69
การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สาหรับสัตว์เลี้ยง (Applications of pets products) Sarawan Kaewmongkol, M.Sc., PhD. Faculty of Veterinary Technology Kasetsart University Lovely Pets (01600132) 7-8 July 2016

Name of presentation¹€อกสาร...การเล อกใช ผล ตภ ณฑ ส าหร บส ตว เล ยง (Applications of pets products) Sarawan Kaewmongkol,

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง(Applications of pets products)

Sarawan Kaewmongkol, M.Sc., PhD.

Faculty of Veterinary Technology Kasetsart University

Lovely Pets (01600132)

7-8 July 2016

หัวข้อในการบรรบาย ( Outlines )

• การดูแลสัตว์เลี้ยงขั้นพื้นฐาน

• การฝึกสัตว์เลี้ยง

• การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

• อาหารและสารอาหารส าหรับสัตว์เลี้ยง

• การดูแลอาบน้ า ตัดขน ให้กับสัตว์เลี้ยง

• ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ส าหรับสัตว์เลี้ยง

การดูแลสัตว์เลี้ยงขั้นพื้นฐาน (Basic pets caring)

• สัตว์เลี้ยงต้องการการดูแลเอาใจใส่ ทั้งอาหารการกิน การท าความสะอาด การฝึกหัดให้ท าตามที่เจ้าของสั่ง

• รวมถึงต้องการการป้องกันโรค โดยการท าวัคซีน ซึ่งเป็นวธิีที่ดีกว่าถ้าเจ็บป่วยแล้วต้องน าไปรักษาดูแล และยังเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาหรือแก้ไขเมื่อปัญหาเกิดขึ้นแล้ว

What is your responsibility?

OWNING A PET

ค าถามก่อนจะตัดสินใจเลี้ยงสัตว์

• ท าไมคุณถึงต้องการเลี้ยงสัตว์ ???

• คุณมีเวลาเหลือเพียงพอที่จะเลี้ยงสัตว์หรือไม่ ???

• คุณมีพื้นที่เพียงพอในการเลี้ยงสัตว์หรือไม่ ???

• และค าถามท่ีหลีกเลี้ยงไม่ได้เลยคือถ้าคุณตายกอ่นสัตว์เลี้ยงคุณแล้วใครจะดูแลสัตว์เลี้ยงของคุณต่อไป ????

What is the Right Pet for You?

Identify Your Pet

ปลอกคอและป้ายแขวนคอสัตว์เลี้ยง

การฝึกสัตว์เลี้ยง (Train your pets)

การฝึกสัตว์เลี้ยง (Train your pets)

สายจูงสัตว์เลี้ยง

การท าหมัน (Spay or Neuter)

กางเกงอนามัยและโอบิส าหรับสุนัข

กางเกงอนามัยและโอบิส าหรับสุนัข

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

• อาหาร และภาชนะใส่อาหารและน้ า

• แชมพูอาบน้ า

• แปรงสีฟันและยาสีฟัน อุปกรณ์ช่วยท าความสะอาบช่องปาก

• เบาะรองนอน รถเข็น และคอก

• ของเล่น และอื่นๆ เป็นต้น

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ส าหรับสัตว์เลี้ยง

• การได้รับโภชนาการที่ดี ได้รับอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน และสมดุลเป็นสิ่งส าคัญพื้นฐานที่ควรได้รับตั้งแต่แรกเกิด

• สุนัขมีความอยากและความชอบอาหารเช่นเดียวกับมนุษย์ แต่มีประสาทรับรู้รสชาติได้น้อย แต่ก็มีความสามารถกินอาหารได้หลายชนิด

• สุนัขแต่ละตัวต้องการอาหารแตกต่างกัน ขึ้นกับอายุของสุนัขและการใช้พลังงาน

อาหารและสารอาหารสัตว์เลี้ยง

o การให้อาหารไม่ควรให้อาหารซ้ าๆกันบ่อยๆ เพราะอาจจะท าให้สัตว์เลี้ยงได้สารอาหารไม่ครบถ้วน

o สุนัขต้องได้รับอาหารที่มีสารอาหารที่ครบถ้วน ดังนี้

» คาร์โบไฮเดรต

» โปรตีน

» วิตามิน

» ไขมัน

» แร่ธาตุ

» น้ า

สารอาหารที่จ าเป็นส าหรับสัตว์เลี้ยง

o อาหารส าเร็จรูปควรเลือกใช้ของบริษัทที่น่าเชื่อถือ และได้มาตราฐาน

o จัดน้ าสะอาดไว้ให้ตลอดเวลา

o ห้ามให้อาหารเสียและหมดอายุแก่สัตว์เลี้ยง

o ห้ามใช้อาหารแมวมาให้สุนัขกิน เพราะมีโปรตีนสูงเกินไป

o ควรแยกภาชนะในการให้อาหาร กรณีมีสัตว์เลี้ยงหลายตัว

o อื่น ๆ เช่น - อาหารแห้งควรทิ้งวันต่อวัน

- อาหารที่มีน้ า ไม่ควรเก็บไว้มื้อต่อไป

- การแทะกระดูก ช่วยบริหารเหงือกและขากรรไกร แต่อาจท าให้ฟันสึก และเป็นแผลในช่องปาก

- ห้ามให้กระดูกที่เปราะแก่สุนัข เช่น กระดูกไก่

ค าแนะน าในการเลือกอาหารให้สตัว์เลี้ยง

• อาหารแห้ง หรือ อาหารเม็ด ( Commercial dry food )

• อาหารกระป๋อง หรือ อาหารเปียก ( Canned or moist food )

• อาหารกึ่งเปียก ( Semi dry food )

• อาหารปรุงเอง ( Home-prepared diet )

อาหารและสารอาหารในสัตว์เลี้ยง

• อาหารแห้ง

: แคลอรีสูงกว่าอาหารกระป๋อง 4 เท่า บางชนิดต้องเติมน้ าเพื่อให้นุ่มก่อนที่สัตว์เลี้ยงจะกิน

• อาหารกระป๋อง

: เป็นชิ้น, เป็นชิ้นในน้ าเกรวี, แบบบดท าจากเนื้อสัตว์ โปรตีนสูง ควรผสมกับอาหารอื่น ใหไ้ด้สารอาหารครบถ้วน

• อาหารกึ่งนุ่ม

: แคลอรีสูงกว่าอาหารกระป๋อง 3 เท่า

คาร์โบไฮเดรตสูง => ระวังในสุนัขที่เป็นเบาหวาน

อาหารส าเร็จรูป

• มีสารอาหารและพลังงานตามความเหมาะสมของสุนัขในสภาพต่าง ๆ ได้ เช่น อาหารแคลอรีต่ า, อาหารสุนัขเด็ก, อาหารสุนัขโตเต็มวัย, อาหารสุนัขชรา, อาหารสุนัขเบาหวาน

• สะดวก

• มีกลิ่นน้อย

• ย่อยง่าย =>> อุจจาระน้อย & ท าความสะอาดง่าย

อาหารส าเร็จรูป

อาหารตามช่วงวัย

การแสดงช่วงอายุของสุนัข

ปริมาณอาหารที่ควรได้รับ

o ของกินเล่น :

ไขมันและคาร์โบไฮเดรตสูง ดังนั้นควรค านวณแคลอรีจากขนมด้วย

o ของขบเคี้ยว :

ช่วยบริหารเหงือกและฟัน แคลอรีต่ ามาก ช่วยป้องกันสุนัขที่ชอบกัดท าลาย

อาหารส าเร็จรูป

• สุนัขไม่ใช่สัตว์กินเนื้อเพียงอย่างเดียว

• การให้อาหารสด ต้องแน่ใจว่าสุนัขจะได้รับสารอาหารครบถ้วนและสมดุลตามความต้องการของร่างกาย

• อาหารจึงควรประกอบไปด้วยโปรตีนจากเนื้อสัตว์และพืช รวมทั้งคาร์โบไฮเดรต

อาหารปรุงสด

• อาหารสดที่นิยมให้สุนัข

o เนื้อบด : ไขมันค่อนข้างสูง แต่ผลเสียของไขมันต่อสุนัขน้อยกว่าคน

o เนื้อไก่ : ย่อยง่าย มีแคลอรีต่ ากว่าเน้ือสัตว์ชนิดอ่ืน

o ตับ : มีฟอสฟอรัสสูงแต่แคลเซียมต่ า มี Vit. A และ B1 สูง

o หัวใจ : ไขมันสูง มีแคลอรีมากกว่าเคร่ืองในอื่น ๆ

o ข้าว : แหล่งคาร์โบไฮเดรต ย่อยง่าย

o ผักสดและผลไม้ : แหล่งวิตามิน

อาหารปรุงสด

• สุนัขบางตัวจะคิดถึงแต่เรื่องกิน กินได้ตลอด โดยเฉพาะสุนัขที่เบื่อหน่ายต่อกิจวัตรประจ าวัน ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเคลื่อนที่ นอนอย่างเดียว

• การให้อาหารทุกครั้งที่สุนัขขอจะเป็นการสร้างพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม และท าให้เกิดโรคอ้วนได้

• สุนัขที่เงียบขรึม หรือ ท าหมันแล้ว จะท ากิจกรรมลดลง ดังนั้นจึงต้องการอาหารที่มีแคลอรีต่ า

• ดังนั้นสุนัขอ้วน =>> เพิ่มการออกก าลังกาย

=>> กินอาหารที่มีปริมาณแคลอรีต่ า

โรคอ้วนในสัตว์เลี้ยง

อาหารที่ไมค่วรให้กับสัตว์เลี้ยงกิน

1. กระดูกไก่ ปลาทั้งก้าง :กระดูกไก่ ก้างปลา อาจแตกหักระหว่างเคี้ยวสร้างมุมแหลม ซึ่งอาจทิ่มแทง

ผนังของระบบทางเดินอาหารของสุนัขได้

2. หัวหอมและกระเทียม :เพราะมีส่วนประกอบของก ามะถันอยูม่าก ซึ่งจะท าลายเซลล์เม็ดเลือดแดง

ของสุนัข ท าให้เกิดโรคโลหิตจาง และโรคเลือดไหลไม่หยุดได้

3. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ :การได้รับสารพิษจากแอลกอฮอล์ อาจท าให้สุนัขตายได้

อาหารที่ไมค่วรให้กับสัตว์เลี้ยงกิน

4. ช็อคโกแล็ต :

มีส่วนประกอบของสาร theobromine ซึ่งเป็นสารกลุ่มเดยีวกับสาร caffeine สาร theobromine จะกระตุ้นให้มีการหลั่งสาร adrenaline ท าให้หัวใจเต้นเร็วมาก ถ้ากินมากๆอาจท าให้เกิดอาการ อาเจียน ท้องเสีย หายใจถี่ ฉี่บ่อย กระวนกระวาย และถึงตายได้ สุนัขไวต่อความเป็นพิษของ theobromine เพราะร่างกายของมันไม่สามารถก าจัด theobromine ได้รวดเร็วเหมือนสัตว์ชนิดอื่น

5. องุ่นและลูกเกด :

มีสารพิษท่ีท าให้เกิดผลเสียกับไต อาจจะท าให้อาเจียน ปวดท้อง

6. กินตับในปริมาณมาก :ท าให้เกิดอาการวิตามิน A เป็นพิษ ส่งผลกับกล้ามเนื้อและกระดูก

อาหารที่ไมค่วรให้กับสัตว์เลี้ยงกิน

7. ถั่วแมคคาเดเมีย :มีสารพิษที่เป็นอันตรายต่อระบบย่อยอาหาร, ระบบประสาท และกล้ามเนื้อ

8. นมวัวและผลติภัณฑ์จากนม เช่น เนย ชีส :ระบบย่อยอาหารของสุนัขและแมวส่วนใหญ่จะไม่มีเอนไซม์ที่ใช้ย่อยน้ าตาลแลคโตส

ในนม จึงเป็นสาเหตุให้ท้องเสีย ควรใช้นมส าหรับสัตว์ที่ไม่มีน้ าตาลแลคโตสแทน

9. ลูกพลับ ลูกพีช หรือลูกพลัม : เมล็ดจะเข้าไปกีดขวางในล าไส้ได้ ซึ่งอาจท าให้ล าไส้อักเสบ

10. มันฝรั่ง/มะเขือเทศ :มี Oxalates ซึ่งจะส่งผลกับระบบย่อยอาหาร, ระบบประสาท และระบบขับถ่าย

อาหารที่ไมค่วรให้กับสัตว์เลี้ยงกิน

• สัตว์เลี้ยงท่ีมีสุขภาพดีมักจะดูแลตัวเองให้สะอาดอยู่เสมอ

• สัตว์เลี้ยงจะแต่งขนตัวเอง ดังนี้

– เลียขนตัวเอง

– เกาและแทะขนที่ติดกัน

– การกลิ้งและถูตวัไปตามพื้น

o อาจกลิ้งตัวไปบนสิ่งที่สกปรก

o ผู้เลี้ยงจึงจ าเป็นต้องช่วยดูแลท าความสะอาดขนให้สุนัข

o สัตว์เลี้ยงมีลักษณะขนที่แตกต่างกัน ดังนั้นการดูแลจึงแตกต่างกันไป

การดูแลขนและผิวหนังสัตว์เลี้ยง

การดูแลเพื่อให้ผิวหนัง ขน รวมถึง เหงือก ฟัน เล็บ ของสุนัขมีสุขภาพดี

เม่ือสุนัขยอมให้ดูแลผิวหนังและขน ควรให้รางวัลด้วยการสัมผัส ลูบ คล า หรือให้อาหารในบางครั้ง

หากสุนัขไม่ยอม จ าเป็นต้องออกค าสั่งบังคับเช่นกัน

การดูแลขนและผิวหนังสุนัข

• สุนัขที่มีขนสั้นและเรียบ สามารถดูแลตัวเองไดด้ีกว่าสุนัขที่มีขนยาว

เช่น พันธุ์บ๊อกเซอร์

• ควรแปรงขนสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง โดยมีข้ันตอนดังนี้

1. ใช้แปรงยางหรือแปรงหมุด แปรงย้อนขน เพื่อขจัดขนที่หมดอายุและสิ่งสกปรกบนผิวหนัง

2. ใช้แปรงขนสัตว์ (แปรงขนหมู) แปรงทุกส่วน เพื่อก าจัดขนและผิวหนังที่ตายออก

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนสั้น

3. ใช้ผ้าชามัวร์ขัดขนให้เงางาม

4. สุนัขที่มีขนสั้นและหนา เช่น พันธุ์ลาบราดอร์ ควรดูแลขนเป็นประจ าด้วยแปรงสลิกเกอร์ (แปรงขนลวด) เพื่อไม่ให้ขนติดกัน

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนสั้น

• สุนัขที่มีขนสั้นและมีขนแข็งคล้ายเส้นลวด เช่น พันธุ์เทอร์เรียร์, พันธุ์ชเนาเซอร์ ควรถอนขนที่หมดอายุทุก ๆ 3-4 เดือน

• โดยอาจจะใช้มือดึงออก หรือใช้มีดส าหรับถอนขน

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนสั้น

• สุนัขที่มีขนยาว นอกจากความสวยงามแล้ว ยังช่วยป้องกันความหนาวเย็น

• แต่ก็ต้องมีการดูแลขนมากกว่าสุนัขพันธุ์ขนสั้น โดยสามารถท าได้ดังนี้

1. ใช้แปรงสลิกเกอร์สางขนที่พันกันออก ต้องท าอย่างระมัดระวัง อย่าดึงแรงจนกระทั่งขนขาด

2. แปรงอีกครั้งด้วยแปรงขนสัตว์ เพื่อให้ขนเงางาม

3. ใช้หวี หวีขนแต่ละข้างให้เยียดลง

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนยาว

4. เล็มขนที่ยาวรอบเท้า โดยเฉพาะขนระหว่างนิ้ว ซึ่งเป็นบริเวณที่มักมีสิ่งสกปรกและสิ่งแปลกปลอมเข้าไปสะสม

5. เล็มขนที่ยาวรอบหู

6. ขนที่ยาวเหนือตา ควรเล็มออกหรือรวบขนไว้

7. เล็มขนบริเวณข้อขา เพื่อป้องกันการพันกันของขนที่ยาว

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนยาว

• สุนัขที่มีขนยาวคล้ายเส้นไหม เช่น พันธุ์ยอร์กไชร์เทอร์เรีย จะไม่มีขนชั้นใน ดังนั้น ในขณะที่แปรงขนจึงต้องระมัดระวังอย่าให้ขนแปรงขีดข่วนและระคายผิวหนัง

• สุนัขที่ขนยาวและมีขนชั้นในที่แน่นหนา เช่น พันธุ์คอลลี ต้องดูแลและแปรงขนอย่างสม่ าเสมอ เพราะขนจะพันกันได้งา่ย

การดูแลสัตว์เลี้ยงพันธุ์ขนยาว

• ช่วยก าจัดสิ่งไม่พึงประสงค์

• ก าจัดพยาธิภายนอกบางชนิด

• ปรับสภาพผิวหนังที่แห้งหรือมันจนเกินไป

• ควรใช้แชมพูที่เหมาะสมกับขนและผิวหนังของสุนัข และไม่ระคายเคืองตา

• แชมพูท่ีล้างออกไม่หมดจะสร้างความระคายเคืองต่อสุนัข ท าให้คันและสุนัข อาจจะเกาจนเป็นแผลได้

o ควรใช้ส าลีก้อนอุดหูสุนัขไว้ในขณะอาบน้ า

o หลังอาบน้ าต้องเชด็ขนให้แห้ง ในสุนัขที่ผิวหนังปกติสามารถใช้เคร่ืองเป่าผมช่วยได้ โดยใช้อุณหภูมิปานกลาง และเป่าลมออกนอกตัวสุนัข

การอาบน้ าท าความสะอาด

การเลือกใช้แชมพูให้เหมาะสม

แชมพูสุนัขมี 4 ประเภท คือ1. แชมพูส าหรับลูกสุนัข2. แชมพูส าหรับสุนัขทั่วๆ ไป แบ่งเป็น ขนสั้น และ ขนยาว3. แชมพูส าหรับแก้ปัญหาผิวหนัง 4. แชมพูส าหรับแก้ปัญหาเรื่องขน

ส่วนค่า pH ของแชมพูที่เหมาะส าหรับสุนัขควรอยู่ระหว่าง 6.5-7.5

การเลือกใช้แชมพูให้เหมาะสม

1. ลูกสุนัข- ลูกสุนัขมีผิวบอบบาง จึงควรใช้แชมพูส าหรับลูกสุนัข- แชมพูท าความสะอาดขนแบบแห้ง จะมีแป้งหรือสารดูดซับความชื้นเป็นส่วนประกอบ ไม่ควรใช้บ่อยเพราะจะท าให้ผิวแห้งได้- แชมพูลูกสุนัขสูตร no more tear ไม่ท าให้ระคายเคืองหากเข้าตา

การเลือกใช้แชมพูให้เหมาะสม

2. สุนัขขนยาว - ไม่ควรอาบน้ าบ่อยเกิน 2 สัปดาห์ต่อ 1 ครั้ง - ไม่ควรใช้สบู่ก้อนในการอาบ เพราะจะท าให้ขนฟูหยาบกระด้าง- ควรใช้แชมพูสตูรอ่อนโยน สุนัขขนยาวจะมีผิวบอบบาง- หากใช้แชมพสูตูรสมุนไพรควรเป็นยี่ห้อที่เชื่อถือได้ เพราะสูตรสมุนไพรท าให้เกิดเชื้อราได้ง่าย- สามารถใช้ครีมนวดตามหลังจากอาบด้วยแชมพ ูควรเป็นแบบทีล่้างออกง่าย และระวังไมใ่ห้เข้าตากับปาก- หลังอาบน้ าควรเช็ดหรือไดรใ์ห้แห้ง และหวขีนให้ไม่พนักัน

การเลือกใช้แชมพูให้เหมาะสม

3. สุนัขขนสั้น- ผิวหนังจะสกปรกง่ายกว่าขนยาว เวลาอาบน้ าควรใช้แปรงยางช่วยแปรงไปด้วย- ส าหรับสุนัขที่ผิวแพ้ง่ายควรใช้แชมพูสูตรอ่อนโยน - ถ้าสุนัขมีกลิ่นตัวแรงควรใช้แชมพูสูตรระงับแบคทีเรีย

- ส าหรับแชมพูก าจัดเห็บหมัด ควรเป็นสูตรสมุนไพร ป้องกันสารเคมีตกค้าง หรือถ้าใช้สูตรเคมีควรเลือกที่มีฉลากรับประกันว่าปลอดภัยต่อคนละสัตว์เลี้ยง

การเลือกใช้แชมพูให้เหมาะสม

3. สุนัขมีปัญหาเรื่องผิวหนัง- ผิวหนังแห้งเป็นสะเก็ดรังแค - ผิวหนังมีการแพ้และติดเชื้อแบคทีเรีย- ผิวหนังติดเชื้อรา- ผิวหนังมีการติดเห็บหมัด

• การดูแลและท าความสะอาดใบหน้า

– ควรตรวจดูผิวหนัง หู ตา เหงือก ฟัน ของสุนัขเป็นประจ า โดยเฉพาะสุนัขพันธุ์ที่มีผิวหนังย่นมาก

• หูสะอาด ขนไม่ยาวเกินไป ไม่มีขี้หูเกรอะกรัง

• ตาใสสะอาด ไม่มีข้ีตา

o จมูกเปียกชื้นและเย็น

o ผิวหนังสะอาด ไม่มีบาดแผล

o ฟันไม่มีหินปูน

o เหงือกไม่มีแผลหรือติดเชื้อ

การดูแลผิวหนังสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น

• วิธีท าความสะอาดใบหน้า

1. ใช้ส าลีชุบน้ าบิดให้แห้ง เช็ดขอบตา ถ้าพบว่ามีข้ีตามากผิดปกติ หรือมีตาอักเสบ ควรปรึกษาสัตวแพทย์ ควรใช้ส าลีใหม่ส าหรับตาแต่ละข้าง

2. ท าความสะอาดบริเวณใบหูและซอกหู ไม่ควรใช้วัสดุใด ๆแทงลึกเข้าไปในหู

3. ท าความสะอาดบริเวณผิวหนังที่พับย่นของใบหน้า เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรก ก าจัดเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้ว

การดูแลผิวหนังสัตว์เลี้ยงเบื้องต้น

• ควรตรวจสุภาพฟันและเหงือกของสุนัขอย่างสม่ าเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีปัญหาเหงือก หรือหินปูน

• แปรงฟันโดยใช้แปรงที่มีขนนุ่ม

• อาจใช้น้ าเกลือเจือจางหรือยาสีฟันส าหรับสุนัขในการแปรงฟัน ไม่ควรใช้ยาสีฟันส าหรับมนุษย์

การดูแลท าความสะอาดฟันและช่องปาก

การดูแลท าความสะอาดฟันและช่องปาก

• ปกติสุนัขจะมีการฝนเล็บเท้าตัวเอง ท าให้เล็บไม่ยาวเกินไป หากสุนัขมีเล็บยาวอาจท าให้เกิดการบาดเจ็บและติดเชื้อตามมาได้

• จึงควรตัดเล็บสุนัข ด้วยกรรไกรตัดเล็บส าหรับสุนัข โดยมีวิธีการดังนี้

o จับนิ้วสุนัขแยกออกจากกัน ตรวจสิ่งแปลกปลอมและสกปรกระหว่างนิ้ว เช็ดโดยใช้ส าลีชุบน้ าบิดให้แห้ง

o ตัดเล็บด้วยความระมัดระวัง ตะไบปลายเล็บให้เรียบ

o การตัดเล็บ ต้องไมต่ัดลึกถึงบริเวณสีชมพู (nail bed) เพราะมีเส้นเลือดและเส้นประสาทมาเลี้ยง

o หากไม่แน่ใจควรให้สัตวแพทย์เป็นผู้ตัดให้

การตัดเล็บ

การตัดเล็บ

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการป้องกันและก าจัดเหบ็หมัด

o Frontline ( Fipronil ) o Frontline plus ( Fipronil กับ S-Methoprene)

- การท างานจะส่งผลรบกวนการส่งกระแสประสาทของเห็บและหมัด - ถ่ายพยาธิภายใน- เห็บจะตายในเวลา 2 วัน สามารถออกฤทธิ์นานประมาณ 30 วัน - สุนัขต้องมี อายุ 8 สัปดาห์ขึ้นไป - Frontline plus ต่างจาก Frontline คือ มีฤทธิ์ในการก าจัดไข่หมัด

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการป้องกันและก าจัดเหบ็หมัด

Revolution (Selamectin)- การท างานจะดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลรบกวนการส่งกระแสประสาท

ของเห็บและหมัด ท าให้เป็นอัมพาตและตาย- ยาจะติดอยู่ที่ไขมันที่เคลือบผิวหนังและขนสุนัข ท าให้เห็บทีมาเกาะตาย

ทันที โดยไม่ต้องรอให้เห็บดูดเลือด- ก าจัดพยาธิภายนอกได้หลายชนิด เช่น ไรในช่องหู ไรขี้เรื้อนแห้ง พยาธิ

ภายในประเภทตัวกลมในระบบทางเดินอาหาร และป้องกันพยาธิหนอนหัวใจ- สามารถออกฤทธิ์นานประมาณ 30 วัน - สุนัขต้องมี อายุ 6 สัปดาห์ข้ึนไป

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการป้องกันพยาธิหนอนหัวใจ

o Heartgard (ivermectin)o Heartgard plus (ivermectin + pyrantel)

- Not for cat