24
หีบธรรม อ�ำเภอลีจังหวัดล�ำพูน สมประสงค์ สีจันทร์

Hib Dham, A.Le, Lamphun

  • Upload
    -

  • View
    217

  • Download
    2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ฆีบธรรม, การประดับตกแต่ง, การเก็บรักษา

Citation preview

Page 1: Hib Dham, A.Le, Lamphun

หีบธรรมอ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน

สมประสงค์ สีจันทร์

Page 2: Hib Dham, A.Le, Lamphun
Page 3: Hib Dham, A.Le, Lamphun

หีบธรรมอ�ำเภอลี้ จังหวัดล�ำพูน

สมประสงค์ สีจันทร์

Page 4: Hib Dham, A.Le, Lamphun

2

หีบธรรม อ�ำเภอลี ้จังหวดัล�ำพูน จงัหวดัล�ำพนูหรอือำณำจักรหรภิญุชยัในอดตีนัน้เป็นอำณำจกัรที่มีควำม

รุ่งเรืองทำงวัฒนธรรมมำนำนกว่ำ 1,400 ปี จึงท�ำให้จังหวัดล�ำพูนมี

แหล่งท่องเที่ยวทำงวัฒนธรรมที่น่ำสนใจอยู่หลำยแห่งที่นักท่องเที่ยวนิยมไป

เที่ยวชมและศึกษำหำควำมรู้ นอกจำกนี้ยังพบว่ำอ�ำเภอลี้ เป็นอ�ำเภอหนึ่งใน

จังหวัดล�ำพูนซึ่งมีเนื้อที่เกือบครึ่งหนึ่งของจังหวัด อีกทั้งอ�ำเภอลี้ขึ้นชื่อว่ำเป็น

เมืองที่มีประวัติศำสตร์ควำมเป็นมำเก่ำแก่ โดยได้ก่อตั้งเมืองมำตั้งแต่สมัยกรุง

สุโขทัยก่อนปี พ.ศ. 1800 ถึงปัจจุบัน คนในชุมชนของ อ�ำเภอลี้จังหวัด

ล�ำพูน ร้อยละ 90 เป็นชำวเขำเผ่ำกระเหรี่ยงที่นับถือพุทธศำสนำอย่ำง

เคร่งครัด โดยจะเห็นได้จำกกำรที่คนในชุมชน มีควำมเลื่อมใสในพระพุทธ-

ศำสนำ และมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนเป็นจ�ำนวนมำก นอกจำก

นี้คนในชุมชนยังได้น�ำเอำหลักธรรมที่ถูกจำรึกไว้เป็นลำยลักษณ์อักษร เรียกว่ำ

พระคัมภีร์ พระคัมภีร์มีควำมส�ำคัญทำงพุทธศำสนำ เนื่องจำกมีกำรจดหรือ

บันทึกพระธรรมลงบนใบลำนหรือกระดำษสำ จึงจ�ำเป็นต้องมีกำรเก็บรักษำ

พระคัมภีร์ไว้เป็นอย่ำงดี โดยจะเก็บไว้ในหีบหรือตู้เรียกว่ำหีบธรรม เพื่อเก็บ

ให้พ้นจำกสัตว์ต่ำงๆ ที่จะมำกัดกินพระธรรมค�ำสอน

กำรสร้ำงหีบธรรมนอกจำกมีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บพระธรรมแล้ว ยัง

บ่งบอกถึงวิถีชีวิต และวัฒนธรรมล้ำนนำในยุคนั้นๆ อีกด้วย รวมไปถึง

ภูมิปัญญำของบรรพชนล้ำนนำ

Page 5: Hib Dham, A.Le, Lamphun

3

ศิลปกรรมที่เกิดขึ้นบนหีบธรรม ล้วนแล้วแต่เกิดจำกควำมเชื่อใน

พทุธศำสนำอย่ำงชัดเจนโดยสร้ำงจำกควำมเชือ่ ควำมศรทัธำในขนบธรรมเนยีม

ประเพณีเกิดส�ำนึกที่สร้ำงงำนเพื่อเป็นพุทธบูชำ และตระหนักในคุณค่ำของทำง

ประวัติศำสตร์ ด้วยกำรด�ำเนินชีวิตทำงสังคม และวัฒนธรรมด้ำนต่ำงๆ โดย

เฉพำะทำงด้ำนงำนช่ำงกำรตกแต่งศิลปกรรมประดับตกแต่งลวดลำยล้วนแล้วแต่

ผูกพันกับควำมเชื่อกับพุทธศำสนำ จึงท�ำให้ก่อเกิดกำรสร้ำงงำนทำงวัฒนธรรม

อันเป็นกำรสืบทอดพุทธศำสนำ

Page 6: Hib Dham, A.Le, Lamphun

4

ส่วนฝำ ส่วนที่ใช้ปิดหีบมีลักษณะคล้ำยฝำบำตรพระเพียงมีรูปสี่เหลี่ยม

โดยจะสร้ำงให้พอดีกัน เวลำสวมปิดฝำส่วนที่เป็นฝ่ำนี้บริเวณด้ำนบนฝำจะใช้

ไม้กระดำนต่อเข้ำเดือยยึดกับด้ำนข้ำงทั้งสี่ด้ำนประกอบกันเป็นรูปทรง ฝำด้ำน

บนสุดจะเป็นแผ่นไม้กระดำนติดกันจนเป็นแผ่นเรียบเป็นเนื้อเดียวกัน

ส่วนฐำนเป็นส่วนที่รับน�้ำหนักมำกที่สุด มีขนำดกว้ำงที่สุด จะมีกำร

ซ้อนชั้นต่ำงๆ จำกขนำดเล็กไปหำใหญ่ใช้วิธีกำรเข้ำไม้โดยอำศัยกำรเข้ำเดือย

ยึดสี่มุมเข้ำด้วยกัน นอกจำกนี้ยังพบว่ำมีจ�ำนวนไม่น้อยที่มีกำรต่อขำเป็นรูป

ลักษณะคล้ำยเท้ำสิงห์ เพื่อเพิ่มควำมแข็งแรงในส่วนของฐำนอีกด้วยเนื่องจำก

ส่วนฐำนนี้เป็นส่วนส�ำคัญในกำรรับน�้ำหนักมำก จึงจ�ำเป็นที่ใช้ไม้ที่มีขนำด

หนำและมีน�้ำหนักจึงจะเหมำะสมและเกิดควำมแน่นหนำแข็งแรงส่วนด้ำนข้ำง

จะผำยออกตรงไปเพื่อให้สวมสนิทกันกับส่วนที่เป็นส่วนตัว

ส่วนฝำของหีบธรรม

ส่วนฐำนของหีบธรรม

Page 7: Hib Dham, A.Le, Lamphun

5

ส่วนกลำงหรือส่วนที่เป็นตัวหีบมีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมคำงหมู

ท้องไม้หรือฝำโดยรอบทั้งสี่ด้ำนเป็นไม้กระดำนต่อกันโดยอำศัยเสำสี่ต้นเป็น

โครงยึดติดกันอำศัยกำรเข้ำไม้โดยใช้เดือยยึดกำรเข้ำไม้เป็นฝำสี่ด้ำน โดยกำร

ใช้เดือยในกำรยึดติดเสำนี้จะท�ำให้เกิดกำรงัดขบกันของเดือยฝำไม้ทั้งสี่ด้ำนจะมี

แรงผลักดันกระท�ำซึ่งกันและกันรักษำโครงสร้ำงให้คงรูปไว้อย่ำงมั่นคงบริเวณ

ปำกหีบจะท�ำให้เป็นสลักตัวผู้มีลักษณะกำรซ้อนปำกหีบ ที่มีลักษณะเล็กเท่ำกับ

ตัวหีบเพื่อสวมกันกับบริเวณส่วนที่เป็นฝำ

ส่วนกลำงของหีบธรรม

Page 8: Hib Dham, A.Le, Lamphun

6

กำรประดับตกแต่งของหีบธรรม หีบธรรม คือที่บรรจุพระคัมภีร์ฉบับใบลำนเป็นงำนประณีตศิลป์จัดว่ำ

เป็นมรดกทำงวัฒนธรรมที่ล�้ำค่ำของช่ำงในสมัยโบรำณ

เนื่องจำกหีบธรรมมีโครงสร้ำงที่เป็นแผ่นไม้กระดำนประกอบกันเป็น

กล่องลักษณะสี่เหลี่ยมแผ่นไม้กระดำนโดยรอบนี ้ ที่เป็นพื้นผิวรองรับงำน

ประดับตกแต่งลวดลำยได้เป็นอย่ำงดีช่ำงในสมัยโบรำณจึงมักสร้ำงลวดลำยขึ้น

มำประดับ เพื่อมิให้ดูแล้วเป็นเพียงกล่องไม้สี่เหลี่ยมธรรมดำโดยอำสัยเทคนิค

และวิธีกำรที่ค่อนข้ำงจะประณีตบรรจง เนื่องจำกเป็นงำนที่สร้ำงขึ้นเพื่อเป็น

พุทธบูชำลวดลำยประดับตกแต่งนี้จึงเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของหีบธรรม

ส่งให้เห็นถึงคุณค่ำควำมงดงำมของศิลปะล้ำนนำได้อย่ำงชัดเจน

ในสมัยโบรำณนิยมที่จะให้มีกำรสร้ำงลวดลำยต่ำงๆ ขึ้นมำเพื่อใช้

ประดับตกแตงสถำปัตยกรรมประติมำกรรม จิตรกรรมและงำนประณีตศิลป์

ลวดลำยต่ำงๆ เหล่ำนี้มิได้เจำะจงใช้เฉพำะในงำนประเภทหนึ่ง แต่จะมีกำร

ถ่ำยเทรูปแบบให้กันและกัน ในงำนศิลปกรรมต่ำงแขนงกันลวดลำยประดับ

ของหีบธรรมล้ำนนำก็ได้รับอิทธิพลจำกลวดลำยประดับของงำนศิลปกรรม

ประเภทอื่นด้วยเช่นกัน ที่เห็นได้ชัดคือ จำกงำนจิตรกรรมและสถำปัตยกรรม

จุดประสงค์ของช่ำงก็เพื่อให้เกิดคุณค่ำควำมงำมยกระดับให้เป็นของใช้ที่มีค่ำ

ส�ำหรับพระพุทธศำสนำ นอกจำกนี้ยังเป็นสื่อให้เกิดจินตนำกำรภำพสร้ำง

อำรมณ์ของบุคคลที่ได้พบเห็นให้เข้ำถึงสัจธรรมของพระศำสนำเป็นพื้นฐำน

เบื้องต้น

Page 9: Hib Dham, A.Le, Lamphun

7

ลวดลำยบนหีบธรรม ลวดลำยที่ใช้ในกำรตกแต่งหีบธรรม เป็นสิ่งที่มีควำมส�ำคัญมำก เป็น

คุณลักษณะที่เด่นที่สุด ่จะตกแต่งลวดลำยและเทคนิคต่ำงๆ เพื่อควำมสวยงำน

และมีควำมหมำยต่ำงๆ ตำมลักษณะของลำย ส่วนลักษณะลำยที่พบในอ�ำเภอ

ลี้จะมี ลำยเครือเถำ เครือเถำเทพพนม ลำยจำรึกค�ำอุทิศ ลำยเล่ำเรื่อง ลำย

โปร่งเพิ่มบ่ำง ลำยกรอบโก่งเป็นต้น

ลำยเทพพนมเป็นเอกลักษณ์ที่ได้มำจำกควำมเชื่อของคนไทย อันหมำย

ถึงเทพำรักษ์ ซึ่งมีหน้ำที่อภิบำลรักษำสถำนที่หรือปูชนียวัตถุนั้นๆ

ลำยเครือเถำ

Page 10: Hib Dham, A.Le, Lamphun

8

กำรน�ำลำยเครือเถำมำใช้อำจหมำยถึงกำรถวำยดอกไม้เพื่อเป็นพุทธบูชำ

ลำยพรรณพฤกษำ ได้แก่ ลำยประเภทต้นไม้ ใบไม้ และดอกไม้ นำนำชนิด

เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ

ลำยเครือเถำ

Page 11: Hib Dham, A.Le, Lamphun

9

ลำยโปร่งเพิ่มบ่ำงจะเป็นเทคนิคกำรเว้นลำยไว้จุดกลำง และเพิ่มบ่ำงทั้ง

สี่มุมของหีบ จะไม่เน้นลวดลำยมำกนัก

ลำยกรอบโก่ง เป็นลักษณะโก่งคิ้วโค้งตำมกรอบ

ลำยโปร่งเพิ่มบ่ำง

ลำยโก่ง

Page 12: Hib Dham, A.Le, Lamphun

10

กำรตกแต่งด้วยลวดลำยลักษณะภำพเล่ำเรื่องนิยมรองลงมำจำกลวดลำย

ลำยเครอืเถำ ภำพเล่ำเรือ่งท่ีพบจะเป็นเรือ่งพทุธศำสนำ ชำดกและพทุธประวติั

โดยจะเป็นกำรตกแต่งด้วยลวดลำยบำงตอนสั้นๆ เป็นเรื่องรำวที่แสดงถึงบุญ

บำรมีของบุคคลส�ำคัญในศำสนำพุทธ จำกกำรศึกษำพบว่ำจ�ำนวนหีบธรรมที่มี

ลำยเล่ำเรื่องอยู่จ�ำนวน 2 ใบ คือ ภำพชำดกที่พบบนหีบธรรมเป็นเรื่อง

พระมำลัย และปัญจวัคคีย์ทั้ง 5

ลำยเล่ำเรื่อง

Page 13: Hib Dham, A.Le, Lamphun

11

กำรตกแต่งด้วยลวดลำยตัวอักษร คือกำรเขียนค�ำจำรึก เพื่อให้เกิดเป็น

ลวดลำยของกำรเขียนตำมตัวอักษรลำยมือ เช่น ตัวเขียนภำษำล้ำนนำ และตัว

เขียนภำษำไทย เป็นต้น จำกกำรศึกษำพบว่ำจ�ำนวนหีบธรรมที่มีลำยจำรึกค�ำ

อุทิศอยู่จ�ำนวน 2 ใบจะเห็นว่ำพบกำรใช้เทคนิคนี้จ�ำนวนน้อย

ลำยจำรึกค�ำอุทิศ

Page 14: Hib Dham, A.Le, Lamphun

12

กำรใช้เทคนิคกำรลงรักปิดทอง เป็นเทคนิคที่มีมำนำนแล้วของ

ล้ำนนำ เนื่องด้วยกำรนิยมใช้ทองในกำรตกแต่งและประดับพุทธสถำนเพื่อ

แสดงถึงควำมเคำรพบูชำและเป็นสิ่งที่ส�ำคัญในกำรให้ควำมส�ำคัญต่อพุทธ

ศำสนำ จนมำถึงกำรใช้เป็นเทคนิคในกำรตกแต่งหีบธรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่มีควำม

ส�ำคัญในกำรเก็บรักษำพระธรรมที่ใช้ในทำงศำสนำ จึงถือว่ำเป็นกำรให้ควำม

ส�ำคัญกับศำสนำเป็นอย่ำงมำก โดยกำรลงรักปิดทองนี้เป็นเทคนิคที่ใช้กำรทำ

ด้วยยำงรักซึ่งจะให้สีด�ำจะเป็นตัวที่ท�ำหน้ำที่เป็นพื้นและตำมด้วยกำรปิดทองค�ำ

เปลวเป็นลวดลำยต่ำงๆ ท�ำให้เกิดเป็นลวดลำยของทองบนพื้นรักสีด�ำ โดย

หน้ำที่ของรักนั้นเป็นตัวป้องกันแมลงที่จะเข้ำมำท�ำลำยพระธรรมด้ำนในที่บรรจุ

อยู่

กำรลงรักปิดทอง

หีบธรรม

กับวิธีกำรสร้ำงสรรลวดลำย

Page 15: Hib Dham, A.Le, Lamphun

13

กำรใช้เทคนิคทำชำดปิดทองเป็นกำรลงพื้นด้วยกำรลงรักก่อน โดย

หน้ำที่ของรักนั้นเป็นตัวป้องกันแมลงที่จะเข้ำมำท�ำลำยพระธรรมด้ำนในที่บรรจุ

อยู่และทำชำดทับลงไปบนพื้นรักเพื่อให้ได้สีแดงทั่วทั้งหีบ แล้วก็ประดับด้วย

ลำยปิดทอง

กำรทำชำดปิดทอง

Page 16: Hib Dham, A.Le, Lamphun

14

งำนช่ำงประดับกระจกก็ดี ควำมนิยมต่องำนประดับกระจกก็ดี เนื่อง

มำแต่สำระซึ่งผู้คนแต่ก่อน เห็นควำมส�ำคัญในคุณลักษณะของกระจกที่เป็นทั้ง

สีและมีควำมมันแวววำว กับยังเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติเปล่งประกำยออกได้

คล้ำยกับอัญมณี เมื่อได้รับแสงสว่ำงส่องมำกระทบผิวกระจกนั้น กระจกสีจึง

ได้รับกำรน�ำมำประดับลงในบำงสิ่ง ที่พึ่งประดับด้วยอัญมณีจริง หรือ

ประดับเป็นอย่ำงของเทียมแทนจะใช้อัญมณี นอกจำกนี้ยังเป็นวัสดุที่มีคุณภำพ

แข็งคงทนถำวรต่อแดดฝน เป็นเครื่องช่วยป้องกัน มิให้วัตถุที่กระจกปิดทับ

เสื่อมสลำยง่ำยซึ่งในล้ำนนำนั้นเทคนิคกำรประดับกระจกได้นิยมใช้แก้วอังวะ

หรือกระจกจืนที่ในปัจจุบันเป็นสิ่งที่หำยำก ซึ่งกระจกชนิดนี้สำมำรถตัดแต่งได้

ง่ำยนั่นเอง

กำรประดับกระจก

Page 17: Hib Dham, A.Le, Lamphun

15

เทคนคิกำรลงรกัเขยีนตัวอกัษรเป็นกำรลงพืน้ด้วยกำรลงรกับนหบีธรรม

ธรรมก่อนตำมด้วยกำรเขียนบันทึกลำยลักษณ์อักษรบนหีบธรรม ซึ่งลวดลำย

อกัษรทีป่รำกฏนัน้เป็นตัวอกัษรของล้ำนนำ บ่งบอกถงึชือ่ผูส้ร้ำงวนัทีปี่ทีส่ร้ำง

ถวำยให้แก่วัดกำรจำรึกชื่อไว้ตรงหีบนั้น ตรงกับควำมเชื่อในเรื่องของกำรสร้ำง

หีบธรรมในล้ำนนำ ซึ่งมีแนวควำมเชื่อที่ว่ำ คือหีบธรรมเป็นของศักดิ์สิทธิ์

เป็นของสูงที่มีไว้เก็บพระคัมภีร์ใบลำนค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้ำหำกใครได้มี

ส่วนสร้ำงถวำยหีบพระธรรมให้แก่วัด เชื่อกันว่ำจะได้กุศลอย่ำงแรงกล้ำนั่นเอง

กำรลงรักเขียนตัวอักษร

Page 18: Hib Dham, A.Le, Lamphun

16

ชำดเป็นสีแดงชนิดหนึ่ง ใช้ท�ำเป็นสีส�ำหรับเขียน หรือระบำย กำร

ทำชำดนั้นจะทำทับลงบนพื้นรักท�ำขึ้นด้วยควำมประสงค์ให้สีแดงที่ใช้ทำลง

หรือถมลงในส่วนที่เป็นล่องระหว่ำงลวดลำย หรือช่องไฟระหว่ำงสิ่งที่ท�ำขึ้น

ในลักษณะงำนปูนปั้น งำนไม้หรือหินแกะสลัก ดูเด่นเห็นกระจะขึ้นจำกพื้นที่

เป็นล่องลึกต�่ำ หรือ พื้นที่รองรับอยู่เบื้องหลังนั้นนั่นเองกำรใช้สีชำด หรือ

สีแดงชำดทำลง หรือถมลงในล่องนี้ เป็นไปตำมขนบนิยมและประเพณีนิยม

ว่ำ “สีแดง” เป็นสีที่มีควำมหมำยถึงควำมสว่ำง ควำมสุกใส

กำรลงรักทำชำด

Page 19: Hib Dham, A.Le, Lamphun

17

ในสมัยโบรำณเทคโนโลยียังไม่เจริญก้ำวหน้ำมำกสีที่ใช่ในงำนประดับ

ตกแต่งจึงวนเวียนอยู่ในวงจรเพียงไม่กี่สีโดยน�ำมำจำกวัสดุธรรมชำติรอบๆ ตัว

ที่มีอยู่เช่นจำกยำงไม ้ ใบใม ้ รำกไม้ดินเขม่ำ แร่ธำต ุ ปรำกฎเป็นส ี แดง ด�ำ

เหลือง ขำว น�้ำเงิน ที่เป็นพิเศษคือสีทองที่ได้มำจำกแผ่นทองค�ำเปลวช่วยเพิ่ม

ควำมงำมและสว่ำงลำยแลดูกลมกลืนกัน และยังรักษำเนื้อของไม้ป้องกันกำร

กัดกร่อนของแมลงต่ำงๆ แทบทุกสกุลช่ำงมักจะใช้สีเพียงเท่ำนั้นส�ำหรับ

ตกแต่งหีบธรรม แต่ส�ำหรับสีน�้ำเงินและขำวเป็นสีที่หำยำกจึงไม่นิยมใช้กัน

สีสันของหีบธรรม

Page 20: Hib Dham, A.Le, Lamphun

18

หีบธรรมเป็นสิ่งที่ใช่เก็บรักษำพระธรรมค�ำภีร ์ เป็นสิ่งที่สืบทอดควำม

ศรัทธำของยุคสมัย และยังแสดงถึงกำรติดต่อของคนในสมัยก่อนควำมรู้ของ

คนท้องถิ่นงำนช่ำงที่ส่งต่อจำกรุ่นสู่รุ่นผ่ำนยุคสมัยต่ำงๆ จนเกิดเป็นศิลปกรรม

รูปแบบเฉพำะตัวขึ้น ชึ่งหีบธรรมในอ�ำเภอลี ้ จังหวัดล�ำพูน จึงมีควำมเป็น

เอกลักษณ์เฉพำะที่และเป็นตัวบ่งบอกถึงประวัติศำสตร์ของท้องถิ่น ควนค่ำแก่

กำรให้กำรอนุรักษ์ให้คงแก่คนรุ่นหลังได้เห็นซึ่งควำมสวยงำมผ่ำนงำนช่ำงศิลป์

ของคนรุ่นก่อนในพื้นที่ตัวเอง และศิลปกรรมที่งดงำมจะคงคู่ไปกับ

ประวัติศำสตร์อันยำวนำนต่อไป

กำรเกบ็รกัษำ

Page 21: Hib Dham, A.Le, Lamphun

19

Page 22: Hib Dham, A.Le, Lamphun

หีบธรรมอ�ำเภอล้ีจงัหวดัล�ำพนู

©2015(พ.ศ.2558)

โดยนำยสมประสงค์สีจนัทร์

สงวนลิขสิทธ์ิ

พิมพค์ร้ังแรกเม่ือตุลำคมพ.ศ.2558

จดัพิมพโ์ดยภำควชิำศิลปะไทยคณะวจิิตรศิลป์มหำวทิยำลยัเชียงใหม่

เรียบเรียงและออกแบบโดยช่ือนกัศึกษำ

ออกแบบโดยใชฟ้อนท์AngsanaNew

หนงัสือเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของกำรเรียนกำรสอนเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศกัยภำพกำรศึกษำ

ภำยในภำควชิำศิลปะไทยคณะวจิิตรศิลป์มหำวทิยำลยัเชียงใหม่

Page 23: Hib Dham, A.Le, Lamphun
Page 24: Hib Dham, A.Le, Lamphun

กำรสร้ำงหีบธรรมนอกจำกมีวัตถุประสงค์

เพื่อเก็บพระธรรมแล้ว

ยังบ่งบอกถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมล้ำนนำ

ในยุคนั้นนั้นอีกด้วย

รวมไปถึงภูมิปัญญำของบรรพชนล้ำนนำ