไมพบความแตกตาง

4. การวิเคราะห์พฤติกรรมการใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพ่ือน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากครู เป็นปัจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พบวา การเลียนแบบสื่ อ อิทธิพลจากเพ่ือน สามารถรวมทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ไดรอยละ 24.3 อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ .001 ดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 แสดงการวิเคราะห์ตัวแปร ไดแก การใชความรุนแรงในครอบครัว อิทธิพลจากเพื่อน การเลียนแบบสื่อ และอิทธิพลจากครูที่สงผลตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตามลําดับความสําคัญของตัวแปร (Stepwise)การเปรียบเทียบความแตกตางเป็นรายคูของตอพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สังกัดเขตพื้นที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี จําแนกตามสภาพการพักอาศัย

ลําดับที่ของการนําตัวแปรเขาสมการ R R2 Adj R2 R

Square change

b Beta t

การเลียนแบบสื่อ (X3) อิทธิพลจากเพื่อน (X2)

.418

.493

.175

.243

.171

.237

.175

.069

.329

.301

.311

.283

4.950*** 4.515***

Constant (a) = .821 S.E. = .142 F = 36.047***

*** มีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .001

อภิปรายผลการวิจัย

การเลียนแบบสื่อเป็นตัวแปรที่ ไดรับการคัดเลือกเขาสมการเป็นลําดับที่ 1 สามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวไดรอยละ 17.5 จากผลการศึกษาสามารถอธิบายไดวาสื่อตางๆนั้นมีบทบาทตอการแสดงออกของพฤติกรรมตางๆของนักเรียนไมวาจะเป็นดานรางกายหรือดานวาจา ซึ่งกอใหเกิดการแสดงพฤติกรรมกาวราวตางๆที่จะสอความรุนแรงเพ่ิมมากขึ้น ซึ่งจากผลการวิจัยที่พบวา ความสัมพันธ์ระหวาง

ก า ร เ ลี ย น แ บ บ สื่ อ กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ว ร า ว มีความสัมพันธ์กันทางบวก (r = .418) แสดงวานักเรียนสวนมากใชเวลาอยูกับสื่อเรียนรูสิ่งใหมๆที่เกิดข้ึนจากสื่อตางๆ นําเสนอสื่อไดกลายเป็นสวนหนึ่งของสังคมในยุคปัจจุบัน การบริโภคสื่อของนักเรียนเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินมากจนเกินไป รวมถึงการที่บางครอบครัวปลอยใหนักเรียนอยูกับสื่อเหลานี้มากเกินไปจนไมมีเวลาดูแลนักเรียนจึงทําใหนักเรียนเลียนแบบสื่อในการทําพฤติกรรมกาวราว สอดคลองกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ ปุุนคอน

Page 11: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 145

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

(2547) ที่พบวาการเลียนแบบสื่อเป็นตัวแปรที่สามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนได อิทธิพลจากเพ่ือนเป็นตัวแปรที่ ไดรับการคัดเลือกเขาสมการเป็นลําดับที่ 2 สามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวเพ่ิมขึ้นรอยละ 6.9 ซึ่งจากผลการศึกษาพบวา อิทธิพลจากเพ่ือนกับพฤติกรรมกาวราวมีความสัมพันธ์กันทางบวก (r = .401)

สอดคลองกับ กอร์ดอน Gordon (1975) เด็กในวัยนี้ไดรับอิทธิพลจากกลุมเพ่ือนมากเพราะเด็กเริ่มมีอิสระจากผูใหญและเริ่มใชชีวิตในกลุมเพ่ือนมากขึ้น ประกอบกับเด็กสามารถชวยเหลือตัวเองไดมากขึ้นและตองการอิสระมากข้ึน เด็กสามารถรับรูถึงระดับที่เขาใจวาการปฏิบัติของพอแมถูกตองสมเหตุสมผลหรือไม และเริ่มเรียนรูวาพอแมบังคับใชอํานาจบังคับใหทําสิ่งตางๆมากเกินไปหรือเปลา ทําใหเด็กเกิดความรูสึกวาตนเองถูกทอดทิ้งหรือเป็นปัญหาของคนในครอบครัวทําใหเด็กเกิดความนอยเนื้อต่ําใจจึงหันไปหากลุมเพ่ือนแทนซึ่งเด็กคิดวาเพ่ือนนาจะใหคําปรึกษากับเด็กไดมากกวาพอแมของเด็กเอง และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ ปุุนคอน (2547) ที่วาการเลียนแบบเพ่ือนเป็นตัวแปรที่ไดรับการคัดเลือกเขาสมการเป็นลําดับที่ 2 สามารถทํานายพฤติกรรมกาวรางทางกายของนักเรียนชาย จะเห็นไดวาเด็กรวมกลุมกับเพ่ือนทําสิ่งที่ไมดีก็จะทําใหเด็กทําพฤติกรรมที่ไมดีตามไปดวยเพราะเพ่ือนอาจจะถายทอดความคิดหรือวิธีการกระทําความผิดในรูปแบบตางๆใหเด็กกระทําผิดเพ่ิมขึ้นมากกวาเดิมอีกดวย และ เอ้ือประโยชน์ตอการกระทําผิดของเด็กมากขึ้นอีกดวยกลุมเพ่ือนจึงเป็นอีกตัวแปรหนึ่งที่เป็นตัวแบบใหเด็กกระทําพฤติกรรมกาวราวมากขึ้น

การใชความรุนแรงในครอบครัว ไมถูกเลือกเขาสมการในการทํานายพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การ

ประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี แสดงวาการใชความรุนแรงในครอบครัวไมสามารถทํานายพฤติกรรมกาวราว

ของนักเรียนกลุมนี้ได ทั้งนี้อาจเป็นเพราะวา นักเรียนรอยละ 89 และรอยละ 85 คิดวาการถูกลงโทษทางกาย และทางวาจาเป็นเรื่องปกติที่ทํากันมาตั้งแตในอดีต แตที่บุคคลในครอบครัวลงโทษตนเองเพราะเกิดจากความรัก ความปรารถนาดีที่อยากใหนักเรียนเป็นคนดี ซึ่งในการลงโทษนั้นบุคคลในครอบครัวมีการอธิบายใหเหตุผลวาทําไมตองลงโทษนักเรียนจึงทําใหนักเรียนเขาใจ การถูกลงโทษ และไมนําพฤติกรรมเหลานั้นมาแสดงออกในรูปแบบของพฤติกรรมกาวราว เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์จากงานวิจัยครั้งนี้ พบวา การใชความรุนแรงในครอบครัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสัมพันธ์กันนอย (r =.244) จึงเป็นเหตุผลทําใหการใชความรุนแรงในครอบครัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ไมรวมทํานายพฤติกรรมกาวราว

อิทธิพลจากครู ไมถูกเลือกเขาสมการในการทํ า น า ย พฤ ติ ก ร ร ม ก า ว ร า ว ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั้ นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ครูมีบทบาหนาที่ในการใหความรู คําแนะนํา รวมถึงการสอนใหนักเรียนรูจักการใชทักษะชีวิตในดานตาง ๆ เชน การคิดวิเคราะห์ การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน เป็นตน ดังนั้นการที่นักเรียนรอยละ 93.4 ถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน นักเรียนถือวาเป็นเรื่องปกติที่ครูจะใหคําแนะนํา อบรมสั่งสอนใหนักเรียนเป็นคนดี นักเรียนจึงไมนําพฤติกรรมกาวราวของครูมาใชในการเลียนแบบอยาง แตนักเรียนจะนําแบบอยางที่ดีของครูมาปรับใชในการดําเนินชีวิตของตนเอง และเมื่อ

Page 12: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

146 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

พิจารณาความสัมพันธ์จากงานวิจัยครั้งนี้ พบวา อิทธิพลของครูตอนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสัมพันธ์กันนอย (r =.361) จึงเป็นเหตุผลทําใหอิทธิพลของครู ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ไมรวมทํานายพฤติกรรมกาวราว

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ที่มี เพศ จํานวนพ่ี -นอง ผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิด ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกล ง โ ท ษ ท า ง ว า จ า จ า ก บุ ค ค ล ใ น ค ร อ บ ค รั ว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียนตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกัน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่มีเพศ จํ านวน พ่ี -น อง ผู ที่ ดู แลนั ก เ รี ยนอย า ง ใกล ชิ ด ประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากบุคคลในครอบครัว ประสบการณ์การถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน ประสบการณ์การถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และประเภทของโรงเรียนตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว สามารถอธิบายไดวาเด็กชายและเด็กหญิงท่ีอําเภอโพธาราม รอยละ 51.1 เป็นเพศชาย รอยละ 49.3 เป็นลูก 2 คน รอยละ 49.3 มีจํานวนพ่ี-นอง 2 คน รอยละ 62.6 มีแมเป็นผูที่ดูแลใกลชิดมากที่สุด รอยละ 89 ถูกบุคคลในครอบครัวลงโทษทางกาย รอยละ 85 ถูกบุคคลในครอบครัวลงโทษทางวาจา รอยละ 93.4 ถูกลงโทษทางวาจาจาก

โรงเรียน รอยละ 61.7 ถูกกาวราวทางวาจาจากเพ่ือน รอยละ 61.7 ถูกกาวราวทางกายจากเพ่ือน และรอยละ 71.4 นักเรียนกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนสังกัดเอกชน จากขอมูลที่นําเสนอมานั้นพบวาครอบครัวสวนใหญนั้นมีบุตรเป็นเพศชายมากกวาเพศหญิง และมีบุตร 2 คนโดยเฉลี่ยทําใหบุคคลในครอบครัวนั้นสามารถแบงปันความรักใหลูกทั้ง 2 คนไดอยางเต็มที่ จึงไมมีลูกคนใดคนหนึ่งที่จะแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมา เพราะครอบครัวไดใหความรัก ความหวงใย ใสใจบุตรอยางเทาทียมกันจึงไมสงผลใหเด็กแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมา สอดคลองกับงานวิจัยของวงษ์เดือน สายสุวรรณ (2546) ไดศึกษาและสรุปผลงานวิจัยสวนใหญ พบวาเพศชายมีความกาวราวมากกวาเพศหญิง นอกจากเป็นเพราะองค์ประกอบทางชีวภาพแลว ผูวิจัยยังเชื่อวาสวนใหญเกิดจากการเรียนรูทางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งโดยปกติสังคมจะคาดหวังใหเพศชายและเพศหญิงมีบทบาทตางกัน เชน กําหนดใหเพศชายกลาหาญ เขมแข็ง เพศชายจึ งแสดงพฤติกรรมที่ห าวหาญและรุนแรงกว า นอกจากนี้ความกาวราวของเพศชายและเพศหญิงยังแตกตางกันตามสภาพการอบรมเลี้ยงดูที่สวนใหญบิดามารดาจะใหเสรีภาพ รักตามใจ และยอมใหเด็กผูชายกาวราวได แตจะไมยอมใหเด็กผูหญิงทําเชนนั้นบิดามารดาประเภทนี้จะใชอํานาจควบคุมและเขมงวดกวดขันกับเด็กผูชายนอยกวาเด็กผูหญิง กรรณิกา อางทอง (2552) ไดศึกษาปัจจัยที่สงผลตอการควบคุมพฤติกรรมการกระทํารุนแรงของนักเรียน ในโรงเรียนอําเภอดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี พบวานักเรียนชายมีการควบคุมพฤติกรรมการกระทํารุนแรงต่ํากวานักเรียน สอดคลองกับงานวิจัยของ เรวดี สิริพลังคานนท์ (2544) ไดศึกษาวิธีอบรมเลี้ยงดูบุตรของผูที่ บุตรมีพฤติกรรมกาวร าว พบว าครอบครัวที่มีจํานวนบุตรตั้งแต 2 คนขึ้นไป บุตรมี

Page 13: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 147

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

พฤติกรรมกาวราวมากกวาครอบครัวที่มีบุตรคนเดียว โดยมีสาเหตุมาจากการขาดการอบรมเลี้ยงดู ขาดความรัก ความอบอุนจากบิดามารดา รวมทั้งขาดการอบรมสั่งสอนเรื่องคานิยมที่ถูกตองกับเด็ก นักเรียนสวนใหญมีแมเป็นผูที่ดูแลอยางใกลชิดมากที่สุดแมเป็นบุคคลที่มีความออนโยน เขาใจบุตรมากกวาผูเป็นพอ เพราะผูเป็นพอทําหนาที่หลัก คือการทํางานหาเงินมาเลี้ยงครอบครัว สวนแมจึงมีบทบาทหนาที่ในการดูแลบุตรอยางเต็มที่ แมจะทําหนาที่เป็นที่ปรึกษาใหกับลูกในทุกเรื่อง อบรมสั่งสอนใหลูกเป็นคนดี ใหความรักความอบอุนแกลูก จึงทําใหลูกไมมีการแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมา ในการศึกษาครั้งนี้จึงพบวาการที่นักเรียนมีผูที่ดูแลนักเรียนอยางใกลชิดแตกตางกันไมสงผลตอพฤติกรรมกาวราวที่แตกตางกันของนักเรียน สอดคลองกับงานวิจัยของไซมอน และคณะ (Simons et al. 1991 , quoted

Muller) ไดศึกษาพบวา การอบรมเลี้ยงดูดวยความรุนแรงในรุนปูุ ยา ตา ยา มีความสัมพันธ์กับการเลี้ยงดูดวยความรุนแรงของผูปกครองในรุนปัจจุบัน การที่นักเรียนมีประสบการณ์การถูกลงโทษทางกายและทางวาจาจากบุคคลในครอบครัวนั้นเป็นเพราะบุคคลในครอบครัวตองการอบรมสั่งสอนใหนักเรียนเป็นคนดีตอไปในอนาคต ในบางครั้งอาจจะตองมีการลงโทษกันบางตามสมควรจึงไมไดเป็นสาเหตุที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมาเพราะนักเรียนเห็นวาเป็นเรื่องปกติที่เวลาตนเองทําผิดจึงถูกลงโทษ เพราะบุคคลถือคติที่วา “รักวัวใหผูก รักลูกใหตี” แตก็มีบางที่นักเรียนจดจําพฤติกรรมการถูกลงโทษจากบุคคลในครอบครัว ไปใช ในชีวิตประจํ าวัน ซึ่ งสอดคลองกับงานวิจัยของ บาวเออร์ (Bouaer,

2549) ไดสํารวจในกลุมตัวอยางเยาวชนที่เคยเห็นการทํารายรางกายการใชความรุนแรงในครอบครัว พบวา มีเด็กถึง 1ใน3 ที่ยอมรับวาในชวง 1 ปีที่ผาน

มา ตนเคยไปรังแกทํารายคนอ่ืน และเด็กหญิงเป็นฝุายที่ไปทํารายรังแกเพ่ือนหรือเด็กคนอ่ืนๆ มากกวาเด็กผูชาย นอกจากนั้นมีเยาวชน 3 ใน 4 ที่เคยเป็นเหยื่อความรุนแรงเคยถูกคนอ่ืนรังแก และงานวิจัยของวงษ์เดือน สายสุวรรณ์ (2546) ไดนําเสนอวา การที่บิดามารดาลงโทษบุตรทางวาจา เมื่อโตขึ้นเด็กก็จะเป็นเด็กกาวราว มีปัญหา และเมื่อโตเป็นบิดามารดาก็จะไปทําพฤติกรรมกาวราวกับลูกของตนเองตอไป จากที่บิดามารดาพูดเสียดสี ถากถาง ดูถูก สิ่งเหลานี้ก็จะฝังแนนในใจเด็ก และปรากฏออกมาในพฤติกรรมกาวราวของเด็ก แมเพียง 1 ครั้งใน 10 ของปฏิสัมพันธ์ระหวางบิดามารดากับลูกที่กาวราวรุนแรงก็เพียงพอที่จะทําใหเด็กเป็นคนกาวราวมีนิสัยอันธพาลได การที่นักเรียนถูกลงโทษทางวาจาจากโรงเรียนแลวไมแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมานั้นเป็นเพราะวานักเรียนรับรูวาการที่คุณครูดุดา วากลาวตักเตือนเรานั้นเป็นเพราะทานตองการใหเราเป็นคนดี เหมือนที่บุคคลในครอบครัวของเราที่ตองการใหเราเป็นคนดีเชนเดียวกัน สอดคลองกับงานวิจัยของรุงฤดี แกวคง (2552) ไดศึกษาพฤติกรรมกาวราวทางวาจาจากโรงเรียน พบวา พฤติกรรมของครูเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงตอพฤติกรรมกาวราวทางวาจาของนักเรียนในโรงเรียน พฤติกรรมที่แสดงออก ไดแก ความจงเกลียดจงชังของครูตอเด็ก การลงโทษ การดุ การดา การพูดหยาบคาย ขาดการดูแลเอาใจใส และการเป็นแบบอยาง ทําใหเด็กเป็นคนเฉื่อยชาตอการแกปัญหา เป็นปฏิปักษ์ตอคนอ่ืน และมีพฤติกรรมกาวราวกาวราว ถึงแมวานักเรียนจะถูกดาวรางทางกายและทางวาจาจากเพ่ือนแตนักเรียนไมแสดงพฤติกรรมกาวราวออกมาตามอยางเพ่ือนเพราะนักเรียนไดรับการอบรมสั่งสอนอยางดีจากบุคคลในครอบครัว ไดรับการเอาใจใส หวงใยนักเรียนดวยความรักทําใหนักเรียนรูจักการใชชีวิต

Page 14: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

148 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

รูจักการเลือกคบเพ่ือนทําใหนักเรียนสามารถปรับตัวไดเมื่อเจอเพ่ือนในรูปแบบตางๆ กับงานวิจัยของรพีพร เพชรรัตน์ (2550) ไดศึกษาพฤติกรรมการใชความรุนแรงตอผู อ่ืนของวัยรุนในเขตอําเภอเมือง จั งหวัดสงขลา พบว าวัยรุ นที่ มี เ พ่ือนสนิทที่ มีพฤติกรรมการใชความรุนแรงตอผูอ่ืนจะมีพฤติกรรมการใชความรุนแรงตอผู อ่ืนมากกวาวัยรุนที่มีเพ่ือนสนิทที่ ไมมีพฤติกรรมการใชความรุนแรง ไมวานักเรียนจะเรียนอยูสังกัดรัฐบาลหรือเอกชนก็ตามทางโรงเรียนมีหนาที่สงเสริมใหนักเรียนเป็นคนดี และคอยชวยเหลือนักเรียนในดานตางๆอยางเต็มที่ ใหความรู ความรัก ความเอาใจใสแกศิษย์อยางเต็มที่ สอดคลองกับงานวิจัยของรพีพร เพชรรัตน์ (2550)

จากการศึกษาพฤติกรรมการใชความรุนแรงตอผูอ่ืนของวัยรุนในอําเภอเมือง จังหวัดสงขลา พบวา วั ย รุ น ที่ เ รี ย น ใ น โ ร ง เ รี ย น สั ง กั ด สํ า นั ก ง า นคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีพฤติกรรมการใชความรุนแรงตอผูอื่นไมแตกตางจากวัยรุนที่เรียนในโรงเรียนสังกัดคณะกรรมการอาชีวศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 อําเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี ที่มีสภาพการพักอาศัยตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวแตกตางกัน ผลการวิจัยสอดคลองกับสมมติฐานขอที่ 3 ที่ตั้งไวโดยพบวานักเรียนที่มีสภาพการพักอาศัยอยูกับพอและแมมีพฤติกรรมกาวราวมากกวานักเรียนที่มีสภาพการพักอาศัยอยูกับญาติและอ่ืนๆ นอกนั้นไมพบความแตกตางที่เป็นดังนี้ อาจเนื่องมาจากนักเรียนที่อยูกับพอและแมเกิดพฤติกรรมกาวราวมากกวานักเรียนที่อยูกับพอหรือแม และอยูกับญาติหรืออ่ืนๆ เนื่องจากพอและแมอาจเขมงวดกวดขัน มีกฎเกณฑ์กับลูกมากเกินไปทําใหลูกมีปฏิกิริยาโตตอบตอพอแม หรือบางครอบครัวอาจจะปลอยปละละเลยนักเรียนจนทําใหนักเรียนคบ

เพ่ือนกาวราวทําตามเพ่ือนที่ ไมดี หรือเสพสื่อที่กาวราวมากเกินไปจนทําใหนักเรียนมีพฤติกรรมกาวราวไดมากกวา สวนนักเรียนที่อาศัยอยูกับญาติและอ่ืนๆ เกิดพฤติกรรมกาวราวนอยกวาเนื่องจากนักเรียนตองเกรงใจบุคคลเหลานั้นและตองฝึกฝนและเรียนรูการดําเนินชีวิตดวยตนเองเป็นสวนใหญ ไมสามารถทําตามอําเภอใจของตนเอง ผลการวิจัยในขอนี้ สอดคลองกับผลการวิจัยของจิราพร ไชยเชนทร์ (2552) ไดทําการศึกษาปัจจัยที่สงผลตอพฤติกรรมกาวราวทางวาจาของนักเรียนหญิงชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 1 ผลการวิจัยพบวานักเรียนหญิงชวงชั้นที่ 3 ที่มีสภาพครอบครัวตางกัน มีพฤติกรรมกาวราวทางวาจาแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาตัวแปรอ่ืน ๆ เพ่ือจะไดสามารถทํานายพฤติกรรมกาวราวไดมากขึ้น เชน พฤติกรรมการเลนเกม พฤติกรรมการใชเวลาวางของนักเรียน

2. ควรมีการศึกษาพฤติกรรมกาวราวของนักเรียนทั้งใน และนอกเขตเทศบาลเมืองโพธารามทั้งหมดเพ่ือใหขอมูลการวิจัยครบถวนสมบูรณ์มากขึ้น เพ่ือใหเกิดประโยชน์ และแนวทางในการแกไขปัญหาตอไปในภายหนา

Page 15: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 149

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

อ้างอิง กรรณิกา อางทอง. (2552). พฤติกรรมการ ปูองกัน

การกระทํารุนแรงของนักเรียนวัยรุ่น ในเขต อําเภอเมืองนครปฐม จั งหวัดนครปฐม . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาชุมชน). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เกษตรชัย และหีม. (2554). ปัจจัยในการพยากรณ์พฤติกรรมการรังแกของนักเรียนโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสงขลา .

วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์. คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สงขลานครินทร์. จิราพร ไชยเชนทร์ . (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อ

พฤติกรรมก้าวร้าวทางวาจาของนักเรียนหญิงช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพ้ื น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี เ ข ต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาชุมชน). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชนัญญา เงินเมือง. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ การทาหน้าที่ของครอบครัว และพฤติกรรมความก้าวร้าว ของนักเรียนชายระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. รายงานการวิจัยในชั้นเรียนโรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม.

เติมทิพย์ พานิชพันธุ์ . (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กและเยาวชนชายในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 2 จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาชุมชน ) . บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นพมาศ ธีรเวคิน. (2534). จิตวิทยาสังคม.กรุงเทพ

มหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. นรรัชต์ ฝันเชียร . (2552) . หยุดความรุนแรงใน

โ ร ง เ รี ยน เ ริ่ ม ต้ นที่ ตั ว ค รู . เ ข า ถึ ง เ มื่ อ 4

กรกฎาคม 2557.เขาถึงไดจาก http://www.

ffc.or.th/ffc_scoop/2552/scoop_2552_04_07.php.

ประไพรัตน์ วีระพงศ์เศรษฐ์ . (2542). พฤติกรรมก้ า ว ร้ า ว ในร ายการประ เภทละครและภาพยนตร์ทางโทรทัศน์. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือการสื่อสารและการพัฒนา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปิยศรี บวรธนสาร . (2550) . ปัจจัยที่ ส่ งผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวชองนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 2 โ รง เรี ยน เอกชนชายล้ วนแห่ งหนึ่ ง ในกรุ ง เทพมหานคร . สารนิพนธ์ปริญญาการศึ กษามหาบัณฑิ ต ( สาขาจิ ต วิ ทย าการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรรณี ชูทัย. (2552). จิตวิทยาการเรียนการสอน

Psychology of learning and teaching. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการศึกษามหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์. พรรณี เอ้ือวัฒนา . (2542). การถูกกระทํารุนแรง

ทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กโดยบิดามารดา: ศึกษาในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ.วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์ ) สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

Page 16: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

150 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ. (2539). การศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความรุนแรงในครอบครัว และความก้าวร้าวของเยาวชนไทย. รายงานการวิจัยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริการศาสตร์.

ริชณิน อินทรฑูต. (2545). อิทธิพลตัวละครโทรทัศน์ที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศกับทัศนคติการเลียนแบพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 6 ในโรงเรียนสตรีสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์. รพีพร เพชรรัตน์. (2550). พฤติกรรมการใช้ ความ

รุนแรงต่อผู้อ่ืนของวัยรุ่น ในเขตอําเภอเมืองจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลป

ศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาจิตวิทยาชุมชน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

รุจา ภู ไพบูลย์ . (2537). การพยาบาลครอบครัว แนวคิดทฤษฎีการนํ า ไปใช้ . ขอนแก่น . ขอนแกนการพิมพ์.

วรรณา ชองดารากุล. (2553). พฤติกรรมกาวราวของวัยรุน. แนะแนว, 24(129), (มิถุนายน-

กรกฎาคม 2553): 8-13.

วงษ์เดือน สายสุวรรณ์ . (2546). ประวัติการถูกลงโทษของมารดา พฤติกรรมก้าวร้าวของมารดา และพฤติกรรมก้าวร้าวของบุตรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการลงโทษบุตรของมารดา . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาชุมชน ). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิชา มหาคุณ และวัชรินทร์ ปัจเจกวิญญูสกุล . (2533). ผลกระทบของเด็กถูกทารุณกรรม มาตรการปูองกันแก้ไข ศึกษาเฉพาะกรณีเด็ก

และเยาวชนที่เคยตองคดี. กรุงเทพมหานคร: หางหุนสวนจํากัดเทคนิค 16, 2533 มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก.

สํานักงานเขตพ้ืนที่การประถมศึกษาราชบุรีเขต 2. แผนปฏิบัติงานประจําปี 2557 [ออนไลน์]. เขาถึงเมื่อ 30 กรกฎาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.rb-2.net.

สัมฤทธิ์ แกวพูลศรี. (2534). การเปรียบเทียบการใช้การเสริมแรงทางบวกกับการปรับสินไหมที่มีต่ อพฤติ ก ร รมก้ า ว ร้ า ว ขอ งนั ก เ รี ยนชั้ นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดทับกฤชกลางอํ า เ ภ อ ชุ ม แ ส ง จั ง ห วั ด น ค ร ส ว ร ร ค์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (วิชาเอกจิตวิทยาการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ . ประสานมิตร.

สาหรี จิตตินันท์. (2539). ตํารากุมารเวชศาสตร์ (เลม 2). กรุงเทพฯ: กรุงเทพวารสาร.

สมพร สุทัศนีย์. (2530).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. ภาควิชาจิตวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริวรรณ ปุุนคอน . (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนในสั งกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ . วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาจิตวิทยาชุมชน ) บัณฑิตวิทยาลั ย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อัมพร โอตระกูล. (2527) พฤติกรรมกาวราว. วารสารสุขศึกษา, 7, 63-66.

Page 17: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

ISSN 2228-9453 Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 Pag e | 151

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

Bandura. (1997). Social Learning Theory.

New Jersey: Prentice-Hall.

Best, John W. (1981) Research in Education. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.

Hartup, Willand W. (1970). Peer Interaction and Social Organization. Criminal's Manual of child Psychology.

และองค์การ). คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Page 18: Factors Effecting the Aggressive Behavior of Prathom 6 Students, …bsris.swu.ac.th/jbsd/581/Journal58-copy-9.pdf · 2015. 2. 1. · E-mail: pleja_narak@hotmail.com . ISSN 2228-9453

152 | Page Journal of Behavioral Science for Development Vol.7 No.1 January 2015 ISSN 2228-9453

วารสารพฤตกิรรมศาสตร์เพ่ือการพฒันา ปีท่ี 7 ฉบบัท่ี 1 มกราคม 2558 ลขิสทิธ์ิโดย สถาบนัวิจยัพฤตกิรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ