12
Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่านหินท้งระบบ เสนอโดย ดร. บุญรอด สัจจกุลนุกิจ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การประชุมหารือ Road Map ในการแก้ปัญหาถ่านหินในภาพรวม และการประชาสัมพันธ์เพื่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน 11 กันยายน 2558 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่านหินทั้งระบบ

เสนอโดย

ดร. บุญรอด สัจจกุลนุกิจ

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การประชุมหารือRoad Map ในการแก้ปัญหาถ่านหินในภาพรวม

และการประชาสัมพันธ์เพื่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน

11 กันยายน 2558 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

Page 2: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัย

และพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology)

ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

น าเสนอส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

เสนอโดย

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

29 ตุลาคม 2556

Page 3: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

ประเทศ แนวทางการส่งเสริม

สหภาพยุโรป • ในปี 2020 จะมีการน าเทคโนโลยี CCS มาใช้ได้ในเชิงพาณิชย์• มีมาตรการส่งเสริม Carbon tax และ Emission Trading Scheme (ETS) หรือ Cap and trade

สหรัฐอเมริกา• มีนโยบาย Clean Energy Standard (CES) โดยการผลิตไฟฟ้าของประเทศประมาณ 80% จะต้องมาจาก

พลังงานสะอาดเท่านั้น และโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินจะต้องมีการใช้เทคโนโลยี CCS ด้วย • มีการน ามาตรการ Carbon tax มาใช้ในบางรัฐ เช่น Colorado, California, Maryland เป็นต้น

ญี่ปุ่น• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ตั้งแต่ปี 2020 จะต้องใช้เทคโนโลยี Integrated Gasification Combined Cycle

(IGCC) และจะมีการน าเทคโนโลยี CCS มาใช้ในเชิงพาณิชย์ภายในปี 2030• มีการใช้มาตรการ Carbon tax โดยมีอัตราประมาณ17$/tCO2

อสสเตรเลีย

• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่จะต้องใช้เทคโนโลยีอย่างต่ าเป็น Supercritical และ Ultra Supercritical เท่านั้น • มีการก าหนดประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าใหม่ที่ใช้ถ่านหินบิทูมินัสและลิกไนต์ ไม่ต่ ากว่า42% และ 31%• มีการเริ่มใช้ Carbon tax ในปี 2012 โดยได้ก าหนดอัตราภาษีไว้ประมาณ 24 $/tCO2 มีการปรับขึ้นปีละ

ประมาณ 5% จนกว่าจะมีการเริ่มใช้มาตรการ Emission Trading Scheme ดังเช่นในประเทศในสหภาพยุโรปในปี 2015

แนวทางในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในต่างประเทศ

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 4: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

แนวทางในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในต่างประเทศ

ประเทศ แนวทางการส่งเสริม

จีน

• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั้งหมดหลังจากปี 2006 ที่มีขนาดมากกว่า 600 MW จะต้องเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี Supercritical หรือ Ultra supercritical เท่านั้น

• คาดว่าจะมีการประกาศใช้มาตรการเรียกเก็บภาษีจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ Carbon Tax ในปี 2013

อินเดีย • รัฐใดมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน จะต้องมีสัดส่วนของโรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี Supercritical ประมาณ 50-60% ของก าลังผลิตไฟฟ้าทั้งหมด

อินโดนีเซีย • รัฐบาลของประเทศอินโดนีเซียตั้งเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าถ่านหินให้เป็น Supercritical

มาเลเซีย • โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ที่จะสร้างให้แล้วเสร็จในปี 2015 จ านวน 1,000 MW จะต้องใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดขั้นต่ าคือ Supercritical

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 5: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

ร่างแผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

5

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 6: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย6

1. ก าหนดนโยบาย และการก ากับที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล2. สื่อสารและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องด้านเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด3. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. พัฒนาองค์กร องค์ความรู้ ข้อมูล และบุคลากร5. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

ประเทศไทยมีการพัฒนาใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด มุ่งสู่ Near Zero Emission* และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ของประเทศ ในปี 2576

1. สร้างความยอมรับจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยเฉพาะชุมชน และให้ความรู้ที่ถูกต้องในการด าเนินกิจการถ่านหิน2. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดเพื่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ (รักษาสัดส่วนปริมาณการใช้ถ่าน

หินให้อยู่ระหว่าง 20-25%ของพลังงานข้ันต้น)3. พัฒนาแนวทางงานวิจัยเทคโนโลยีถา่นหินละอาด เพื่อสนับสนุนการใช้ให้มีประสิทธิภาพเฉลี่ยเพิม่ขึ้น ไม่น้อยกว่า

10% ของภาพรวมประสิทธิภาพเฉลี่ยเดมิของประเทศ และลดการปลดปล่อยมลพิษ (CO2, NOx, SOx, Particulate) ลง 10% เทียบจาก BAU

4. มีการประกอบกิจการใช้ถ่านหินอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามก าหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ และตระหนกัถึงผลกระทบที่มีต่อส่ิงแวดล้อม

วิสัยทัศน์ (Vision)

พันธกิจ (Mission)

เป้าประสงค์ (Objective)

*Emission= CO2, NOx, SOx, Particulate

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 7: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

1. สร้างความเข้าใจกับสังคม หรือสร้างโอกาส ความเชื่อมั่นต่อ

สังคม

2. ก ากับกิจการถ่านหินอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส

3. เสริมสร้างแนวทางสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

4. วิจัย พัฒนา เพิ่มการพึ่งพาตนเองและเพิ่มประสิทธิภาพการ

ใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

5. เพิ่มศักยภาพบุคลากร

ในประเทศ

7

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 8: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

ก าหนดองค์กรก ากับดูแลการใช้ถ่านหินตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ าที่ชัดเจน

8

หน่วยงาน

ส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

กรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.)

กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (ชธ.)

ส านักคณะกรรมการก ากับกิจการพลังงาน (กกพ.)

ก ากับ

นโยบาย

การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

-

-

กิจการไฟฟ้า

กระทรวงพลังงาน

ส่งเสริม

-

การใช้ CCT

-

AFOC

-

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 9: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

9

แผนที่น าทางยุทธศาสตร์ (Strategic RoadMap) แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรม

ของประเทศไทย

พ.ศ. 2557-2561 พ.ศ. 2562-2566 พ.ศ. 2567-2576

วิเคราะห์ ติดตาม ความพึงพอใจ แนวคิดของสังคมส ารวจข้อมูลการใช้ถ่านหินและเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

จัดเวทีสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในสังคม (สื่อ, พิพิธภัณฑ์, CSR)จรรยาบรรณผู้ประกอบการ

ระบบ PMQA หน่วยงานก ากับและเครือข่ายถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ (ร่วมมือระหว่างประเทศ) แลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยี กฎหมายและนโยบาย

พัฒนาบุคลากรอย่างมืออาชีพ

1 ก าหนดหน่วยงานรับผิดชอบ2 ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง3 แผนการใช้เทคโนโลยีถ่านหิน สะอาดเชิงลึก4 แผนวิจัยเพ่ิมประสิทธิภาพพลังงานและ

สิ่งแวดล้อม5 ส ารวจและฐานข้อมูล (ธุรกิจถ่านหิน ต้นน้ า-

ปลายน้ า)ภาคอุตสาหกรรม(พลังงาน เศรษฐศาสตร์ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ)

6 ก าหนดมาตรฐานความปลอดภัยและประสิทธิภาพพลังงาน(ต้นน้ าถึงปลายน้ า),code of ethics, CoC, CoP

7 หลักสูตรธุรกิจเทคโนโลยีถ่านหินมืออาชีพ8 ศูนย์ความเป็นเลิศ (วิจัย องค์ความรู้)9 Coal One Stop Service1 0 สานเสวนาประชาชน 1 1 สมาคมธุรกิจถ่านหิน1 2 กองทุนเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด1 3 สร้าง Trust ต่อสังคม1 4 ASEAN/Thailand Energy Awards

1 พัฒนาช่องทาง/โครงสร้าง การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน

2 องค์กรร่วมก ากับโดยชุมชน3 แผนฉุกเฉิน4 แผนการสื่อสารต่อชุมชน5 ระบบ monitor การใช้ถ่านหิน

(สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) ต่อเนิ่อง โดยชุมชน

6 วิเคราะห์การใช้และการขยายตัวเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดเพื่อเพ่ิมศักยภาพการแข่งขัน

7 มาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและสิ่งแวดล้อม (ปรับปรุงคุณภาพการด าเนินงาน&เทคโนโลย)ี

1 ระบบ M&V2 Product champion3 มาตรการสนับสนุนการลงทุนการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด4 มาตรการส่งเสริมการผลิตเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด5 Benchmarking Near Zero Emission และความมั่นคงด้านพลังงาน6 มาตรฐานการประกอบวิชาชีพถ่านหินและเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 10: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

Strategic R&D Roadmap

2556 - 2560 2571- 25762566 - 25702561 - 2565

เทคโนโลยี

องค์กร/กฎหมาย

สังคม

ข้อมูล/ติดตาม

•หน่วยงานก ากับ•ประสานกฎหมายที่มีให้ใช้งานได้

• จัดท าแผนการติดตามการใช้ถ่านหินทุกมิติและระบบ M&V & Indicators•พัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูล

•ศึกษาการสร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน• วิเคราะห์และพัฒนาช่องทางการมีส่วนร่วม•จัดท าคู่มือการเลือกเทคโนโลยีตลอดวงจรชีวิตถ่านหิน

• เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า (CWM, mini PC ,CFB, simulation)•ปรับปรุงหม้อไอน้ าที่มอียู่ (fouling,

slagging, corrosion)• พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือ (storage,

transport, capture emission, cleaning)• ศึกษาความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้

เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาการใช้ประโยชน์จากฝุ่นผงถ่านหินและ

by product

•จัดท ากฎหมายถ่านหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•Benchmarking Near Zero Emission และความมั่นคงด้านพลังงาน•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน สร้างความเขม้แขง็ให้

ชุมชนในการก ากับดูแล

ขยายขนาดและเพิ่มประสิทธิภาพ− เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า

(CWM, mini PC ,CFB, simulation)− ปรับปรุงหม้อไอน้ าที่มีอยู่ (fouling, slagging,

corrosion)− พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือ (storage,

transport, capture emission, cleaning)•ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้

เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาเทคโนโลยี advance CCT, SPC,

USPC

•ทบทวนกฎหมายถา่นหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

•สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน

ขยายขนาดและเพิ่มประสิทธิภาพ−เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า − (CWM, mini PC ,CFB,

simulation)

• ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาเทคโนโลยี IGCC, CCS

•ทบทวนกฎหมายถา่นหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

•สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน

• ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)

นโยบาย/มาตรการ

• ศึกษา Best Available Technology และการลงทุนถ่านหินตลอดวงจรชีวิตถา่นหิน• ศึกษามาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพ

หม้อไอน้ า คุณภาพถ่านหินและเทคโนโลยี emission และสุขภาพ

• ติดตาม Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพ

หม้อไอน้ า คุณภาพถ่านหินและเทคโนโลยี emission และสุขภาพ

• ศึกษา Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุน

• ศึกษา Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุน

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 11: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

สรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

• ประเทศไทยยังมีความจ าเป็นในการพัฒนาใช้ถ่านหิน เพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ

• กระทรวงพลังงานควรพิจารณาหน่วยงานรับผิดชอบ (เจ้าภาพ) ที่ชัดเจน เพื่อก าหนดนโยบาย ทิศทางการส่งเสริม และการก ากับเพื่อให้ธุรกิจถ่านหินพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย รับผิดชอบและเป็นที่ยอมรับจากสังคม

• ควรมีการพัฒนากฎหมายเพื่อก ากับและส่งเสริมการใช้ถ่านหิน

• ควรมีการศึกษารายละเอียดเทคโนโลยีที่เหมาะสมและความคุ้มค่าในการก าหนด Code of practiceCode of conduct ของธุรกิจถ่านหิน (ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) ตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า

• ควรมีกองทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

• ควรมีการศึกษาเพื่อก าหนดมาตรการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในการลงทุนเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด เช่น มาตรการลดหย่อนภาษี มาตรการ Carbon tax เป็นต้น

• ควรมีการพัฒนาและจัดท าฐานข้อมูล ระบบการติดตามในประเทศตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า

11

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Page 12: Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...Road Map การแก ป ญหาในภาพรวมถ านห นท งระบบ

ขอบคุณครับ

Energy Security and Policy Research Group (ESPR)

Email: [email protected]