64
ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา เรื่อง การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลูกเลี้ยงในสภาพแวดลอมเดียวกัน Morphological Variations Between Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein Populations in Phu Hin Rong Kla and Doi Inthanon National Park, Cultivated Under the Same Environmental Factors. ณรงค สวัสดิ์กวาน Narong Swatkwan อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา สวนอุทยานแหงชาติ สังกัดสํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที11 (พิษณุโลก) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช .. 2551

Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา

เรื่อง

การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอทุยานแหงชาติภูหินรองกลา

และอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลูกเลี้ยงในสภาพแวดลอมเดียวกัน

Morphological Variations Between Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein Populations in Phu Hin Rong Kla and Doi Inthanon National Park, Cultivated Under the Same Environmental Factors.

ณรงค สวัสดิก์วาน Narong Swatkwan

อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา สวนอุทยานแหงชาต ิสังกัดสํานักบริหารพืน้ท่ีอนุรกัษท่ี 11 (พษิณุโลก) กรมอทุยานแหงชาต ิ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ. 2551

Page 2: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

การแปรผันทางสณัฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลกูเลีย้งในสภาพแวดลอมเดยีวกัน

บทคัดยอ

กลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) เปนกลวยไมที่มีดอกงาม มากชนิดหนึ่งในวงศกลวยไม (Orchidaceae) กลวยไมชนดินี้ขึ้นอยูตามซอกหินบนพื้นดิน

ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จังหวัดพิษณโุลก และขึ้นอยูบนตนไมสูงในอุทยานแหงชาติดอย อินทนนท จังหวัดเชียงใหม การศกึษาเรื่องนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อตองการทราบ 1) การแปรผนัทาง

สัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไม รองเทานารีอินทนนท ที่ข้ึนอยูในอุทยานแหงชาติท้ังสอง เมื่อนํามาปลกูเลีย้งในสภาพแวดลอมเดยีวกันท่ีอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา ซ่ึงการศึกษาใชวธิี ศึกษา

สัณฐานวิทยาของใบและสวนประกอบของดอกในเชิงปริมาณ วิเคราะหการแปรผันดวยวธิีการวิเคราะหเชิงปริมาณรวมกับการวิเคราะหทางสถิติ ศึกษาถิ่นอาศยัโดยอาศัยลกัษณะทางสัณฐานวทิยาและปจจยัแวดลอม

จากการศึกษาพบวา ลักษณะสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท จํานวน 13

ลักษณะ ท่ีทําการตรวจสอบนั้น มี11 ลักษณะของประชากรจากอุทยานแหงชาติภหิูนรองกลาท่ีมีขนาดเล็กกวาประชากรจากอุทยานแหงชาติดอยอนิทนนทอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติที่ ( P > 0.01) ขณะที่

ลักษณะความยาวของกานดอกของประชากรจากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาที่มีขนาดใหญกวาประชากรจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถติิที่ ( P > 0.01) อยางไรก็ตาม

ความแตกตางทางสัณฐานวทิยา และสิ่งยดึเกาะอาศัย สามารถแยกประชากรกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทออกไดเปน 2 ถิ่นอาศัย คือถิ่นอาศัยภูหินรองกลา และถิน่อาศัยดอยอินทนนท

คําหลัก: การแปรผันทางสัณฐานวิทยา ,การปลูกเลีย้ง ,กลวยไมรองเทานารีอินทนนท

Page 3: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

Morphological Variations of Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein Populations in

Phu Hin Rong Kla and Doi Inthanon National Park, Cultivated under the same

Environmental Factors.

Abstract

Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein is an orchid possessing very beautiful

flowers in the family Orchidaceae. P. villosum is naturally found in the outcrop areas in

Phu Hin Rong Kla National Park and on the tall tree in Doi Inthanon National Park. The

aims of this study were to determine. The morphological variations and ecotypes between

populations 0f Phu Hin Rong Kla National Park and Doi Inthanon National Park which

cultivated under the same environmental factors at Phu Hin Rong Kla National Park.

The quantitative determination of leaves and flower parts, were measured. The

classification of ecotype by their morphological characteristics and some environmental

factors in their habitats were analyzed.

The size of P. villosum form Phu Hin Rong Kla National Park were almost (11 out of

13 Morphological characters) smaller than Doi Inthanon National Park in highly significant

(p > 0.001) ,While the length of flower stalk showed more showed longer than Doi Inthanon

National Park in highly significant (p > 0.001). However, The Morphological characters and

substrate could classified into two ecotype as Phu Hin Rong Kla National Park and Doi

Inthanon National Park.

Keywords: Morphological Variations ,Cultivated ,Paphiopedilum villosum (Lindl.)

Stein

Page 4: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

(1)

สารบัญ

หนา สารบัญ (1)

สารบัญตาราง (2)

สารบัญภาพ (3)

คํานํา 1

การตรวจเอกสาร 3

สัณฐานวิทยาของกลวยไม 3

สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารี 9

สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท 16

การแปรผนัทางสัณฐานวิทยา 18

การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากร กลวยไมรองเทานารีอินทนนท 18

ถิ่นอาศยั 25

การจาํแนกถิ่นอาศยัของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในสองอุทยานแหชาติ 25

ขอมูลอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา 27

ขอมูลอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 32

อุปกรณและวธิีการ 36

อุปกรณ 36

วิธกีาร 36

ผลและวิจารณผลการศึกษา 39

สรุป 44

เอกสารอางอิง 45

ภาคผนวก 47

Page 5: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

(2)

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1 ปริมาณน้าํฝน อุณหภูมิ และความชืน้สัมพัทธเฉลีย่รายเดือน จากสถานีตรวจอากาศ

จังหวัดพิษณโุลก และจังหวดัเพชรบูรณ และสถานีตรวจอากาศอําเภอหลมสัก ระหวางป พ.ศ. 2540 - 2545 31

2 ปริมาณน้าํฝน อุณหภูมิ และความชืน้สัมพัทธเฉลีย่รายเดือน จากสถานีตรวจอากาศ

จังหวัดลําพูน และสถานตีรวจอากาศจังหวัดเชยีงใหม ระหวางป พ.ศ. 2534 – 2543 35

3 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาในเชิงปรมิาณของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท

ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา เมื่อนํามาปลกูในสภาพแวดลอมเดยีวกัน 41

4 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนาํมาปลูกในสภาพแวดลอมเดียวกัน 42

5 การวิเคราะหความแตกตางของลกัษณะสัณฐานวิทยาของประชากรกลวยไมรองเทานาร ี

อินทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 43

Page 6: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

(3)

สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา 1 ลกัษณะทางสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท 17

2 กลวยไมรองเทานารีอินทนนท ซ่ึงขึ้นอยูบนกอนหินและตามซอกหินในอุทยานแหง

ชาติภูหินรองกลา (ภาพบน) และในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท (ภาพลาง) 20

3 ลักษณะสัณฐานวทิยาของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทในอทุยานแหงชาต ิ

ภูหินรองกลา 21

4 ลกัษณะสัณฐานวทิยาของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทในอทุยานแหงชาต ิ

ดอยอินทนนท 22

5 แผนที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา 29

7 แผนที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท 33

8 กลวยไมรองเทานารีอินทนนท ที่พบจากอุทยานแหงชาติภหิูนรองกลา (ภาพบน)

และจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท (ภาพลาง) ที่นาํมาปลูกในสภาพแวดลอม

เดียวกัน 40 ภาพผนวกท่ี 1 กลวยไมรองเทานารใีนประเทศไทย 48

Page 7: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

1

การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และอุทยาน

แหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลกูเลี้ยงในสภาพแวดลอมเดียวกัน Morphological Variations of Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein Populations in

Phu Hin Rong Kla and Doi Inthanon National Park, Cultivated Under the Same Environmental Factors.

คํานํา

กลวยไมรองเทานารีหรือทีภ่าษาอังกฤษเรียกวา Lady’s Slipper เทาที่พบทั่วโลกม ี4 สกุล คือ

สกุล Crpripedium มี 35 ชนิด สกุล Paphiopedilum มี 66 ชนิด สกลุ Phragmipedium มี 20 ชนิด

และสกุล Selennipedium มี 4 ชนิด สําหรับประเทศไทยซึ่งอยูในเขตรอนพบกลวยไมรองเทานรีเพียงสกลุเดยีว คือสกุล Paphiopedilum พบแลวมี 17 ชนิด

กลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) เปนกลวยไมที่

มีดอกสวยงาม มีการกระจายพันธุในพมา อินเดียและในประเทศไทย พบตามปาดิบที่สูงจากระดับ นํ้าทะเล 1,000 เมตรขึ้น ทางจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย กลวยไมรองเทานารีอินทนนท ถูกลักลอบนําไปปลูกเลีย้งเปนไมประดับ และ นําไปปรับปรุงพันธุเพือ่ใหไดกลวยไมรองเทานารี อินทนนทที่มลีักษณะดีเปนที่ตองการของตลาดและมคีวามตานทานตอโรคและแมลง เพื่อประโยชนทางดานการคาทั้งในประเทศและตางประเทศ

กลวยไมรองเทานารีอินทนนทนอกจากพบในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จงัหวัดเชียงใหม แลวยังที่พบในอทุยานแหงชาตภิูหินรองกลา จังหวัดพิษณโุลกดวย กลวยไมรองเทานารอิีนทนนทที่พบในอุทยานแหงชาติทั้งสองแหงนี้มีลักษณะทางสัณฐานวทิยาคลายกัน ตางกันท่ีกลวยไมรองเทานารี อินทนนทในอทุยานแหงชาตดิอยอินทนนทข้ึนอยูบนเปลอืกของไมยืนตนขนาดใหญในระดับที่สูงจากพื้นดินพอสมควร และไมยืนตนดังกลาวอยูในปาดิบเขาที่มีสภาพสมบูรณ แตกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาขึ้นอยูตามซอกหินบนพื้นดนิในทีโ่ลง

Page 8: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

2

ดังนั้นปญหาที่ควรจะทําการวิจัยคือ ประชากรของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทที่ข้ึนอยูพื้นที่ทั้งสองดังกลาว เมื่อนํามาปลูกเลีย้งในสภาพแวดลอมเดยีวกันทีอุ่ทยานแหงชาติภูหินรองกลา จะมีการแปรผันทางสัณฐานวิทยาตางกันมากนอยเพียงใด สามารถจําแนกออกเปน ถิ่นอาศยั ( ecotype) ที่

ตางกันไดหรือไม

ในการจําแนกถิ่นอาศยัของกลวยไมรองเทานารีอินทนนทที่ปฏิบัติกนัอยูไมมีหลักเกณฑที่ชัดเจน สวนมากอาศัยความรูและประสบการณของผูเชี่ยวชาญหรือของนักวิชาการพิจารณาจากลักษณะทางสัณฐานที่ปรากฏออกมาวามีความแตกตางกนัหรือไม จึงควรหาแนวทางการจําแนกถิ่นอาศยัที่เปนบรรทัดฐานเดยีวกัน ซ่ึงการวจิัยเรื่องนี้เสนอการจําแนกถิ่นอาศยัดวยวธิีการเปรยีบเทียบความแตกตางทางสัณฐานวิทยาของประชากรรวมกับวิธกีารวเิคราะหเชงิปริมาณ (quantitative analysis )

Page 9: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

3

การตรวจเอกสาร

งานวิจยัเรื่องนีไ้ดตรวจเอกสารในหัวขอดังตอไปนี ้:

1. สัณฐานวิทยาของกลวยไม

2. สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานาร ี

2.1 สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานาร ี

2.2 การจําแนกกลวยไมรองเทานาร ี

2.3 กลวยไมรองเทานารใีนประเทศไทย

3. สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท

4. การแปรผนัทางสัณฐานวทิยา

5. การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท

6. ถิ่นอาศยั (ecotype)

7. ขอมูลอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

8. ขอมูลอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

สัณฐานวิทยาของกลวยไม

กลวยไมเปนพืชใบเลีย้งเดีย่ว (Monocotyledon plant) ในวงศ Orchidaceae หรือเรยีกกนั

ท่ัวๆไปวา วงศกลวยไม เปนพืชท่ีมีอายยืุนหลายปไมมเีนื้อไม และมจีํานวนชนิดมากที่สุดในบรรดาไมดอกดวยกนั จํานวนชนดิกลวยไมท่ีพบในธรรมชาตเิฉพาะท่ีนกัพฤกษศาสตรรูจกัและตรวจสอบชื่อถูกตองแลวมีไมนอยกวา 25,000 ชนิด (Seidenfaden,1992 )

คําวา orchid หมายถึงพืชท่ีมีรากใชสะสมน้ําและอาหาร มีรากอวบน้ําหรือบวมพอง หรือมี

หัวใตดิน (ในกลวยไมดิน) ใชสะสมน้ําและอาหารไวใชในฤดูที่ขาดแคลน ช่ือ orchis ที่ไดบญัญัติ

มานับพันปน้ีไดรับการยอมรบัเปนชื่อสกุลของกลวยไมดนิสกุลหนึ่ง ที่พบมากในทวีปยโุรปแถบเมดิเตอเรเนยีน (สวนพฤกษศาสตรปาไม, 2538)

Page 10: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

4

ในป ค.ศ.1753 Linnaeus ไดทบทวนรายชื่อของพืชทั้งหมดและบันทกึในหนังสือSpecies

Plantarum โดยยังคงชื่อสกลุ Orchis เดมิไว ในป ค.ศ. 1836 John Lindley ไดประยุกตจัดกลุม

กลวยไมทั้งหมดโดยกําหนดวงศใหมโดยเฉพาะและใหช่ือวงศวา Orchidaceae แตยังคงชื่อ Orchis

ไวเปนชื่อของกลวยไมดินสกุลหนึ่งดังเดิม (Seidenfaden, 1985)

กลวยไมในธรรมชาติข้ึนอยูไดในถิ่นอาศยัแบบตางๆกนั ตั้งแตพ้ืนท่ีทีม่ีน้ําแข็งปกคลุมเกือบตลอดปไปจนถึงปาเขตรอนของโลก ในเขตหนาวและเขตอบอุนมักพบกลวยไมประเภทที่ข้ึนอยูตามพ้ืนดินและมีการเจรญิเติบโตตามฤดกูาล สวนในเขตรอนพบกลวยไมเจรญิเติบโตอยูบนอินทรยีวัตถุ ท้ังบนเปลือกตนไม และบนดิน นอกจากกลวยไมจะสามารถดํารงชีวติไดในสภาพ แวดลอมตางๆ กันแลว กลวยไมยังมีความหลากหลายของรปูลักษณ อาทิ ราก ลําตน ใบ ดอก และผล มีความหลากหลายในเรื่องขนาด ประเทศไทยตัง้อยูตอนกลางของภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความเหมาะสมและมีความไดเปรยีบทางภมูิศาสตร มีสภาพปาที่หลากหลายมีความหลากชนิดของพรรณไม โดยเฉพาะกลวยไม จํานวนกลวยไมไทยท่ีนกัพฤกษศาสตรไทยและเดนมารก รวมกันคนพบและตรวจสอบรายชื่อถูกตองแลวถึงป พ.ศ. 2543 มีอยู 177 สกุล (gener) จํานวน 1,125 ชนิด

(species) ในจํานวนนี้หลายชนิดเปนกลวยไมเฉพาะถิน่ พบเฉพาะในประเทศไทยเทานั้น (สวน

พฤกษศาสตรสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ,์ 2543)

สัณฐานวิทยาโดยทัว่ไปของกลวยไม มีดังนี้ : (สวนพฤกษศาสตรสมเด็จพระนางเจาสิรกิิติ์, 2543)

1. ลําตน

ลําตนของกลวยไมมีหลายลกัษณะ เชนกลุมที่มีลักษณะโปงพอง อวบน้ํา เรียกวา “ลํา

ลูกกลวย” (pseudobulb) ทําหนาที่เก็บสะสมน้ําและอาหาร อวัยวะสวนนี้เปนสวนที่ตองเผชญิหรือ

สัมผัสกับสิ่งแวดลอมนานาประการโดยตรง จึงตองมกีารปรับตวัใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมโดยพัฒนาเนื้อเยื่อภายในเปนใยยาวและเหนียว หรือเปนเสี้ยน เพื่อใหเกดิความแข็งแรงและมีความยดืหยุน ผิวนอกจะมีไขเคลือบหนาเพื่อลดการสญูเสียน้ํา สวนใหญมีสีเขียว มีคลอโรฟลล ทําใหสามารถสังเคราะหแสงได แตยังมกีลวยไมอ่ืน ๆ ที่มีลกัษณะของลําตนแตกตางไปจากนี ้ กลาวคือมีสวนของลําตน มีลกัษณะกลมยาวเปนเสนคอนขางเล็กมกัจะแข็งและเหนียว ซ่ึงเรยีกกนัวา เหงา (rhizome)

Page 11: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

5

เหงาของกลวยไมจะทอดไปตามเปลือกไมมีรากสั้น ๆ ยึดเกาะ ถาเปนพวกกลวยไมดินสวนหัวมักจะอยูบนดินหรือใตดิน บางชนิดอาจมโีคนกาบใบหุมอยู ซ่ึงลําตนท่ีมีลักษณะคลายหวันี้จะใชเก็บน้าํและสะสมอาหาร กลวยไมเปนพืชทนแลง กลวยไมบางชนิดมองไมเหน็ลําตน เนื่องจากมีขนาดเลก็และมีใบปกคลุมตลอด หรือมีขนาดส้ันและเลก็มาก และบางชนิดมลีําตนใตดนิปองพอง (tuber) ทํา

หนาท่ีสะสมอาหาร นอกจากนั้นกลวยไมอีกหลายชนดิจะมกีิ่งที่กลายเปนตนเลก็ๆเมื่อหลุดรวงไปก็สามารถเจริญเปนตนใหมได เปนการขยายพันธุอีกวธิีหนึง่ นอกเหนือจากการแตกหนอ

2. ราก

รากของกลวยไมจะเกิดเฉพาะทีโ่คนตนหรือตามขอ มีขนาดและจํานวนที่ตางกันตามชนิดของกลวยไม มีลักษณะอวบน้ํา สวนใหญเปนรากอากาศ มักไมมีรากฝอย แตมีเนื้อเยื่อหุมอยูดานนอกหนาบรเิวณปลายรากคลายเปนนวม เรยีกวา เวลาเมน(velamen) ซึ่งประกอบดวยเนื้อเยื่อ มี

ลักษณะคลายฟองน้ํา สามารถดูดซับน้ําและแรธาตุเขาไปยังภายในเซลลของรากได สามารถปองกันการระเหยของน้ําออกจากรากไดและสามารถปองกันการผานเขาออกของจุลินทรยีได ลักษณะรากแบบนี้พบไดในกลวยไมอิงอาศัย และกลวยไมดิน นอกจากนีร้ากของกลวยไมยังทาํหนาที่อ่ืน ๆ เชน การยึดเกาะ การดูดซับน้ําและความชืน้ การสะสมอาหาร รวมทั้งสามารถสังเคราะหแสงไดดวย และอาจเปลี่ยนเปนหัวใตดนิ หรือไหล เพ่ือชวยในการขยายพนัธุ กลวยไมมีระบบรากคลายกับพืชใบเลี้ยงเดีย่วทัว่ไป แตไดมกีารปรับตัวเพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสภาพแวดลอมไดดี

3. ใบ

หนาที่หลักของใบ คือ การสังเคราะหแสงเพื่อสรางอาหาร ใบของกลวยไมสวนใหญมีสีเขียว และใบมีการปรับตวัเพ่ือเพิม่ประสิทธิภาพในการสรางอาหารโดยมีใบท่ีอวบหนาเพื่อเก็บสะสมน้ําและมีไขเคลือบผิวเพื่อลดการคายน้ํา มีท้ังใบขนาดใหญและขนาดเล็ก ใบของกลวยไม แบงออกเปน 2 สวนที่สําคัญคือ แผนใบ และกาบใบ ดงันี้ :

Page 12: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

6

3.1) แผนใบ (Leaf Blade)

แผนใบกลวยไมมีหลายลักษณะ เชน เปนแผนบาง พบมากในกลุมกลวยไมดิน เปนแผนหนาอวบน้ํา เชน กลวยไมในสกุลเขีย้วแกว (Trias spp.) หรือแผกวางและคอนขางหนา

เหนียว ซึ่งพบในกลวยไมท่ัวไป เชน สกลุสิงหโต (Bulbophyllum spp.) กลวยไมหลาย ๆ ชนิดมี

การทิ้งใบเปนชวงสั้น ๆ ในฤดูแลง หรือในชวงเวลาที่มดีอก เชน สกลุหวาย (Dendrobium spp.)

และอีกหลายชนิดจะมีใบปรากฏอยูตลอดป การเรยีงตัวของเสนใบสวนใหญมีการเรียงตัวแบบขนาน สวนนอยมีการเรียงตวัแบบรางแห เชน วานนิ้วทอง (Ludisia discolor (Ker-Gawl.) A. Rich.)

3. 2) กาบใบ (Leaf Sheath)

กาบใบเปนสวนหนึ่งของใบอยูตอจากแผนใบ ทําหนาที่หอหุมลําตน ปองกันลําตน และยดึใบไวกบัลําตน บางชนิดหลุดรวงไปเมื่อใบโตสมบูรณเต็มที่ บางชนิดปรากฏอยูจนกระท่ังใบรวง

4. ชอดอก

เมื่อกลวยไมเจรญิเติบโตเต็มที่ กลวยไมจะสรางดอกเพื่อการสืบพนัธุ ชอดอกท่ีออกมาน้ัน อาจออกจากปลายยอด จากซอกใบใกลปลายยอด จากขอตามลําตน หรือจากโคนตน กลวยไม สวนใหญจะออกดอกเปนชอจากปลายยอด

5. ดอก

ดอกกลวยไมเปนดอกสมบรูณเพศ สวนใหญมแีมลงเฉพาะชนดิเปนพาหะในการถายละอองเรณูและผสมเกสร ไดแก ผึ้ง ผีเสื้อ แมลงปกแข็ง ฯลฯ กลวยไมจึงมกีารปรับตัวเพ่ือใหแมลงเหลานั้นเขามาผสมเกสรไดงายซึ่งเปนววิัฒนาการของกลวยไม ถึงแมวาดอกของกลวยไมจะมีความหลากหลายทั้งในเรื่องสีสัน รูปราง ขนาดและกลิน่ฯลฯ แตก็มลีักษณะโครงสรางสวนประกอบหลักของดอกที่คลายคลึงกัน ไดแก: (อบฉันท, 2546)

Page 13: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

7

5.1) กลบีเลี้ยง (Sepal)

กลีบเลี้ยงมี 3 กลีบเรยีงตัวอยูรอบนอกสุดของดอก บางชนิดกลีบเลี้ยงท้ังสามมี

ลักษณะคลายกัน บางชนิดมีลักษณะแตกตางกัน คือ แยกเปนกลีบเลีย้งบน (dorsal sepal) อยูใน

ตําแหนงเสาเกสร และมกีลีบเลี้ยงดานขาง (lateral sepal) 2 กลีบ มีลกัษณะเหมือนกนั หรือมีลกัษณะ

ท่ีตางจากกลีบเลี้ยงบน หรือเชื่อมติดกันจะแยกปลายเปนแฉกเทานัน้

5.2) กลบีดอก (Petal)

กลบีดอกกลวยไมเรยีงตัวอยูถดัขึ้นมาจากชัน้กลีบเลีย้ง ประกอบดวยกลีบดอกดานขาง (lateral petal) ท่ีมีลักษณะเหมือนกัน สวนกลบีดอกอีกหนึ่งกลีบมลีักษณะที่แตกตางจาก

กลีบดอกดานขาง นิยมเรียกวา กลีบปาก (lip) หรือกระเปาะ (pouch) ซึ่งเปนสวนท่ีมีลักษณะ

แตกตางกนัออกไปตามสกลุและชนิด กลีบปากของกลวยไมสวนใหญมักจะอยูดานลางของดอก (resupinate) สวนอีกพวกหนึ่งจะมีกลีบดอกอยูทางดานบน (non - resupinate)

5.3) เสาเกสร (Staminal Column)

เสาเกสรเปนสวนประกอบที่อยูตรงกลางดอกซึ่งเปนที่รวมของ วงหรือช้ันเกสรเพศผูและสวนของเกสรเพศเมียเขาดวยกัน มลีักษณะเปนแทง สวนบนสุดมักจะมีฝาเล็ก ๆ (anther cap หรือ

operculum) ปดคลุมกลุมเรณูไว ต่ําลงมาทางดานหนาของเสาเกสรซึ่งหันเขาสูกลีบปาก มีแองเวาลึก

เขาไปในเสาเกสร ภายในมีน้ําเหนียว ๆ คือสวนปลายของเกสรเพศเมีย (stigma) สวนใหญเปลีย่น

ลักษณะแผออกเปนแองใหน้าํเหนียวอยูดานหนาโดยมีจงอยเลก็ (rostellum) ซ่ึงเปนสวนของเกสร

เพศเมียที่เปนหมัน

5.4) จงอยเลก็ (Rostellum)

จงอยเลก็คือจงอยเกสรตัวเมีย ทําหนาที่กั้นแบงเกสรเพศผูและเกสรเพศเมียไมใหเกิดการถายเรณูในตนเดยีวกนั หากดอกไมไดรับการผสมหรือถายเรณูขามดอก ในชวงสุดทายใกลโรย

Page 14: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

8

จงอยนีก้็จะเหี่ยวลงอยางรวดเรว็ จนกลุมเรณูสัมผัสกบัเกสรเพศเมีย จนเกิดการผสมกันภายในดอกเดียวกันได

5.5) กลุมเรณู (Pollinium)

กลุมเรณูคือสวนของละอองเรณูของเกสรเพศผูที่อยูรวมกลุมกัน คลายกอนขี้ผึ้ง มีลักษณะเปนกอนกลม รูปรี หรือเปนถุงขาวขุน หรือเปนเกล็ดเล็ก ๆ ติดอยูบนกานของกลุมเรณู (stipe) สวนใหญที่ปลายกานจะมีติ่งเหนียว (viscidium) ติดอยู ทําหนาที่คลายกาวชวยยึดกลุมเรณูให

สามารถเกาะตดิกับพาหะถายเรณู (pollinator) ไดงาย ไดแก แมลงตาง ๆ กลุมเรณโูดยท่ัวไปจะ

รวมตวักันเปนกลุมเรยีกวา ชุดกลุมเรณู (pollinaria)

5.6) เกสรเพศเมยี (Pistil)

เกสรเพศเมียประกอบดวยสวนของยอดเกสรเพศเมยีและรังไข โดยยอดของเกสรเพศเมีย (stigma) มีลกัษณะเปนแองขนาดเลก็ดานหนาของเสาเกสร โดยทัว่ไปมีผวิฉาบดวยน้ําหวาน

ลักษณะใสเหนียวเพื่อใชลอแมลงสําหรับการผสมเกสร

5.7) รังไข (Ovary)

รังไขเปนสวนท่ีอยูลางสุดต่ํากวาเสาเกสร คือ อยูใตช้ันของวงกลบีและตอเนื่องไปกับกานดอก บริเวณที่เปนรังไขมักจะโปงพองกวาสวนที่เปนกานดอก และมกัจะมรีองตามยาว 3 - 6

รอง ภายในรงัไขมีไข ( ovule ) ขนาดเลก็เปนจํานวนมาก มีลักษณะคลายผงหรือฝุนละเอยีด

5.8) ฝกและเมล็ด (Pod and Seed)

เมื่อรังไขไดรับการผสมจะเจรญิตอไปเปนผล ผลของกลวยไมเรยีกวา ฝก (pods) ซึ่งมีลักษณะรูปรางตาง ๆ กนั เมือ่ฝกแกเต็มทีจ่ะแตกตามแนวยาว 3 แนว ภายในมีเมลด็ทีม่ี

ขนาดเลก็จํานวนมาก ลักษณะเปนผงละเอียด บางชนดิอาจมีถึงลานเมล็ด เมล็ดไมมีอาหารสะสม เมล็ดกลวยไมมีโอกาสเจรญิเปนตนใหมไดนอยมากในสภาพธรรมชาต ิ

Page 15: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

9

สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานาร ี

1. สัณฐานวิทยาโดยท่ัวไปของกลวยไมรองเทานาร ี

กลวยไมรองเทานารจีัดอยูในวงศกลวยไม (Family Orchidaceae) และจัดอยูในวงศยอย

Cypripedioideae มีถิ่นกําเนิดท้ังในเขตรอนและเขตหนาวของโลกพบแลวทั่วโลกมี 4 สกุล จํานวน

125 ชนิด คือ สกุล Cypripedium มีจํานวน 35 ชนิด สกุล Phragmipedium มีจํานวน 20 ชนิด

สกุล Selennipedilum มีจํานวน 4 ชนิด และสกลุ Paphiopedilum มีจาํนวน 66 ชนิด ในภูมิภาค

เอเชียตอนใตมีการคนพบกลวยไมรองเทานารีตามธรรมชาติเพียงสกลุเดียวคือสกลุ Paphiopedilum กระจายอยูตามธรรมชาติตั้งแต จีนตอนใต อินเดีย พมา ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส สําหรับประเทศไทยมีการคนพบกลวยไมรองเทานารีตามธรรมชาติสกลุ Paphiopedilum แลวจํานวน 17 ชนิด (อุไร, 2544)

กลวยไมรองเทานารใีนสกลุ Paphiopedilum มีรูปรางของปากดอกหรือกระเปาคลายกับหัวรองเทา( slippers )หรือเรียกตามชื่อพื้นเมืองของชาวตางประเทศวา “Lady’s Slipper” ในสภาพ

ธรรมชาตพิบกลวยไมสกุลนี้อยูตามพืน้ดนิและพืน้หิน ซึ่งมีใบไมผุหรือหินผุปกคลมุอยูเปนชั้นหนา เนื่องจากระบบรากตองการพื้นดินหรือพืน้หินที่มีลักษณะโปรงและมีอินทรยีวัตถมุาก ไมชอบสภาพพ้ืนท่ีแฉะหรือน้ําขัง พบเพยีงไมกี่ชนิดที่ข้ึนอยูบนเปลือกไมยืนตน (epiphyte) ในสภาพภูมิประเทศที่

เปนภูเขาสูง (Seidenfaden, 1983)

ลักษณะโดยทัว่ไปของกลวยไมสกุลรองเทานารใีนสกลุ Paphiopedilum มีดังนี้ (อุไร, 2544)

1.1)ราก รากเจรญิออกมาเปนกระจกุทีโ่คนตน และมกัจะทอดยาวไปทางดานราบมากกวาจะ

หยั่งลึกลงไปในพื้นดนิ เพราะรากชอบอาศยัอยูในชั้นของใบไมผุ อาจมหิีนผุผสมอยูดวยก็ได

1.2) ลําตน มลีําตนทีแ่ทจริงเรยีกวา เหงา (rhizome) ลําตนสั้น ไมมีลําลูกกลวย หนอจะแตก

จากตาทีโ่คนตนเกาหรือเรยีกวาแตกกอ ตนหนึ่งหรือกอหนึ่งนั้นประกอบดวยตนยอย หลายตน

Page 16: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

10

1.3)ใบ ใบมีหลายแบบทั้งรปูขอบขนาน (ob-long) รูปรี (elliptic) รปูรีแกมรูปขอบขนาน

(oblong- elliptic) หรือรูปแถบ (linear) ออกสลับกันทัง้สองขาง จํานวน 2-7 ใบตอตน แผนใบหนา

เสนกลางใบพบัเปนรอง ปลายใบมนเวา หรือแหลม มีทั้งสีเขียวเปนมนั เปนลายตาราง หรือเปนลายคลายหินออน มีสีเขียวเขมสลับกับเขยีวอมเทาทั่วท้ังใบ ใตใบมีสีเขียวบางชนิดมีสมีวง หรือจุดเล็กๆสีมวงแดงกระจายทั่วใบ

1.4) ดอก ดอกออกที่สวนยอดของลําตน จํานวนดอกมกัจะมไีมมาก มีกลีบเลีย้งหรอืกลีบ

นอก (sepal) 3 กลีบ และกลีบดอกหรือกลีบใน (petal) อีก 3 กลีบ เมื่อดอกบานจะพบวากลีบนอก

กลีบหนึ่งปลายชี้ข้ึนดานบน เรยีกวากลีบนอกบน (dorsal sepal) สวนอีกสองกลีบชี้ออกดานลาง

กลีบนอกคูลาง (ventral sepal) จะมีลักษณะแฝดติดกันเปนกลีบเดยีว (synsepallum) หากดูเผิน ๆ

อาจเห็นเปนเพียงกลีบเดยีว สวนชุดกลีบดอก จะมีคูหนึ่งเหมือนกันชี้ออกดานขาง (lateral sepal)

สวนอีกกลีบหนึ่งมีลักษณะอสิระชีล้งดานลาง หรือย่ืนออกมาดานหนา มีลักษณะคลายหัวรองเทาซึ่งเรยีกวา กระเปา หรือปาก (labellum หรือ lip) เสาเกสรเอนมาสูกลีบปาก สวนใตทางดานขางมีกลุม

เรณูขางละ 2 กลุม และระหวางกลุมเรณูมแีปนยอดเกสรเพศเมีย

1.5) ผล ผลมรีูปทรงกระบอกยาว มีกานติดอยูกับกานชอดอก ลักษณะปลายชี้ข้ึน ภายในฝกมี

เมล็ดขนาดเลก็มากอยูเปนจาํนวนมาก

2. การจาํแนกกลวยไมรองเทานาร ี

การจําแนกกลวยไมรองเทานารีของไทยตามสิ่งยึดอาศัยตามธรรมชาตสิามารถจําแนกได 2

แบบดังนี้ : (อุไร, 2544)

1) กลวยไมรองเทานารีท่ีอาศยับนตนไม (epiphytic type) เปนกลวยไมรองเทานารีท่ี

เจรญิเติบโตอยูบนเปลือกของตนไมใหญ ไดแก กลวยไมรองเทานารีอินทนนท และกลวยไมรองเทานารีเมืองกาญจน

Page 17: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

11

2) กลวยไมรองเทานารีท่ีอาศยับนหินและกึ่งดนิ (lithophytic type, semi-terrestrial type)

เปนกลวยไมรองเทานารีท่ีขึน้บนหินบรเิวณที่เปนหินปนู หรือตามพื้นดิน เชนกลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจนี กลวยไมรองเทานารีขาวสตูล และกลวยไมรองเทานารฝีาหอย

3. กลวยไมรองเทานารีในประเทศไทย

กลวยไมรองเทานารใีนประเทศไทย มเีพียงสกุลเดยีว คือ สกุล Paphiopedilum และเทาที่พบแลวมีอยูจํานวน 17 ชนิด คือ :

3.1) กลวยไมรองเทานารฝีาหอย (Paphiopedilum bellatulum (Rchb.f) Stein)

พบในภาคตะวันตกบริเวณหุบเขาเขตรอยตอชายแดนไทย - พมา ในภาคเหนือบริเวณ

จังหวัดลําพูน และเขตอําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม และภาคใตท่ีเกาะชาง จังหวดัพังงา ลกัษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีใบใหญปลายมน ใบลายมสีีเขียวแกและเขียวออน ใตทองใบมีสีมวงแดง กานดอกสั้น มีขน ดอกรูปทรงกลมกลีบดอกนอกกวาง ปลายกลีบคุมลงดานหนา กลีบในทั้งสองกวางมนรปูไข คุมออกดานหนา กลีบดอกและกลีบในเกยกนั ทาํใหดูลักษณะดอกกลมแบน กลีบดอกสีขาวนวล มีประจดุสีมวงจากโคนกลีบ กระเปามีสีขาวกลมมน (ระพี, 2535)

3.2) กลวยไมรองเทานารชีองอางทอง (Paphiopedilum niveum ‘Ang Thong’)

พบครั้งแรกที่หมูเกาะอางทอง จังหวัดสุราษฎรธานี แตแหลงกาํเนิดหาใชมีเพยีงเฉพาะหมูเกาะอางทองเทานั้น แตสามารถพบไดตามภูเขาหินปูนตั้งแตเขตจงัหวัดประจวบคีรีขันธลงไปทางใต ลักษณะเดนของกลวยไมรองเทานารีชนิดนี้คือ มีตนและใบคลายรองเทานารีขาวสตูล ปลายใบมน ดานบนของใบมีสีเขียวคล้ําประลาย ใตทองใบมีสีมวงแก กานดอกยาวมีขน ดอกรปูทรงกลมมีขนาดคอนขางเล็กไมสม่ําเสมอ กลีบดอกมพ้ืีนสขีาว คอนขางหนา และมีจดุกระจายอยูบนกลีบดอก (ระพี, 2535)

Page 18: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

12

3.3) กลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน (Paphiopedilum concolor (Lindl.) Pfitzer)

พบกระจายตามธรรมชาติอยางกวางขวาง มีการเจรญิเติบโตแบบพืชอาศัยบนดิน ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีใบลายสีเขียวแกสลบัเขียวออน ดานใตทองใบมสีีมวง กานดอกยาวมีขน อาจมี 2-3 ดอกบนกานเดยีวกันได ดอกรูปทรงกลม กลีบนอกดานบนผายออกคลายรูปพัด

กลีบดอกกางพอประมาณ เมื่อดอกบานจะคุมมาขางหนา แลดูคลายดอกบานไมเตม็ที่ พ้ืนดอกสีเหลืองออน มจีุดประเล็กๆสมีวง กระเปามสีีเดียวกับกลีบดอก ปลายกระเปาคอนขางมีสีเขียวลักษณะแหลมและงอน เสาเกสรเปนแผน (อุไร, 2544)

3.4) กลวยไมรองเทานารีขาวชุมพร (Paphiopedilum godefroyae (Godef.-Led.)

Stein)

มีถิ่นกําเนิดในประเทศไทยเทานั้น พบกระจายพันธุตามธรรมชาตทิางภาคใต ในบริเวณที่สูงจากระดับน้ําทะเล 100 เมตร มีการเจริญเตบิโตแบบพืชอาศัยบนดนิ หรอืบนซอกหิน

ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีใบเปนแถบยาวสีเขียวเขมสลับสีเขียวเทา ใตใบมีจุดประสีมวงแดงหนาแนน ดอกเปนดอกเดี่ยว ดานดอกยาวมีขนปกคลุม ดอกเมื่อบานเต็มที่เปนรปูกลม กลีบหนางุมมาดานหนา กลีบนอกบนและกลีบดอกมสีขีาวนวล มีแตมสีมวงเขมกระจายทัว่ กระเปามีสีขาวนวลม ี

จุดประสีมวง นอกจากนี้ยังพบวาในบรเิวณท่ีมีการกระจายพันธุนั้น กลวยไมรองเทานารีขาวชุมพรมีการแปรผนัของสีดอกเปนลักษณะใหมอีกพนัธุหนึ่งคือ รองเทานารเีหลืองตรัง(อุไร, 2544)

3.5) กลวยไมรองเทานารีเหลืองตรงั (Paphiopedilumgodefroyae var. leucochilum

(Masters) Hallier)

พบกระจายพันธุตามธรรมชาติอยูตามหมูเกาะฝงตะวันตกทางภาคใตบริเวณจังหวัดตรัง มีการเจริญเตบิโตแบบพืชอาศัยอยูบนดิน ลักษณะเดนของกลวยไมรองเทานารีชนิดนีค้ือ มีใบลาย ทองใบสีมวง ปลายมนคลายรูปลิ้น กานดอกสีมวงมีขน ดอกรูปทรงกลมมีขนาดโตสีครีมเหลือง กลีบนอกบนมีรูปทรงกลมปลายยอดแหลมเล็กนอย กลีบในสองขางกลมรี ปลายกลีบเวา มีจุดประสีนํ้าตาลตรงโคนกลีบแลวคอยมีสีจางลงทางตอนปลายกลบี กระเปามีสีขาวไมมีลาย (สลิล และนฤมล,

2545)

Page 19: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

13

3.6) กลวยไมรองเทานารีเหลืองเลย (Paphiopedilum hirsutissimum (Lindl. ex Hook.)

Stein var. esquirolei (Schltr.) Cribb)

พบขึ้นบนดินหรือซอกหิน บริเวณเขาในจังหวัดเลย และจังหวดัเพชรบูรณ ลกัษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้ คือ มีใบเขียวเปนมัน ใบยาว กลีบนอกบนมสีีแดงเขมออกน้ําตาล ขอบกลีบสีเหลืองอมเขียว ปลายกลีบบีบเขา กลบีดอกแคบมีสชีมพูแดง กระเปามีสีคลายกลบีดอก (อุไร,

2544)

3.7) กลวยไมรองเทานารรีองเทานารีสุขะกลู (Paphiopedilum sukhakulii Schoser &

Senghas)

พบขึ้นอยูบนพืน้ดินเฉพาะบริเวณยอดภูหลวง จังหวัดเลย ลักษณะเดนของกลวยไมชนดิน้ีคือ มีใบรูปขอบขนานมีลายคลายหินออน ดอกเปนดอกเดี่ยว กลีบนอกบนมีสีขาวและมีเสนริ้วสีเขียว กลีบดอกแคบมีสีเขียวมีจดุสีมวงประปรายอยูทั่วกลีบ ปลายกลีบดอกแหลม พ้ืนกลีบดอกมีเสนสีเขยีวจากโคนกลีบดอกไปรวมกนัที่ปลายกลีบดอก กระเปามีสีเขียวและมเีสนรางแหสีมวง (ระพ,ี 2535)

3.8) กลวยไมรองเทานารีเมอืงกาญจน (Paphiopedilum parishii (Rchb.f.) Stein)

พบบนตนไมใหญทีจ่งัหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดกําแพงเพชร ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ ตนมีขนาดคอนขางใหญ ใบมีสีเขยีวปลอด ดอกออกเปนชอ ชอดอกอาจยาวถึง 30

เซนติเมตร และอาจมีดอกไดถึง 7-8 ดอก สีของกลีบนอกบนมีสีขาวอมเขียว กลีบดอกแคบยาวบดิ

เปนเกลียวเล็กนอย โคนกลบีมีสีเขียว ปลายกลีบมีสีมวงปนน้ําตาล กระเปามีสีเขียว (ระพ,ี 2535)

3.9) กลวยไมรองเทานารีขาวสตูล (Paphiopedilum niveum (Rchb.f.) Stein)

พบบนภเูขาหินปูน ในจังหวัดตรัง ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ ใบมลีายสีเขยีวคล้ํา ปลายมน ใตทองใบมีสีมวงแก กานดอกแข็งยาวเรียวมีสีมวงและมีขนปกคลุม ดอกรูปทรงกลมมีขนาดเลก็ กลบีดอกหนางุมมาดานหนา กลีบนอกบน กลีบดอก และกระเปามีสีขาว โคนกลีบมีจดุประเล็กนอย เสาเกสรสีขาวรูปไต (สลิล และ นฤมล, 2545)

Page 20: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

14

3.10) กลวยไมรองเทานารดีอยตุง (Paphiopedilum charlesworthii (Rolfe) Pfitzer)

พบขึ้นตามผาหินปูนที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,000 เมตร ข้ึนไป ทางภาคเหนือของ

ประเทศไทย ชอบอากาศเยน็ ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ ใบสีเขียวเขมเปนมนั โคนกาบใบมีจุดสีมวงเขม ดอกเดีย่ว กานดอกตั้งตรงมีสีมวงแดง มขีนสั้น ๆ ปกคลุม เมื่อดอกบานเต็มที่มีขนาด 7-

9 เซนติเมตร กลีบนอกบนขนาดใหญมีสีชมพูเปนมัน กลบีดอกแคบมีสมีวงเขมและมเีสนรางแห

กระเปามีสีเหลืองอมน้ําตามเปนมัน เสาเกสรสีขาว กึ่งกลางมีติ่งสีเหลอืง ปจจุบันสญูพันธุไปจากปาในประเทศไทยแลว (อุไร, 2544)

3.11) กลวยไมรองเทานารีเหลืองกระบี่ (Paphiopedilum exul (Ridl.) Rolfe)

พบบนชะงอนหินปูนบริเวณอาวพังงา จังหวัดกระบี่ และบริเวณใกลเคียง ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีใบสีเขียวไมมลีาย ใบแคบและหนา ผิวเปนมนั เสนกลางใบเปนรอยลึกรปูตัววี กานดอกแข็ง กลีบดอกนอกเปนรูปใบโพธิ์สีเขียวมีริ้วสีขาว กลีบดอกแคบมีสีเหลือง และกระเปามีสีเขียวอมเหลือง (ระพ,ี 2535)

3.12) กลวยไมรองเทานารคีางกบ [Paphiopedilum callosum (Rchb.f.) Stein]

พบกระจายพันธุเกือบทุกภาคของประเทศไทย เจรญิเติบโตแบบพืชอาศัยบนดนิลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือใบมลีาย ปลายใบเรยีวแหลม ดอกเปนดอกเดี่ยว กานดอกตั้งตรงมีขนปกคลุม กลีบนอกบนสีขาวมีริว้สีเขียว ปลายริ้วสีมวง กลีบดอกแคบมักบิดและหอไปดานหลงั โคนกลีบมีสีเขียว ขอบกลบีดานบนมีไฝสีนํ้าตาลแดง 5-6 จุด กระเปามีสีมวงเขม และมเีสนรางแหสี

นํ้าตาล เสาเกสรสีขาว (ระพี, 2535)

3.13) กลวยไมรองเทานารมีวงสงขลา [Paphiopedilum callosum var. sublave]

พบที่อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ข้ึนตามซอกหินแกรนิตที่มีซากใบไมผุพังทบัถม ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้ คือ ใบดานบนมีลายคลายหินออน ดอกเดี่ยว กานดอกยาว กลีบนอก

Page 21: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

15

บนรูปรีกึ่งรูปหอกกลับ กลบีนอกบนสวนปลายมีสีขาวและมีเสนสีมวงอมเขียวเรยีงขนานกัน กลบีดอกแคบปลายแหลมสีขาว ท่ีขอบดานบนมีตุมนูนขนาดเลก็ กระเปามีสีมวง (สลิล และ นฤมล, 2545)

3.14) กลวยไมรองเทานารคีางกบใต [Paphiopedilum callosum var. thailandense]

พบตามชายฝงทะเลภาคใตของไทย ข้ึนอยูตามพืน้ดิน ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ ดอกมีลกัษณะเหมือนกับรองเทานารีคางกบแตมีขนาดเลก็กวา กลบีดอกแคบมีไฝจํานวนมากตามขอบกลีบและกึ่งกลางจนถึงปลายกลีบดอก มีสีเขมกวาดอกกลวยไมรองเทานารีคางกบ (อุไร, 2544)

3.15) กลวยไมรองเทานารคีางกบคอแดง [Paphiopedilum appletonianum (Gower)

Rolfe]

พบเฉพาะในประเทศไทยที่จังหวัดตราด ระยอง และจันทบรุ ี ข้ึนอยูตามพืน้ดิน ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีใบรปูขอบขนาน ดานบนของใบมีลายคลายหินออน กานดอกตั้งตรงสีมวง กลบีนอกบนงุมมาดานหนามีสีเขียว โคนกลีบมีริ้วสีน้ําตาล กลีบดอกแคบ โคนกลีบหอเล็กนอยมีสีเขยีว ขอบกลีบยน มีไฝสีน้ําตาล 5-6 จุด ปลายกลีบสีชมพู กระเปามีสีนํ้าตาลแดงขลิบสี

เขียวอมเหลือง เสาเกสรสีเหลือง (อุไร, 2544)

3.16) กลวยไมรองเทานารอิีนซิกเน [Paphiopedilum insigne (Well.ex Lindl) Pfitz var.

sanderianum]

พบกระจายพันธุตามธรรมชาติในทางภาคเหนือของประเทศไทย ข้ึนอยูตามพืน้ดิน ลักษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้ คือ มีใบรปูแถบแผนใบหนาสีเขียว ดอกเปนดอกเดีย่ว กานดอกตั้งตรงยาว และมขีนส้ันปกคลุม กลีบนอกบนสีเหลืองออน ขอบกลีบสีขาวและบดิเปนคลื่นเล็กนอย กลีบดอกแคบรูปขอบขนานสีเหลือง ขอบกลีบบิดเปนคลื่นเล็กนอย กระเปามีสีเหลอืงเปนมัน เสาเกสรมีสีเหลืองรูปไขกลับกึ่งกลางมีตุมเล็ก ๆ สีเหลือง (อุไร, 2544)

3.17) กลวยไมรองเทานารอิีนทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein)

พบกระจายพันธุตามธรรมชาติอยูบนภูเขาสูงจากระดับน้ําทะเล ไมต่ํากวา 1,200

Page 22: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

16

เมตร เชน ท่ีดอยอินทนนท จังหวัดเชยีงใหม และบนดอยสูงในจังหวดัเลยและจังหวัดชัยภูมิ ไดแก ภูหลวง และภกูระดึง เปนตน พบขึ้นอยูบนตนไมใหญลกัษณะเดนของกลวยไมชนิดนี้คือ มีลักษณะคลายคลึงกับกลวยไมรองเทานารีเมืองกาญจน (ระพี, 2535)

สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารอีินทนนท

กลวยไมรองเทานารีอินทนนทมีลักษณะทางสัณฐานวทิยา ดังนี้ :(อุไร, 2544)

1. ตน ประกอบดวยพุมใบขนาด 30 เซนติเมตร พบเกาะอาศัยอยูตามเปลือกของไมยืนตน

ขนาดใหญ

2. ใบ ใบมรีูปขอบขนานหรือรปูแถบกวาง 2.5-3.2 เซนติเมตร ยาว 25-35 เซนติเมตร ไมมี

ลาย แผนใบหนาสีเขียว

3. ดอก เปนดอกเดีย่ว กานดอกสีเขียว มีจดุประสีมวงแดง ยาว 18-24 เซนติเมตร และมีขนสั้น

ปกคลุม เมื่อดอกบานเต็มทีม่ีขนาด 7 -9.0 เซนติเมตร กลีบนอกบนหนาเปนมันโคนกลีบสีน้ําตาลอม

แดง ถดัมาอาจเปนสีเขียวอมเหลืองหรือมวงแดงเรื่อ และมีขลิบสีขาวตามขอบกลีบ กลีบดอกแคบสวนโคนกลีบมีขนยาวสีนํ้าตาล และเสนสีนํ้าตาลจากกึ่งกลางกลีบตามแนวยาวเปนสองสวน สวนบนมีสีมวงแดงหรือนํ้าตาลแดง สวนดานลางมสีีเหลืองอมน้ําตาล กระเปาสีนํ้าตาลแดงหรือน้ําตาลแดงเรื่อ และมีเสนรางแหกระจายทั่ว มีเสาเกสรสีเหลืองรูปทรงคลายหัวใจกลบั ขนาด 1.0-1.3 เซนติเมตร

4. ผล เปนผลแบบแหงแลวแตก (capsule) ซึ่งเกิดจากการขยายตวัของกานดอกหลังการผสม

พันธุ ขนาดยาว 3.5-4.0 เซนติเมตร เมื่อผลแกมีสีนํ้าตาลและแตกออกตามแนวยาว ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ

คลายฝุนปลิวไปตามลมไดงาย

5. ฤดูออกดอก ออกดอกในฤดูหนาวระหวางเดือน พฤศจิกายน – กมุภาพันธ

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ไดแสดงไวใน ภาพท่ี 1

Page 23: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

17

กลีบนอกบน

กลีบดอก เสาเกสร

กลีบนอกคูลาง

กานดอก

ลําตน

กระเปา

ใบ

ราก

ภาพท่ี 1 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท

Page 24: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

18

การแปรผนัทางสัณฐานวิทยา

ลักษณะของพชืที่ปรากฏใหเห็นภายนอกหรือฟโนไทป(phenotype) เปนผลมาจากอิทธพิล

รวมระหวางจโีนไทป (genotype) และของสภาพแวดลอม (environment) หรือเปนผลมาจากการ

แปรผันของจีโนไทปของพืช หรือการแปรผันของสภาพแวดลอม (ประดิษฐ, 2541)

สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปทําใหประชากรพืชมีการปรบัตัว ผลของการปรับตวัทาํใหเกิดการแปรผนัทางพันธกุรรม (genetic variation) เมื่อพันธกุรรมแปรผันไปจะกอใหเกิดลักษณะ

พันธกุรรมใหม ๆ ซึ่งจะมคีวามเหมาะสมกับสภาพแวดลอมท่ีพืชนัน้ขึ้นอยู และจะกอใหเกดิการแปรผันของลกัษณะภายนอกหรือสัณฐานวิทยา ดังนั้น ประชากรพืชที่มีการแปรผนันอย หรือมคีวามหลากหลายทางพันธกุรรมนอย จึงนับวามีความเสี่ยงตอการลดจํานวนประชากร หากสภาพแวดลอมมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางฉบัพลัน (ประดษิฐ, 2541)

การแปรผนัทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารอีนิทนนท

ณรงค (2547) ไดทําการศึกษาการแปรผันทางสัณฐานวทิยาระหวางประชากรกลวยไม

รองเทานารีอินทนนทในอทุยานแหงชาตภิูหินรองกลา จังหวัดพิษณโุลก และอุทยานแหงชาติดอย อินทนนท จังหวัดเชียงใหม ในสภาพธรรมชาติ รายงานผลไวดังนี:้ 1.1 สัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอนิทนนทในสภาพธรรมชาต ิ

ลักษณะทางสัณฐานวทิยาของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทในอทุยานแหงชาตภิูหิน รองกลา จังหวดัพิษณุโลก และอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวดัเชียงใหม ในสภาพธรรมชาติ พบวา: (ภาพที่ 2 –ภาพที่ 4)

ลําตน : มีลําตนสั้น ไมมีลาํลูกกลวย เจรญิเติบโตโดยการแตกหนอใหมจากตาดานขางของตนเดิม

Page 25: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

19

ใบ : รูปขอบขนานหรือรูปแถบ ใบไมมลีาย โคนใบมีจดุประสีมวงแกมแดง ดอก : เปนดอกเดี่ยว กานดอกมีสีเขียวมีขนสั้นสีนํ้าตาลปกคลุม กลีบนอกบนโคนกลีบมีสีน้ําตาลอมแดง ถดัมามีสเีขียวอมเหลืองและมีขลิบสีขาวตามขอบกลบีนอกบน กลบีดอกมีเสนสีนํ้าตาลลากกึ่งกลางกลีบดอกตามแนวยาวแบงกลีบดอกเปนสองสวน สวนบนมีสีนํ้าตาลแดง สวนลางมีสีเหลืองอมน้ําตาล กระเปาสีเหลืองแกมน้ําตาล เสาเกสรมีสีเหลืองรูปหัวใจกลับ

ฤดูออกดอก : ออกดอกชวงเดือนพฤศจกิายน- กุมภาพันธ

สิ่งยึดอาศัย (substrate) : กลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหิน

รองกลา เปนกลวยไมอิงอาศยับนหิน (lithophytic orchid) หรือกลวยไมกึ่งดิน (semi–terrestrial

orchid) กลาวคือพบข้ึนอยูตามซอกหินที่มีซากอินทรยีวตัถุหรือใบไมผุ สวนในอทุยานแหงชาตดิอย

อินทนนท เปนกลวยไมอิงอาศัยบนไมยืนตน (epiphytic orchid)

การเจริญเติบโตของลําตน : กลวยไมรองเทานารีอินทนนทเปนกลวยไมประเภทที่มกีารเจรญิทางดานขาง (sympodial orchid) คือ เมื่อตนเจรญิเติบโตเต็มที่สามารถแตกหนอใหมหรือตน

ใหมจากโคนกอจากฐานของตน

Page 26: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

20

ภาพที่ 2 กลวยไมรองเทานารีอินทนนท ซ่ึงขึ้นอยูบนกอนหินและตามซอกหินในอุทยานแหงชาตภิหิูน

รองกลา (ภาพบน) และขึ้นอยูบนตนไมใหญในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท (ภาพลาง)

Page 27: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

21

ภาพที่ 3 ลักษณะสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

ก. ลักษณะของลําตนและใบ ข. – ค. ลักษณะของดอก ท่ีมา : ณรงค (2547)

ข ค

Page 28: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

22

ภาพที่ 4 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ในอุทยานแหงชาติ

ดอยอินทนนท ก. ลักษณะของลําตน ใบและดอก ข. ลักษณะดอก

ค. ลักษณะการอิงอาศยัอยูบนตนไมใหญ

ที่มา : ณรงค (2547)

ข ค

Page 29: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

23

1.2 การแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอิทนนทใน

ธรรมชาต ิ

1) การแปรผนัทางสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณของใบและดอก

จากการศึกษาสณัฐานวิทยาตวัอยางประชากรของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ในเชิงปริมาณจาํนวน 13 ลักษณะ

ดังนี้คือ

1. ความกวางของใบ

2. ความยาวของใบ

3. ความยาวของกานดอก

4. ความกวางของกลีบนอกบน

5. ความยาวของกลีบนอกบน 6. ความกวางของกลีบดอก

7. ความยาวของกลีบดอก

8. ความกวางของกระเปา

9. ความยาวของกระเปา

10. ความกวางของเสาเกสร

11. ความยาวของเสาเกสร

12. ความกวางของกลีบนอกคูลาง

13. ความยาวของกลีบนอกคูลาง

ผลจากการศกึษาพบวาสัณฐานวิทยาของใบและรายละเอียดของดอกมีความแปรผันภายในประชากรและมีความแตกตางกัน จากการศึกษาลกัษณะสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณของใบและดอกจํานวน13 ลกัษณะนั้น มี 12 ลักษณะของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทที่พบในอุทยาน

แหงชาติภูหินรองกลามีขนาดโดยเฉลี่ยเลก็กวาประชากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และมเีพียง

Page 30: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

24

ลักษณะเดยีวคือความยาวของกานดอกของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาที่มีความยาวเฉลี่ยมากกวาประชากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

เมื่อนําคาเฉลีย่ของขอมูลทางสัณฐานวิทยาเชิงปริมาณของประชากรในสองอุทยานแหงชาตินี้มาวเิคราะหทางสถิติ ดวยวธิี t - test พบวามีเพียงความยาวของใบของประชากรทั้งสองที่

ไมมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติ สวนความยาวของกานดอกของประชากรทั้งสองมีความแตกตางกันอยางมนัียสําคัญทางสถติิที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต สวนทีเหลืออีก 11

ลักษณะของประชากรทั้งสอง มีความแตกตางกันอยางมนัียสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99

เปอรเซ็นต

จากการศึกษาการแปรผนัทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนททั้งสองกลุม พบวามลีกัษณะทางสัณฐานวิทยาที่แตกตางกันมาก อาจเปนเพราะสภาพ แวดลอมท่ีตางกัน กลาวคือ กลวยไมรองเทานารอิีนทนนทในอทุยานแหงชาตภิูหินรองกลาขึ้นอยูตามซอกหิน สวนในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทข้ึนอยูบนเปลือกของตนไมใหญ จึงเปนไปไดที่ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในสองอุทยานแหงชาติ จะไดรับความชื้นและธาตุอาหารที่แตกตางกัน โดยเปลือกของตนไมใหญมคีวามชื้นมากกวาและมธีาตุอาหารนอยกวา สวนตามซอกหินมีความชืน้นอยกวาและมธีาตุอาหารมากกวา จึงทําใหประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติ ภูหินรองกลาเจรญิเติบโตไมดีเทากับในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ทําใหคาเฉลี่ยตางๆทางสัณฐานวทิยาของประชากรในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลามีคานอยกวาในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

ลักษณะทางสัณฐานวทิยาของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในสองอุทยาน

แหงชาติที่แตกตางกันมาก แสดงใหเห็นวาเปนคนละประชากรกนั เพราะขึน้อยูในพืน้ที่หางไกลกนัและมีสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน การท่ีประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทสามารถขึน้อยูไดในสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน เนื่องจากมีการปรับตัวใหเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมนั้นมาเปนเวลานาน ทําใหเกิดการแปรผันทางพนัธกุรรม จนมีลกัษณะภายนอกหรือสัณฐานวทิยาที่แตกตางกัน

Page 31: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

25

2) การแปรผนัของสีดอก

จากการศึกษาสีของดอก คือสีของกลีบนอกบน สีของกลบีดอกซีกบน สีของกลีบดอกซีกลาง สีของกระเปา สีของเสาเกสร พบวาโดยทั่วไปแลวสีของดอกในประชากรทีอุ่ทยานแหงชาติภูหินรองกลามสีีนํ้าตาลคอนไปทางเหลือง สวนสีของดอกในประชากรที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนทมีสีนํ้าตาลแดง สรุปไดวาประชากรในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา มีสีเขมและสดใสนอยในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

การที่สีของดอกของประชากรกลวยไมรองเทานารอิีนทนนทในอุทยานแหงชาตภิูหินรองกลาไมเขมและสดใสเหมือนกับในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อาจเปนเพราะในชวงเวลาการออกดอก (พฤศจิกายน – มีนาคม) อุณหภูมิท่ีอุทยานแหงชาติภูหินรองกลามีคาเฉลี่ยของอณุหภูมิ

ท่ีสูงกวาที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ประกอบกับบริเวณท่ีพบประชากรในอุทยานแหงชาติภหิูนรองกลามีคาความเขมแสงเฉลี่ยมากกวาที่อุทยานแหงชาตดิอยอินทนนท ซึ่งสอดคลองกับ อุไร (2544) รายงานวากลวยไมรองเทานารีอินทนนทชอบอากาศเย็น ถาอยูในที่แสงรําไรดอกจะมีสีสดใส

ถ่ินอาศัย (Ecotype)

ถิ่นอาศยั หมายถึงฟโนไทป (phenotype) หรือลักษณะทางสัณฐานวิทยาซึ่งมีความแตกตาง

กันระหวางประชากรภายในพืชชนิดหนึ่ง ท้ังนี้เนื่องจากอิทธิพลของความแตกตางทางปจจัยแวดลอมซ่ึงประชากรของพืชข้ึนอยู เชน ความแตกตางของภูมิอากาศ และความแตกตางของคุณสมบัติของดิน การเกิดอีโคไทปในพืชเปนผลมาจากการคัดเลือกของธรรมชาติ (natural selection) วาพืชลักษะใดที่

เหมาะที่จะอยูในสภาพแวดลอมนั้น (Robertson, 1971)

การจําแนกถิน่อาศัยของประชากรกลวยไมรองเทานารอีนิทนนทในสองอุทยานแหงชาต ิ

การจําแนกถิ่นอาศัยของประชากรกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท สามารถจําแนกออกไดเปน 2 ถิ่นอาศัย คือถิ่นอาศยั

ภูหินรองกลาและถิน่อาศัยดอยอินทนนท โดยอาศัยเกณฑดังตอไปนี้ : (ณรงค,2547)

Page 32: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

26

2.1 ความแตกตางของส่ิงยึดอาศัย (substrate) ตามธรรมชาต ิ

ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาอาศัยอยูบนหิน, หรือกึ่งดิน (lithophytic orchid , or semi – terrestrial orchid) สวนประชากรกลวยไมรองเทานารี

อินทนนทในอทุยานแหงชาตดิอยอินทนนท อาศัยอยูบนตนไมใหญ (epiphytic orchid) ที่ระดับความ

สูงจากพื้นดนิประมาณ 20 – 30 เมตร

2.2 ความแตกตางทางสัณฐานระหวางประชากร

จากการศึกษาความแตกตางทางสัณฐานวิทยาในเชงิปริมาณ ของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และท่ีอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จํานวน 13 ลักษณะ พบวาประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

มี 12 ลักษณะ ซึ่งมีขนาดเลก็กวาประชากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท โดยมีเพียงความยาว

ของกานดอกเทานั้น ที่ประชากรในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลามีความยาวของกานดอก มากกวาในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท และจาการทดสอบคาเฉลีย่ทางสัณฐานวิทยาของประชากรทางสถิติดวยวิธี t-test พบวาม ี 11 ลักษณะในจํานวน 13 ลักษณะ ที่มีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติทีร่ะดับความเชื่อม่ัน 99 เปอรเซ็นต มี1 ลักษณะ คือความยาวของกานดอก

ท่ีมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซน็ต และม ี1 ลกัษณะ

คือความยาวของใบ ท่ีไมมีคาความแตกตางอยางนัยสําคญัทางสถิติ แสดงใหเห็นวาประชากรของกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ที่พบในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เปนคนละถิน่อาศัยกัน จึงมลีักษณะทางสัณฐานวิทยาท่ีแตกตางกันเปนอยางมาก ผลจากการศึกษานี้สอดคลองกับ Robertson (1971) ที่ใหคําจํากัดความของถิ่นอาศัยวา

ถิ่นอาศัยหมายถึงฟโนไทปหรือลักษณะทางสัณฐานวิทยาซ่ึงมีความตางกันระหวางประชากรภายในพืชชนิดหนึ่ง ท้ังนี้เนื่องจากอิทธิพลของปจจัยแวดลอมซ่ึงประชากรของพืชนั้นขึ้นอยูมีความแตกตางกัน การเกิดอีโคไทปในพืชเปนผลมาจากการคัดเลือกของธรรมชาติ (natural selection) วาพืชใด

เหมาะสมที่จะอยูในพื้นที่นั้น

Page 33: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

27

2.3 ความแตกตางของสภาพแวดลอมที่ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทข้ึนอยู

อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท พบวามีสภาพแวดลอมท่ีแตกตางกนัชัดเจนอยู 2 ประการคือ

1) ความแตกตางของสังคมพืช

ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาขึ้นอยูท่ีพื้นปาละเมาะมีไมพุมขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สวนประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทสวนมากพบในบริเวณที่เปนปาดิบเขาและสวนมากพบขึน้อยูบนตนสนพันป และบางสวนพบในบริเวณที่เปนปาดิบแลงตามบริเวณหุบเขาที่เปนปาตนน้ําลาํธารในระดับความสูงเฉลี่ยไมต่ํากวา 1,000

เมตร โดยพบข้ึนอยูบนตนตะเคียนทองใกลๆกับลําหวย จากการศึกษาครั้งนี้พบวามกีลวยไมรองเทานารีอินทนนทสวนมากขึ้นอยูบนไมยืนตน 2 ชนิดดังกลาว

2) ความแตกตางของความเขมแสง

จากการวัดความเขมของแสง บริเวณพบกลวยไมรองเทานารีอินทนนท สรุปไดวา

ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาขึ้นอยูในที่มีความเขมของแสงเฉลี่ย 9.14 เปอรเซ็นต สวนประชากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทข้ึนอยูในที่มีความเขม

ของแสงเฉลี่ยเพียง 3.51 เปอรเซ็นต

ขอมูลอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

ขอมูลที่สําคัญของอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา มีดังตอไปนี้ (สวนทรัพยากรที่ดนิและปาไม, 2541)

Page 34: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

28

1. อาณาเขตและที่ตั้ง

อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา ไดรับการประกาศในราชกจิจานุเบกษา เปนอุทยานแหงชาติ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2527 เปนอุทยานลําดับที่ 48 ของประเทศไทย ครอบคลมุรอยตอสอง

จังหวัด คือ อําเภอดานซาย จงัหวัดเลย และอําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับตาํบลบอโพธิ์ อําเภอนครไทย และตําบลกกสะทอน อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ทิศใตติดกับตําบลบานแยง อําเภอนครไทย จังหวดัพิษณุโลก ทิศตะวนัออก ตดิกับ ตําบลกกสะทอน อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ทิศตะวันตกติดกับตาํบลเนนิเพิ่ม อาํเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มีเนื้อที่ประมาณ 307 ตารางกโิลเมตร หรือ 191,875 ไร (ภาพที ่6)

Page 35: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

29

2. ลกัษณะภูมิอากาศ ภาพที่ 6 แผนที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

ท่ีมา : สวนทรัพยากรที่ดนิและปาไม (2541)

อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

เคร่ืองหมาย

แนวเขตอุทยาน

หมูบาน

ท่ีทําการอุทยานฯ

มาตราสวน

กิโลเมตร

บริเวณท่ีกันออก

ทางหลวง

แมน้ํา คลอง หวย

แนวเขตจงัหวัด

N

Page 36: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

30

เนื่องจากในอทุยานแหงชาตภิูหินรองกลาไมมีสถานีตรวจวัดอากาศ จึงไดรวบรวมขอมูลลักษณะภูมิอากาศจากสถานตีรวจวดัอากาศในบริเวณใกลเคียงพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาตภิหิูนรองกลา คือ สถานีจังหวัดพษิณุโลก สถานีจังหวัดเพชรบรูณ และสถานีอําเภอหลมสัก ซึ่งถอืวาสถานีตรวจอากาศทั้ง 3 แหงนี้อยูใกลอุทยานแหงชาตภิูหินรองกลามากที่สุด รายละเอยีดลักษณะภูมิอากาศ ได

แสดงไวในตารางที่ 1

2. ลกัษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศโดยทัว่ไปเปนเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทอดยาวจากเหนือสุดติดชายแดนประเทศลาว(แขวงไชยบรุี) ลงมาทางใตในเขตจังหวัดเพชรบูรณ มยีอดเขาที่สําคัญคือ ภแูผงมา ภูขี้เถา ภลูมโลและภูหินรองกลา โดยมีภลูมโลเปนยอดเขาที่สูงที่สุดในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา สูงประมาณ 1,664 เมตร จากระดับน้ําทะเล เทือกเขาเหลานี้เปนแหลงกําเนิดของแมน้ําลาํธารหลาย

สาย เชน ลําน้าํไซ หวยนํ้าขมึน หวยออมสิงห และหวยหลวงใหญ

3 ลักษณะสงัคมพืช

ลักษณะสังคมพืชในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา สามารถจําแนกออกเปน 5 ชนิดดังนี้ :

3.1 ปาเต็งรัง (Dry deciduous dipterocarp forest)

3.2 ปาเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest)

3.3 ปาดิบแลง (Dry evegreen forest)

3.3 ปาดิบเขา (Hill evergreen forest)

3.5 ปาดิบเขา (Hill evergreen forest)

Page 37: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

31

ตารางที่ 1 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธเฉลีย่รายเดือน จากสถานตีรวจอากาศ จงัหวัดพิษณโุลก จังหวัดเพชรบรูณ

และสถานีตรวจอากาศอําเภอหลมสัก ระหวางป พ.ศ. 2540 – 2545

เดือน ปริมาณน้ําฝน(มิลลิเมตร) อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพทัธ (เปอรเซ็นต)

พิษณโุลก เพชรบรูณ หลมสัก พิษณโุลก เพชรบรูณ หลมสัก พิษณโุลก เพชรบรูณ หลมสัก

มกราคม 6.6 7.0 4.7 24.1 24.1 25.3 65 63 63

กุมภาพันธ 11.9 17.4 23.1 26.7 26.7 26.2 63 60 60

มีนาคม 29.1 34.5 50.4 29.0 29.0 27.1 61 59 66

เมษายน 51.0 70.3 50.0 30.6 30.3 29.2 62 63 64

พฤษภาคม 188.5 157.4 159.4 29.6 29.2 28.4 71 74 76

มิถุนายน 183.3 153.1 152.2 28.5 28.3 27.6 77 79 80

กรกฎาคม 189.8 168.5 124.3 28.1 27.7 27.5 79 81 80

สิงหาคม 257.1 189.3 164.1 27.8 27.4 27.5 80 83 82

กันยายน 241.4 211.9 179.6 28.7 27.2 27.0 81 84 83

ตุลาคม 157.0 98.3 87.2 27.6 27.0 26.7 79 79 79

พฤศจิกายน 30.7 3.2 13.1 26.1 25.6 25.3 73 71 71

ธันวาคม 5.5 3.8 4.8 24.0 23.7 22.9 68 66 64

รวม 1351.9 1124.7 1012.9 เฉลีย่ 27.2 27.5 26.7 เฉลี่ย 72 72 72

ที่มา:ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้ําภาคเหนือตอนลาง(2546)

Page 38: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

32

ขอมลูอุทยานแหงชาติดอยอนิทนนท

ขอมูลที่สําคัญของอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท มีดงัตอไปนี้ (สถาบันวิจยัเพ่ือการ

พัฒนาประเทศไทย, 2540)

1. อาณาเขตและที่ตั้ง

อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ตั้งอยูในภาคเหนือของประเทศไทย ในทองท่ีอําเภอจอมทอง อําเภอแมแจม และอําเภอแมวาง จังหวัดเชยีงใหม พื้นท่ีสวนใหญของอุทยานแหงชาติ อยูในอําเภอจอมทอง มีอาณาเขตติดตอ ดังนี้ ทิศเหนือติดกับตําบลแมนาจาร อําเภอแมแจม และตําบลทุงป อําเภอแมวาง ทศิใตติดกับตําบลบานหลวง อําเภอจอมทอง ทิศตะวนัออกติดกับ ตําบลสองแคว ตําบลยางคราม และตําบลบานหลวง อําเภอจอมทอง ทิศตะวันตกติดกับตาํบลแมนาจก ตําบลทาผา อําเภอแมแจม มีพ้ืนท่ีทั้งหมด ประมาณ 482 ตารางกิโลเมตร (ภาพที่ 7)

Page 39: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

33

มาตราสวน

กิโลเมตร

N

แนวเขตอุทยาน

หมูบาน

แนวเขตจงัหวัด

ที่ทําการอุทยานฯ

อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

บริเวณที่กันออก

ทางหลวง

แมน้ํา คลอง หวย

เคร่ืองหมาย

อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

ภาพที่ 7 แผนท่ีอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

ท่ีมา : สถาบันวิจยัเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2540)

Page 40: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

34

2. ลกัษณะภูมิอากาศ

สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ไดรับอทิธิพลของลมมรสุมตะวนัตกเฉยีงใต ท่ีพัดเอาความชุมชื้นและเมฆฝนเขามาทาํใหเกิดฝนตก และลมตะวนัออกเฉียงเหนือที่พัดมาจากประเทศจนี ซึ่งนําเอาความหนาวเยน็และความแหงแลงเขามา ในพ้ืนที่สูงตอนบนของอุทยานแหงชาติฯ โดยท่ัวไปแลวจึงมีสภาพชุมชื้น และหนาวเย็นตลอดป มีอากาศที่หนาวเย็นมากในฤดหูนาว จากการรวบรวมลกัษณะภูมิอากาศของอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จากสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดเชียงใหม และจังหวัดลําพูน รายละเอียดไดในตารางที่ 2

3. ลกัษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศโดยทัว่ไปมีลักษณะเปนภูเขาสูงสลับซับซอนเปนสวนหนึ่งของเทอืกเขาถนนธงชยั ที่ทอดตัวตามแนวทิศเหนือ - ใต ทอดตัวลงมาจากเทือกภูเขาหิมาลัยในประเทศเนปาล มี

ระดับความสูงของพื้นที่อยูระหวาง 400 - 2,565 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลางและมียอดดอย

อินทนนท เปนจุดที่สูงที่สุดในประเทศไทย ที่ความสูง 2,565 เมตรจากระดับนําทะเลปานกลาง

นอกจากนี้ยังมียอดเขาอื่น ๆ ที่มีระดับความสูงลดหลั่นลงมา

5. ลกัษณะสังคมพืช

ลักษณะสังคมพืชในพ้ืนที่อุทยานแหงชาตดิอยอินทนนท สามารถจําแนกออกไดเปน 4

ชนิด ดังนี้ :

5.1 ปาเต็งรัง (Dry deciduous dipterocarp ตน

5.2 ปาเบญจพรรณ (Mixed deciduous forest)

5.3 ปาดิบแลง (Dry evergreen forest)

5.4 ปาดิบเขา (Hill evergreen forest)

Page 41: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

35

ตารางที่ 2 ปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ และความชืน้สัมพัทธเฉลีย่รายเดือน จากสถานีตรวจอากาศ จังหวัดลําพูน และสถานีตรวจอากาศ

จังหวัดเชียงใหม ระหวางป พ.ศ. 2534 – 2543

เดือน ปรมิาณน้ําฝน (มิลลเิมตร) อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพัทธ (เปอรเซ็นต)

ลําพูน เชยีงใหม ลําพูน เชียงใหม ลําพูน เชียงใหม มกราคม 2.2 5.4 21.8 21.1 68 67

กุมภาพันธ 9.8 18.2 24.0 23.3 58 56

มีนาคม 21.1 27.4 27.9 26.9 53 51

เมษายน 44.5 62.3 29.9 28.8 59 58

พฤษภาคม 130.5 145.2 29.0 28.3 69 70

มิถุนายน 110.7 98.5 28.6 27.8 72 76

กรกฎาคม 124.7 152.2 27.9 27.1 75 79

สิงหาคม 166.0 220.9 27.2 26.5 80 83

กันยายน 192.4 175.9 26.8 26.4 83 83

ตุลาคม 99.9 111.7 25.9 25.7 83 80

พฤศจกิายน 31.9 29.0 23.7 23.6 80 76

ธันวาคม 10.5 14.8 21.6 21.4 75 72

รวม 944.2 1061.5 เฉลี่ย 26.2 25.6 เฉลี่ย 71 71

ที่มา: ฉันทฬส (2544)

Page 42: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

36

อุปกรณและวิธีการ

อุปกรณ

1. เทปวัดระยะ

2. ไมบรรทัด

3. แผนปายเขยีนขอความตดิพันธุไม (Tag)

4. แวนขยาย

5. กลองถายรปู

6. คอมพิวเตอรและโปรแกรมสําเรจ็รูป

7. สมุดจดบันทึก

8. ปากกา

วธิกีาร

วิธีการที่ใชในการศึกษาในแตละวัตถุประสงคแบงออกเปนขั้นตอนและวิธีการในแตละข้ันตอนดังตอไปนี้ :

1. การปลูกเลี้ยงกลวยไมรองเทานารีอินทนนทในสภาพแวดลอมเดียวกัน

การปลูกเลีย้งกลวยไมรองเทานารีอินทนนท โดยนํากลวยไมรองเทานารีอินทนนทจากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท แหงละ 33 กอ มาปลูกเลีย้งในโรงเรือนที่มีสภาพแวดลอมเดียวกันที่อุทยานแหงชาติภหิูนรองกลา เปนเวลา 2 ป เพ่ือใหกลวยไม

รองเทานารีอินทนนทปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม

1.1 โรงเรือน

สรางโรงเรือน ขนาด 3x4 เมตร อยูในแนวทิศ ตะวันออก – ตะวนัตก โรงเรือนสูง

Page 43: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

37

4 เมตร หลังคาโรงเรือน 2 ช้ัน ช้ันบนสุดเปนหลังคาพรางแสงโดยใชซาแรนกรองแสง 60 เปอรเซน็

ช้ันลางเปนพลาสติกกันฝน รอบโรงเรือนขึงดวยซาแรนทึบ ช้ันวางกระถางกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ใชไมทําเปนชั้น ลดหลั่นกันเปนขั้นบันได

1.2 เครื่องปลูกสําหรับกลวยไมรองเทานารีอินทนนท

เครื่องปลูกสําหรับกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ประกอบดวย อิฐมอญทุบ

ใบไมผุ และหินเกร็ด อัตราสวน 1:1:1

2. การศึกษาการแปรผันทางสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณของใบและดอก

นําตัวอยางใบและดอกทีเ่กบ็มาจากแตละประชากร มาทําการศกึษาการแปรผันทางสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณ จํานวน 13 ลักษณะ โดยมีวธิีการวดัดังนี ้:

1. ความกวางของใบ วัดใบที่ 3 จากยอดโดยวดับรเิวณกึ่งกลางใบ

2. ความยาวของใบ วัดโคนใบถึงปลายใบ

3. ความยาวของกานดอก วัดจากโคนกานดอกถึงปลายกานดอก

4. ความกวางของกลีบนอกบน วัดบริเวณทีก่วางที่สุด

5. ความยาวของกลีบนอกบน วัดจากโคนกลบีถึงปลายกลบีนอกบน

6. ความกวางของกลีบดอก วัดตรงสวนทีก่วางที่สุดของกลีบดอก

7. ความยาวของกลีบดอก วัดจากโคนกลบีดอกถึงปลายกลีบดอก

8. ความกวางของกระเปา วัดเสนผาศูนยกลางของขอบกระเปา

9. ความยาวของกระเปา วัดความยาวจากโคนกระเปาถึงปลายกระเปา

10. ความกวางของเสาเกสร วดัตรงสวนทีก่วางท่ีสุด

11. ความยาวของเสาเกสร วัดจากโคนเสาเกสรถึงปลายเสาเกสร

12. ความกวางของกลีบนอกคูลาง วัดตรงสวนทีก่วางท่ีสุด

13. ความยาวของกลบีนอกคูลาง วัดความยาวจากโคนกลีบเลีย้งถึงปลายกลบี

Page 44: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

38

ทําการวิเคราะหการแปรผนัทางสัณฐานวิทยาแตละลักษณะในเชิงปรมิาณ ดวยวิธ ี t – test โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

3. การศึกษาการจําแนกถิ่นอาศัย (ecotype) ของประชากรกลวยไมรองเทานารี อินทนนท

การศกึษาการจําแนกอีโคไทปของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท ในพืน้ที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ใชขอมูลจากการศึกษาการแปรผันทางสณัฐานวิทยาในเชิงปริมาณ มาใชในการจาํแนกถิ่นอาศยั หากมีลักษณะแตกตางกันมากก็แสดงใหเห็นวาประชากรกลวยไมชนิดนีม้ีการปรับตวัเขากับสภาพแวดลอมของถิน่ที่อยูอาศัย ผลของการปรับตวัทําใหเกิดการแปรผันทางสัณฐานวิทยา และสงผลใหลักษณะภายนอกของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทมีความแตกตางกัน

Page 45: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

39

ผลและวิจารณผลการศึกษา

จากการศึกษาตัวอยางประชากรของกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท จากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาและจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท โดยนํามาปลูกเลีย้งในสภาพ แวดลอมเดียวกันที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา (ภาพที่ 8) ใชจํานวนตัวอยางระหวาง 33 ตัวอยาง

เพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาในเชิงปริมาณจํานวน 13 ลักษณะ

ผลจากการศกึษาไดแสดงไวใน ตารางที่ 3 - ตารางที ่4 ซึ่งจากตารางแสดงใหเห็น

วาลกัษณะสณัฐานวิทยาในเชิงปริมาณของใบและดอกจาํนวน13 ลักษณะนั้น มี 11 ลักษณะของ

ประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทจากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลามีขนาดโดยเฉลีย่เล็กกวาประชากรจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท มีเพียงลักษณะเดียวคือความยาวของกานดอกของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทจากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาที่มีความยาวเฉลีย่มากกวาประชากรจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

เมื่อนําคาเฉลีย่ของขอมูลทางสัณฐานวิทยาเชิงปริมาณของประชากรทั้งสองมาวิเคราะหทางสถิติ ดวยวิธี t - test พบวามีเพียงความยาวของใบของประชากรทั้งสองที่ไมมีความ

แตกตางกนัอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนทีเหลืออีก 11 ลักษณะของประชากรทั้งสอง มีความ

แตกตางกนัอยางมีนัยสําคัญยิง่ทางสถิติ ซึ่ง 11 ลักษณะเหลานั้นคือ ความกวางของใบ ความยาว

ของกานดอก ความกวางของกลีบนอกบน ความยาวของกลีบนอกบน ความกวางของกลีบดอก ความยาวของกลีบดอก ความกวางของกระเปา ความยาวของกระเปา ความกวางของเสาเกสร ความยาวของเสาเกสร ความกวางของกลบีนอกคูลาง และความยาวของกลีบนอกคูลาง (ตารางที่ 5 )

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนทจากสองอุทยานแหงชาติที่แตกตางกนัมาก แสดงใหเห็นวาเปนคนละประชากรกัน เพราะขึ้นอยูในพืน้ที่หางไกลกนัและมีสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน กลวยไมรองเทานารีอินทนนทมีการปรับตัวใหเหมาะสมกับส่ิง แวดลอมนัน้มาเปนเวลานาน ทําใหเกดิการแปรผันทางพันธกุรรม จนมีลกัษณะภายนอกหรือสัณฐานวิทยาที่แตกตางกนั

Page 46: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

40

ภาพท่ี 8 กลวยไมรองเทานารีอินทนนทที่จากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา (ภาพบน) และจาก

อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท (ภาพลาง) ที่นํามาปลูกเลีย้งในสภาพแวดลอมเดียวกัน

Page 47: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

41

ตารางที่ 3 ลักษณะสัณฐานวทิยาในเชิงปรมิาณของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท จากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา เมื่อนํามาปลูกเลีย้งในสภาพแวดลอมเดียวกัน

ที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา จํานวนตัวอยาง ที่ใชศึกษา

x เซนติเมตร

S.D. เซนติเมตร

Range เซนติเมตร

1. ความกวางของใบ 33 2.74 0.37 2.00 – 3.70 2. ความยาวของใบ 33 28.46 5.06 19.50 – 38.40 3. ความยาวของกานดอก 33 19.42 3.98 11.00 – 25.50 4. ความกวางของกลีบนอกบน 33 3.29 0.33 2.60 – 3.90 5. ความยาวของกลีบนอกบน 33 4.83 0.41 4.00 – 5.80 6. ความกวางของกลีบดอก 33 2.77 0.20 2.40 – 3.10 7. ความยาวของกลีบดอก 33 5.46 0.35 5.00 – 6.50 8. ความกวางของกระเปา 33 2.53 0.16 2.30 – 2.90 9. ความยาวของกระเปา 33 4.82 0.35 4.10 – 5.50 10. ความกวางของเสาเกสร 33 1.18 0.09 1.00 – 1.40 11. ความยาวของเสาเกสร 33 1.42 0.09 1.30 – 1.60 12. ความกวางของกลีบนอกคูลาง 33 2.29 0.25 1.90 – 2.80 13. ความยาวของกลีบนอกคูลาง 33 3.83 0.44 2.90 – 4.80

Page 48: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

42

ตารางที่ 4 ลักษณะสัณฐานวทิยาในเชิงปรมิาณของประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท จากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลูกเลีย้งในสภาพแวดลอมเดียวกัน ที่อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา

ลักษณะทางสัณฐานวิทยา จํานวนตัวอยาง ที่ใชศึกษา

x เซนติเมตร

S.D. เซนติเมตร

Range เซนติเมตร

1. ความกวางของใบ 33 3.52 0.43 2.80 – 4.10 2. ความยาวของใบ 33 29.98 6.04 19.20 – 41.00 3. ความยาวของกานดอก 33 14.94 1.91 12.00 – 19.00 4. ความกวางของกลีบนอกบน 33 3.98 0.47 3.10 – 4.70 5. ความยาวของกลีบนอกบน 33 5.95 0.54 4.60 – 7.00 6. ความกวางของกลีบดอก 33 3.45 0.35 2.70 – 4.50 7. ความยาวของกลีบดอก 33 6.32 0.44 5.10 – 7.50 8. ความกวางของกระเปา 33 2.80 0.18 2.40 – 3.20 9. ความยาวของกระเปา 33 6.05 0.43 4.60 – 6.90 10. ความกวางของเสาเกสร 33 1.65 0.10 1.40 – 1.80 11. ความยาวของเสาเกสร 33 1.92 0.09 1.80 – 2.10 12. ความกวางของกลีบนอกคูลาง 33 2.65 0.23 2.20 – 3.20 13. ความยาวของกลีบนอกคูลาง 33 4.86 0.39 4.20 – 5.90

Page 49: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

43

ตารางที่ 5 การวเิคราะหความแตกตางของลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกลุมตวัอยางรองเทานาร ี อินทนนท จากอทุยานแหงชาตภิูหินรองกลา และอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท

ความแตกตางของลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของ 2 ประชากร ลักษณะทางสัณฐานวิทยา x

เซนติเมตร S.D.

เซนติเมตร Range (ซ.ม.)

t Sig.

(2-tailed)

1. ความกวางของใบ 0.78 0.57 1.05 – 0.51 7.86 0.00** 2. ความยาวของใบ 1.52 7.18 1.90 – 4.94 1.22 0.23 ns 3. ความยาวของกานดอก 4.48 4.46 2.36 – 6.61 5.78 0.00** 4. ความกวางของกลีบนอกบน 0.68 0.60 0.97 – 0.40 6.52 0.00** 5. ความยาวของกลีบนอกบน 1.11 0.62 1.41 – 0.82 10.29 0.00** 6. ความกวางของกลีบดอก 0.67 0.45 0.89 – 0.46 8.57 0.00** 7. ความยาวของกลีบดอก 0.87 0.59 1.15 – 0.58 8.34 0.00** 8. ความกวางของกระเปา 0.27 0.25 0.39 – 0.15 6.11 0.00** 9. ความยาวของกระเปา 1.23 0.54 1.48 – 0.97 13.12 0.00** 10. ความกวางของเสาเกสร 0.47 0.12 0.53 – 0.42 22.52 0.00** 11. ความยาวของเสาเกสร 0.50 0.13 0.56 – 0.43 21.40 0.00** 12. ความกวางของกลีบนอกคูลาง 0.35 0.36 0.53 – 0.18 5.63 0.00** 13. ความยาวของกลีบนอกคูลาง 1.03 0.65 1.34 – 0.72 -9.10 0.00**

ns ไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

** มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ (P>0.01)

Page 50: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

44

สรุป

จากการศึกษาการแปรผันทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา และอุทยานแหงชาติ

ดอยอินทนนท เมื่อนํามาปลกูเลี้ยงในสภาพแวดลอมเดียวกัน สรุปไดดังนี้ :

1. การแปรผันทางสัณฐานวทิยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารอีินทนนทจากอุทยานแหงชาติภูหินรองกลา จังหวดัพิษณุโลก และจากอุทยานแหงชาตดิอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม

ประชากรกลวยไมรองเทานารอิีนทนนท ในอุทยานแหงชาติภูหินรองกลาขึ้นอยูบนหินหรือกึ่งดิน (lithophytic orchid หรือ semi – terrestrial orchid ) สวนประชากรในอทุยาน

แหงชาติดอยอินทนนทข้ึนอยูบนตนไมใหญ (epiphytic orchid) จากการศึกษาลกัษณะทาง

สัณฐานของใบและดอกในเชิงปริมาณ จํานวน 13 ลักษณะ พบวามี 11 ลักษณะทีป่ระชากรใน

อุทยานแหงชาติภูหินรองกลา มีขนาดเลก็กวาประชากรในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท อยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P>0.01) มีเพยีงความยาวของกานดอก ของประชากรจากอุทยานแหงชาติภูหินรอง

กลา มีความยาวมากกวาประชากรจากอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทอยางมีนัยสําคญัยิ่ง (P>0.01)

สวนความยาวของใบของประชากรทั้งสองไมมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญ

2. การจาํแนกถิ่นอาศัย (ecotype ) ของประชากรกลวยไมรองเทานารีอนิทนนทจากอุทยานแหงชาติท้ังสอง

พบวาสามารถจําแนกออกไดเปน 2 ถิ่นอาศยั คือถิน่อาศัยภูหินรองกลา และถิน่อาศัย

ดอยอินทนนท โดยอาศัยความแตกตางทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากร ความแตกตางของสิ่งยึดอาศัย (substrate) ตามธรรมชาติ และความแตกตางของสภาพแวดลอม ซึ่งประชากรทั้งสอง

ข้ึนอยู ในถิ่นกาํเนินตามธรรมชาติ

Page 51: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

45

เอกสารอางองิ

ฉันทฬส รุงเรอืง. 2544. การแปรผนัของประชากรกลวยไมเหลอืงแมปง ในอุทยานแหงชาตแิมปง

จังหวัดลาํพูน. วิทยานพินธปรญิญาโท, มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร.

ณรงค สวัสดิก์วาน. 2547. การแปรผนัทางสัณฐานวิทยาระหวางประชากรกลวยไมรองเทานารี

อินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแหงชาติภูหนิรองกลา และอุทยานแหงชาติดอยอนิทนนท. วิทยานิพนธปรญิญาโท, มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร.

ประดิษฐ พงศทองคํา. 2541. พันธุศาสตร. ภาควิชาพันธุศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

ยงยุทธ เจยีมใจศร.ี 2521. การงอกของเมล็ดกลวยไม. วทิยาสารสโมสรกลวยไมบางเขน 6: 65-68.

ระพี สาคริก. 2535. กลวยไมรองเทานารี. สํานักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ.

สถาบันวจิัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย. 2540. ประมวลความรูเรือ่งอทุยานแหงชาตดิอย

อินทนนท. กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, กรุงเทพฯ.

สลิล สิทธิสัจจธรรม และ นฤมล กฤษณชาญด.ี 2545. คูมือกลวยไม. สํานักพิมพสารคด,ี

กรุงเทพฯ.

สวนทรัพยากรที่ดินและปาไม. 2541. ขอมลูพื้นฐานแผนแมบทการจัดการพืน้ท่ีอทุยานแหงชาต ิ

ภูหินรองกลา จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเลย พ.ศ. 2541-2545. กรมปาไม กระทรวงเกษตร

และสหกรณ, กรุงเทพฯ.

สวนพฤกษศาสตรปาไม กรมปาไม. 2538. อนุสรณ ศาสตราจารย ดร.เต็ม สมิตินันทน.

บริษัทรําไทยเพรส จํากัด, กรุงเทพฯ.

Page 52: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

46

สวนพฤกษศาสตรสมเด็จพระนางเจาสริิกิติ.์ 2543. กลวยไมไทย. โอ.เอส.พริน้ติ้งเฮาส, กรุงเทพฯ.

ศูนยอุทกวิทยาและบริหารน้าํภาคเหนือตอนลาง. 2546. สภาพภูมิอากาศภาคเหนอืตอนลาง.

พิษณโุลก. (อัดสําเนา)

อุทิศ กุฎอินทร. 2541. นิเวศวิทยาพื้นฐานเพื่อการปาไม. ภาควิชาชวีวิทยาปาไม คณะวนศาสตร

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

อบฉันท ไทยทอง. 2546. กลวยไมเมืองไทย. พิมพครั้งที่ 4. บริษัทอมรินทรพริ้นติง้ แอนด

พับลิชช่ิง จํากดั (มหาชน), กรุงเทพฯ.

อุไร จิตรมงคลการ. 2544. กลวยไมรองเทานาร.ี สํานักพิมพบานและสวน, กรุงเทพฯ.

Robertson, F.C.F. 1971. Terminology of Forest Science; Technology, Practices and

Products. Society of American Forests, Washington D.C.

Seidenfaden, G. 1983. Orchid Genera in Thailand X l : Cymbideaes. Opera Bot :

72 : 1 – 123.

. 1985. Contribution to the Orchid Flora of Thailand X l. Nordic Journal of

Botany. 5 (1-3): 157 – 167.

. 1992. The Orchids of Indochina. Opera Bot. 144 : 326-330.

Page 53: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

47

ภาคผนวก

Page 54: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

48

1 2

3 4

ภาพผนวกที่ 1 กลวยไมรองเทานารใีนประเทศไทย

ที่มา : อุไร (2544)

1 = กลวยไมรองเทานารฝีาหอย (Paphiopedilum bellatulum (Rchb.f) Stein)

2 = กลวยไมรองเทานารขีาวชุมพร (Paphiopedilum godefroyae (Godef.-

Led.) Stein )

3 = กลวยไมรองเทานารเีหลอืงตรัง (Paphiopedilum godefroyae var.

leucochilum (Masters) Hallier)

4 = กลวยไมรองเทานารีชองอางทอง (Paphiopedilum niveum ‘Ang Thong’)

Page 55: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

49

ภาพผนวกที่ 1 (ตอ)

5 = กลวยไมรองเทานารีอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein)

6 = กลวยไมรองเทานารีอินซิกเน (Paphiopedilum insigne (Well.ex Lindl)

Pfit var. sanderianum)

7 = กลวยไมรองเทานารีคางกบคอแดง (Paphiopedilum appletonianum

(Gower) Rolfe)

8 = กลวยไมรองเทานารีเหลืองกระบี ่(Paphiopedilum exul (Ridl.) Rolfe)

5 6

7 8

9

9 10

Page 56: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

50

ภาพผนวกที่ 1 (ตอ)

9 = กลวยไมรองเทานารีขาวสตูล (Paphiopedilum niveum (Rchb.f.) Stein)

10 = กลวยไมรองเทานารีดอยตุง (Paphiopedilum charlesworthii (Rolfe)

Pfitzer)

11 = กลวยไมรองเทานารีเหลืองปราจีน (Paphiopedilum concolor (Lindl.)

Pfitzer)

11

Page 57: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

51

ภาพผนวกที่ 1 (ตอ)

12 = กลวยไมรองเทานารีสุขะกูล (Paphiopedilum sukhakulii Schoser &

Senghas)

13 = กลวยไมรองเทานารีคางกบใต (Paphiopedilum callosum var.

thailandense) 14 = กลวยไมรองเทานารีเมืองกาญจน (Paphiopedilum parishii (Rchb.f.)

Stein)

15 = กลวยไมรองเทานารเีหลืองเลย (Paphiopedilum hirsutissimum

(Lindl. ex Hook.) Stein var. esquirolei (Schltr.) Cribb)

12 13

14 15

Page 58: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

52

ภาพผนวกที่ 1 (ตอ)

16 = กลวยไมรองเทานารีคางกบ (Paphiopedilum callosum (Rchb.f.) Stein)

17 = กลวยไมรองเทานารมีวงสงขลา (Paphiopedilum callosum var. sublave)

16 17

Page 59: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส
Page 60: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

54

Page 61: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส
Page 62: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

56

Page 63: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส
Page 64: Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) ในอุทยานแห งชาติภู ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00677/C00677-2.pdf · การแปรผันทางส

58