150
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ โรงเรียนนายรอยตํารวจ

RPCA Policescience Course2556

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสารนี้ เป็นหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (การตำรวจ) ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ.2556 (จำนวน 150หน้า)

Citation preview

Page 1: RPCA Policescience Course2556

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาการตํารวจ

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

Page 2: RPCA Policescience Course2556

สารบัญ

หมวด หนา

หมวดที่ ๑ ขอมูลทั่วไป ......................................................................................................... ๑

หมวดที่ ๒ ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร ................................................................................... ๗

หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร ................... ๙

หมวดที่ ๔ ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล .......................................... ๕๓

หมวดที่ ๕ หลักเกณฑในการประเมินผลนักเรียน .............................................................. ๗๑

หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย ....................................................................................... ๗๖

หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพหลักสูตร ........................................................................... ๗๗

หมวดที่ ๘ การประเมินและปรบัปรุงการดําเนินการของหลักสูตร ..................................... ๘๓

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ ..................................................................... ๘๕

วาดวยคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ

พ.ศ. ๒๕๕๓

ภาคผนวก ข ประวัติและผลงานอาจารยประจําหลักสูตร ...................................................... ๘๙

ภาคผนวก ค ตารางเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระหวางหลักสูตรเดิม ................................ ๙๗

กับหลักสูตรปรบัปรุง

ภาคผนวก ง ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ .................................................................. ๑๔๙

วาดวยระเบียบและหลักสูตรการศึกษาอบรมนักเรียนนายรอยตํารวจ

พ.ศ. ๒๕๕๒

Page 3: RPCA Policescience Course2556

รายละเอียดของหลกัสูตร

หลักสตูร รัฐประศาสนศาสตรบณัฑติ สาขาวิชาการตํารวจ

หลักสตูรปรบัปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา โรงเรียนนายรอยตํารวจ

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ไมม ี

หมวดท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป

๑. รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Administration Program in Police Science

๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ช่ือเต็ม (ไทย)

ช่ือยอ (ไทย)

ช่ือเต็ม (อังกฤษ)

ช่ือยอ (อังกฤษ)

: รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (การตํารวจ)

: รป.บ. (การตํารวจ)

: Bachelor of Public Administration (Police Science)

: B.P.A. (Police Science)

๓. วิชาเอก (ถามี)

การตํารวจ

๔. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร

ไมนอยกวา ๑๖๘ หนวยกิต

๕. รูปแบบของหลักสูตร

๕.๑ รูปแบบ

เปนหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ ป ตามเกณฑมาตรฐานหลกัสตูรอดุมศึกษา

แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒

Page 4: RPCA Policescience Course2556

๕.๒ ภาษาท่ีใช

จัดการเรียนการสอนเปนภาษาไทย

๕.๓ การรับเขาศึกษา

รับนักเรียนไทย และนักเรียนตางชาติทีส่ามารถใชภาษาไทยไดดี

๕.๔ ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน

เปนหลักสูตรเฉพาะของโรงเรียนนายรอยตํารวจ

๕.๕ การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา

ใหปรญิญาสาขาวิชาเดียว

๖. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

๖.๑ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๖ ปรับปรุงจากหลักสูตร นักเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.

๒๕๔๙ เปดสอนปการศึกษา ๒๕๕๖

๖.๒ ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ ในการประชุม ครัง้ที ่๑/๒๕๕๖

เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๖

๖.๓ ไดรับอนุมัติจากสภาการศึกษาโรงเรียนนายรอยตํารวจ ในการประชุม ครัง้ที ่๔/๒๕๕๖

เมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๖

๗. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดม

ศึกษาแหงชาติ ในปการศึกษา ๒๕๕๘

๘. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา

๘.๑ ตํารวจหรือเจาหนาที่ของรัฐ

๘.๒ เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน

๘.๓ นักวิชาการศึกษา นักวิจัย

๘.๔ อาจารยประจําในสถาบันอุดมศึกษา

๘.๕ บุคลากรทางการศึกษา

๘.๖ นักการเมืองระดับทองถ่ินและระดับชาติ

๘.๗ อาชีพอิสระ

Page 5: RPCA Policescience Course2556

๙. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร

ลําดับ ช่ือ – สกุล

หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน

ตําแหนง

ทางวิชาการ คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบัน ป

พ.ต.อ.โสรัตน กลับวิลา

๓-๘๔๐๑-๐๐๒๒๙-๓๐-๙

รอง

ศาสตราจารย

สค.ม

น.บ.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๒

๒๕๔๒

๒๕๓๓

พ.ต.อ.หญิง ธนพร

วุฒิกรวิภาค

๓-๑๐๒๒-๐๑๔๓๐-๖๘-๗

ผูชวย

ศาสตราจารย

น.ม.

น.บ.ท.

น.บ.

กฎหมายอาญา

เนติบัณฑิตไทย

กฎหมาย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เนติบัณฑิตยสภา

ม. รามคําแหง

๒๕๔๖

๒๕๓๕

๒๕๒๗

พ.ต.อ.ภูวดล แสนพินิจ

๓-๓๓๐๙-๐๐๐๓๓-๓๐-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

รป.ม.

น.บ.ท.

น.บ.

นโยบายตางประเทศ

เนติบัณฑิตไทย

กฎหมาย

ม.นานาชาติแสตมฟอรด

เนติบัณฑิตยสภา

ม. คณาสวัสดิ์ราชบัณฑิต

๒๕๕๓

๒๕๒๘

๒๕๒๖

พ.ต.อ.สหพัฒน หอมจันทร

๓-๓๐๑๖-๐๐๐๐๖-๘๓-๕

ผูชวย

ศาสตราจารย

ศศ.ม.

น.ม.

น.บ.

รป.บ.

รัฐศาสตร

กฎหมายมหาชน

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

ม. รามคําแหง

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

ม. รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๕

๒๕๕๕

๒๕๔๘

๒๕๓๗

พ.ต.อ.จรัส ธรรมธนารักษ

๓-๗๕๙๙-๐๐๐๘๐-๐๓-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

น.ม.

ศศ.ม.

น.บ.

รป.บ.

กฎหมายอาญา

บริหารรัฐกิจ

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ม. เกษตรศาสตร

ม. รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๕๐

๒๕๔๒

๒๕๔๖

๒๕๓๕

พ.ต.อ.หญิงจิราพร พวงอินทร

๓-๗๓๐๖-๐๐๖๗๓-๗๑-๓

ผูชวย

ศาสตราจารย

รป.ม.

ศศ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

รัฐศาสตร

ม. เกษมบัณฑิต

ม. รามคําแหง

๒๕๔๖

๒๕๓๙

พ.ต.ท.ปพัฒน วสุธวัช

๕-๗๓๐๖-๙๐๐๐๑-๙๖-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

ศศ.ม.

น.ม.

น.บ.

รป.บ.

รัฐศาสตร

กฎหมายอาญา

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

ม. รามคําแหง

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๕

๒๕๕๖

๒๕๕๒

๒๕๓๒

พ.ต.อ.สุวิทย แกวกัลยา

๓-๗๓๐๖-๐๐๗๒๕-๐๘-๐

อาจารย

ศศ.ม.

รป.บ.

รัฐศาสตร

รัฐประศาสนศาสตร

ม.รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๓

๒๕๒๖

Page 6: RPCA Policescience Course2556

๑๐. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน

โรงเรียนนายรอยตํารวจ ๙๐ หมู ๗ ตําบลสามพราน อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

๑๑. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผน

หลักสูตร

๑๑.๑ สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

กระแสโลกาภิวัตนปจจุบัน เนนการแขงขันรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะอยางย่ิง

การพัฒนาทางดานวัตถุนิยม สงผลใหบรรดานานาอารยประเทศมีการแขงขันกันสูง ละเลยการ

พัฒนาและสงเสริมคุณคาทางจิตใจ ประกอบกับ แนวโนมการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจ

อาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘ อันเปนความรวมมือของอาเซียนดานการเมืองและความมั่นคงดาน

เศรษฐกิจและดานสังคมและวัฒนธรรม ประเทศไทยอันเปนสวนหน่ึงของประชาคมโลกและ

อาเซียน ยอมสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ไมวาจะเปน แนวโนมการไหลเวียนสินคา

การลงทุนและแรงงานอยางเสรี ทําใหสภาพอาชญากรรมตางๆมีความหลากหลาย สลับซับซอน

และรุนแรงเพิ่มมากข้ึน เชน ยาเสพติด การเคลื่อนยายแรงงานขามชาติ การลักลอบเขาเมือง

การคามนุษยขามชาติ การลักลอบขนอาวุธ การฟอกเงิน การกอการราย อาชญากรรมทาง

เศรษฐกิจระหวางประเทศ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ปญหาดานสาธารณสุขที่อาจเกิดจาก

การเคลื่อนยายแรงงานและนักทองเที่ยวโดยเสรี ฯลฯ

๑๑.๒ สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

เจตนารมณพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒)

พ.ศ.๒๕๔๕ มุงเนนใหการจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้ง

รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม โดยถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด แผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคม

แหงการเรียนรูตลอดชีวิต มุงเนนการจัดทํากรอบคุณวุฒิแหงชาติเช่ือมโยงระหวางคุณวุฒิทาง

การศึกษาตามระบบการเรียนรูกับคุณวุฒิวิชาชีพ เพื่อใหมีสมรรถนะและมีเสนทางความกาวหนา

ในวิชาชีพที่ชัดเจน ยุทธศาสตรสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๖๔ มุงเนนความเปน

ตํารวจมืออาชีพ เพื่อความผาสุกของประชาชน โดยใหขาราชการตํารวจมีสมรรถนะสูงในการ

ปฏิบัติหนาที่ ที่สําคัญคือประเทศไทยกําลังเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.

๒๕๕๘ และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดทํายุทธศาสตร

Page 7: RPCA Policescience Course2556

อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพรอมสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘

โดยเฉพาะอยางย่ิงการพัฒนาความเขมแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน มุงเนนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนใหมีคุณภาพระดับสากล

ยุทธศาสตรการศึกษาสํานักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๙ ใหความสําคัญตอการพัฒนา

หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนใหมีมาตรฐาน ทันสมัยและเหมาะสม เพื่อพัฒนาขาราชการ

ตํารวจใหเปนผูที่มีสมรรถนะทางความรู ทักษะ คุณลักษณะที่เหมาะสม ยึดหลัก คุณธรรม

จริยธรรม และจรรยาบรรณความเปนวิชาชีพตํารวจอยางแทจริง ในเวลาตอมา สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดดําเนินการจัดทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของ

ประเทศไทย (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF:HEd) มุงเนน

เปาหมายการจัดการศึกษาที่ผลการเรียนรู (Learning Outcomes) ของนักศึกษา เพื่อเปนการ

ประกนัคุณภาพบัณฑิตที่ไดรับคุณวุฒิแตละคุณวุฒิที่เปนระบบและชัดเจน และที่สําคัญคือเจตนารมณ

พระราชบัญญัติโรงเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑ มุงเนนเสริมสรางความเปนสถาบันการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาเฉพาะทางดานวิชาการและวิชาชีพตํารวจช้ันสูง โดยเนนทักษะความเช่ียวชาญ

ดานการบังคับใชกฎหมายและวิชาชีพตํารวจเปนสําคัญ

๑๒. ผลกระทบจากขอ ๑๑.๑ และ ๑๑.๒ ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับ

พันธกิจของสถาบัน

๑๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร

มุงเนนการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ วิชาชีพตํารวจและการบังคับใชกฎหมาย

ตองมีความรอบรูทั้งในเชิงวิชาการระดับอุดมศึกษาทั่วไป วิชาการตํารวจและวิชาชีพตํารวจ

มีอุดมการณของความเปนตํารวจวิชาชีพที่ดี สามารถปฏิบัติหนาที่อยูบนศีลธรรม จริยธรรม

จรรยาบรรณที่ดี บนพื้นฐานสําคัญของความศรัทธาและความไววางใจจากประชาชน มีความเปน

ผูนํา และสามารถบริหารองคกรไดอยางมืออาชีพ รวมตลอดจนเปนตํารวจมืออาชีพในอนาคต

เพื่อสอดรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘

๑๒.๒ ความเก่ียวของกับพันธกิจของสถาบัน

จากสภาพอาชญากรรมที่มีแนวโนมหลากหลาย สลับซับซอนและรุนแรงเพิ่มมาก

ย่ิงข้ึน รวมทั้ง การเตรียมความพรอมรองรับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเขาสูประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ.๒๕๕๘ โรงเรียนนายรอยตํารวจถือไดวาเปนพันธกิจสําคัญตอ

Page 8: RPCA Policescience Course2556

การขับเคลื่อนการพัฒนาและจัดการศึกษาสงเสริม วิชาการและวิชาชีพช้ันสูง ทําการสอน การวิจัย

การฝกอบรม และใหบริการทางวิชาการแกสังคม เพื่อใหสามารถผลิตนายตํารวจระดับช้ันสัญญา

บัตรออกไปปฏิบัติหนาที่ โดยต้ังมั่นบนศีลธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณที่ดี ไดรับความศรัทธาและ

ความไววางใจจากประชาชน มีความเปนผูนําและสามารถบริหารองคกรไดอยางมืออาชีพ

รวมตลอดจนเปนตํารวจมืออาชีพในอนาคต เพื่อสอดรับการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป

พ.ศ.๒๕๕๘

๑๓. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน (เชน

รายวิชาท่ีเปดสอนเพ่ือใหบริการ คณะ/ภาควิชาอ่ืน หรือตองเรียนจากคณะ/ภาควิชาอ่ืน)

๑๓.๑ กลุมวิชา/รายวิชาในหลกัสูตรน้ีที่เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น

ไมม ี

๑๓.๒ กลุมวิชา/รายวิชาในหลกัสูตรที่เปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอื่นตองมาเรียน

ไมม ี

๑๓.๓ การบริหารการจัดการ

ไมม ี

Page 9: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๒ ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

๑. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

๑.๑ ปรัชญาและความสาํคัญของหลักสูตร

ปรัชญา

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ เปนหลักสูตรทางดาน

วิชาชีพตํารวจ ที่เนนทักษะความเช่ียวชาญดานการตํารวจและการบังคับใชกฎหมาย

ความสําคัญ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ เปนหลักสูตรของโรงเรียน

นายรอยตํารวจทีม่ีหนาที่หลักในการจัดการศึกษาอบรมและดําเนินการฝกนักเรียนนายรอยตํารวจ

ใหเปนผูมีความรูความสามารถในวิชาการตํารวจ และการบริหารงานตํารวจอยางแทจริง มีความรู

ความเขาใจในดานกฎหมายสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจอยางลึกซึ้ง และมีความรอบรูในแขนง

วิชาการข้ันอุดมศึกษาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อการพัฒนาชีวิต และเอื้อตอการนําไปประกอบวิชาชีพ

ตํารวจ รวมทั้งการหลอหลอมใหมีคุณลักษณะทางกาย และคุณธรรมประจําใจ เปนผูที่มีสุขภาพ

พลานามัยสมบูรณทางดานรางกาย จิตใจและอารมณ มีบุคลิกภาพที่สอดคลองกับสังคมและ

วัฒนธรรมอันดีงามของไทย มีความกลาหาญ อดทน เช่ือมั่นในตนเอง มีวิจารณญาณในการ

ตัดสินใจที่ถูกตอง ยึดถือหลักศีลธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพตํารวจเปนแนวทางในการ

ประพฤติตนและปฏิบัติงาน สืบทอดแบบธรรมเนียมของตํารวจ ดวยความสํานึกในเกียรติวินัย

และความรับผิดชอบตอหนาที่ มีความซื่อสัตยสุจริต พรอมที่จะเสียสละเพื่อประโยชนของ

สวนรวมและยึดมั่นในการรักษากฎหมายและความสงบเรียบรอยของสังคม ดวยความเสมอภาค

และเปนธรรม

๑.๒ วัตถุประสงค

เพื่อผลิตบุคลากรในวิชาชีพตํารวจตามความตองการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ

ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และมคุีณลักษณะดังตอไปน้ี

๑.๒.๑ มีความรูความสามารถในดานวิชาการสืบสวน การสอบสวน การปองกันและ

ปราบปราม การจราจร การอํานวยการ การบังคับใชกฎหมาย และวิชาชีพตํารวจดานอื่น สําหรับ

การปฏิบัติงานในตําแหนงรองสารวัตรหรือเทียบเทา

Page 10: RPCA Policescience Course2556

๑.๒.๒ มีจิตใจ อุปนิสัย บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสมกับการเปนนายตํารวจ

ช้ันสัญญาบัตร ที่เพียบพรอมไปดวยคุณธรรม ความซื่อสัตย สุจริต ความเสียสละ ความสํานึกใน

หนาที่และการบริการประชาชน เปนที่ศรัทธาและเช่ือถือของประชาชน

๑.๒.๓ มีความรู ความคิด ความประพฤติและระเบียบวินัยเหมาะสมกับการเปน

นายตํารวจช้ันสัญญาบัตร

๑.๒.๔ มีความรูความสามารถในการวิเคราะหแกไขปญหาอยางมีระบบ และเปน

ผูนําหนวยไดอยางมีประสิทธิภาพ

๒. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

๑. มีการประเมินผลการจัด

การเรียนการสอนทุกราย

วิชา ทุกภาคการศึกษา

และนําผลการประเมินมา

ใชในการปรับปรุงและ

พัฒนาการจัดการเรียน

การสอน

๑. จัดอาจารยผู รับผิดชอบ

หลักสูตรดูแลและติดตาม

ผลการจัดการเรียนการ

สอนของคณาจารย

๒. สํารวจความคิดเห็นของ

นักเรียน บัณฑิตและผูใช

บัณฑิต

๓. ติดตามประเมินผลหลักสูตร

อยางตอเน่ือง

๑. รายงานผลการประเมิน

หลักสูตร

๒. ผลการเสนอความคิดเห็น

ของบัณฑิตและผูใชบัณฑิต

๓. ผลการประเมินหลักสูตร

๒. ปรับปรุงหลักสูตรตาม

เกณฑมาตรฐานของ สกอ.

และมาตรฐานวิชาชีพ

๑. ติดตามการปรับปรุงหลักสูตร

อยางสม่ําเสมอ

๒. ประชุม/สัมมนาผูรับผิดชอบ

หลักสูตรและอาจารยประจาํ

หลักสูตร

๓. ติดตามความคาดหวังของ

สังคมตอบัณฑิต

๑. รายงานการประเมินหลักสูตร

เอกสารการปรับปรุงหลักสูตร

๒. ผลสรุปและผลการประเมิน

การประชุมสัมมนาอาจารย

ผูรับผิดชอบและอาจารย

ประจําหลักสูตร

๓. ผลการประเมินความพึงพอใจ

จากผูใชบัณฑิต 0

Page 11: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

๑. ระบบการจัดการศึกษา

๑.๑ ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร

การจัดการศึกษาใชระบบทวิภาค โดย ๑ ปการศึกษา แบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษา

ปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห

๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

ไมมีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูรอน

๑.๓ การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

ไมม ี

๒. การดําเนินการหลักสูตร

๒.๑ วัน - เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือนเมษายน – กันยายน

ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือนตุลาคม – มีนาคม

สําหรับภาคการศึกษาที่ ๒ ของช้ันปที่ ๔ ใหเปนไปตามที่โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

๒.๒ คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

สําเร็จมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา และเปนไปตามขอบังคับโรงเรียนนายรอย

ตํารวจวาดวยระเบียบและหลักสูตรการศึกษาอบรมนักเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๒

(ภาคผนวก ง)

๒.๓ ปญหาของนักเรียนแรกเขา

- การปรับตัวเขาเรียนในโรงเรียนนายรอยตํารวจ

- การลาออกหลังจากมีปญหาการปรับตัว

- ความรูความสามารถไมเทากัน

๒.๔ กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักเรียนในขอ ๒.๓

- การใหผูสอบไดลําดับตอไปเขามาเรียนแทนภายในกําหนด

- สอนเสริมวิชาพื้นฐานนอกเวลา

- จัดกิจกรรมกลุม

Page 12: RPCA Policescience Course2556

๑๐

๒.๕ แผนการรับนักเรียนและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ ๕ ป ภาคปกติ ปละ ๓๐๐ คน

ระดับชั้นป จํานวนนักเรียนในแตละปการศึกษา

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

ช้ันปที่ ๑ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐

ช้ันปที่ ๒ - ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐

ช้ันปที่ ๓ - - ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐

ช้ันปที่ ๔ - - - ๓๐๐ ๓๐๐

รวมจํานวนนักเรียน ๓๐๐ ๖๐๐ ๙๐๐ ๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐

จํานวนท่ีคาดวาจะสาํเร็จการศึกษา - - - ๓๐๐ ๓๐๐

๒.๖ งบประมาณตามแผน

ความตองการงบประมาณสําหรับหลักสูตรเปนไปตามงบประมาณรายจายประจําป

ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ

๒.๗ ระบบการศึกษา

ระบบการศึกษาเปนแบบช้ันเรียน

๒.๘ การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนขามสถาบันอุดมศึกษา

ไมม ี

Page 13: RPCA Policescience Course2556

๑๑

๓. หลักสูตรและอาจารยผูสอน

๓.๑ หลักสูตร

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ ใชระยะเวลาในการสําเร็จ

การศึกษา ๔ ป

๓.๑.๑ จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๑๖๘ หนวยกิต

๓.๑.๒ โครงสรางหลักสูตร

ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ๓๐ หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตร ๑๑ หนวยกิต

กลุมวิชาภาษา ๑๑ หนวยกิต

กลุมวิชามนุษยศาสตร ๔ หนวยกิต

กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร ๔ หนวยกิต

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๓๒ หนวยกิต

วิชาบังคับ ๑๒๙ หนวยกิต

กลุมวิชาการบรหิาร ๑๐ หนวยกิต

กลุมวิชากฎหมาย ๔๐ หนวยกิต

กลุมวิชาการสืบสวนสอบสวน ๓๖ หนวยกิต

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม ๒๒ หนวยกิต

กลุมวิชาการจราจร ๓ หนวยกิต

กลุมวิชาการฝก ๑๘ หนวยกิต

วิชาเลือก ไมนอยกวา ๓ หนวยกิต

ค. หมวดวิชาเลือกเสร ี ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต

๓.๑.๓ รายวิชาในหลักสูตร

ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ๓๐ หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตร ๙ หนวยกิต

๒๑๑๑๐๑ การเปนพลเมอืง

Citizenship

๒(๒-๐-๔)

๒๑๑๑๐๒ เศรษฐกจิกับวิถีชีวิต

Economy and Living

๒(๒-๐-๔)

Page 14: RPCA Policescience Course2556

๑๒

๒๑๑๑๐๓ จิตวิทยาทั่วไป

General Psychology

๒(๒-๐-๔)

๒๑๒๑๐๔ สังคมวิทยา

Sociology

๒(๒-๐-๔)

๒๒๑๑๐๕ อาเซียนศึกษา

Asean Education

๑(๑-๐-๒)

กลุมวิชาภาษา

๑๑

หนวยกิต

๒๑๑๑๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๑

English Usage1

๓(๒-๒-๔)

๒๑๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๒

English Usage2

๓(๒-๒-๔)

๒๑๒๑๐๘ การใชภาษาไทย

Thai Usage1

๓(๓-๐-๐)

๒๔๑๑๐๙ ภาษาอังกฤษสําหรบัตํารวจเพื่อการสื่อสาร

English for Communication

๒(๑-๒-๒)

กลุมวิชามนุษยศาสตร ๔

หนวยกิต

๒๔๑๑๑๐ มนุษยสัมพันธและจิตวิทยาสําหรับตํารวจ

Human Relation and Psychology for Police Officers

๒(๒-๐-๐)

๒๑๑๑๑๑ จริยธรรมตํารวจ

Police Ethics

๒(๒-๐-๔)

กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร ๖

หนวยกิต

๒๑๒๑๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology

๒(๑-๒-๒)

๒๓๒๑๑๓ ระเบียบวิธีวิจัย

Research Methodology

๒(๒-๐-๔)

๒๔๑๑๑๔ คณิตศาสตรและสถิติ

Mathematics and Statistics

๒(๑-๒-๒)

Page 15: RPCA Policescience Course2556

๑๓

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๓๒ หนวยกิต

วิชาบังคับ ๑๒๙ หนวยกิต

กลุมวิชาการบริหาร ๑๐ หนวยกิต

๑๑๒๒๐๑ หลักรัฐประศาสนศาสตร

Principle of Public Administration

๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๐๒ หลักการบรหิารงานตํารวจ

Principle of Police Administration

๒(๒-๐-๐)

๑๓๒๒๐๓ การบริหารงานสถานีตํารวจ

Police station Administration

๒(๒-๐-๔)

๑๔๑๒๐๔ การบรหิารงานตํารวจยุคใหม

Modern Police Administration

๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๐๕ การอํานวยการตํารวจ

Police General Staff Affair

๒(๒-๐-๔)

กลุมวิชากฎหมาย ๔๐ หนวยกิต

๑๑๑๒๐๖ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

Introduction to Law

๒(๒-๐-๐)

๑๑๑๒๐๗ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลอืกต้ัง

Constitutional Law and Election Law

๒(๒-๐-๐)

๑๑๑๒๐๘ กฎหมายอาญา ๑

Criminal Law 1

๓(๓-๐-๖)

๑๑๒๒๐๙ กฎหมายอาญา ๒

Criminal Law 2

๓(๓-๐-๖)

๑๒๑๒๑๐ กฎหมายอาญา ๓

Criminal Law 3

๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๑๑ กฎหมายอาญา ๔

Criminal Law 4

๓(๓-๐-๖)

๑๑๒๒๑๒ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑

Civil and commercial Law 1

๒(๒-๐-๔)

Page 16: RPCA Policescience Course2556

๑๔

๑๒๑๒๑๓ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒

Civil and commercial Law 2

๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๑๔ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓

Civil and commercial Law 3

๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๑๕ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑

Criminal Procedure Law 1

๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๑๖ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒

Criminal Procedure Law 2

๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๑๗ กฎหมายลกัษณะพยาน

Evidentiary Law

๓(๓-๐-๖)

๑๓๒๒๑๘ กฎหมายปกครอง

Administrative Law

๓(๓-๐-๖)

๑๒๑๒๑๙

กฎหมายตํารวจแหงชาติ

National Police Laws

๒(๒-๐-๔)

๑๔๒๒๒๐

สิทธิมนุษยชน

Human Rights

๒(๒-๐-๔)

กลุมวิชาการสืบสวนสอบสวน ๓๖ หนวยกิต

๓๓๑๒๒๑ การตรวจสถานทีเ่กิดเหตุ

Crime Scene Investigation

๓(๓-๐-๖)

๓๓๒๒๒๒ การพสิูจนหลกัฐาน Criminalistics

๓(๓-๐-๖)

๓๔๑๒๒๓ การทะเบียนประวัติอาชญากร Criminal Record

๓(๓-๐-๖)

๓๔๒๒๒๔ นิติเวชศาสตร Forensic Medicine

๓(๓-๐-๖)

๓๓๒๒๒๕ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร Cyber Crime

๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๒๖ การสอบสวน ๑ Interrogation 1

๓(๒-๒-๔)

Page 17: RPCA Policescience Course2556

๑๕

๑๓๑๒๒๗ การสอบสวน ๒

Interrogation 2

๓(๒-๒-๔)

๑๓๒๒๒๘ การสอบสวน ๓

Interrogation 3

๓(๒-๒-๔)

๑๔๑๒๒๙ การสอบสวน ๔

Interrogation 4

๓(๒-๒-๔)

๑๔๒๒๓๐ การสอบสวน ๕

Interrogation 5

๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๓๑ การสบืสวน ๑

Criminal Investigation 1

๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๓๒ การสบืสวน ๒

Criminal Investigation 2

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม ๒๒

หนวยกิต

๑๑๒๒๓๓ การปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว

Practice toward Youth and Family

๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๓๔ หลักอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม

Criminology and Criminal Justice

๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๓๕ ปญหาอาชญากรรมและการควบคุมแหลงอบายมุข

Crime Problems and Vice Control

๒(๒-๐-๔)

๑๒๑๒๓๖ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย

Public Disaster Prevention and Relief

๒(๒-๐-๔)

๑๒๒๒๓๗ ยุทธวิธีตํารวจ ๑

Police Tactics 1

๒(๒-๐-๔)

๑๓๑๒๓๘ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑

Prevention and Suppression of Crime 1

๒(๒-๐-๔)

๑๓๒๒๓๙ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๒

Prevention and Suppression of Crime 2

๒(๒-๐-๔)

Page 18: RPCA Policescience Course2556

๑๖

๑๒๒๒๔๐ การรกัษาความปลอดภัย

Security

๒(๒-๐-๔)

๑๔๑๒๔๑ การตํารวจชุมชนและการมีสวนรวมของประชาชน

Community Policing and the Participation of

the People

๒(๒-๐-๔)

๑๔๒๒๔๒ อาชญากรรมขามชาติกับการขาวและสถานการณโลกปจจุบัน

Transnational Crime Intelligence and

Contemporary Global Situation

๒(๒-๐-๔)

๑๔๒๒๔๓ การตอตานการกอการรายสากลและการจัดการภายใต

สภาวะวิกฤต

The Anti International Terrorism and Role of

Police in Managing a Crisis

๒(๒-๐-๔)

กลุมวิชาการจราจร ๓

หนวยกิต

๑๒๒๒๔๔ การจราจร

Traffic Management

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชาการฝก ๑๘

หนวยกิต

กลุมการฝกตํารวจ ๑๒ หนวยกิต

๔๑๑๒๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑

Police Training 1

๑(๐-๒-๐)

๔๒๑๒๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒

Police Training 2

๑(๐-๒-๐)

๔๓๑๒๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓

Police Training 3

๑(๐-๒-๐)

๔๔๑๒๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔

Police Training 4

๑(๐-๒-๐)

๔๑๒๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑

Police Tactic Training 1

๑(๐-๒-๐)

Page 19: RPCA Policescience Course2556

๑๗

๔๒๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒

Police Tactic Training 2

๑(๐-๒-๐)

๔๓๒๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓

Police Tactic Training 3

๑(๐-๒-๐)

๔๔๑๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔

Police Tactic Training 4

๑(๐-๒-๐)

๔๑๒๒๐๙ การยิงปน ๑

Shooting 1

๑(๐-๒-๐)

๔๒๒๒๑๐ การยิงปน ๒

Shooting 2

๑(๐-๒-๐)

๔๓๒๒๑๑ การยิงปน ๓

Shooting 3

๑(๐-๒-๐)

๔๔๑๒๑๒ การยิงปน ๔

Shooting 4

๑(๐-๒-๐)

กลุมการฝกพลศึกษา ๖

หนวยกิต

๔๑๑๒๑๓ วิทยาศาสตรการกีฬา

Physical Education and Sport Science

๑(๐-๒-๐)

๔๑๒๒๑๔ วายนํ้า

Swimming

๑(๐-๒-๐)

๔๒๑๒๑๕ ยูโด

Judo

๑(๐-๒-๐)

๔๒๒๒๑๖ มวยไทย

Muay Thai

๑(๐-๒-๐)

๔๓๑๒๑๗ การตอสูปองกันตัว

Self Defense

๑(๐-๒-๐)

๔๓๒๒๑๘ ศิลปะการปองกันตัว

Martial Arts

๑(๐-๒-๐)

Page 20: RPCA Policescience Course2556

๑๘

วิชาเลือก ๓ หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตร ๓ หนวยกิต

๒๔๐๓๐๑ การเมืองการปกครองไทย

Thai Politics and Government

๓(๓-๐-๐)

กลุมวิชาภาษา

หนวยกิต

๒๔๐๓๐๒ ภาษาไทยกับการเขียนสํานวนสอบสวน

Investigation Report Writing

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชาการบริหาร

๑๕

หนวยกิต

๑๔๐๓๐๓ องคการตํารวจเปรียบเทียบ

Comparative Police Organization

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๐๔ สัมมนาการบรหิารงานตํารวจ

Seminar in Police Administration

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๐๕

การบริหารทรัพยากรมนุษย

Human Resource Management

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๐๖ การบริหารงบประมาณและพัสดุ

Budgeting and Material Management

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๐๗ นโยบายสาธารณะ

Public Policy

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชากฎหมาย

๓๐

หนวยกิต

๑๔๐๓๐๘ กฎหมายระหวางประเทศ

International Law

๓(๓-๐-๐)

๑๔๐๓๐๙ สัมมนาในวิชากฎหมายอาญา

Seminar in Criminal law

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๑๐ สัมมนาในวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

Seminar in Criminal Procedure Law

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๑๑ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง

Civil Procedure Law

๓(๓-๐-๖)

Page 21: RPCA Policescience Course2556

๑๙

๑๔๐๓๑๒ กฎหมายคุมครองผูบรโิภค

Consumer Law

๓(๓-๐-๐)

๑๔๐๓๑๓ กฎหมายแพง : นิติกรรมสัญญา

Juristic Act and Contract Law

๓(๓-๐-๐)

๑๔๐๓๑๔ กฎหมายทรัพยสินทางปญญา

Intellectual Property Law

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๑๕ พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา

Criminal Penalty Law

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชาการสืบสวนสอบสวน ๙ หนวยกิต

๑๔๐๓๑๖

สัมมนาการสืบสวน

Seminar in Criminal Investigation

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๑๗

สัมมนาการสอบสวน

Seminar in Interrogation

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๑๘ วิทยาการตํารวจกาวหนา

Advanced Forensic Science

๓(๓-๐-๖)

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม ๑๕ หนวยกิต

๑๔๐๓๑๙ วิชาการทหาร

Military

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๒๐ ยุทธวิธีตํารวจ ๒

Police Tactics 2

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๒๑ การปองกันและปราบปรามยาเสพติด

Narcotics Prevention and Suppression

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๒๒ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ

Economic Crime

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๒๓ การปองกันและปราบปรามการคามนุษยสําหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติ Human Trafficking Suppression for Frontline Law Enforcement Officials

๓(๓-๐-๖)

Page 22: RPCA Policescience Course2556

๒๐

กลุมวิชาการจราจร ๖ หนวยกิต

๑๔๐๓๒๔ อุบัติเหตุจราจร Traffic Accident Management

๓(๓-๐-๖)

๑๔๐๓๒๕ การบงัคับใชกฎหมายจราจร

Traffic Law Enforcement

๓(๓-๐-๖)

ค. หมวดวิชาเลือกเสร ี ๖ หนวยกิต

กําหนดใหเลือกเรียนรายวิชาที่เปดสอนในโรงเรียนนายรอยตํารวจโดยความเห็นชอบ

ของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร ซึ่งไมซ้ํากับรายวิชาที่เรียนมาแลว

ง. การฝกหลักสูตรพิเศษโดยไมนับหนวยกิต ประกอบดวย หมวดหลักสูตรบังคับ

๖ หลักสูตร และหมวดหลักสูตรเลือก ๑ หลักสูตร รวม ๗ หลักสูตร ดังน้ี

หมวดหลักสูตรบังคับ

(๑) หลักสูตรการตอตานปราบปรามการกอความไมสงบ

(๒) หลักสูตรนักเรียนนายรอยตํารวจฝกรับใชประชาชนในชนบท

(๓) หลักสูตรการฝกหัดปฏิบัติงานตํารวจ

(๔) หลักสูตรการฝกหัดงานสอบสวน

(๕) หลักสูตรการเสริมสรางประสบการณวิชาชีพ

(๖) หลักสูตรนักเรียนนายรอยตํารวจสัมผัสปญหาชุมชนหรือหลักสูตรอื่นๆ ที่

โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

หมวดหลักสูตรเลือก

(๑) หลักสูตรการโดดรม หรือ

(๒) หลักสูตรพิเศษอื่นๆ ที่โรงเรียนนายรอยตํารวจ กําหนด

จ. ภาคกิจกรรมเสริมหลักสูตร

(๑) การบรรยายพิเศษ

(๒) การบริหารและการกีฬา

(๓) การทดสอบสมรรถภาพทางรางกาย

(๔) การฝกหัดพิมพดีด

(๕) การฝกหัดขับรถยนตและรถจักรยานยนต

(๖) การฝกตรวจทองที่

Page 23: RPCA Policescience Course2556

๒๑

(๗) การฝกหัดเปนผูชวยนายตํารวจฝายปกครอง (๘) การฝกอบรมแบบธรรมเนียมตํารวจ (๙) การฝกอบรมพัฒนาจิตใจและปรับพื้นฐาน (๑๐) การฝกหัดพัฒนาสังคม (๑๑) การฝกอบรมพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทสังคม (๑๒) องคกรของนักเรียนนายรอยตํารวจ (๑๓) การเสริมสรางจิตสํานึกเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม

(๑๔) การสงเสริมการอานหนังสือนอกเวลา

ความหมายของรหัสวิชา

เลขรหัสประจํารายวิชา ประกอบดวย ตัวอักษรและเลขหลัก มีความหมายดังน้ี

เลขรหัสหลักแรก หมายถึง คณะหรือหนวยงานท่ีรับผิดชอบ

เลข ๑

เลข ๒

เลข ๓

เลข ๔

หมายถึง

หมายถึง

หมายถึง

หมายถึง

คณะตํารวจศาสตร

คณะสังคมศาสตร

คณะนิติวิทยาศาสตร

ศูนยฝกตํารวจ

เลขรหัสหลักสอง หมายถึง ชั้นปท่ีเปดสอน

เลข ๑ หมายถึง ช้ันปที่ ๑

เลข ๒ หมายถึง ช้ันปที่ ๒

เลข ๓ หมายถึง ช้ันปที่ ๓

เลข ๔ หมายถึง ช้ันปที่ ๔

เลขรหัสหลักท่ีสาม

เลข ๐

หมายถึง

หมายถึง

ภาคการศึกษาท่ีเปดสอน

ภาคการศึกษาที่ ๑ และหรือ ภาคการศึกษาที่ ๒

เลข ๑ หมายถึง ภาคการศึกษาที่ ๑

เลข ๒ หมายถึง ภาคการศึกษาที่ ๒

เลขรหัสหลักท่ีสี่ หมายถึง หมวดวิชา

เลข ๑ หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

เลข ๒ หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะ : วิชาบังคับ

เลข ๓ หมายถึง หมวดวิชาเฉพาะ : วิชาเลือก

เลขรหัสหลักท่ีหาหก หมายถึง ลําดับรายวิชาในแตละหมวดวิชาหรือกลุมวิชา

Page 24: RPCA Policescience Course2556

๒๒

๓.๑.๔ แผนการศึกษา

ช้ันปที่ ๑

ช้ันปที ่๑ ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๘

๑๑๑๒๐๖ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับกฎหมาย ๒(๒-๐-๐)

๑๑๑๒๐๗ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้ง ๒(๒-๐-๐)

๑๑๑๒๐๘ กฎหมายอาญา ๑ ๓(๓-๐-๖)

๒๑๑๑๐๑ การเปนพลเมือง ๒(๒-๐-๔)

๒๑๑๑๐๒ เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต ๒(๒-๐-๔)

๒๑๑๑๐๓ จิตวิทยาทั่วไป ๒(๒-๐-๔)

๒๑๑๑๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๑ ๓(๒-๒-๔)

๒๑๑๑๑๑ จริยธรรมตํารวจ ๒(๒-๐-๔)

ภาคการฝก ๒

๔๑๑๒๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑ ๑(๐-๒-๐)

๔๑๑๒๑๓ วิทยาศาสตรการกีฬา ๑(๐-๒-๐)

การเตรียมความพรอมวิชาการยิงปน ๑ ๐(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๐

ช้ันปที ่๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๒๐

๑๑๒๒๐๑ หลักรัฐประศาสนศาสตร ๒(๒-๐-๐)

๑๑๒๒๐๙ กฎหมายอาญา ๒ ๓(๓-๐-๖)

๑๑๒๒๑๒ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑ ๒(๒-๐-๔)

๑๑๒๒๓๓ การปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว ๒(๒-๐-๐)

๒๑๒๑๐๔ สังคมวิทยา ๒(๒-๐-๔)

๒๑๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๒ ๓(๒-๒-๔)

๒๑๒๑๐๘ การใชภาษาไทย ๓(๓-๐-๐)

๒๑๒๑๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒(๑-๒-๒)

ภาคการฝก ๓

๔๑๒๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๑(๐-๒-๐)

๔๑๒๒๐๙ การยิงปน ๑ ๑(๐-๒-๐)

๔๑๒๒๑๔ วายนํ้า ๑(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๒

Page 25: RPCA Policescience Course2556

๒๓

ช้ันปที่ ๒

ช้ันปที ่๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๙

๑๒๑๒๐๒ หลักการบริหารงานตํารวจ ๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๐๕ การอํานวยการตํารวจ ๒(๒-๐-๔)

๑๒๑๒๑๐ กฎหมายอาญา ๓ ๓(๓-๐-๖)

๑๒๑๒๑๓ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒ ๓(๓-๐-๖)

๑๒๑๒๑๙ กฎหมายตํารวจแหงชาต ิ ๒(๒-๐-๔)

๑๒๑๒๓๔ หลักอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ๒(๒-๐-๐)

๑๒๑๒๓๕ ปญหาอาชญากรรมและการควบคุมแหลงอบายมุข ๒(๒-๐-๔)

๑๒๑๒๓๖ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒(๒-๐-๔)

๒๒๑๑๐๕ อาเซียนศึกษา ๑(๑-๐-๒)

ภาคการฝก ๒

๔๒๑๒๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒ ๑(๐-๒-๐)

๔๒๑๒๑๕ ยูโด ๑(๐-๒-๐)

การเตรียมความพรอมวิชาการยิงปน ๒ ๐(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๑

ช้ันปที ่๒ ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๙

๑๒๒๒๑๑ กฎหมายอาญา ๔ ๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๑๕ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑ ๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๒๖ การสอบสวน ๑ ๓(๒-๒-๔)

๑๒๒๒๓๑ การสืบสวน ๑ ๓(๓-๐-๖)

๑๒๒๒๓๗ ยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๒(๒-๐-๔)

๑๒๒๒๔๐ การรักษาความปลอดภัย ๒(๒-๐-๔)

๑๒๒๒๔๔ การจราจร ๓(๓-๐-๖)

ภาคการฝก ๓

๔๒๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๑(๐-๒-๐)

๔๒๒๒๑๐ การยิงปน ๒ ๑(๐-๒-๐)

๔๒๒๒๑๖ มวยไทย ๑(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๒

Page 26: RPCA Policescience Course2556

๒๔

ช้ันปที่ ๓

ช้ันปที ่๓ ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๙

๑๓๑๒๑๔ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓ ๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๑๖ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒ ๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๑๗ กฎหมายลักษณะพยาน ๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๒๗ การสอบสวน ๒ ๓(๒-๒-๔)

๑๓๑๒๓๒ การสืบสวน ๒ ๓(๓-๐-๖)

๑๓๑๒๓๘ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑ ๒(๒-๐-๔)

๓๓๑๒๒๑ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ ๓(๓-๐-๖)

ภาคการฝก ๒

๔๓๑๒๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓ ๑(๐-๒-๐)

๔๓๑๒๑๗ การตอสูปองกันตัว ๑(๐-๒-๐)

การเตรียมความพรอมวิชาการยิงปน ๓ ๐(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๒

ช้ันปที ่๓ ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๘

๑๓๒๒๐๓ การบริหารงานสถานีตํารวจ ๒(๒-๐-๔)

๑๓๒๒๑๘ กฎหมายปกครอง ๓(๓-๐-๖)

๑๓๒๒๒๘ การสอบสวน ๓ ๓(๒-๒-๔)

๑๓๒๒๓๙ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๒ ๒(๒-๐-๔)

๒๓๒๑๑๓ ระเบียบวิธีวิจัย ๒(๒-๐-๔)

๓๓๒๒๒๒ การตรวจพิสูจนหลักฐาน ๓(๓-๐-๖)

๓๓๒๒๒๕ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ๓(๓-๐-๖)

ภาคการฝก ๓

๔๓๒๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓ ๑(๐-๒-๐)

๔๓๒๒๑๑ การยิงปน ๓ ๑(๐-๒-๐)

๔๓๒๒๑๘ ศิลปะการปองกันตัว ๑(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๑

Page 27: RPCA Policescience Course2556

๒๕

ช้ันปที่ ๔

ช้ันปที ่๔ ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๙

๑๔๑๒๐๔ การบริหารงานตํารวจยุคใหม ๒(๒-๐-๐)

๑๔๑๒๒๙ การสอบสวน ๔ ๓(๒-๒-๔)

๑๔๑๒๔๑ การตํารวจชุมชนและการมีสวนรวมของประชาชน ๒(๒-๐-๔)

๒๔๑๑๐๙ ภาษาอังกฤษสําหรับตํารวจเพื่อการส่ือสาร ๒(๑-๒-๒)

๒๔๑๑๑๐ มนุษยสัมพันธและจิตวิทยาสําหรับตํารวจ ๒(๒-๐-๐)

๒๔๑๑๑๔ คณิตศาสตรและสถิติ ๒(๑-๒-๒)

๓๔๑๒๒๓ การทะเบียนประวัติอาชญากร ๓(๓-๐-๖)

วิชาเลือก ไมนอยกวา ๓

เลือกเรยีนรายวิชาในหมวดวิชาเลือก

ภาคการฝก ๓

๔๔๑๒๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔ ๑(๐-๒-๐)

๔๔๑๒๑๒ การยิงปน ๔ ๑(๐-๒-๐)

๔๔๑๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔ ๑(๐-๒-๐)

รวมหนวยกิต ๒๒

ช้ันปที ่๔ ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต

ภาควิชาการ ๑๘

๑๔๒๒๒๐ สิทธิมนุษยชน ๒(๒-๐-๔)

๑๔๒๒๓๐ การสอบสวน ๕ ๓(๓-๐-๖)

๑๔๒๒๔๒ อาชญากรรมขามชาติกับการขาวและสถานการณโลกปจจุบัน ๒(๒-๐-๔)

๑๔๒๒๔๓ การตอตานการกอการรายสากลและการจัดการภายใตสภาวะ

วิกฤต

๒(๒-๐-๔)

๓๔๒๒๒๔ นิติเวชศาสตร ๓(๓-๐-๖)

หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา ๖

เลือกเรียนรายวิชาที่เปดสอนในโรงเรียนนายรอยตํารวจ ซ่ึงไมซํ้ากับ

รายวิชาที่เรียนมาแลว

รวมหนวยกิต ๑๘

Page 28: RPCA Policescience Course2556

๒๖

๓.๑.๕ คําอธิบายรายวิชา

ก. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

กลุมวิชาสังคมศาสตร

๒๑๑๑๐๑ การเปนพลเมือง ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Citizenship

ความหมาย ความสําคัญ วิวัฒนาการและขอบเขตของรัฐศาสตร แนวทางและวิธี

การศึกษาทางรัฐศาสตร ธรรมชาติของมนุษยกับสังคม แนวคิดพื้นฐานของรัฐกับสังคม รัฐและ

อํานาจอธิปไตย ระบบการเมือง สถาบันการเมือง โครงสราง หนาที่ อํานาจ กระบวนการวัฒนธรรม

สิ่งแวดลอมทางการเมือง ลัทธิการเมือง อุดมการณทางการเมือง ประชาธิปไตยและความเกี่ยวพัน

ของระบบการเมืองตางๆ ของโลก

๒๑๑๑๐๒ เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Economy and Living

ความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร แนวการศึกษาทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร

เบื้องตนทั้งจุลภาคและมหภาค เครื่องมือช้ีวัดทางเศรษฐกิจภาคตางๆ ไดแก ภาคการผลิต ภาค

การเงินและการคลัง ภาคตางประเทศ และภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ที่สําคัญ เศรษฐกิจพอเพียงตาม

แนวพระราชดําริ และเศรษฐกิจอาเซียน

๒๑๑๑๐๓ จิตวิทยาท่ัวไป ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

General Psychology

ความหมายและขอบเขตของจิตวิทยา สรีรจิตวิทยา พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

พัฒนาการของมนุษย การรับรู การเรียนรู บุคลิกภาพ การจูงใจ อารมณ ความผิดปกติทางจิต

และการบําบัดรักษา

๒๑๒๑๐๔ สังคมวิทยา ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Sociology

ความเปนมาของสังคมวิทยา การจัดระเบียบทางสังคม วัฒนธรรม และการขัดเกลา

ทางสังคม สถาบันครอบครัว ปญหาคานิยมและจริยธรรม สถาบันสังคม และกลุมสังคม การจัด

ระดับช้ันทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคม พฤติกรรมเบี่ยงเบนและการเสียระเบียบในสังคม

Page 29: RPCA Policescience Course2556

๒๗

พฤติกรรมรวมหรือพฤติกรรมรวมหมู ปญหาสังคม ปญหาสังคมยุคใหม ปญหาความเสมอระหวาง

หญิง-ชาย ปญหาคนหาย ปญหาคอรรัปช่ันและการสรางคานิยมใหมตานภัยทุจริต หลักเศรษฐกิจ

พอเพียงกับอาชีพตํารวจ ปญหาความไมสงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต ปญหาความมั่นคง

ของชาติ ลักษณะสังคมไทย คานิยม และอุปนิสัยประจําชาติ ปญหาเมืองและชนบท ปญหา

ประชากรและคุณภาพชีวิต ปญหาชุมชนแออัด ปญหาชนกลุมนอย

๒๒๑๑๐๕ อาเซียนศึกษา ๑ หนวยกิต (๑-๐-๒)

Asean Education

ประวัติความเปนมา พัฒนาการของอาเซียน กลไกอาเซียน กฎบัตรอาเซยีน วิสัยทัศน

วัตถุประสงค และการกอต้ังประชาคมอาเซียน การประชุมอาเซียน การจัดต้ังประชาคมอาเซียน

และแนวทางดําเนินงานสามเสาหลัก ไดแก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน ประชาสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงที่มาของเขตการคาเสรีอาเชียนและสภาพ

เศรษฐกิจบนพื้นฐานประชาคมอาเซียน แนวโนมทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางประชาสงัคมอาเซยีน

การปรับตัวในการเปนพลเมืองที่ดีภายใตกฎบัตรของอาเซียน และยุทธศาสตรของสํานักงานตํารวจ

แหงชาติตอประชาคมอาเซียน

กลุมวิชาภาษา

๒๑๑๑๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๑ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

English Usage 1

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชในการปฏิบัติงานในอาชีพ

ตํารวจ ไดแก การแนะนําตนเอง การบรรยายลักษณะงานตํารวจ หนาที่และความรับผิดชอบ

กฎหมายและกิจกรรมทางกฎหมายเบื้องตน การสื่อสารบรรยายลักษณะของบุคคลและยานพาหนะ

เชน คดีทํารายรางกาย จราจร เปนตน สนทนาอยางงายๆ เพื่อสอบปากคําผูตองสงสัยและพยาน

การออกคําสั่ง การเตือน การหยุดรถ การตรวจสอบเอกสารสําคัญและการรับแจงเหตุ

๒๑๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๒ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

English Usage 2

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชในการปฏิบัติงานในอาชีพ

ตํารวจ ไดแก การรับแจงความ การใหคําแนะนําเกี่ยวกับกฎหมาย การบรรยายลักษณะบุคคล

Page 30: RPCA Policescience Course2556

๒๘

การบรรยายสถานที่เกิดเหตุ คําศัพทที่เกี่ยวของกับคดีทางอาญาและยาเสพติด คําศัพทเกี่ยวกับ

กระบวนการยุติธรรม การสื่อสารในงานจราจรและความผิดเกี่ยวกับบนทองถนน การจับกุม การออก

คําสั่ง การสอบสอนผูตองสงสัยและการสอบพยาน สรางบทสนทนาอยางงายๆ

๒๑๒๑๐๘ การใชภาษาไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Thai Usage 1

หลักการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวันและในหนาที่การงาน การฟงเพื่อ

จับใจความและตีความ การพูดในสถานการณตางๆ การอานเพื่อเขาถึงคานิยม และแนวคิดของ

งานเขียน ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับงานสารบรรณ และการเขียนหนังสือติดตอราชการ

๒๔๑๑๐๙ ภาษาอังกฤษสําหรับตํารวจเพ่ือการสื่อสาร ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒)

English for Communication

ทักษะการฟง พูด อานและเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชสนทนาและอภิปรายสื่อ

ความตามสถานการณในชีวิตประจําวันและในการปฏิบัติงานในอาชีพตํารวจหรืออาชีพอื่น

การแสดงความคิดและขอโตแยงอยางมีเหตุผล การอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่เปนประเด็นหรือ

ปญหาสังคมที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับงานตํารวจ การนําเสนองาน การเรียนรูวัฒนธรรมที่เกี่ยวของ

กลุมวิชามนุษยศาสตร

๒๔๑๑๑๐ มนุษยสัมพันธและจิตวิทยาสําหรับตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Human Relation and Psychology for Police Officers

ความหมายและความสําคัญของมนุษยสัมพันธ ทักษะการสื่อสารกับงานตํารวจ

จิตวิทยาองคการในงานตํารวจ การบริหารความขัดแยง การประยุกตใชหลักของมนุษยสัมพันธ

และจิตวิทยาในงานตํารวจ

๒๑๑๑๑๑ จริยธรรมตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Ethics

ความหมายของปรัชญาและจริยศาสตร พุทธปรัชญา ปรัชญาประยุกต ปรัชญา

วิทยาศาสตร จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชีพตางๆ ในสังคมไทย การนําหลักปรัชญาและ

จรยิศาสตรมาใชในวิชาชีพตํารวจ หลักการสรางนิสัย จริยธรรมและจิตสํานึกในสงัคม พทุธจรยิศาสตร

สําหรับขาราชการตํารวจ และประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณตํารวจ

Page 31: RPCA Policescience Course2556

๒๙

กลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร

๒๑๒๑๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒)

Information Technology

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟทแวร โครงสรางขอมูล รูปแบบการจัด

เก็บขอมูล การสื่อสารขอมูล หลักพื้นฐานในการวิเคราะหงานและการเขียนผังงาน ระบบ

สารสนเทศในงานตํารวจ การปฏิบัติงานดานสํานักงานอัตโนมัติโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

๒๓๒๑๑๓ ระเบียบวิธีวิจัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Research Methodology

ความสําคัญของการวิจัยที่มีตองานตํารวจ ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบื้องตนที่ใชใน

งานวิจัย ความหมาย บทบาท ชนิด ประเภท คุณลักษณะของการวิจัย ข้ันตอนการวิจัย เครื่องมือ

การเก็บรวบรวมขอมูล การสุมตัวอยาง การวิเคราะหขอมูล การเขียนโครงราง และการนําเสนอ

รายงานผลการวิจัย

๒๔๑๑๑๔ คณิตศาสตรและสถิติ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒)

Mathematics and Statistics

คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน ความสําคัญของสถิติตอการวิจัย สถิติพื้นฐาน ทฤษฎี

ความนาจะเปน การสุมกลุมตัวอยาง การประมาณคาประชากร การทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบ

ความแตกตางคาเฉลี่ย ประชากร การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหความแปรปรวนรวม

การวิเคราะหถดถอย การประยุกตใชสถิติในงานตํารวจ การวิเคราะหขอมูลสถิติดวย

คอมพิวเตอร

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาการบริหาร

๑๑๒๒๐๑ หลักรัฐประศาสนศาสตร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Principle of Public Administration

ความหมาย ความสําคัญ ขอบเขต วิวัฒนาการ และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร

องคการและการจัดการ นโยบายสาธารณะและการวางแผน การบริหารทรัพยากรมนุษย

การบริหารงานคลังสาธารณะ เทคนิคการบริหาร และภาวะผูนํา

Page 32: RPCA Policescience Course2556

๓๐

๑๒๑๒๐๒ หลักการบริหารงานตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Principle of Police Administration

แนวคิดและหลักการบริหาร การจัดองคการ นโยบายและการวางแผน การบริหารงาน

บุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการบริหารงานพัสดุของสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้ง

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๓๒๒๐๓ การบริหารงานสถานีตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Station Administration

แนวคิดและหลักการบริหารงานสถานีตํารวจ รูปแบบการจัดสถานีตํารวจ ลักษณะงาน

ตํารวจ แผนและวิธีปฏิบัติงาน เครื่องมืออุปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการ การประชาสัมพันธ

สภาพปญหาและอุปสรรคพรอมแนวทางการแกไข รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่ง

ตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๑๒๐๔ การบริหารงานตํารวจยุคใหม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Modern Police Administration

รูปแบบและแนวทางการบริหารงานตํารวจยุคใหม อาทิ การบริหารเชิงกลยุทธ

การบริหารคุณภาพรวม การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารความขัดแยง และการบริหาร

กิจการบานเมืองที่ดี รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๒๑๒๐๕ การอํานวยการตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police General Staff Affair

หลักการและกระบวนการอํานวยการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ อาทิ การแตงต้ัง

การเลื่อนข้ันและอัตราเงินเดือน การพิจารณาบําเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ การเลื่อนยศ

เครื่องราชอิสริยาภรณ การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน วินัยและการลงทัณฑ รวมทัง้กฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

กลุมวิชากฎหมาย

๑๑๑๒๐๖ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับกฎหมาย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Introduction to Law

ความหมาย ลักษณะ โครงรางและความสําคัญของกฎหมาย ทฤษฎีและแนวคิดตางๆ

Page 33: RPCA Policescience Course2556

๓๑

ทางกฎหมาย วิวัฒนาการ ระบบ ที่มา การจัดทําและศักด์ิของกฎหมาย การแบงแยกประเภทของ

กฎหมาย การใช การตีความ การอุดชองวางและการยกเลิกกฎหมาย ความสัมพันธระหวาง

นิติศาสตรกับศาสตรอื่นที่เกี่ยวของ จรรยาบรรณของนักกฎหมาย ธรรมนูญศาล ลําดับช้ันของ

ศาลและอํานาจศาลและผูพิพากษา

๑๑๑๒๐๗ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกต้ัง ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Constitutional Law and Election Law

ความหมาย ความสําคัญและวิวัฒนาการของกฎหมายรัฐธรรมนูญ หลักทั่วไปเกี่ยวกับ

รัฐและระบอบการปกครอง ประมุขแหงรัฐ การแบงแยกอํานาจ การใชอํานาจอธิปไตย แนวนโยบาย

แหงรัฐ สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ การควบคุมมิใหกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ

การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเลือกต้ังของประเทศไทย

๑๑๑๒๐๘ กฎหมายอาญา ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 1

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยบทบัญญัติทั่วไป บทบัญญัติที่ใช

แกความผิดทั่วไปและที่ใชกับความผิดลหุโทษ

๑๑๒๒๐๙ กฎหมายอาญา ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 2

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหง

ราชอาณาจักร ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม ความผิดเกี่ยวกับ

ศาสนา ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอ

ประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง ความผิดเกี่ยวกับการคาและคําพิพากษา

ศาลฎีกาที่เกี่ยวของ

๑๒๑๒๑๐ กฎหมายอาญา ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 3

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิด

เกี่ยวกับชีวิตและรางกาย ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและช่ือเสียง และคําพิพากษาศาลฎีกาที่

เกี่ยวของ

Page 34: RPCA Policescience Course2556

๓๒

๑๒๒๒๑๑ กฎหมายอาญา ๔ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 4

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิดเกี่ยวกับทรัพย ความผิด

ลหุโทษ และคําพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวของ

๑๑๒๒๑๒ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Civil and Commercial Law 1

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เฉพาะสาระสําคัญวาดวยหลักทั่วไป ลักษณะ

บุคคล ต้ังแตสภาพบุคคล การสิ้นสภาพบุคคล ความสามารถของบุคคล ภูมิลําเนา และนิติบุคคล

สาระสําคัญลักษณะทรัพย นิติกรรม สัญญา หน้ี ละเมิด และอายุความ

๑๒๑๒๑๓ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Civil and Commercial Law 2

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เฉพาะสาระสําคัญวาดวยการซื้อขาย เชาทรัพย

เชาซื้อ ยืม ฝากทรัพย คํ้าประกัน จํานอง จํานํา การประกันภัย และต๋ัวเงิน

๑๓๑๒๑๔ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Civil and Commercial Law 3

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เฉพาะสาระสําคัญวาดวยครอบครัวและมรดก

๑๒๒๒๑๕ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Procedure Law 1

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับหลักทั่วไป การสืบสวน และ

การสอบสวน อํานาจและเขตอํานาจพนักงานสอบสวนและศาล หมายเรียก และหมายอาญา

การจับ ขัง จําคุก คนและปลอยช่ัวคราว วิธีการสอบสวน และชันสูตรพลิกศพ รวมทั้งความเห็น

และคําสั่งในการสอบสวน

๑๓๑๒๑๖ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Procedure Law 2

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเกี่ยวกับการฟองคดีอาญา การแกฟอง

Page 35: RPCA Policescience Course2556

๓๓

ถอนฟอง ฟองซ้ํา การไตสวนมูลฟอง การฟองคดีแพงเกี่ยวเน่ืองกับคดีอาญา การพิจารณาคํา

พิพากษาและคําสั่ง การอุทธรณ การฎีกา การบังคับตามคําพิพากษา คาธรรมเนียม การอภัยโทษ

การเปลี่ยนโทษหนักเปนเบา การลดโทษ วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง และการนําวิธี

พิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชในศาลจังหวัด และวิธีพิจารณาความอาญาสําหรับเยาวชน

และครอบครัว

๑๓๑๒๑๗ กฎหมายลักษณะพยาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Evidentiary Law

หลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะพยาน แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพยานหลักฐาน

ประเภทของพยาน หนาที่นําสืบและภาระการพิสูจนในคดีแพงและคดีอาญา การย่ืนพยาน หลักฐาน

การรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพงและคดีอาญา การสืบพยานคดีแพงและคดีอาญา ขอกําหนด

และขอหามการรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพงและคดีอาญา การช่ังนํ้าหนักพยาน หลักฐาน การมา

ศาลของพยาน และการซักถามพยานและศึกษาหลักเกณฑจากคําพิพากษาศาลฎีกา

๑๓๒๒๑๘ กฎหมายปกครอง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Administrative Law

ความหมาย ลักษณะ วิวัฒนาการและบอเกิดของกฎหมายปกครอง การจัดโครงสราง

องคการของฝายปกครอง การจัดระเบียบราชการบริหาร การจัดทําบรกิารสาธารณะ ดุลพินิจฝาย

ปกครอง หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง การกระทําทางปกครอง หลักเกณฑที่เกี่ยวกับวิธี

ปฏิบัติราชการทางปกครอง ขอมูลขาวสารของราชการ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่

กฎหมายวาดวยศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง

๑๒๑๒๑๙ กฎหมายตํารวจแหงชาติ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

National Police Laws

ความสําคัญและความเปนมาของพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ หลักกฎหมาย

เกี่ยวกับการจัดระเบียบราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติ คณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

คณะกรรมการขาราชการตํารวจ ยศตํารวจและช้ันขาราชการตํารวจ ระเบียบขาราชการตํารวจ

เกี่ยวกับตําแหนงและการกําหนดตําแหนง การบรรจุ การแตงต้ัง และการเลื่อนข้ันเงินเดือน วินัย

และการรักษาวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ การรองทุกข และเครื่องแบบตํารวจ

กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา

Page 36: RPCA Policescience Course2556

๓๔

๑๔๒๒๒๐ สิทธิมนุษยชน ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Human Rights

วิวัฒนาการและที่มาของแนวความคิดและปรัชญาวาดวยสิทธิมนุษยชน เครื่องมือ

หรือกลไกลที่สรางข้ึนเพื่อรองรับคุมครองสิทธิมนุษยชน การคุมครองสิทธิมนุษยชนระหวาง

ประเทศในระดับภูมิภาค การคุมครองสิทธิมนุษยชนของไทย สิทธิที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของ

องคกรในกระบานการยุติธรรมหรือองคกรอื่น

กลุมวิชาสืบสวนสอบสวน

๓๓๑๒๒๑ การตรวจสถานท่ีเกิดเหตุ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Crime Scene Investigation

ความเปนมา ขอบเขตของงานนิติวิทยาศาสตร หนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงาน

นิติวิทยาศาสตร การบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุ การตรวจสถานที่เกิดเหตุเบื้องตน ต้ังแตข้ันตอน

การปองกันรักษาและการเขาสถานที่เกิดเหตุ การสํารวจสถานที่เกิดเหตุเบื้องตน การบันทึกสถานที ่

เกิดเหตุดวยวิธีการจดบันทึก การทําแผนที่แผนผัง การถายภาพ การคนหาวัตถุพยาน การเก็บ

รวบรวมและบรรจุหีบหอวัตถุพยานเพื่อสงตรวจหอง ปฏิบัติการ และการสงคืนสถานที่เกิดเหตุ

การตรวจสถานที่เกิดเหตุในคดีเกี่ยวกับทรัพย ชีวิต จราจร เพลิงไหม ระเบิด อาชญากรรม

คอมพิวเตอร และการฝกปฏิบัติการตรวจสถานที่เกิดเหตุจําลอง

๓๓๒๒๒๒ การพิสูจนหลักฐาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Criminalistics

การตรวจพิสูจนวัตถุพยานประเภทตางๆ ไดแก วัตถุพยานประเภทลายน้ิวมือ ฝามือ

ฝาเทาแฝง และระบบพิมพลายน้ิวมืออัตโนมัติ วัตถุพยานประเภทเอกสาร อาวุธปนและเครือ่งกระสนุ

ปน วัตถุพยานทางเคมี ฟสิกส ชีววิทยา การตรวจหาสารพันธุกรรม วัตถุพยานประเภทยาเสพติด

วัตถุออกฤทธ์ิตอจิตและประสาท วัตถุพยานประเภทยาพิษและสารพิษ รวมถึงเทคโนโลยีการตรวจ

พิสูจนข้ันสูงตางๆ

๓๔๑๒๒๓ การทะเบียนประวัติอาชญากร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Criminal Record

งานทะเบียนประวัติอาชญากร แผนประทุษกรรมและการบันทึกแผนประทุษกรรม

ประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําผิด และการบันทึกประวัติการพิมพลายน้ิวมือ การถายภาพ

Page 37: RPCA Policescience Course2556

๓๕

ประวัติ ขอมูลทองถ่ิน เชน การทําประวัติบุคคลบางประเภท การทําแผนที่สถานที่สําคัญ บาน

บุคคลสําคัญ แหลงมั่วสุมของคนราย แหลงอบายมุข บานคนรายหรือผูที่มีพฤติการณเปนภัยสังคม

๓๔๒๒๒๔ นิติเวชศาสตร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Forensic Medicine

หลักการและวิธีการในการตรวจพิสูจนหลักฐานเกี่ยวกับบุคคล การชันสูตรพลิกศพ

หาสาเหตุของการตาย เทคนิคการตรวจโดยใชวิทยาการ การตรวจพิสูจนเกี่ยวกับความผิดทาง

เพศ การประสานงานระหวางแพทยกับพนักงานสอบสวน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบและขอบังคับ

ที่เกี่ยวของกับนิติเวชวิทยา และการดูงานในการตรวจพิสูจนทางนิติเวชวิทยา

๓๓๒๒๒๕ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Cyber Crime

ความรูเกี่ยวกับอุปกรณคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย ระบบปฏิบัติการ รูปแบบและ

วิธีการกออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร การปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

แนวทางการสืบสวนสอบสวนเพื่อหาตัวผูกระทําความผิด รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวของ

๑๒๒๒๒๖ การสอบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 1

ความหมายและวัตถุประสงคของการสอบสวน อํานาจหนาที่และขอบเขตความรับ

ผิดชอบของพนักงานสอบสวน หลักทั่วไปเกี่ยวกับการสอน ความสําคัญของการสอบสวน คุณธรรม

และจรรยาบรรณของพนักงานสอบสวน กระบวนการสอบสวน วิธีการทําสํานวนการสอบสวน

การซักถามผูกลาวหา ผูตองหา และพยาน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่

เกี่ยวของ

๑๓๑๒๒๗ การสอบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 2

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีเปรียบเทียบปรับในอํานาจของพนักงานสอบสวน

คดีที่อยูในอํานาจของศาลแขวง คดีเด็กและเยาวชนกระทําความผิด คดีประทุษรายตอทรัพย คดี

ประทุษรายตอชีวิตและรางกาย คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและ

คําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน และฝกปฏิบัติ

Page 38: RPCA Policescience Course2556

๓๖

๑๓๒๒๒๘ การสอบสวน ๓ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 3

หลักการและวิธีการสอบสวนคดียาเสพติดใหโทษ คดีอุบัติเหตุจราจร คดีเกี่ยวกับ

การใชเช็ค คดีความผิดตามพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาที่สําคัญ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน และฝกปฏิบัติ

๑๔๑๒๒๙ การสอบสวน ๔ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 4

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง คดีความผิดเกี่ยวกับ

เพลิงไหม คดีความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและช่ือเสียง คดีชันสูตรพลิกศพและวิสามัญฆาตกรรม

และคดีที่มีระเบียบหรือขอตกลงพิเศษ อาทิ ขาราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจกระทําความผิด

รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวน

การสอบสวนและฝกปฏิบัติ

๑๔๒๒๓๐ การสอบสวน ๕ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Interrogation 5

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีพิเศษดานตางๆ อาทิ คดีความผิดเกี่ยวกับเศรษฐกจิ

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ทรัพยสินทางปญญา การคามนุษย และอื่นๆ

๑๒๒๒๓๑ การสืบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Investigation 1

แนวความคิดและวิวัฒนาการของการสืบสวน คุณธรรมและคุณลักษณะของพนักงาน

สืบสวน หลักการเบื้องตน และประเภทของการสืบสวน การสืบสวนโดยใชวิธีธรรมดา การสืบสวน

โดยใชวิทยาการตํารวจและขอมูลทองถ่ิน การสังเกตจดจํา รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๓๑๒๓๒ การสืบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Investigation 2

การสืบสวนคดีความผิดเกี่ยวกับการประทุษรายตอทรัพย ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและ

รางกาย ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง ความผิดเกี่ยวกับภยันตรายแก

ประชาชน ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

Page 39: RPCA Policescience Course2556

๓๗

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม

๑๑๒๒๓๓ การปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Practice toward Youth and Family

ความสําคัญและความมุงหมายในการปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว ปญหาเด็กและ

เยาวชนในสังคมและแนวทางการปฏิบัติตอเด็กและเยาวชน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๒๑๒๓๔ หลักอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Criminology and Criminal Justice

ความหมายและขอบขายของอาชญาวิทยา ความหมายของอาชญากรรมและผูกระทํา

ความผิด ทฤษฎี สาเหตุแหงอาชญากรรมตามแนวคิดของนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร ชีววิทยา

จิตวิทยา สังคมวิทยา รัฐศาสตร และเศรษฐศาสตร วิธีการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม

และการควบคุมทางสังคมที่เกี่ยวของ รวมทั้งความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

๑๒๑๒๓๕ ปญหาอาชญากรรมและการควบคุมแหลงอบายมุข ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Crime Problems and Vice Control

การจําแนกประเภทของอาชญากรรม ความหมาย แนวโนมการกระทําผิด ลักษณะ

แบบแผนพฤติกรรมและสาเหตุของอาชญากรรมที่สําคัญ ไดแก อาชญากรรมพื้นฐาน อาชญากรรม

ผูดี อาชญากรรมที่มีการดําเนินงานในรูปองคกร อาชญากรรมปราศจากเหย่ือ อาชญากรรมการเมือง

อาชญากรรมการกอการราย อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและ

อาชญากรรมที่นาสนใจอื่นๆ รวมทั้งแนวทางและมาตรการในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม

และควบคุมแหลงอบายมุขแตละประเภทดังกลาว

๑๒๑๒๓๖ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Public Disaster Prevention and Relief

ความหมายและความสําคัญของการบรรเทาสาธารณภัย การวางแผนดําเนินการ

การเตรียมรับสถานการณ หลักการและแนวทางปฏิบัติขณะเกิดและหลังเกิดสาธารณภัยชนิดตางๆ

รวมทั้งการฝกปฏิบัติการจัดเตรียมและการใชเครื่องมืองายๆ การปฏิบัติการชวยเหลือผูประสบภัย

การปฐมพยาบาลและการเคลื่อนยายผูประสบภัยสาธารณะตางๆ

Page 40: RPCA Policescience Course2556

๓๘

๑๒๒๒๓๗ ยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Tactics 1

ความสําคัญของยุทธวิธีตํารวจ หลักการตรวจคน จับกุม และควบคุมผูกระทําผิด

กฎหมาย รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๓๑๒๓๘ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Prevention and Suppression of crime 1

หลักการและแนวความคิดเกี่ยวกับการปองกันอาชญากรรมดวยการบังคับใชกฎหมาย การควบคุมโดยสถาบันสังคม การจัดสภาพแวดลอม งานชุมชนและมวลชนสัมพันธ การวางแผน และจัดทําโครงการปองกันอาชญากรรม โดยเนนการปฏิบัติงานในหนาที่ตํารวจ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสัง่ตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๓๒๒๓๙ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๒ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔) Prevention and Suppression of crime 2 วิวัฒนาการ ความสําคัญของสายตรวจ ทฤษฎีและประเภทของสายตรวจ การจัด เวลา การจัดผลัด และการจัดชุดปฏิบัติการของสายตรวจ อุปกรณเครื่องมือที่จําเปนสําหรับ สายตรวจ การวางแผนการตรวจทองที่ เทคนิคการออกตรวจทองที่ ดานตรวจ จุดตรวจ จุดสกัด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๒๒๒๔๐ การรักษาความปลอดภัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Security

ประวัติความเปนมาและความหมาย หลักการรักษาความปลอดภัย ประเภทและหนาที่

ความรับผิดชอบ วิธีการรักษาความปลอดภัยตางๆ เชน การรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล

ขอมูลขาวสาร และสถานที่ การถวายความปลอดภัย แผนและมาตรการในการรักษาความปลอดภัย

ตางๆ ระดับในประเทศและตางประเทศ หนวยงานการรักษาความปลอดภัยและหนวยงานที่

เกี่ยวของ ตลอดจนการประสานงานรวมทั้ง กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๑๒๔๑ การตํารวจชมุชนและการมสีวนรวมของประชาชน ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Community Policing and the Participation of the People

ประวัติความเปนมาและความหมายของการตํารวจชุมชน ความสําคัญของงาน ตํารวจชุมชน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับตํารวจชุมชน หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับกิจการตํารวจกับการมีสวนรวมของประชาชน ลักษณะงานชุมชนสัมพันธ การประชาสัมพันธ การใหบริการแก

Page 41: RPCA Policescience Course2556

๓๙

ชุมชน การมีสวนรวมในกิจการตางๆ ในชุมชน การศึกษาเปรียบเทียบการตํารวจชุมชนของประเทศไทยกับตางประเทศ ยุทธวิธีและข้ันตอนการดําเนินงานชุมชน การดําเนินการตามโครงการชุมชน การฝกปฏิบัติกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน การนําแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการตํารวจชุมชนไปประยุกตใชกับงานตํารวจในสถานการณตางๆ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๒๒๔๒ อาชญากรรมขามชาติกับการขาวและสถานการณโลกปจจุบัน ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Transnational Crime Intelligence and

Contemporary Global Situation

ประวัติความเปนมา ความหมาย ลักษณะและประเภทของอาชญากรรมขามชาติ สถานการณและแนวโนมของอาชญากรรมขามชาติ แนวทางและมาตรการในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติแตละประเภท ประวัติความเปนมา ความหมาย แนวคิดของลัทธิตางๆ ระบบการเมืองและการปกครองในประเทศไทยและตางประเทศ การวิเคราะหขาวในสถานการณโลกปจจุบัน และการพยากรณสถานการณในอนาคตเพื่อกําหนดแนวทางและมาตรการในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม หนวยงานการขาวและหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๒๒๔๓ การตอตานการกอการรายสากลและการจัดการภายใตสภาวะวิกฤต ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

The Anti International Terrorism and Role of

Police in Managing a Crisis ประวัติความเปนมาและความหมายของการกอการรายสากล การจัดการภายใตสภาวะวิกฤต การแบงประเภทของการกอการรายและการบริหารวิกฤตการณในประเทศและตางประเทศ บทบาทความรับผิดชอบและเครื่องมือกลไกที่เกี่ยวของกับการกอการรายสากลและการบริหารวิกฤตการณโดยการวิเคราะหและแกไขปญหาวิกฤตการณตางๆ

กลุมวิชาการจราจร

๑๒๒๒๔๔ การจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Management

แนวความคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการจราจร ความรูเบื้องตนดานวิศวกรรมจราจรและ

การจัดระบบการขนสง หลักการและการปฏิบัติในการตรวจและการควบคุมการจราจร การตรวจ

สถานที่เกิดเหตุคดีอุบัติเหตุจราจร รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

การฝกปฏิบัติภาคสนาม

Page 42: RPCA Policescience Course2556

๔๐

กลุมวิชาการฝก

กลุมการฝกตํารวจ

๔๑๑๒๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 1

การฝกบุคคลทามือเปลา บุคคลแถวชิด และบุคคลทาอาวุธ

๔๒๑๒๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 2

หลักการ วิธีการในการทําหนาที่ครูฝก และการฝกหัดทําหนาที่ครูฝก (การฝก บคุคล

ทามือเปลา บุคคลแถวชิด และบุคคลทาอาวุธ)

๔๓๑๒๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 3

การฝกบุคคลทากระบี่ การทําหนาที่ ผูบังคับกองเกียรติยศและกองรักษาการณและ

ทบทวนการทําหนาที่ครูฝก

๔๔๑๒๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 4

การทําหนาที่ครฝูกทีส่ถานีตํารวจ และทบทวนการฝกบุคคลทากระบี ่

๔๑๒๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 1

การฝกปฏิบัติในการตรวจคน การปลดอาวุธ การจับกุมและการควบคุมผูกระทําผิด

กฎหมาย การต้ังจุดตรวจ การลอมจับคนราย และการใชกําลังกับผูกระทําผิดกฎหมายในรูปแบบ

ตางๆ ที่ไมใชลักษณะการกอการราย

๔๒๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 2

การฝกปฏิบัติในการตอตานการกอความไมสงบ การควบคุมฝูงชน การรักษาความ

ปลอดภัยบุคคลสําคัญ การแกปญหาตัวประกัน การปองกันและปราบปรามจลาจลและการตอตาน

การกอการรายในรูปแบบตางๆ

Page 43: RPCA Policescience Course2556

๔๑

๔๓๒๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 3

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝกและทําหนาที่ครูฝกในการตรวจคน การปลดอาวุธ การจบักมุ

และควบคุมตัวผูกระทําผิดกฎหมาย การต้ังจุดตรวจ การลอมจับผูกระทําผิด และการใชกําลังกับ

ผูกระทําผิดกฎหมายในรูปแบบตางๆ ที่ไมใชลักษณะการกอการราย

๔๔๑๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 4

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝก และทําหนาที่ครูฝกในการตอตานการกอความไมสงบ

การควบคุมฝูงชน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ การแกไขปญหาตัวประกัน การปองกัน

และปราบปรามจลาจล และการตอตานการกอการรายในรูปแบบตางๆ

๔๑๒๒๐๙ การยิงปน ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 1

ประวัติความเปนมาและประโยชนของการยิงปน กฎการใชอาวุธปน หลักการพื้นฐาน

ในการยิงปนกฎในการปองกันอันตราย สิทธิและอํานาจของเจาพนักงานตํารวจในการใชอาวุธปน

ตามกฎหมาย การบํารุงรักษาอาวุธปน ลักษณะประเภทของอาวุธปนที่ใชในกิจการตํารวจ อุปกรณ

และการทํางานของอาวุธปนที่สําคัญ การถอดประกอบอาวุธปนบางชนิด ฝกพื้นฐานการยิงปน

ฝกการยิงปนพกตามหลักสูตรการยิงปนและกฎกติกา

๔๒๒๒๑๐ การยิงปน ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 2

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการยิงปนพก ฝกหาความชํานาญในการยิง

ปนพกตามหลักสูตรการยิงปนและกฎกติกา

๔๓๒๒๑๑ การยิงปน ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 3

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการยิงปนพก ฝกยิงปนพกตามหลักสูตร

การยิงปนและกฎกติกา หลักการยิงปนพกทางยุทธวิธี ฝกการยิงปนพกทางยุทธวิธี

Page 44: RPCA Policescience Course2556

๔๒

๔๔๑๒๑๒ การยิงปน ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 4

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎกติกาในการยิงปนพกทางยุทธวิธี

และจัดใหมีการยิงปนพกทางยุทธวิธี ฝกความชํานาญในการยิงปนพกทางยุทธวิธีในรูปแบบตางๆ ศึกษา

ขอบกพรองของการยิงปนพกทางยุทธวิธี ทบทวน และจัดใหมีการแขงขันยิงปนพกตามระบบแขงขัน

กลุมการฝกพลศึกษา ๔๑๑๒๑๓ วิทยาศาสตรการกีฬา ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐) Physical Education and Sport Science สมรรถภาพทางกายทั่วไป และสมรรถภาพทางกายเฉพาะดาน การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสม ความสําคัญและความจําเปน ของการทดสอบสมรรถภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายดวยวิธีงายๆ ดวยตนเอง และ การทดสอบสมรรถภาพทางกายดวยเครื่องมือ การประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย การออกกําลังกาย หรือการฝกเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายเฉพาะดาน

๔๑๒๒๑๔ วายนํ้า ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐) Swimming กระบวนการใชทักษะทางดานรางกายในสภาวะแวดลอมในนํ้า ระบบการหายใจ การลอยตัว การเตะเทา การหมุนแขน และการพลิกหนาหายใจโดยอาศัยหลักชีวกลศาสตรทางดานรางกาย หลักการชวยเหลือผูประสบเหตุทางนํ้าและการปฐมพยาบาล

๔๒๑๒๑๕ ยูโด ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐) Judo ความรูทั่วไปเกี่ยวกับยูโด ทักษะเบื้องตนในการเรียนยูโด ทักษะการลมและทําให คูตอสูเสียการทรงตัว ทักษะการทุมดวยเทคนิคการใชมือและแขน ทักษะการทุมดวยเทคนิคการใชสะโพก ทักษะการทุมดวยเทคนิคการใชขาและเทา ทักษะการทุมดวยเทคนิคการนอนหงายทุมและเทคนิคการนอนตะแคงทุม เทคนิคการจับยึด เทคนิคการรัดคอ เทคนิคการหักแขน การฝกตอสูอิสระ กติกาการแขงขัน การสอบเลื่อนสาย การตอสูปองกันตัว

๔๒๒๒๑๖ มวยไทย ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐) Muay Thai ประวัติความเปนมาของกีฬามวยไทย ระเบียบประเพณีการไหวครู การบริหารรางกาย และการฝกโดยการใชนํ้าหนัก จุดและเปาหมายสําคัญของรางกาย การยืนในทาคุม การเคลื่อนที่

Page 45: RPCA Policescience Course2556

๔๓

การชกหมัดตางๆ และการปองกัน การใชอาวุธมวยไทยและการปองกัน การฝกการตอสูบนเวที การเปนกรรมการตัดสินบนเวทีผูช้ีขาด การใหคะแนน และการดําเนินการจัดการแขงขัน

๔๓๑๒๑๗ การตอสูปองกันตัว ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Self Defense

ศิลปะการปองกันตัวเบื้องตน องคประกอบของการตอสู พื้นฐานการเคลื่อนไหว

การใชวิชาการอาวุธและความรูเรื่องสรีระศาสตรในการปดปอง ตอบโตและหยุดย้ังเฉียบขาด วิชา

ปองกันตัวจากการจูโจมดวยอาวุธชนิดตางๆ ความสามารถในการควบคุมคนราย กระบวนการ

เพิ่มขีดความสามารถในการเคลื่อนไหวใหมีความรวดเร็ว ความคลองตัวสูง พัฒนาสูความชํานาญ

สูงสุดและตระหนักในความปลอดภัยมากที่สุด

๔๓๒๒๑๘ ศิลปะการปองกันตัว ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Martial Arts

การประยุกตการตอสูในแขนงตางๆ มาปองกันตัวและแกปญหาเฉพาะหนาดวย

ศิลปะการตอสูปองกันตัวช้ันสูง ไดแก ยูโด มวยไทยและการตอสูปองกันตัวโดยอาศัยทักษะ

ทางดานรางกายเปนเครื่องมือในการหยุดย้ังควบคุมและจับกุมคนรายไดอยางมีประสิทธิภาพ

วิชาเลือก

กลุมวิชาสังคมศาสตร

๒๔๐๓๐๑ การเมืองการปกครองไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Thai Politics and Government

แนวคิด ประวัติและวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย ต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบนั

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมของไทยซึ่งสงผลกระทบตอระบบและกระบวนการ

ทางการเมืองของไทยในสมัยตางๆ สถาบันและกระบวนการทางการเมืองการปกครอง ทั้งฝายผูนํา

ประชาชน และกลุมอิทธิพลตางๆ

กลุมวิชาภาษา

๒๔๐๓๐๒ ภาษาไทยกับการเขียนสํานวนสอบสวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Investigation Report Writing

หลักการใชภาษาเพื่อการเขียนสํานวนสอบสวน การฟงเพื่อจับใจความและการถายทอด

ดวยการเขียน ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับงานสารบรรณ และการเขียนหนังสือติดตอราชการ

Page 46: RPCA Policescience Course2556

๔๔

กลุมวิชาการบริหาร

๑๔๐๓๐๓ องคการตํารวจเปรียบเทียบ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Comparative Police Organization

รูปแบบ โครงสราง อํานาจหนาที่ การบริหารจัดการ องคการตํารวจของประเทศ

ตางๆ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ญี่ปุน รวมถึงประเทศในกลุมอาเซียน

๑๔๐๓๐๔ สัมมนาการบริหารงานตํารวจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Police Administration

การสัมมนาทบทวนปญหาในทางการบริหารและการปฏิบัติงานตํารวจในดานตางๆ

อาทิ องคการและการจัดการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณและพัสดุ พฤติกรรม

องคการ เทคนิคการบริหาร การวางแผน และการพัฒนาองคการ

๑๔๐๓๐๕ การบริหารทรัพยากรมนุษย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Human Resource Management

ความหมาย ลักษณะและบทบาทของการบริหารทรัพยากรมนุษย วิวัฒนาการและ

แนวความคิดของการบริหารทรัพยากรมนุษย ความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย ปญหา

ในการบริหารทรัพยากรมนุษย นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ ไดแก การวิเคราะหงาน

การวางแผนทรัพยากรมนุษย การสรรหาและการคัดเลือกบุคคล การบรรจุและการแนะนําตัวเขาทํางาน

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงตําแหนงงาน การให

ประโยชนตอบแทนและความมั่นคง และความสัมพันธระหวางฝายบริหารกับพนักงาน

๑๔๐๓๐๖ การบริหารงบประมาณและพัสดุ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Budgeting and Material Management

หลักการและกระบวนการในการบริหารงานคลังและงบประมาณ เทคนิคและวิธีการ

จัดทํางบประมาณ วงจรงบประมาณ หลักและกระบวนการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานงบประมาณ

และพัสดุของสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๐๓๐๗ นโยบายสาธารณะ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Public Policy

ความหมาย ลักษณะ ประเภท วิวัฒนาการของนโยบายสาธารณะ ปญหาเชิง

นโยบายสาธารณะ กระบวนการนโยบายสาธารณะ ปจจัยแวดลอมที่เกี่ยวของกับการกําหนด

Page 47: RPCA Policescience Course2556

๔๕

นโยบายสาธารณะ ตลอดจนองคกรที่เกี่ยวของในการกําหนดนโยบายสาธารณะ หลักการนโยบาย

สาธารณะและการวางแผนข้ันตอน กระบวนการ นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจ นโยบาย

การพัฒนาทางสังคม นโยบายการพัฒนาทางการเมืองและนโยบายทองถ่ิน

กลุมวิชากฎหมาย ๑๔๐๓๐๘ กฎหมายระหวางประเทศ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐) International Law ลักษณะทั่วไปและที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางกฎหมายระหวางประเทศกับกฎหมายภายในประเทศ ปญหาสถานะของบุคคล การขัดกันแหงกฎหมาย ปญหาอํานาจของรัฐในคดีอาญา การตกลงระหวางประเทศเกี่ยวกับการปราบปรามอาชญากรรม การดําเนินคดีผูกระทําผิดทางอาญา และการสงผูรายขามแดน

๑๔๐๓๐๙ สัมมนาในวิชากฎหมายอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Criminal law

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวลกฎหมายอาญาและกฎหมาย

อื่นที่เกี่ยวของ และการศึกษาหลักกฎหมายจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกา

๑๔๐๓๑๐ สัมมนาในวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Criminal Procedure Law

การสมัมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ

อาญา และกฎหมายอื่นทีเ่กี่ยวของ และการศึกษาหลักกฎหมายจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกา

๑๔๐๓๑๑ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Civil Procedure Law ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง เฉพาะสาระสําคัญวาดวยหลักทั่วไป ศาล คูความ การโตแยงสิทธิ และการใชสิทธิทางแพง วิธีการพิจารณาในศาลช้ันตน อุทธรณ และฎีกา คําพิพากษาหรือคําสั่งที่เกี่ยวของ

๑๔๐๓๑๒ กฎหมายคุมครองผูบริโภค ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Consumer Law

แนวความคิดและหลักการเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค มาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ

และมาตรการเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค หนวยงานในการพิทักษปองกันสิทธิหรือประโยชน

ของผูบริโภค ตามพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

Page 48: RPCA Policescience Course2556

๔๖

๑๔๐๓๑๓ กฎหมายแพง : นิติกรรมสัญญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Juristic Act and Contract Law

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะนิติกรรมต้ังแตความหมาย ลักษณะ

และแบบของนิติกรรม ความสมบูรณของนิติกรรม การแสดงเจตนา โมฆะกรรมและโมฆียกรรม

เงื่อนไขและเงื่อนเวลา ระยะเวลาและอายุความ ลักษณะสัญญาต้ังแตลักษณะทั่วไป การกอใหเกิด

สัญญา การตีความสัญญา ผลแหงสัญญา การเลิกสัญญา ตลอดจนมัดจําและการกําหนด

เบี้ยปรับ

๑๔๐๓๑๔ กฎหมายทรัพยสินทางปญญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Intellectual Property Law

แนวความคิดเกี่ยวกับการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และกฎหมายเกี่ยวกับ

ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา การขอรับความคุมครอง การละเมิดทรัพยสินทางปญญา

และความรวมมือระหวางประเทศในการคุมครองทรัพยสินทางปญญา

๑๔๐๓๑๕ พระราชบัญญัติท่ีมีโทษทางอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Penalty Law

ความผิดอาญาตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับศีลธรรมอันดีของประชาชน สิ่งแวดลอม

และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ยาเสพติดใหโทษ เศรษฐกิจและการพาณิชย ความเปนธรรม

ในดานแรงงาน และพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาที่สําคัญตางๆ

กลุมวิชาสืบสวนสอบสวน

๑๔๐๓๑๖ การสัมมนาการสืบสวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Criminal Investigation

การฝกวิเคราะหคดีการฉอโกงประกันภัย คดีการทุจริตเกี่ยวกับรถ คดีการปลอม

เอกสาร คดีการขมขืนกระทําชําเรา และการฝกวิเคราะหคดีโดยใชประโยชนจากสื่อสารมวลชน

การฝกแสวงหาขอมูลขาวสารจากชุมชน การฝกการสืบคนประวัติศาสตรทางวัฒนธรรม

ในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม การฝกภาคสนามเกี่ยวกับการโจรกรรมรถ การฝก

การสรางโครงสรางความสัมพันธขององคกรอาชญากรรม การฝกสะกดรอยติดตามบุคคลและ

ยานพาหนะ

Page 49: RPCA Policescience Course2556

๔๗

๑๔๐๓๑๗ สัมมนาการสอบสวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Interrogation

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ในการสอบสวนคดีอาญาประเภทตางๆ

๑๔๐๓๑๘ วิทยาการตํารวจกาวหนา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Advanced Forensic Science

การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมในงานพิสูจนหลักฐาน การทะเบียน

ประวัติอาชญากรและวิทยาการตํารวจดานตางๆ ตลอดจนปญหาและขอขัดของในการใชวิทยาการ

ในการสืบสวนและสอบสวน

กลุมวิชาปองกันปราบปราม

๑๔๐๓๑๙ วิชาการทหาร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Military

สถานการณ นโยบาย และยุทธศาสตรในการปองกันประเทศและการรักษาความมั่นคง

ของชาติ บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของทหารในดานการพัฒนาเศรษฐกจิ สงัคม การเมอืง

และการปกครอง การประสานความรวมมือระหวางทหาร ตํารวจ และพลเรือนในการพัฒนา

การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความมั่นคงของชาติ

๑๔๐๓๒๐ ยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Police Tactics 2

แนวความคิด ทฤษฎีและรูปแบบของการกอความไมสงบ หลักนิยมและแนวปฏิบัติ

ในการตอตานการกอความไมสงบ การบริหารวิกฤตการณ และการเจรจาตอรอง

๑๔๐๓๒๑ การปองกันและปราบปรามยาเสพติด ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Narcotics Prevention and Suppression

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับยาเสพติด ลักษณะอาการของผูติดยาและโทษของยาเสพติด

วิธีการปองกันและแกไขปญหาผูติดยาเสพติด มาตรการในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย

หนวยงานที่เกี่ยวของกับการแกไขปญหายาเสพติด วิธีการสืบสวนปราบปรามยาเสพติดในหนาที่

ตํารวจ บุคคลในขายงานของผูกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ลักษณะเฉพาะของคดียาเสพติด

รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

Page 50: RPCA Policescience Course2556

๔๘

๑๔๐๓๒๒ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Economic Crime

ประวัติความเปนมา ความหมาย ลักษณะและประเภทของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ

สถานการณและแนวโนมของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ แนวทางและมาตรการในการปองกัน

และปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจแตละประเภทดังกลาว กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

และคําสั่งตางๆ ที่เกี่ยวของ

๑๔๐๓๒๓ การปองกันและปราบปรามการคามนุษยสําหรับเจาหนาท่ีผูปฏิบัติ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖

Human Trafficking Suppression for Frontline Law

Enforcement Officials

ความหมายของการคามนุษย ประวัติความเปนมาของกฎหมายการคามนุษยของ

ประเทศไทยและตางประเทศ การคัดแยกเหย่ือจากการคามนุษย สงผลกระทบจากการคามนุษย

และความตองการของเหย่ือคามนุษย การวิเคราะหขาวกรองจากการคามนุษย และข้ันตอน

การปฏิบัติจากการสืบสวนพบคดีคามนุษยเกิดข้ึนในพื้นที่รับผิดชอบ

กลุมวิชาการจราจร

๑๔๐๓๒๔ อุบัติเหตุจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Accident Management

สาเหตุของอุบัติเหตุจราจร ความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร การวัดจํานวนอบุติัเหตุ

จราจร การวิเคราะหอุบัติเหตุจราจร ความรูเรื่องการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน การแกไข

และบรรเทาปญหาอุบัติเหตุจราจร การจัดการจราจรเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในชุมชน

๑๔๐๓๒๕ การบังคับใชกฎหมายจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Law Enforcement

ความหมายของการบังคับใชกฎหมายจราจร กระบวนการยับย้ังการกระทําผิด

กฎหมายจราจร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบังคับใชกฎหมายจราจร กฎหมายที่

เกี่ยวของกับการจราจร กระบวนการออกระเบียบหรือขอกําหนดการจราจร ใบสั่งเจาพนักงาน

จราจร การบังคับใชกฎหมายจราจรในกรณีตางๆ อาทิ การขับรถขณะมึนเมา การขับรถดวย

ความเร็ว การคาดเข็มขัดนิรภัย และการฝาฝนสัญญาณไฟ

Page 51: RPCA Policescience Course2556

๔๙

๓.๒ ชื่อ สกุล ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารย ๓.๒.๑ อาจารยประจําหลักสูตร

ลําดับ ช่ือ – สกุล

หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน

ตําแหนง

ทางวิชาการ คุณวุฒิ สาขาวิชา สถาบัน ป

พ.ต.อ.โสรัตน กลับวิลา

๓-๘๔๐๑-๐๐๒๒๙-๓๐-๙

รอง

ศาสตราจารย

สค.ม

น.บ.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๒

๒๕๔๒

๒๕๓๓

พ.ต.อ.หญิง ธนพร

วุฒิกรวิภาค

๓-๑๐๒๒-๐๑๔๓๐-๖๘-๗

ผูชวย

ศาสตราจารย

น.ม.

น.บ.ท.

น.บ.

กฎหมายอาญา

เนติบัณฑิตไทย

กฎหมาย

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เนติบัณฑิตยสภา

ม. รามคําแหง

๒๕๔๖

๒๕๓๕

๒๕๒๗

พ.ต.อ.ภูวดล แสนพินิจ

๓-๓๓๐๙-๐๐๐๓๓-๓๐-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

รป.ม.

น.บ.ท.

น.บ.

นโยบายตางประเทศ

เนติบัณฑิตไทย

กฎหมาย

ม.นานาชาติแสตมฟอรด

เนติบัณฑิตยสภา

ม. คณาสวัสดิ์ราชบัณฑิต

๒๕๕๓

๒๕๒๘

๒๕๒๖

พ.ต.อ.สหพัฒน หอมจันทร

๓-๓๐๑๖-๐๐๐๐๖-๘๓-๕

ผูชวย

ศาสตราจารย

ศศ.ม.

น.ม.

น.บ.

รป.บ.

รัฐศาสตร

กฎหมายมหาชน

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

ม. รามคําแหง

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

ม. รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๕

๒๕๕๕

๒๕๔๘

๒๕๓๗

พ.ต.อ.จรัส ธรรมธนารักษ

๓-๗๕๙๙-๐๐๐๘๐-๐๓-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

น.ม.

ศศ.ม.

น.บ.

รป.บ.

กฎหมายอาญา

บริหารรัฐกิจ

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ม. เกษตรศาสตร

ม. รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๕๐

๒๕๔๒

๒๕๔๖

๒๕๓๕

พ.ต.อ.หญิงจิราพร พวงอินทร

๓-๗๓๐๖-๐๐๖๗๓-๗๑-๓

ผูชวย

ศาสตราจารย

รป.ม.

ศศ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

รัฐศาสตร

ม. เกษมบัณฑิต

ม. รามคําแหง

๒๕๔๖

๒๕๓๙

พ.ต.ท.ทัชชกร ภูวดิษยคุณ

๓-๗๒๐๗-๐๐๓๘๐-๒๕-๔

ผูชวย

ศาสตราจารย

นศ.ม.

น.บ.

รป.บ.

การประชาสัมพันธ

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

ม. ศรีปทุม

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๓

๒๕๔๙

๒๕๓๕

พ.ต.ท.ปพัฒน วสุธวัช

๕-๗๓๐๖-๙๐๐๐๑-๙๖-๑

ผูชวย

ศาสตราจารย

ศศ.ม.

น.ม.

น.บ.

รป.บ.

รัฐศาสตร

กฎหมายอาญา

กฎหมาย

รัฐประศาสนศาสตร

ม. รามคําแหง

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

ม. สุโขทัยธรรมาธิราช

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๕

๒๕๕๖

๒๕๕๒

๒๕๓๒

พ.ต.อ.สุวิทย แกวกัลยา

๓-๗๓๐๖-๐๐๗๒๕-๐๘-๐

อาจารย

ศศ.ม.

รป.บ.

รัฐศาสตร

รัฐประศาสนศาสตร

ม.รามคําแหง

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๔๓

๒๕๒๖

๑๐

พ.ต.อ.จักรกฤษณ คุมรอบ

๓-๗๓๐๖-๐๐๗๒๕-๔๓-๘

อาจารย

กศ.ม.

รป.บ.

บริหารการศึกษา

รัฐประศาสนศาสตร

ม.นเรศวร

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๒๕๓๔

๒๕๒๘

Page 52: RPCA Policescience Course2556

๕๐

๓.๒.๓ อาจารยประจํา

ขาราชการตํารวจสายงานอาจารยในโรงเรียนนายรอยตํารวจ

๓.๒.๔ อาจารยพิเศษ

แตงต้ังจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ ตามคําสั่งโรงเรียนนายรอยตํารวจ

๔. องคประกอบเก่ียวกับการฝกภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา)

การฝกงานหรือฝกภาคสนาม ใชวิธีการสอนโดยสงนักเรียนนายรอยตํารวจไปฝกงานในพื้นที่จริง

หรือฝกภาคสนาม

๔.๑ มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม

๔.๑.๑ มีวินัย สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานที่ฝก

๔.๑.๒ มีความรู เทคนิคและทกัษะในการใชเครื่องมอื อุปกรณที่เกีย่วของกับงาน

๔.๑.๓ มีความสามารถในการวิเคราะห แกไขปญหาในสถานการณจริง

๔.๑.๔ มีความสามารถในการสือ่สาร

๔.๑.๕ มีความสามารถในการทํางานรวมกบัคนอื่น

๔.๒ ชวงเวลาท่ีจัดประสบการณ

ปดภาคเรียน ทุกช้ันป

๔.๓ การจัดเวลาและตารางสอน

เปนไปตามที่โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

๕. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรือวิจัย

๕.๑ คําอธิบายโดยยอ

การทํางานวิจัยเกี่ยวกับวิชาการตํารวจและการบังคับใชกฎหมาย มีข้ันตอนการ

ดําเนินการดังน้ี

๕.๑.๑ นักเรียนเลือกเรื่องที่สนใจเพื่อทําวิจัยพรอมกับเลือกอาจารยที่ปรึกษา

๕.๑.๒ สืบคนขอมูลและจัดทําโครงรางงานวิจัย

๕.๑.๓ นําเสนอโครงรางงานวิจัยตออาจารยที่ปรึกษา

๕.๑.๔ ดําเนินการทําวิจัย

๕.๑.๕ นําเสนอความกาวหนาการทําวิจัย

๕.๑.๖ วิเคราะหขอมูลและจัดทํารายงานการวิจัย

Page 53: RPCA Policescience Course2556

๕๑

๕.๑.๗ นําเสนอผลงานวิจัยและตอบขอซักถาม (สอบ) ตอคณะกรรมการประเมินผล

งานวิจัย

๕.๑.๘ สงรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณตออาจารยที่ปรึกษา

๕.๑.๙ ตีพิมพเผยแพรผลงานในวารสารวิชาการและหรือนําเสนอผลงานในทีป่ระชุม

วิชาการ (หากมี)

๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู

๕.๒.๑ มีความรูและทักษะดานการวิจัย ไดแก การสืบคนขอมูล การจัดทําโครงราง

งานวิจัย การนําเสนอโครงรางงานวิจัย การดําเนินการวิจัย การนําเสนอความกาวหนางานวิจัย

การวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลงานวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการตีพิมพเผยแพร

งานวิจัยในวารสารวิชาการและหรือการนําเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ (หากมี)

๕.๒.๒ มีทักษะการทํางานดานการวางแผน การบริหารจัดการ การติดตอสื่อสาร

การจัดเตรียมสื่อเพื่อการนําเสนอและเทคนิคการนําเสนอ

๕.๒.๓ มีการพัฒนาดานมนุษยสัมพันธ คุณธรรม จรรยาบรรณ จริยธรรมในการทํา

วิจัย และการทํางานเปนทีม

๕.๓ ชวงเวลา

ภาคการศึกษาที่ ๑ ช้ันปที่ ๔ ระบุปที่เริ่มทําวิจัย

๕.๔ จํานวนหนวยกิต

เปนสวนหน่ึงของการสอบภาควิชาการ ในการสอบวิชาชีพตํารวจ

๕.๕ การเตรียมการ

๕.๕.๑ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประชุมอาจารยและผูมีสวนเกี่ยวของเพื่อ

เตรียมรายละเอียดและข้ันตอนตางๆ ของการทํางานวิจัยพรอมจัดทําคูมือการทําวิจัย

๕.๕.๒ ช้ีแจงรายละเอียดแกนักเรียนพรอมตอบขอซักถาม

๕.๕.๓ แนะนําวิธีการสืบคนขอมูล วิธีการจัดเตรียมโครงรางงานวิจัย วิธีการเขียน

รายงานผลการวิจัย การจัดเตรียมสื่อเพื่อการนําเสนอ และวิธีการนําเสนอ

๕.๕.๔ แตงต้ังอาจารยที่ปรึกษา

๕.๕.๕ อาจารยที่ปรึกษาจัดตารางนัดพบนักเรียนเพื่อเลือกเรื่องที่จะศึกษาและให

คําปรึกษาตางๆ ติดตอสถานที่ตางๆ เปนตน

Page 54: RPCA Policescience Course2556

๕๒

๕.๖ กระบวนการประเมินผล

๕.๖.๑ มีคณะกรรมการประเมินผลงานวิจัย ประกอบดวย อาจารยประจําหลักสูตร

อาจารยที่ปรึกษา อาจารยที่ปรึกษารวม (รวม ๓ – ๔ คน) ทําหนาที่ประเมินโครงรางงานวิจัยวา

มีความเหมาะสมหรือไม พรอมใหขอเสนอแนะตางๆ ที่จะทําใหไดผลงานการวิจัยที่ดีและรัดกุม

มีความเหมาะสมกับเวลาของนักเรียน เปนตน

๕.๖.๒ คณะกรรมการประเมินผลงานวิจัยดังกลาวทําหนาที่ประเมินความกาวหนา

ของงานวิจัย พรอมใหขอเสนอแนะตอปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่เกิดข้ึน (หากมี)

๕.๖.๓ เมื่อนักเรียนไดเสร็จสิ้นการดําเนินการวิจัยและเตรียมรายงานผลการวิจยัแลว

คณะกรรมการประเมินผลงานวิจัยทําหนาที่ตรวจรายงานการวิจัย สอบงานวิจัย และนําผลการสอบ

ไปรวมกับการสอบวิชาชีพตํารวจในสวนอื่นๆ

Page 55: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๔ ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมนิผล

๑. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักเรียน

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักเรียน

บุคลิกภาพอบอุนเปนทีป่ระทับ

ใจกับผูพบเห็น

- มีการจัดกิจกรรมเสริมเพื่อฝกทักษะการแสดงตนในที่

สาธารณะ

- มีการสอดแทรกเรื่องการแตงกาย การเขาสังคม เทคนิค

การเจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธที่ดีและการวางตัว

ในการทํางานในบางรายวิชาที่เกี่ยวของ

- มีการจัดกิจกรรมปจฉิมนิเทศกอนที่นักเรียนจะสําเร็จ

การศึกษา

มีภาวะผูนําและความรบัผิดชอบ

ตลอดจนมีวินัยในตนเอง

- กําหนดใหมีรายวิชาซึ่งนักเรียนตองทํางานเปนกลุม และ

มีการกําหนดหัวหนากลุมในการทํารายงาน ตลอดจน

กําหนดใหทุกคนมีสวนรวมในการนําเสนอรายงาน เพื่อ

เปนการฝกใหนักเรียนไดสรางภาวะผูนําและการเปน

สมาชิกกลุมที่ดี

- มีกิจกรรมนักเรียนทีม่อบหมายใหนักเรียนหมุนเวียนกัน

เปนหัวหนาในการดําเนินกิจกรรมเพื่อฝกใหนักเรียนมี

ความรับผิดชอบ

- มีกติกาที่จะสรางวินัยในตนเอง เชนการเขาเรียนตรงเวลา

เขาเรียนอยางสม่ําเสมอการมีสวนรวมในช้ันเรียน เสริม

ความกลาในการแสดงความคิดเห็น

มีความสามารถดานเทคโนโลยี

สารสนเทศ

- จัดการเรียนการสอนที่สงเสริมการใชเทคโนโลยีสาร

สนเทศ เชน การสืบคนจากหองสมุด จากฐานขอมูลตางๆ

การจัดการเรียนแบบ e–learning

มีจริยธรรม และจรรยาบรรณ

วิชาชีพ

- มีการใหความรู อบรมและสอดแทรกจริยธรรมและ

จรรยาบรรณวิชาชีพในการเรียนการสอน

Page 56: RPCA Policescience Course2556

๕๔

๒. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

๒.๑ ดานคุณธรรม จรยิธรรม

๒.๑.๑ ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(๑) ตระหนักในคุณคาของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตยสุจริต

(๒) มีวินัย ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ

ขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม

(๓) มีภาวะความเปนผูนําและสามารถทํางานเปนหมูคณะ สามารถแกไข

ขอขัดแยงตามลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพใน

คุณคาและศักด์ิศรีของความเปนมนุษย

(๔) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะ

ผูประกอบวิชาชีพ รวมถึงเขาใจถึงบริบททางสังคมวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนและสากล

ในวิชาชีพตํารวจ

๒.๑.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(๑) กําหนดใหมีวัฒนธรรมองคกร เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนมีระเบียบวินัย

(๒) มอบหมายใหนักเรียนทํางานเปนกลุม ฝกการเปนผูนํา การเปนสมาชิก

กลุม และฝกความรับผิดชอบ

(๓) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสม่ําเสมอ

(๔) อาจารยผูสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน

๒.๑.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(๑) ประเมินจากการตรงตอเวลาของนักเรียนในการเขาเรียน การสงงานที่ได

รับมอบหมาย การเขารวมกิจกรรม

(๒) ประเมินจากความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

(๓) ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ

๒.๒ ดานความรู

๒.๒.๑ ผลการเรียนรูดานความรู

(๑) มีความรูและความเขาใจและวิธีแสวงหาความรูเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ

ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเน้ือหาของสาขาวิชาเฉพาะดานทางรัฐประศาสนศาสตร การสืบสวน

สอบสวน การปองกันปราบปราม การจราจร กฎหมายและศาสตรอื่นที่เกี่ยวของกับวิชาชีพตํารวจ

Page 57: RPCA Policescience Course2556

๕๕

(๒) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหาดวยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต

ใชทฤษฎีที่เหมาะสม

(๓) สามารถประยุกตใชความรูและทักษะในสาขาวิชาการตํารวจในการปฏิบัติ

งานและการแกไขปญหาในการปฏิบัติงานจริงได

(๔) สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการเกี่ยวกับศาสตรดานการตํารวจ

และสามารถบูรณาการกับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มีศักยภาพเชิงพัฒนาในการพัฒนาตน

การพัฒนาวิชาการตํารวจ และสังคมอยางเหมาะสม

๒.๒.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู

(๑) จัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ

(๒) เรียนรูจากสถานการณจริง

(๓) สงเสริมใหเขารวมประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานวิชาการ ระดับชาติ

และนานาชาติ

๒.๒.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู

(๑) ประเมินจากการสงงานที่ไดรับมอบหมาย

(๒) ประเมินจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน

(๓) ประเมินจากการเขารวมประชุมทางวิชาการ

๒.๓ ดานทักษะทางปญญา

๒.๓.๑ ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(๑) มีความคิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ

(๒) สามารถรวบรวมขอมูล ศึกษาวิเคราะหและสรุปประเด็นปญหาและ

สถานการณแวดลอม

(๓) สามารถคิดและแกไขปญหาดานรัฐประศาสนศาสตรและการตํารวจได

อยางเปนระบบ

(๔) มีจินตนาการ ความฉลาดทางอารมณ และความยืดหยุนในการปรับใช

องคความรูที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม

๒.๓.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุม

เชน อภิปรายกลุม กรณีศึกษา การจัดทําโครงการ ฯลฯ

Page 58: RPCA Policescience Course2556

๕๖

๒.๓.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(๑) ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในหองเรียน

(๒) ประเมินจากการปฏิบัติงานของนักเรียน

(๓) ประเมินจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

๒.๔ ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

๒.๔.๑ ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(๑) สามารถสื่อสารกับกลุมคนที่หลากหลายและสามารถสนทนาทัง้ภาษาไทย

และตางประเทศ สามารถใชความรูในวิชาที่ศึกษามาติดตอสื่อสารกับสังคมไดอยางเหมาะสม

(๒) สามารถใหความชวยเหลือในการแกไขปญหาในสถานการณตางๆ ภายใน

กลุมทั้งในบทบาทของผูนํา หรือผูรวมทีมทํางาน

(๓) สามารถพัฒนาการเรียนรูของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเน่ือง

(๔) สามารถแสดงบทบาท หนาที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่

มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุม ปรับตัวและทํางานรวมกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูตาม

ไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ

๒.๔.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผิดชอบ

(๑) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนการทํางานเปนกลุมและงานที่ตองมี

ปฏิสัมพันธระหวางบุคคล

(๒) สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ การเขาใจวัฒนธรรม

ขององคกร ในรายวิชาตางๆ

(๓) จัดประสบการณการเรียนรูเพื่อฝกปฏิบัติ

๒.๔.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

(๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักเรียนขณะทํากิจกรรมกลุม

(๒) ประเมินจากการนําเสนอผลงานเปนกลุม

(๓) ประเมินความสม่ําเสมอการเขารวมกิจกรรมกลุม

(๔) ประเมินความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

Page 59: RPCA Policescience Course2556

๕๗

๒.๕ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

๒.๕.๑ ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

(๑) มีทักษะในการใชคอมพิวเตอร สําหรับการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาชีพได

เปนอยางดี

(๒) มีทักษะในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดง

สถิติประยุกต สําหรับการแกปญหาที่เกี่ยวของไดอยางสรางสรรค

(๓) มีทักษะในการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัย

ไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

(๔) มีทักษะในการสื่อสารขอมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย

โดยใชสัญลักษณ

๒.๕.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(๑) จัดการเรียนการสอนที่เนนการฝกทักษะการสื่อสาร ทั้งการพูด การฟง

การเขียน ในระหวางผูเรียน ผูสอน และผูเกี่ยวของอื่น ๆ

(๒) จัดประสบการณการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

และการสื่อสาร ที่หลากหลายและเหมาะสม

(๓) จัดประสบการณใหผูเรียนนําเสนอผลงาน โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตรและสถิติ

๒.๕.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(๑) ประเมินทักษะการพูดในการนําเสนอผลงาน การเขียนรายงาน การนําเสนอ

โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(๒) ประเมินความสามารถในการใชทักษะทางคณิตศาสตรและสถิติเพื่ออธิบาย

อภิปรายผลงานไดอยางเหมาะสม

(๓) ประเมินวิธีการเลือกใชเทคนิคการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร

ในการแกปญหาเชิงตัวเลข

Page 60: RPCA Policescience Course2556

๕๘

๒.๖ ดานทักษะการบังคับใชกฎหมายและวิชาชีพตํารวจ

๒.๖.๑ ผลการเรียนรูดานทักษะการบังคับใชกฎหมายและวิชาชีพตํารวจ

(๑) มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย

(๒) มีจิตใจ รางกายและสุขภาพที่ดี เขมแข็ง แข็งแรง พรอมที่จะปฏิบัติหนาที ่

(๓) มีความรอบรูเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับตํารวจ

(๔) มีความชํานาญดานวิชาชีพตํารวจและยุทธวิธีตํารวจ

๒.๖.๒ กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการบังคับใช

กฎหมายและวิชาชีพตํารวจ

(๑) การฝกปฏิบัติ

(๒) การเรียนรูผานประสมการณตรงจากการปฏิบัติงานในช้ันเรียนและนอก

ช้ันเรียน

(๒) การเรียนรูที่เนนการแสวงหาความรูดวยตนเองจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย

๒.๖.๓ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการบังคับใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

(๑) การประเมินตามสภาพจริง

(๒) การประเมินจากผลการปฏิบัติจริง

(๓) นักเรียนประเมินตนเองและเพื่อนรวมประเมิน

(๔) ประเมินโดยใชวิธีการและเครื่องมือหลากหลาย

๓. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา

(Curriculum Mapping)

แสดงใหเห็นวาแตละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบตอผลการเรียนรูใดบาง (ตามที่ระบุในหมวดที ่

๔ ขอ ๒) โดยระบุวาเปนความรับผิดชอบหลักหรือรับผิดชอบรอง ผลการเรียนรูในตารางมีความหมาย

ดังตอไปน้ี

๑. ดานคุณธรรม จริยธรรม

(๑.๑) ตระหนักในคุณคาของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต

(๑.๒) มีวินัย ตรงตอเวลา รับผิดชอบตอตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและขอบังคับ

ตางๆ ขององคกรและสังคม

Page 61: RPCA Policescience Course2556

๕๙

(๑.๓) มีภาวะความเปนผูนําและ สามารถทํางานเปนหมูคณะ สามารถแกไขขอขัดแยง

ตามลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคาและศักด์ิศร ี

ของความเปนมนุษย

(๑.๔) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูประกอบ

วิชาชีพ รวมถึงเขาใจถึงบริบททางสังคมวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนและสากลในวิชาชีพ

ตํารวจ

๒. ดานความรู

(๒.๑) มีความรูและความเขาใจและวิธีแสวงหาความรูเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิง

ทฤษฎีและปฏิบัติ ในเน้ือหาของสาขาวิชาเฉพาะดานทางรัฐประศาสนศาสตร การสบืสวนสอบสวน

การปองกันปราบปรามอาชญากรรม การจราจร กฎหมายและศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ

ตํารวจ

(๒.๒) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหาดวยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกตใชทฤษฎี

ที่เหมาะสม

(๒.๓) สามารถประยุกตใชความรูและทักษะในสาขาวิชาการตํารวจ ในการปฏิบัติงาน

และการแกไขปญหาในงานจริงได

(๒.๔) สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการเกี่ยวกับศาสตรดานการตํารวจและ

สามารถบูรณาการกับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มีศักยภาพเชิงพัฒนาในการพัฒนาตน

การพัฒนาวิชาการตํารวจ และสังคมอยางเหมาะสม

๓. ดานทักษะทางปญญา

(๓.๑) มีความคิดอยางมีวิจารณญาณและอยางเปนระบบ

(๓.๒) สามารถรวบรวมขอมูล ศึกษา วิเคราะห และสรุปประเด็นปญหาและสถานการณ

แวดลอม

(๓.๓) สามารถคิดและแกไขปญหาดานรัฐประศาสนศาสตรและการตํารวจไดอยางเปนระบบ

(๓.๔) มีจินตนาการ ความฉลาดทางอารมณ และความยืดหยุนในการปรับใชองคความรู

ที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม

๔. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(๔.๑) สามารถสื่อสารกับกลุมคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ

ตางประเทศ สามารถใชความรูในวิชาที่ศึกษามาติดตอสื่อสารกับสังคมไดอยางเหมาะสม

Page 62: RPCA Policescience Course2556

๖๐

(๔.๒) สามารถใหความชวยเหลือในการแกไขปญหาในสถานการณตางๆ ภายในกลุม

ทั้งในบทบาทของผูนํา หรือผูรวมทีมทํางาน

(๔.๓) สามารถพัฒนาการเรียนรูของตนเองและทางวิชาชีพอยางตอเน่ือง

(๔.๔) สามารถแสดงบทบาท หนาที่และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย

ทั้งงานบุคคลและงานกลุม ปรับตัวและทํางานรวมกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูตามไดอยางมี

ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(๕.๑) มีทักษะในการใชคอมพิวเตอร สําหรับการทํางานที่เกี่ยวของกับวิชาชีพไดเปน

อยางดี

(๕.๒) มีทักษะในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติ

ประยุกต สําหรับการแกปญหาที่เกี่ยวของไดอยางสรางสรรค

(๕.๓) มีทักษะในการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยไดอยาง

เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

(๕.๔) มีทักษะในการสื่อสารขอมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดย

ใชสัญลักษณ

๖. ดานทักษะการบังคับใชกฎหมายและวิชาชีพตํารวจ

(๖.๑) มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย

(๖.๒) มีจิตใจ รางกาย และสุขภาพที่ดี เขมแข็ง แข็งแรง พรอมที่จะปฏิบัติหนาที่

(๖.๓) มีความรอบรูเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับตํารวจ

(๖.๔) มีความชํานาญดานวิชาชีพตํารวจและยุทธวิธีตํารวจ

Page 63: RPCA Policescience Course2556

๖๑

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบตอผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ๐ ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุมวิชาสังคมศาสตร

๒๑๑๑๐๑ การเปนพลเมือง ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๑๑๑๐๒ เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๑๑๑๐๓ จิตวิทยาทั่วไป ๐ ๐ ๐ ๐

๒๑๒๑๐๔ สังคมวิทยา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๒๑๑๐๕ อาเซียนศึกษา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาภาษา

๒๑๑๑๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๑ ๐ ๐ ๐

๒๑๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๒ ๐ ๐ ๐

๒๑๒๑๐๘ การใชภาษาไทย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๔๑๑๐๙ ภาษาอังกฤษสําหรับตํารวจ

เพื่อการส่ือสาร

Page 64: RPCA Policescience Course2556

๖๒

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

กลุมวิชามนุษยศาสตร

๒๔๑๑๑๐ มนุษยสัมพันธและ

จิตวิทยาสําหรับตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๑๑๑๑๑ จริยธรรมตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

๒๑๒๑๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๓๒๑๑๓ ระเบียบวิธีวิจัย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๒๔๑๑๑๔ คณิตศาสตรและสถิติ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

ข. หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาการบริหาร

๑๑๒๒๐๑ หลักรัฐประศาสนศาสตร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๐๒ หลักการบริหารงาน

ตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๒๒๐๓ การบริหารงานสถานีตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๑๒๐๔ การบริหารงานตํารวจยคุใหม ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๐๕ การอํานวยการตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 65: RPCA Policescience Course2556

๖๓

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

กลุมวิชากฎหมาย

๑๑๑๒๐๖ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับ

กฎหมาย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๑๑๒๐๗ กฎหมายรัฐธรรมนูญและ

กฎหมายเลือกตั้ง ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๑๑๒๐๘ กฎหมายอาญา ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๑๒๒๐๙ กฎหมายอาญา ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๑๐ กฎหมายอาญา ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๒๒๑๑ กฎหมายอาญา ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๑๒๒๑๒ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๑๓ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๑๒๑๔ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๒๒๑๕ กฎหมายวิธีพิจารณา

ความอาญา ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๒๒๑๖ กฎหมายวิธีพิจารณา

ความอาญา ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 66: RPCA Policescience Course2556

๖๔

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๑๓๑๒๑๗ กฎหมายลักษณะพยาน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๒๒๑๘ กฎหมายปกครอง ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๑๙ กฎหมายตํารวจแหงชาติ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๒๒๒๐ สิทธิมนุษยชน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาสืบสวนสอบสวน

๓๓๑๒๒๑ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓๓๒๒๒๒ การพิสูจนหลักฐาน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓๔๑๒๒๓ การทะเบียนประวัติอาชญากร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓๔๒๒๒๔ นิติเวชศาสตร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๓๓๒๒๒๕ อาชญากรรมทาง

คอมพิวเตอร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๒๒๒๖ การสอบสวน ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๑๒๒๗ การสอบสวน ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๒๒๒๘ การสอบสวน ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๑๒๒๙ การสอบสวน ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๒๒๓๐ การสอบสวน ๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 67: RPCA Policescience Course2556

๖๕

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๑๒๒๒๓๑ การสืบสวน ๑ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๑๒๓๒ การสืบสวน ๒ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม

๑๑๒๒๓๓ การปฏิบัติตอเยาวชนและ

ครอบครัว ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๓๔ หลักอาชญาวิทยาและ

งานยุติธรรม ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๓๕ ปญหาอาชญากรรมและ

การควบคุมแหลงอบายมุข ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๑๒๓๖ การปองกันและบรรเทา

สาธารณภัย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๒๒๒๓๗ ยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๑๒๓๘ การปองกันและปราบปราม

อาชญากรรม ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๓๒๒๓๙ การปองกันและปราบปราม

อาชญากรรม ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 68: RPCA Policescience Course2556

๖๖

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๑๒๒๒๔๐ การรักษาความปลอดภัย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๑๒๔๑ การตํารวจชุมชนและการ

มีสวนรวมของประชาชน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๒๒๔๒ อาชญากรรมขามชาติกับการ

ขาวและสถานการณโลกปจจุบัน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๒๒๔๓ การตอตานการกอการราย

สากลและการจัดการ

ภายใตสภาวะวิกฤต

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมจราจร

๑๒๒๒๔๔ การจราจร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมการฝก

๔๑๑๒๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๒๑๒๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๓๑๒๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๔๑๒๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๑๒๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 69: RPCA Policescience Course2556

๖๗

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๔๒๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๓๒๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๔๑๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๑๒๒๐๙ การยิงปน ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๒๒๒๑๐ การยิงปน ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๓๒๒๑๑ การยิงปน ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๔๑๒๑๒ การยิงปน ๔ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๑๑๒๑๓ วิทยาศาสตรการกีฬา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๑๒๒๑๔ ยูโด ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๒๑๒๑๕ วายนํ้า ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๒๒๒๑๖ มวยไทย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๓๑๒๑๗ การตอสูปองกันตวั ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๔๓๒๒๑๘ ศิลปะการปองกันตัว ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

วิชาเลือก

กลุมวิชาสังคมศาสตร

๒๔๐๓๐๑ การเมืองการปกครองไทย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 70: RPCA Policescience Course2556

๖๘

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๒๔๐๓๐๒ ภาษาไทยกับการเขียน

สํานวนสอบสวน ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาการบริหาร

๑๔๐๓๐๓ องคการตํารวจเปรียบเทียบ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๐๔ สัมมนาการบริหารงาน

ตํารวจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๐๕ การบริหารทรัพยากรมนุษย ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๐๖ การบริหารงบประมาณ

และพัสด ุ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๐๗ นโยบายสาธารณะ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชากฎหมาย

๑๔๐๓๐๘ กฎหมายระหวางประเทศ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๐๙ สัมมนาในวิชากฎหมาย

อาญา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๐ สัมมนาในวิชากฎหมายวิธี

พิจารณาความอาญา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 71: RPCA Policescience Course2556

๖๙

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๑๔๐๓๑๑ กฎหมายวิธีพิจารณา

ความแพง ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๒ กฎหมายคุมครองผูบริโภค ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๓ กฎหมายแพง: นิติกรรม

สัญญา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๔ กฎหมายทรัพยสินทาง

ปญญา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๕ พระราชบัญญัติที่มีโทษ

ทางอาญา ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาสืบสวนสอบสวน

๑๔๐๓๑๖ สัมมนาการสืบสวน ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๗ สัมมนาการสอบสวน ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๑๘ วิทยาการตํารวจกาวหนา ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม

๑๔๐๓๑๙ วิชาการทหาร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๒๐ ยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 72: RPCA Policescience Course2556

๗๐

รายวิชา

๑. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

๒. ดานความรู

๓. ดานทักษะทางปญญา

๔. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

๕. ดานทักษะการ

วิเคราะหเชิงตัวเลข

การส่ือสารและการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

๖. ดานทักษะการบังคับ

ใชกฎหมายและ

วิชาชีพตํารวจ

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔ ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔ ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓ ๕.๔ ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓ ๖.๔

๑๔๐๓๒๑ การปองกันและ

ปราบปรามยาเสพติด ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๒๒ อาชญากรรมทาง

เศรษฐกิจ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๘๓๒๓ การปองกันและปราบปราม

การคามนุษยสําหรับ

เจาหนาที่ผูปฏิบัติ

๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

กลุมจราจร

๑๔๐๓๒๔ อุบัติเหตุจราจร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

๑๔๐๓๒๕ การบังคับใชกฎหมายจราจร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐

Page 73: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๕ หลักเกณฑในการประเมินผลนักเรียน

๑. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)

ในการวัดผลการศึกษาของแตละรายวิชาหรือหลักสูตร ใหอาจารยหรือผูรับผิดชอบ

รายวิชาเสนอเกณฑการวัดผลการศึกษาวาจะใชเกณฑการวัดผลการศึกษาแบบอิงเกณฑหรือเกณฑ

วัดผลการศึกษาแบบอิงกลุม ตอผูบังคับการศูนยบริการทางการศึกษา กอนเปดภาคการศึกษา

การจัดสงผลการศึกษาของนักเรียนนายรอยตํารวจ ใหอาจารยหรือคณะกรรมการ

ผูดําเนินการวัดผลเสนอผานหัวหนากลุมงานวิชาจนถึงผูบังคับการศูนยบริการทางการศึกษา

ภาควิชาการ การฝกตํารวจ และการฝกพลศึกษา กรณีรายวิชาใดใชเกณฑการวัดผล

การศึกษาแบบอิงเกณฑ ใหวัดผลการศึกษาเปนอักษรระดับคะแนน และมีความหมายดังตอไปน้ี

อักษรระดับคะแนน A = คะแนน ๘๐ ข้ึนไป

อักษรระดับคะแนน B+ = คะแนนระหวาง ๗๕ ไมถึง ๘๐

อักษรระดับคะแนน B = คะแนนระหวาง ๗๐ ไมถึง ๗๕

อักษรระดับคะแนน C+ = คะแนนระหวาง ๖๕ ไมถึง ๗๐

อักษรระดับคะแนน C = คะแนนระหวาง ๖๐ ไมถึง ๖๕

อักษรระดับคะแนน D+ = คะแนนระหวาง ๕๕ ไมถึง ๖๐

อักษรระดับคะแนน D = คะแนนระหวาง ๕๐ ไมถึง ๕๕

อักษรระดับคะแนน F = คะแนน ตํ่ากวา ๕๐

อักษรระดับคะแนน I = ไมสมบูรณ

โดยอักษรระดับคะแนนเทียบเปนระดับคะแนน ดังน้ี

อักษรระดับคะแนน A แตมระดับคะแนน ๔.๐

อักษรระดับคะแนน B+ แตมระดับคะแนน ๓.๕

อักษรระดับคะแนน B แตมระดับคะแนน ๓.๐

อักษรระดับคะแนน C+ แตมระดับคะแนน ๒.๕

อักษรระดับคะแนน C แตมระดับคะแนน ๒.๐

อักษรระดับคะแนน D+ แตมระดับคะแนน ๑.๕

อักษรระดับคะแนน D แตมระดับคะแนน ๑.๐

อักษรระดับคะแนน F แตมระดับคะแนน ๐

Page 74: RPCA Policescience Course2556

๗๒

การวัดผลการศึกษาเปนอักษรระดับคะแนนใด ใหอาจารยผูสอนและอาจารยผูรบัผดิชอบ

หรือกรรมการผูดําเนินการวัดผลพิจารณาความรูความสามารถและความขยันหมั่นเพียรของ

นักเรียนนายรอยตํารวจ ประกอบกับคุณภาพของการสอบและผลงานที่ไดกระทําหรือปฏิบัติดวย

การใหอักษรระดับคะแนน F กระทําไดเมื่อนักเรียนนายรอยตํารวจเขาสอบ แตสอบตก

หรือไมไดเขาสอบตามกําหนด หรือขาดสอบไมวากรณีใดๆ หรือไดรับการตัดสินใหสอบตก

เน่ืองจากทําผิดระเบียบการสอบ หรือเมื่อไดเปลี่ยนจากอักษรระดับคะแนน I หลังจากวันสิ้นสุดป

การศึกษาน้ัน

การใหอักษรระดับคะแนน I กระทําไดเมื่อนักเรียนนายรอยตํารวจเขาสอบ แตทํางานซึ่งเปน

สวนประกอบของรายวิชาที่ศึกษายังไมเสร็จเรียบรอย และอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาน้ัน

เห็นสมควรใหรอผลการศึกษา จนกวาจะเปลี่ยนใหเปนอักษรระดับคะแนนที่เหมาะสมกับคุณภาพ

ของการสอบ ผลงานที่กระทําหรือไดปฏิบัติงานครบถวนตามกําหนดแลว ทั้งน้ีจะตองกระทําให

เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาน้ัน จะสามารถรายงานผลการศึกษาได

กอนวันสิ้นสุดปการศึกษาน้ัน มิฉะน้ันจะเปลี่ยนจากอักษรระดับคะแนน I เปน F

ในการฝกหัดปฏิบัติราชการ การฝกหลักสูตรพิเศษ ไมนับหนวยกิตและไมมีผลตอการ

สอบประจําภาคหรือการเลื่อนช้ันการศึกษาแตประการใด จึงไมมีวัดผลการศึกษาเปนอักษรระดับ

คะแนน คงมีแตการวัดผลการศึกษาตามระเบียบและวิธีการที่กําหนดไวในหลักสูตรพิเศษน้ันๆ

เพื่อรับวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร เครื่องหมายเชิดชูเกียรติ หรือเข็มเครื่องหมายน้ันๆ หรือเปนไป

ตามหลักเกณฑและวิธีการที่โรงเรียนนายรอยตํารวจ กําหนด

การประกาศผลการศึกษา ใหโรงเรียนนายรอยตํารวจประกาศผลการศึกษาแตละภาค

การศึกษาใหนักเรียนนายรอยตํารวจทราบทุกครั้ง โดยใหปรากฏคะแนนรอยละของแตละรายวิชา

อักษรระดับคะแนนของแตละรายวิชาคะแนนเฉลี่ยสะสมเปนรอยละ และแตมระดับคะแนนเฉลี่ย

สะสม

การรายงานผลการศึกษา ใหโรงเรียนนายรอยตํารวจรายงานผลการศึกษาในใบแสดง

ผลการศึกษา (transcript) เปนอักษรระดับคะแนน นักเรียนนายรอยตํารวจ หรือผูที่เคยศึกษา

อบรมตามหลักสูตรน้ี ไมวาจะสําเร็จการศึกษาหรือไมก็ตาม สามารถขอใบแสดงผลการศึกษาได

๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน

๒.๑ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักเรียนนายรอยตํารวจยังไมสําเร็จ นักเรียน

Page 75: RPCA Policescience Course2556

๗๓

นายรอยตํารวจผูใดไดอักษรระดับคะแนนของรายวิชาใดในภาควิชาการหรือภาคการฝก F มีสิทธิ

สอบแกตัวตามเกณฑ ดังน้ี

๒.๑.๑ ในการศึกษาภาควิชาการ การฝกตํารวจและการฝกพลศึกษา ใหมีสิทธิสอบ

แกตัวไดภาคการศึกษาละหน่ึงครั้ง และกําหนดใหมีการลงทะเบียนสอบแกตัวทุกครั้ง

รายวิชาใดที่สอบตกและมีการสอบแกตัวมาแลว จะไดรับอักษรระดับ

คะแนน D

การปรับอักษรระดับคะแนน F ใหเสร็จสิ้นกอนสิ้นสุดปการศึกษาของนักเรยีน

นายรอยตํารวจช้ันปที่ ๔

กรณีนักเรียนนายรอยตํารวจช้ันปที่ ๔ ยังมีรายวิชาใดไดอักษรระดับคะแนน

F จะตองทําการสอบแกตัวใหเสร็จสิ้นกอนสิ้นสุดปการศึกษา หากสอบแกตัวไมผาน ใหถือวา

ไมสําเร็จการศึกษา และใหซ้ําช้ันการศึกษา

๒.๑.๒ ในการฝกหัดปฏิบัติราชการ ไมมีสิทธิสอบแกตัว

๒.๒ การทวนสอบผลการเรียนรูหลังจากนักเรียนนายรอยตํารวจสําเร็จการศึกษา เมื่อ

สิ้นสุดปการศึกษาหน่ึงๆ นักเรียนนายรอยตํารวจจะไดรับการพิจารณาเลื่อนช้ันการศึกษาเมื่อมี

คุณสมบัติ ดังน้ี

๒.๒.๑ ตองศึกษาครบถวนตามหลักสูตรนักเรียนนายรอยตํารวจช้ันปน้ันๆ

๒.๒.๒ ตองมีเวลาในการศึกษาในแตละรายวิชาของภาควิชาการ การฝกตํารวจ

และการฝกพลศึกษา ในปการศึกษาที่ผานน้ัน ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของช่ัวโมงการศึกษา

ทั้งหมดของรายวิชาน้ันๆ

๒.๒.๓ ตองมีคะแนนเฉลี่ยสะสมของการศึกษาภาควิชาการ การฝกตํารวจและการฝก

พลศึกษา ในปการศึกษาที่ผานมาน้ัน ต้ังแต ๒.๐ ข้ึนไป

การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมปการศึกษาที่ผานมาคํานวณไดจากการรวมผลคูณ

ของหนวยกิต กับระดับคะแนนที่สอบไดแตละวิชา แลวหารดวยจํานวนหนวยกิตรวมของทุกวิชา

ในปการศึกษาน้ัน

ในกรณีที่มีการเรียนซ้ําช้ันหรือมีการสอบแกตัวมากอน การคิดคะแนนเฉลี่ย

สะสมตองคิดจากคะแนนใหม

๒.๒.๔ ตองมีคะแนนความประพฤติเหลืออยูไมนอยกวารอยละ ๖๐ ของคะแนน

ความประพฤติทั้งหมดในปการศึกษาที่ผานมาน้ัน

Page 76: RPCA Policescience Course2556

๗๔

๒.๓ การเรียนซ้ําชั้น นักเรียนนายรอยตํารวจจะตองเรียนซ้ําช้ันการศึกษา เมื่อขาด

คุณสมบัติอยางใดอยางหน่ึงในขอ ๒.๒

๒.๔ การพนสภาพนักเรียนนายรอยตํารวจ นักเรียนนายรอยตํารวจจะตองพนสภาพ

นักเรียนนายรอยตํารวจในกรณีดังตอไปน้ี

๒.๔.๑ มีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมในภาควิชาการ การฝกตํารวจและการฝกพล

ศึกษา ต้ังแตภาคแรกของการศึกษาในช้ันปที่ ๑ ถึงภาคการศึกษาน้ัน ตํ่ากวา ๑.๕

ในกรณีที่มีการเรียนซ้ําช้ันหรือสอบแกตัวมากอน การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสม

ดังกลาว ตองคิดจากคะแนนใหม

๒.๔.๒ เรียนซ้ําช้ันมาหน่ึงปการศึกษาแลว และขาดคุณสมบัติตามหลักเกณฑที่จะได

เลื่อนช้ันเดียวกันน้ันอีก

๒.๔.๓ ไมมีคะแนนความประพฤติในปการศึกษาน้ันเหลืออยูเลย หรือ

๒.๔.๔ พนสภาพนักเรียนนายรอยตํารวจตามหลักเกณฑอื่นที่สํานักงานตํารวจ

แหงชาติกําหนด

ผูที่พนสภาพการเปนนักเรียนนายรอยตํารวจ สามารถขอผลการศึกษาขณะ

ศึกษาอบรมอยูในโรงเรียนนายรอยตํารวจได

๓. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

๓.๑ คุณสมบัติของผูสําเร็จการศึกษา นักเรียนนายรอยตํารวจช้ันปที่ ๔ ที่จะไดรับการ

พิจารณาวาสําเร็จการศึกษามีสิทธิขอรับปริญญารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ตองมีคุณสมบัติ

ดังน้ี

๓.๑.๑ ตองมีคุณสมบัติครบถวนเชนเดียวกับหลักเกณฑในขอ ๒.๑ และ ๒.๒

๓.๑.๒ ตองไมมีผลการศึกษารายวิชาหรือหลักสูตรการฝกใดไดอักษรระดับคะแนนF

๓.๑.๓ ตองมีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสตูรต้ังแต ๒.๐ ข้ึนไป

การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร คํานวณไดจากการรวมผลคูณของ

หนวยกิต กับระดับคะแนนที่สอบไดแตละวิชา แลวหารดวยจํานวนหนวยกิตรวมของทุกวิชาที่มี

การศึกษาต้ังแตเริ่มเขาศึกษาช้ันปที่ ๑ จนถึงผลสอบครั้งสุดทาย

ในกรณีที่มีการเรียนซ้ําช้ันหรือมีการสอบแกตัวมากอน การคิดคะแนนเฉลี่ย

สะสมตองคิดจากคะแนนใหม

Page 77: RPCA Policescience Course2556

๗๕

รายวิชาที่มีการเรียนซ้ําช้ันหรือมีการสอบแกตัวมาแลว จะไดรับอักษรระดับ

คะแนน D

๓.๑.๔ ตองผานการสอบและไดรับประกาศนียบัตรวิชาชีพตํารวจ ซึ่งการสอบ

วิชาชีพตํารวจ ประกอบดวยการสอบภาควิชาการ และภาคการฝก ตามเกณฑ วิธีการ และ

ชวงเวลาที่โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

๓.๒ การใหรางวัลการศึกษา นักเรียนนายรอยตํารวจจะไดรับรางวัลการศึกษาในแตละ

ปการศึกษา ถามีผลการศึกษาตามเกณฑ ดังน้ี

๓.๒.๑ ตองมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑการเลื่อนช้ันการศึกษา และมีแตมระดับ

คะแนนเฉลี่ยสะสมเปนลําดับที่หน่ึงในช้ันประจําปการศึกษา โดยไมเคยสอบตกในรายวิชาใดในป

การศึกษาน้ัน ไดรับรางวัลการศึกษาดีเย่ียมโลทอง

๓.๒.๒ ตองมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑการเลื่อนช้ันการศึกษา และมีแตมระดับ

คะแนนเฉลี่ยสะสมเปนลําดับที่สองในช้ันประจําปการศึกษา โดยไมเคยสอบตกในรายวิชาใดในป

การศึกษาน้ัน ไดรับรางวัลการศึกษาดีเย่ียมโลเงิน

๓.๒.๓ ตองมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑการเลื่อนช้ันการศึกษา และมีแตมระดับ

คะแนนเฉลี่ยสะสมเปนลําดับที่สามในช้ันประจําปการศึกษา โดยไมเคยสอบตกในรายวิชาใดในป

การศึกษาน้ัน ไดรับรางวัลการศึกษาดีเย่ียมโลทองแดง

๓.๒.๔ ตองมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑการเลื่อนช้ันการศึกษา และมีเวลาในการศึกษา

ในภาควิชาการ การฝกตํารวจ และการฝกพลศึกษา ไมนอยกวารอยละ ๙๐ ของช่ัวโมงการศึกษา

ดังกลาวทั้งหมดประจําปการศึกษา โดยไมเคยไดอักษรระดับคะแนน F ในปการศึกษาน้ัน ไดรับ

ประกาศนียบัตรชมเชยความขยันหมั่นเพียร

Page 78: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๖ การพัฒนาคณาจารย

๑. การเตรียมการสาํหรับอาจารยใหม

๑.๑ มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเปนครูแกอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจนโยบาย

ของโรงเรียนและใหเขาใจวัตถุประสงคและเปาหมายของหลักสูตรตามแนวคิดของกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เขาใจการบริหารวิชาการและการประกันคุณภาพการศึกษาที่

โรงเรียนตองดําเนินการและสวนที่อาจารยทุกคนตองปฏิบัติ

๑.๒ อาจารยใหมทุกคนตองไดรับการฝกอบรมตามโครงการที่โรงเรียนนายรอยตํารวจ

กําหนด โดยทุกคนตองผานการอบรมสองหลักสูตร คือ หลักสูตรเกี่ยวกับการสอนทั่วไป และ

หลักสูตรการวัดและประเมินผล ภายใน ๑ ป ที่ไดรับการบรรจุและแตงต้ัง

๒. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย

๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

๒.๑.๑ สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริม

การจัดการเรียนการสอน และสงเสริมใหอาจารยทําวิจัยในช้ันเรียนอยางตอเน่ืองและเผยแพร

ผลงาน

๒.๑.๒ จัดการประชุม/อบรมสัมมนาเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการ

ประเมินผลใหทันสมัย

๒.๒ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ

๒.๒.๑ พัฒนาอาจารยดานวิชาการและวิชาชีพใหมีความรูความสามารถดานบริการ

วิชาการแกชุมชนใหสอดคลองกับการเรียนการสอนและการวิจัย

๒.๒.๒ สงเสริมการทําวิจัยสรางองคความรูใหมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และ

ความเช่ียวชาญในสาขาวิชาชีพ ทําผลงานทางวิชาการ และจัดสรรงบประมาณสําหรับการทําวิจัย

๒.๒.๓ จัดใหอาจารยเขารวมกิจกรรมบริการวิชาการตางๆ ของโรงเรียน

๒.๒.๔ จัดงบประมาณสนับสนุนใหอาจารยไดไปศึกษาอบรมเพิ่มเติมความรู

ทั้งภายในประเทศและตางประเทศตามความตองการ

๒.๒.๕ จัดโครงการเชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรู ดานวิชาการตํารวจและ

การบังคับใชกฎหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงหรืออยูในความสนใจเปนประจําทุกป

Page 79: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๗ การประกันคุณภาพหลักสูตร

๑. การบริหารหลักสูตร

การบริหารหลักสูตรจะมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบดวย ผูบัญชาการ รองผูบญัชาการ

ฝายวิชาการ ศาสตราจารย (สบ ๖) ผูบังคับการศูนยบริการทางการศึกษา และอาจารยประจํา

หลักสูตร ทั้งน้ีตามคําสั่งโรงเรียนนายรอยตํารวจ เปนผูรับผิดชอบบริหารหลักสูตร กํากับดูแลและ

ใหคําแนะนํา ตลอดจนกําหนดนโยบายปฏิบัติใหแกอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร วางแผนการ

จัดการเรียนการสอนรวมกับผูบริหารของโรงเรียนและอาจารยผูสอน ติดตามและรวบรวมขอมูล

สําหรับใชในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยกระทําทุกปอยางตอเน่ือง

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล

๑. พัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย

โดยอาจารยและนักเรียน

สามารถกาวทันหรือเปน

ผู นํ าในการสร างองค

ความรูใหมๆ ทางดาน

สาขาวิชาการตํารวจ

๒. กระตุนให นักเรียนเกิด

ความใฝรู มีแนวทางการ

เรียนที่ สรางทั้ งความรู

ความสามารถในวิชาการ

วิชาชีพที่ทันสมัย

๓. ตรวจสอบและปรับปรุง

หลักสูตรใหมี คุณภาพ

มาตรฐาน

๔. มีการประเมินมาตรฐาน

ของหลักสูตรอยางสม่ํา

เสมอ

๑. จัดการใหหลักสูตรสอดคลอง

กับมาตรฐานวิชาชีพดานสาขา

วิชาการตํารวจในระดับสากลหรือ

ระดับชาติ (ถามีการกําหนด)

๒. ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัย

โดยมีการพิจารณาปรับปรุง

ทุกๆ ๓ ป

๓. จัดแนวทางการเรียนในวิชา

เรียนใหมีทั้งภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏิบัติและมีแนวทางการ

เรียนหรือกิจกรรมประจําวิชา

ใหนักเรียนไดศึกษาความรูที่

ทันสมัยดวยตนเอง

๔. กํ าหนดใหอาจารยที่ สอนมี

คุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาโทหรือ

เปนผูมีประสบการณมีจํานวน

คณาจารยประจํ าไมนอยกว า

เกณฑมาตรฐาน

๑.หลักสูตรที่สามารถอางอิง

กับมาตรฐานที่กําหนดโดย

หนวยงานวิชาชีพดานสาขา

วิชาการตํารวจมีความทันสมัย

มีการปรับปรุงสม่ําเสมอ

๒.จํานวนวิชาเรียนที่มีภาค

ปฏิบั ติและวิชาเรียนที่มี

แนวทางให นัก เรียนได

ศึกษาคนควาความรูใหม

ไดดวยตนเอง

๓.จํานวนและรายช่ือคณาจารย

ประจํา ประวัติอาจารยดาน

คุณวุฒิประสบการณและ

การพัฒนาอบรม

๔.ผลการประเมินอาจารย

ผูสอนโดยนักเรียน

Page 80: RPCA Policescience Course2556

๗๘

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล

๕. สนับสนุนใหอาจารยผูสอนเปน

ผูนําทางวิชาการและเช่ียวชาญ

ทางวิชาชีพดานสาขาวิชาการ

ตํารวจ การบังคับใชกฎหมาย

หรือที่เกี่ยวของ

๖. สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตร

ใหไปดูงานหลักสูตรหรือวิชา

การที่เกี่ยวของทั้งในและตาง

ประเทศ

๗. มีการประเมินหลักสูตรโดย

กรรมการภายในทุกปและ

ภายนอกอยางนอย ทุก ๔ ป

๘. ประเมินความพึงพอใจของ

หลักสูตรและการเรียนการ

สอนโดยบัณฑิตที่สําเร็จการ

ศึกษา

๕.ผลการประเมินของคณะ

กรรมการที่ประกอบดวย

อาจารยภายในโรงเรียนทุกป

๖.ผลการประเมินโดยคณะ

กรรมการผู ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกทุกๆ ๔ ป

๗.ผลการประเมินของบัณฑิต

ผูสําเร็จการศึกษาทุกป

๒. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

๒.๑ การบริหารงบประมาณ

โรงเรียนจัดสรรงบประมาณประจําป ทั้งงบประมาณแผนดินและเงินรายไดเพื่อจัดซื้อ

ตํารา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ และวัสดุครุภัณฑคอมพิวเตอรอยางเพียงพอเพื่อ

สนับสนุนการเรียนการสอนในช้ันเรียน และสรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเรียนรูดวย

ตนเองของนักเรียน ทั้งน้ีเปนไปตามระเบียบของราชการ

๒.๒ ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดิม

๒.๑.๑ สถานที่และอุปกรณการสอน มีหองบรรยายและหองปฏิบัติการของโรงเรยีน

Page 81: RPCA Policescience Course2556

๗๙

๒.๑.๒ หองสมุด มีหนังสือ ตําราและวารสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ

โสตทัศนูปกรณ และ สื่ออื่นๆ รวมถึงฐานขอมูลที่จะใหสืบคน

๒.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม

อาจารยผูสอนและนักเรียนเสนอรายช่ือหนังสือ ตํารา และสื่อการเรียนการสอนอื่นๆ

ไปยังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

๒.๔ การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

ประเมินความเพียงพอจากอาจารยผูสอน นักเรียน และบุคลากรที่เกี่ยวของ

๓. การบริหารคณาจารย

๓.๑ การรับอาจารยใหม

โรงเรียนนายรอยตํารวจเปนผูกํากับดูแลจํานวนอาจารยเพื่อใหมีสัดสวนนักเรียน

ตออาจารยเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของสํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาโดยจะตองระบุคุณสมบัติ ประสบการณของอาจารยใหม โดยมีระบบการคัดเลือก

ที่โปรงใส ตรวจสอบได

๓.๒ การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูสอนจะตอง

ประชุมรวมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน ประเมินผลและใหความเห็นชอบการ

ประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเตรียมไวสําหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจน

ปรึกษาหารือแนวทางที่จะทําใหบรรลุเปาหมายตามหลักสูตร และไดบัณฑิตเปนไปตาม

คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค

๓.๓ การแตงต้ังคณาจารยพิเศษ

พิจารณาแตงต้ังจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาตางๆ ตามคุณสมบัติและหลักเกณฑที่

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด

๔. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

๔.๑ การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง

บุคลากรสายสนับสนุนมีวุฒิปริญญาตรีที่เกี่ยวของกับภาระงานที่รับผิดชอบและมี

ความรูดานสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร การตํารวจ กฎหมายหรือการบริหารงานตํารวจและ

กระบวนการยุติธรรม ทั้งน้ีเปนไปตามหลักเกณฑที่โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

Page 82: RPCA Policescience Course2556

๘๐

๔.๒ การเพ่ิมทักษะความรูเพ่ือการปฏิบัติงาน

บุคลากรตองเขาใจโครงสรางและธรรมชาติของหลักสูตรและจะตองสามารถบริการ

ใหอาจารย สามารถใชสื่อการสอนไดอยางสะดวกซึ่งจําเปนตองใหมีการฝกอบรมเฉพาะทาง โดย

การฝกอบรม ศึกษาดูงาน การวิจัยรวม เปนไปตามหลักเกณฑที่โรงเรียนนายรอยตํารวจกําหนด

๕. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักเรียน

๕.๑ การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอ่ืนๆ แกนักเรียน

มีการแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักเรียนทุกคนโดยนักเรียนที่มีปญหา

ในการเรียนสามารถปรึกษากับอาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการไดโดยอาจารยของคณะทุกคนจะ

ตองทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษาทางวิชาการใหแกนักเรียน และอาจารยทุกคนตองกําหนดช่ัวโมง

ใหคําปรึกษา (Office Hours) เพื่อใหนักเรียนเขาปรึกษาได นอกจากน้ี ตองมีที่ปรึกษากิจกรรม

เพื่อใหคําปรึกษาแนะนําในการจัดทํากิจกรรมแกนักเรียน

๕.๒ การอุทธรณของนักเรียน

นักเรียนทําคํารองผานอาจารยที่ปรึกษาเสนอตามลําดับข้ันถึงผูมีอํานาจในการตัดสินใจ

ในแตละคํารอง

๖. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และหรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

สํารวจความตองการของสํานักงานตํารวจแหงชาติ คุณลักษณะที่พึงประสงค ความพึงพอใจ

ของผูใชบัณฑิต เพื่อใชเปนขอมูลในการทบทวนและปรับปรุงหลักสูตร

๗. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ มีตัวบงช้ีบงัคับตามกรอบมาตรฐาน

คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ๕ ตัวบงช้ี มีตัวบงช้ีที่สอดคลองกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ จํานวน ๗ ตัวบงช้ี ดังน้ี

Page 83: RPCA Policescience Course2556

๘๑

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

ปที่ ๑ ปที่ ๒ ปที่ ๓ ปที่ ๔ ปที่ ๕

๑. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ ๘๐

มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนติดตามและ

ทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

X X X X X

๒. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.๒

ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ

หรือมาตรฐานสาขา/สาขาวิชา (ถาม)ี

X X X X X

๓. มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของ

ประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.๓

และ มคอ.๔ อยางนอยกอนการเปดสอนในแตละ

ภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

X X X X X

๔. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชาและ

รายงานผลการดําเนินการของประสบการณ

ภาคสนาม (ถาม)ี ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖

ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

X X X X X

๕. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร

ตามแบบ มคอ. ๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดป

การศึกษา

X X X X X

๖. มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักเรียนตาม

มาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ. ๓

และ มคอ. ๔ (ถาม)ี อยางนอย รอยละ ๒๕ ของ

รายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา

X X X X X

๗. มีการพัฒนา / ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู

จากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน

มคอ.๗ ปที่แลว

- X X X X

Page 84: RPCA Policescience Course2556

๘๒

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

ปที่ ๑ ปที่ ๒ ปที่ ๓ ปที่ ๔ ปที่ ๕

๘. อาจารยใหมทุกคน (ถามี) ไดรับการปฐมนิเทศ

หรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

X X X X X

๙. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชา

การและ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละ ๑ ครั้ง

X X X X X

๑๐.จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

(ถาม)ี ไดรับการพัฒนาวิชาการและ/หรือวิชาชีพ

ไมนอยกวารอยละ ๕๐ ตอป

X X X X X

๑๑.ระดับความพึงพอใจของนักเรียนปสุดทาย/

บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอย

กวา ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐

- - - X X

๑๒.ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอ

บัณฑิตใหม เฉลี่ยไมนอยกวา ๓.๕๑ จากคะแนน

เต็ม ๕.๐๐

- - - - X

ตัวบงชี้บังคับท่ีตองดําเนินการ (ขอท่ี ๑ - ๕) ใน

แตละป ๑-๕ ๑-๕ ๑-๕ ๑-๕ ๑-๕

รวมตัวบงชี้ (ขอ) ในแตละป ๙ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๒

เกณฑประเมิน หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ตองผาน

เกณฑประเมินดังน้ี

- ตัวบงช้ีบังคับ (ตัวบงช้ีที่ ๑-๕) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และ

- มีจํานวนตัวบงช้ีที่มีผลดําเนินการบรรลุเปาหมาย ไมนอยกวา ๘๐% ของ

จํานวนตัวบงช้ีทั้งหมดในแตละป

Page 85: RPCA Policescience Course2556

หมวดท่ี ๘ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

๑.๑ การประเมินกลยุทธการสอน

๑.๑.๑ ประเมินรายวิชาโดยนักเรียน

๑.๑.๒ การวิเคราะหผลการประเมินของนักเรียน

๑.๑.๓ ประเมินกลยุทธการสอนโดยทีมผูสอน

๑.๑.๔ ประเมินจากผลการเรียนของนักเรียน

๑.๑.๕ ประเมินจากพฤติกรรมของนักเรียนในการอภิปราย การซักถามและการตอบ

คําถามในช้ันเรียน

๑.๑.๖ ดําเนินการวิจัยเพื่อการพัฒนากลยุทธการสอน

๑.๒ การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน

๑.๒.๑ นักเรียนประเมินอาจารยผูสอนในแตละรายวิชา

๑.๒.๒ สังเกตการณ โดยผูรับผิดชอบหลักสูตร/ประธานคณะกรรมการบริหาร

หลักสูตร/ทีมผูสอน

๑.๒.๓ รายงานผลการประเมินทักษะอาจารยใหแกอาจารยผูสอนคณะกรรมการ

บริหารหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตรเพื่อใชในการปรับปรุงกลยุทธการสอนของอาจารย

ตอไป

๑.๒.๕ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรรวบรวมผลการประเมินทักษะของอาจารยใน

การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา/ปรับปรุงทักษะ กลยุทธการสอน

๒. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

๒.๑ นักเรียนชั้นปสุดทาย และ/หรือ บัณฑิตใหม

ประเมินโดยใชแบบสอบถาม

๒.๒ ผูทรงคุณวุฒิ และ/หรือ ผูประเมินภายนอก

ผูทรงคุณวุฒิใหคําแนะนําในการปรับปรุงหลักสูตร ไมนอยกวา ๕ ปตอครั้ง

๒.๓ ผูใชบัณฑิต และ/หรือ ผูมีสวนไดสวนเสียอ่ืนๆ

ใชแบบสอบถาม (ดําเนินการโดยโรงเรียนนายรอยตํารวจ)

Page 86: RPCA Policescience Course2556

๘๔

๓. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

คณะกรรมการประกันคุณภาพหลักสูตร ดําเนินการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ี

(Key Performance Indicators) ในหมวดที่ ๗

๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

๔.๑ ผูรับผิดชอบหลักสูตรจัดทํารายงานการประเมินผลหลักสูตร

๔.๒ ผูรับผิดชอบหลักสูตร และผูสอน จัดประชุม สัมมนา เพื่อนําผลการประเมินมา

วางแผนปรับปรุงหลักสูตร และกลยุทธการสอน

๔.๓ เชิญผูทรงคุณวุฒิพิจารณาและใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตรและกลยุทธ

การสอน

Page 87: RPCA Policescience Course2556

ภาคผนวก ก

ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ วาดวยคณะกรรมการกล่ันกรองวิชาการ

โรงเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ. ๒๕๕๓

Page 88: RPCA Policescience Course2556

๘๗

ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ วาดวยคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ

พ.ศ.๒๕๕๓ ------------------------------------------

โดยที่เปนการสมควรออกขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ วาดวยคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๒(๒) และ (๑๓) แหงพระราชบัญญัติโรงเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑ และโดยมติสภาการศึกษาในการประชุมครั้งที่ ๑๒ ประจําป ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ จึงออกขอบังคับไวดังตอไปน้ี ขอ ๑ ขอบังคับน้ีเรยีกวา “ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจวาดวยคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๓” ขอ ๒ ขอบังคับน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ ๓ ในขอบังคับน้ี “สภาการศึกษา” หมายความวา สภาการศึกษาโรงเรียนนายรอยตํารวจ “ผูบัญชาการ” หมายความวา ผูบัญชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ “คณะกรรมการกลัน่กรองวิชาการ” หมายความวา คณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ ขอ ๔ ใหมีคณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ ประกอบดวย (๑) รองผูบัญชาการที่ผูบัญชาการมอบหมาย เปนประธานกรรมการ (๒) ผูบังคับการ ศูนยฝกตํารวจ เปนกรรมการ (๓) คณบดี ทุกคณะ เปนกรรมการ (๔) ประธานสภาคณาจารย เปนกรรมการ (๕) รองผูบังคับการ สํานักประกันคุณภาพการศึกษา เปนกรรมการ (๖) ผูบังคับการ ศูนยบริการทางการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการ (๗) ผูกํากับการ ฝายพัฒนาการศึกษาศูนยบริการทางการศึกษา เปนผูชวยเลขานุการ (๘) รองผูกํากับการ ฝายอํานวยการ ศูนยฝกตํารวจ เปนผูชวยเลขานุการ ขอ ๕ คณะกรรมการกลั่นกรองวิชาการ มีอํานาจหนาที่ ดังน้ี

Page 89: RPCA Policescience Course2556

๘๘

(๑) พิจารณาหลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาตางๆ รวมทั้งการปรับปรุง ยุบรวมหรือยกเลิกหลักสูตรการศึกษาน้ัน โดยใหสอดคลองกับมาตรฐานที่กระทรวงศึกษากําหนด เพื่อนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาอนุมัติ (๒) พิจารณาการกําหนดปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต อนุปริญญาและประกาศนียบัตร เพื่อนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาอนุมัติ (๓) พิจารณาและเสนอเรื่องตอสภาการศึกษา เพื่อเสนอพิจารณาเรื่องเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ังและถอดถอนศาสตราจารยและศาสตราจารยพิเศษ (๔) พิจารณาการแตงต้ังและถอดถอน รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวย-ศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ ประธานกรรมการสงเสริมกิจการและกรรมการสงเสริมกิจการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ เพื่อนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๕) พิจารณาการกําหนดมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๖) พิจารณาการกําหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการแตงต้ังและถอดถอนคณาจารยประจําโรงเรียนนายรอยตํารวจ เพื่อนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๗) พิจารณาผูที่มีความรูความสามารถและเหมาะสมเปนผูทรงคุณวุฒิ เพื่อทําหนาที่พิจารณาผลงานทางวิชาการของคณาจารยประจํา โรงเรียนนายรอยตํารวจ และนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๘) พิจารณาการกําหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการประเมินและการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงที่ทําหนาที่อาจารยพลศึกษาและตอสูปองกันตัว โรงเรียนนายรอยตํารวจ และนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๙) พิจารณาการกําหนดมาตรฐานการฝกแบบตํารวจ และการฝกยุทธวิธีตํารวจ และนําเสนอตอสภาการศึกษาพิจารณาใหความเห็นชอบ (๑๐) เสนอแนะแตงต้ังหรือถอดถอนอนุกรรมการ เพื่อดําเนินการอยางใดอยางหน่ึงที่เปนประโยชนตอการพัฒนาดานวิชาการตอโรงเรียนนายรอยตํารวจ (๑๑) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่สภาการศึกษาหรือโรงเรียนนายรอยตํารวจมอบหมาย ขอ ๖ ใหผูบัญชาการเปนผูรักษาการตามขอบังคับน้ี และมีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชนในการปฏิบัติเทาที่ไมขัดหรือแยงกับขอบังคับน้ี ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๓

(ศาสตราจารย ดร.ปุระชัย เปยมสมบูรณ) นายกสภาการศึกษา โรงเรียนนายรอยตํารวจ

Page 90: RPCA Policescience Course2556

ภาคผนวก ข

ประวัติและผลงานอาจารยประจําหลักสูตร

Page 91: RPCA Policescience Course2556

๙๑

ลําดับที่ ๑

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก โสรัตน กลับวิลา

คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รป.บ.(ตร.)

โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๓๓

นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๔๒

สังคมวิทยามหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : ๒๕๔๒

ตําแหนงทางวิชาการ รองศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ

โครงการการประเมินโครงการเสริมสรางจิตสํานึกของสํานักงาน ป.ป.ท.ประจําปงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๕๔ (โครงการขาราชการตนแบบ คนดีของแผนดิน) (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงาน

ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สํานักงาน ป.ป.ท.) ป ๒๕๕๔)

โครงการเยาวชนพลยุติธรรม : สรางแรงใจ ใหความรู นําสูปฏิบัติ (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ป ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕)

โครงการพัฒนาโรงเรียนนายรอยตํารวจสูองคกรสรางเสริมสุขภาพ SMART ACADEMY (ไดรับ

ทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) ป๒๕๕๕) ลําดับที่ ๒

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอกหญิง ธนพร วุฒิกรวิภาค

คุณวุฒ/ิสาขา นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๒๗

เนติบัณฑิต

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา : ๒๕๓๕

นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา)

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : ๒๕๔๖

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ

Page 92: RPCA Policescience Course2556

๙๒

ธนพร วุฒิกรวิภาค. คําอธิบายกฎหมายอาญาภาคความผิดเกี่ยวกับเจาพนักงานและตําแหนง

หนาที่ (มาตรา ๑๓๖ – ๒๐๕). นครปฐม : ภูมิการพิมพ. ๒๕๕๔.

ธนพร วุฒิกรวิภาค. คําอธิบายเรียงมาตราประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะประกันภัย.

นครปฐม : สํานักพิมพนิตินัย, ๒๕๕๑.

ธนพร วุฒิกรวิภาค. คําอธิบายกฎหมายแพงและพาณิชย ๓. นครปฐม : สํานักพิมพนิตินัย, ๒๕๕๐.

ลําดับที่ ๓

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก ภูวดล แสนพินิจ

คุณวุฒ/ิสาขา นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยคณาสวัสด์ิราชบัณฑิต : ๒๕๒๖

เนติบัณฑิต

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา : ๒๕๒๘

ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด : ๒๕๕๓

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ

ภูวดล แสนพินิจ. คําอธิบายกฎหมายอาญา ๓ นครปฐม : เพชรเกษมการพมิพ, ๒๕๕๑

ภูวดล แสนพินิจ. คําอธิบายกฎหมาย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. นครปฐม : เพชร

เกษมการพิมพ, ๒๕๕๔.

ลําดับที ่๔

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก สหพัฒน หอมจันทร

คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.)

โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๓๗

นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๔๘

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๕๕

Page 93: RPCA Policescience Course2556

๙๓

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร)

มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๔๕

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันอาชญากรรม, ๒๕๕๐ สามเหลี่ยมอาชญากรรม, ๒๕๕๓ งานชุมชนสัมพันธในหนาที่ตํารวจ, ๒๕๕๕

ลําดับที่ ๕ ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก จรสั ธรรมธนารกัษ คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๓๕ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๔๖ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร : ๒๕๔๒ นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : ๒๕๕๐ ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย ผลงานทางวิชาการ จรัส ธรรมธนารักษ, ความเปนไปไดในการโอนกิจการสํานักงานตํารวจแหงชาติ, กระทรวงยุติธรรม งานแตงเรียบเรียง : การสอบสวนคดีจราจร, ๒๕๕๔. การสอบสวนคดีเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓. การสอบสวนคดีในอํานาจศาลแขวงและการเปรียบเทียบ. ๒๕๕๔.

ลําดับที่ ๖ ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอกหญิง จริาพร พวงอินทร คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต : ๒๕๔๖

ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๓๙

Page 94: RPCA Policescience Course2556

๙๔

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ

จิราพร พวงอินทร, พ.ต.ท.หญิง. ตํารวจกับความขัดแยง. นครปฐม: โรงพิมพจอบแอนดเจ็ตซีร็อก, ๒๕๕๒.

จิราพร พวงอินทร, พ.ต.ท.หญิง. ตํารวจกับการประชาสัมพันธ. นครปฐม: โรงพิมพฟอรมแอน

เปเปอร พริ้นต้ิง จํากัด, ๒๕๔๙.

ลําดับที่ ๗

ช่ือ – นามสกุล พันตํารวจโท ทัชชกร ภูวดิษยคุณ

คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รป.บ.(ตร.)

โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๓๕

นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการประชาสัมพันธ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม : ๒๕๔๓

นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๔๙

ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย

ผลงานทางวิชาการ

โครงการการประเมินโครงการเสริมสรางจิตสํานึกของสํานักงาน ป.ป.ท.ประจําปงบประมาณ พ.ศ.

๒๕๕๔ (โครงการขาราชการตนแบบ คนดีของแผนดิน) (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงาน

ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สํานักงาน ป.ป.ท.) ป ๒๕๕๔)

โครงการทัศนคติของเจาหนาที่ตํารวจเกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายกับการคุมครองสิทธิใน

กระบวนการยุติธรรมของประชาชน ระยะที่ ๑ (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการ

สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ป ๒๕๕๔)

โครงการติดตามประเมินผลการจางงานผูเขารวมโครงการคืนคนดีสูสังคม ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๕๔ (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ป ๒๕๕๔)

โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการอํานวยความยุติธรรมของสํานักงานตํารวจแหงชาติใหกับ

ประชาชนดานการรวบรวมพยานหลักฐานและการพิสูจนหลักฐาน (ไดรับทุนวิจัยจาก

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ป ๒๕๕๔)

โครงการเยาวชนพลยุติธรรม : สรางแรงใจ ใหความรู นําสูปฏิบัติ (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ป ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕)

Page 95: RPCA Policescience Course2556

๙๕

โครงการดาวสามพราน รอยดวงใจ ทําความดี ทํามะ ๒๖ วัน ปรับตนเปลี่ยนนิสัย (ไดรับทุนวิจัย

จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ป ๒๕๕๕)

โครงการศึกษาทบทวนกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาและความรวมมือในเรื่องทาง

อาญาของภูมิภาคอาเซียนเพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน (ไดรับทุนวิจัย

จากสํานักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ป ๒๕๕๕)

โครงการพัฒนาโรงเรียนนายรอยตํารวจสูองคกรสรางเสริมสุขภาพ SMART ACADEMY (ไดรับ

ทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) ป๒๕๕๕)

โครงการสรางคานิยมใหม เยาวชนรวมใจ ตานภัยทุจริต (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานปองกันและ

ปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สํานักงาน ป.ป.ท.) ป ๒๕๕๕)

โครงการการพัฒนาประสิทธิภาพดานการนําเทคโนโลยีมาใชในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ

ระดับสถานีตํารวจ (ไดรับทุนวิจัยจากสํานักงานกองทนุสนับสนุนการวิจัย (สกว.)ป ๒๕๕๕)

ทัชชกร ภูวดิษยคุณ. การตํารวจชุมชน. นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ, ๒๕๕๒.

ทัชชกร ภูวดิษยคุณ. ตํารวจกับการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม. นครปฐม : สํานักพิมพ

นิตินัย, ๒๕๕๕.

ลําดับที่ ๘ ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจโท ปพัฒน วสุธวัช คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.) โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๓๒ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๕๒

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รฐัศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๔๕ นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : ๒๕๕๕ ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย ผลงานทางวิชาการ

ปพัฒน วสุธวัช, พ.ต.ท. แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกันตัวผูตองหาเปนพยานของสํานักงานตํารวจ แหงชาติ กรณีศึกษา: คดีฆาตกรรมนางสยามล ลาภกอเกียรติ (ทุนวิจัยโรงเรียนนายรอย ตํารวจ) พ.ศ.๒๕๕๕

Page 96: RPCA Policescience Course2556

๙๖

งานแตงเรยีบเรียง

ปพัฒน วสุธวัช, พ.ต.ท. พื้นฐานการทําสํานวนการสอบสวนเบื้องตน. นครปฐม: เพชรเกษมการพิมพ,

๒๕๕๓.

ปพัฒน วสุธวัช, พ.ต.ท. ๙ ประเด็นคําถาม นครปฐม : เพชรเกษมการพิมพ, ๒๕๕๕.

ลําดับที่ ๙

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก สุวิทย แกวกัลยา

คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.)

โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๒๖

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รฐัศาสตร)

มหาวิทยาลัยรามคําแหง : ๒๕๔๓

ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย

ผลงานทางวิชาการ

งานแตงเรียบเรียง : ปรับปรุงคําบรรยายวิชาการฝกตามแบบฝกตํารวจ วิชายุทธวิธีตํารวจ วิชาพลศึกษา

(ตอสูปองกันตัว) ป ๒๕๕๖

ภาระงาน : สอนนักเรียนนายรอยตํารวจ วิชาฝกตามแบบฝกตํารวจ วิชายุทธวิธีตํารวจ วิชาพลศึกษา

(ตอสูปองกันตัว) ป ๒๕๔๗ – ๒๕๕๖

ลําดับที่ ๑๐

ช่ือ – นามสกลุ พันตํารวจเอก จักรกฤษณ คุมรอบ

คุณวุฒ/ิสาขา รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.)

โรงเรียนนายรอยตํารวจ : ๒๕๒๘

การศึกษามหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)

มหาวิทยาลยันเรศวร : ๒๕๓๔

ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย

ภาระงาน : สอนนักเรียนนายรอยตํารวจ วิชาฝกตามแบบฝกตํารวจ วิชายุทธวิธีตํารวจ,วิชาพลศึกษา

(ตอสูปองกันตัว)

Page 97: RPCA Policescience Course2556

ภาคผนวก ค

ตารางเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงระหวางหลักสูตรเดิม

กับหลักสูตรปรับปรุง

Page 98: RPCA Policescience Course2556

๙๙

ตารางเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงระหวางหลักสูตรนักเรียนนายรอยตํารวจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙

กับหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

๑. ช่ือหลักสูตร

หลักสูตรนักเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ. ๒๕๔๙

๑. ช่ือหลักสูตร

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ

Bachelor of Public Administration Program in Police Science

- เปล่ียนชื่อหลักสูตรให

สอดคลองกับชื่อปริญญา

- เพิ่มชื่อเปนภาษาอังกฤษ

๒. ช่ือปริญญา

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.)

Bachelor of Public Administration

รป.บ. (ตร.)

B.P.A.

๒. ช่ือปริญญา

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (การตํารวจ)

Bachelor of Public Administration (Police Science)

รป.บ. (การตํารวจ)

B.P.A. (Police Science)

- เปล่ียนชื่อสาขาวิชาในวงเล็บ

ใหชัดเจนยิ่งขึ้น

๓. หนวยงานที่รับผิดชอบ

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

๓. หนวยงานที่รับผิดชอบ

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

- ไมเปล่ียนแปลง

๔. ปรัชญาและวตัถุประสงคของหลักสูตร

ปรัชญาการศึกษา : โรงเรียนนายรอยตํารวจมีหนาที่หลักในการจัดการศึกษา

อบรมและดําเนินการฝกนักเรียนนายรอยตํารวจ ใหเปนผูมีความรูความสามารถใน

วิชาการตํารวจและการบริหารงานตํารวจอยางแทจริงมีความรูความเขาใจในดาน

กฎหมายสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจอยางลึกซ้ึง และมี ความรอบรูในแขนงวิชา

การขั้นอุดมศึกษาอ่ืน ๆ ที่เก่ียวของเพื่อการพัฒนาชีวิตและเอ้ือตอการนําไป

ประกอบวิชาชีพตํารวจ รวมทั้งการหลอหลอมใหมีคุณลักษณะทางกาย และ

๔. ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร

ปรัชญา

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการตํารวจ

เปนหลักสูตรทางดานวิชาชีพตํารวจที่เนนทักษะความเชี่ยวชาญดาน

การตํารวจและการบังคับใชกฎหมาย

วัตถุประสงคของหลักสูตร

เพื่อผลิตบุคลากรในวิชาชีพตํารวจตามความตองการของ

- ปรับปรัชญาของหลักสูตร

ใหส้ันและชัดเจนขึ้น

- ปรับวัตถุประสงคของหลักสูตร

ใหสอดคลองกับคุณลักษณะ

บัณฑิตที่พึงประสงคและผล

การเรียนรูในแตละดานโดย

พิจารณาจากคุณลักษณะ

Page 99: RPCA Policescience Course2556

๑๐๐

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

คุณธรรมประจําใจ เปนผูที่มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณทางดานรางกาย จิตใจและ

อารมณมีบุคลิกภาพที่สอดคลองกับสังคมและวัฒนธรรมอันดีงามของไทย กลา

หาญ อดทน เชื่อม่ันในตนเอง มีวิจารณญาณในการตัดสินใจที่ถูกตอง ยึดถือหลัก

ศีลธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพตํารวจเปนแนวทางในการประพฤติตนและ

ปฏิบัติงานสืบทอดแบบธรรมเนียมของตํารวจดวยความสํานึกในเกียรติ วินัยและ

ความรับผิดชอบตอหนาที ่มีความซ่ือสัตยสุจริต พรอมที่จะเสียสละเพื่อประโยชน

ของสวนรวมและยึดม่ันในการรักษากฎหมายและความสงบเรียบรอยของสังคม ดวย

ความเสมอภาคและเปนธรรม

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อใหภารกิจดังกลาวขางตนสําเร็จสมความ

มุงหมายจึงกําหนดวัตถุ ประสงคของหลักสูตร ในการใหการศึกษาอบรมนักเรียน

นายรอยตํารวจไวดังตอไปน้ี

๑. เพื่อใหนักเรียนนายรอยตํารวจที่สําเร็จการ ศึกษามีความรูความสามารถ

ในดานการสืบสวน การสอบสวนและการปองกันและปราบปรามสําหรับการ

ปฏิบัติงานในตําแหนงรองสารวัตรหรือเทียบเทา

๒. เพื่อหลอหลอมจิตใจ อุปนิสัย และเสริมสรางบุคลิกภาพตลอดจน

พฤติกรรมของนักเรียนนายรอยตํารวจที่สําเร็จการศึกษาใหเหมาะสมกับการเปน

นายตํารวจชั้นสัญญาบัตรที่เพียบพรอมไปดวยคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต

ความเสียสละ ความสํานึกในหนาที่และการบริการประชาชนเปนที่ศรัทธาและ

ความเชื่อถือของประชาชน

สํานักงานตํารวจแหงชาติที่มีคุณธรรมจริยธรรมความรับผิดชอบและมี

คุณลักษณะดังตอไปน้ี

๑. มีความรูความสามารถในดานวิชาการสืบสวนการสอบสวน

การปองกันและปราบปราม การจราจร การอํานวยการ การบังคับใช

กฎหมายและวิชาชีพตํารวจดานอ่ืนสําหรับการปฏิบัติ งานใน

ตําแหนงรองสารวัตรหรือเทียบเทา

๒. มีจิตใจ อุปนิสัย บุคลิกภาพและพฤติกรรมที่เหมาะสม

กับการเปนนายตํารวจชั้นสัญญาบัตร ที่เพียบพรอมไปดวยคุณธรรม

ความซ่ือสัตย สุจริต ความเสียสละ ความสํานึกในหนาที่และการ

บริการประชาชน เปนที่ศรัทธาและเชื่อถือของประชาชน

๓. มีความรู ความคิด ความประพฤติและระเบียบวินัย

เหมาะสมกับการเปนนายตํารวจชั้นสัญญาบัตร

๔. มีความรูความสามารถในการวิเคราะหแกไขปญหา

อยางมีระบบ และเปนผูนําหนวยไดอยางมีประสิทธิภาพ

บัณฑิตที่พึ งประสงคตาม

กร อ บม าต ร ฐ า นคุ ณ วุ ฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

พระราชบัญญัติ โ รงเรียน

นายรอยตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑

ความตองการใชบัณฑิตของ

สํานักงานตํารวจแหงชาติ

Page 100: RPCA Policescience Course2556

๑๐๑

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

๓. เพื่อใหนักเรียนนายรอยตํารวจที่สําเร็จการ ศึกษามีความรูความคิดความ

ประพฤติและระเบียบวินัยเหมาะสมกับการเปนนายตํารวจชั้นสัญญาบัตรและ

บัณฑิตจากวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย

๔. เพื่อใหนักเรียนนายรอยตํารวจที่สําเร็จการ ศึกษา มีความรูความสามารถใน

การวิเคราะหแกไขปญหาอยางมีระบบ และเปนผูนําหนวยไดอยางมีประสิทธิภาพ

๕. หลักสูตร

จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๑๕๖ หนวยกิต

๕.๑ ภาควิชาการ ๑๕๖ หนวยกิต

๕.๑.๑ ดานการศึกษาวิชาทั่วไป ๓๕ หนวยกิต

๕.๑.๒ ดานการศึกษาวิชาเฉพาะ ๑๑๕ หนวยกิต

หมวดวิชาบังคับ ๑๐๐ หนวยกิต

หมวดวิชาบังคับเลือก ๑๕ หนวยกิต

๕.๑.๓ วิชาเลือกเสรี ๖ หนวยกิต

๕.๒ ภาคการฝก ไมนับรวมหนวยกิต

การฝกตํารวจ ๑๕ วิชา

การฝกพลศึกษา ๗ วิชา

การฝกหลักสูตรพิเศษ ๗ หลักสูตร

๕.๓ ภาคกิจกรรมเสริมหลักสูตร ไมนับรวมหนวยกิต

มีทั้งหมด ๑๔ ประเภท

๕. หลักสูตร

จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๑๖๘ หนวยกิต

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หนวยกิต

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ๑๓๒ หนวยกิต

วิชาบังคับ ๑๒๙ หนวยกิต

กลุมวิชาการบริหาร ๑๐ หนวยกิต

กลุมวิชากฎหมาย ๔๐ หนวยกิต

กลุมวิชาการสืบสวนสอบสวน ๓๖ หนวยกิต

กลุมวิชาการปองกันปราบปราม ๒๒ หนวยกิต

กลุมวิชาการจราจร ๓ หนวยกิต

กลุมวิชาการฝก ๑๘ หนวยกิต

วิชาเลือก ไมนอยกวา ๓ หนวยกิต

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต

ง. การฝกหลักสูตรพิเศษ ๗ หลักสูตร ไมนับหนวยกิต

- ปรับโครงสรางหลักสูตรให

เปนไปตามเกณฑมาตรฐาน

หลักสูตรระดับปริญญาตรี

ตามประกาศกระทรวงศึกษา

ธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐาน

หลักสูตรระดับปริญญาตรี

พ.ศ.๒๕๔๘

- เป ล่ียนภาคการฝกไม นับ

รวมหนวยกิต มาเปนกลุม

วิชาการฝก ในหมวดวิชา

เฉพาะและนับหนวยกิต

- ปรับการเรียนภาควิชาการ

เหลือ ๑๕๐ หนวยกิต

Page 101: RPCA Policescience Course2556

๑๐๒

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

๖. คําอธิบายรายวิชา

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

สท.(SG) ๑๑๐๒ หลักรัฐศาสตร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความหมาย ความสําคัญ และวิวัฒนาการของรัฐศาสตร

แนวการศึกษาทางรัฐศาสตร และวิธีการทางรัฐศาสตร ระบบการเมือง

สถาบันการเมือง โครงสราง หนาที่ อํานาจ กระบวนการ วัฒนธรรม

ส่ิงแวดลอมทางการ เมือง ลัทธิและอุดมการณทางการเมือง การเปน

ประชาธิปไตยและความเก่ียวพันของระบบการเมืองตางๆ ของโลก

๒๑๑๑๐๑ การเปนพลเมือง ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Citizenship

ความหมาย ความสําคัญ วิวัฒนาการและขอบเขตของ

รัฐศาสตร แนวทางและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร ธรรมชาติของมนุษย

กับสังคม แนวคิดพื้นฐานของรัฐกับสังคม รัฐและอํานาจอธิปไตย ระบบ

การเมือง สถาบันการเมือง โครงสราง หนาที่ อํานาจกระบวนการวัฒนธรรม

ส่ิงแวดลอมทางการเมือง ลัทธิการเมือง อุดมการณทางการเมือง

ประชาธิปไตยและความเก่ียวพันของระบบการเมืองตางๆ ของโลก

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เปล่ียนชื่อวิชาใหส่ือ

ความหมายไดชัดเจนวาเปน

วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

- ปรับคําอธิบายรายวิชาใหมี

ความเฉพาะยิ่งขึ้น

สท.(SG) ๑๑๐๓ หลักเศรษฐศาสตร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความหมายและความสําคัญของวิชาหลักเศรษฐศาสตร

ทฤษฎีเศรษฐศาสตรเบื้องตนทั้งจุลภาคและมหภาคที่รัฐบาลนํามาเปน

แนวทางแกไขปญหาทางเศรษฐกิจ เครื่องชี้วัดชั่วคราวทางเศรษฐกิจภาค

ตางๆ ไดแก ภาคผลิต (รายไดประชาชาติ) ภาคการเงินและการคลัง

(ปริมาณเงิน นโยบายการเงิน และการคลัง หน้ีสาธารณะ) ภาค

ตางประเทศ (การคาและการเงินระหวางประเทศ,อัตราแลกเปล่ียน)

และภาคเศรษฐกิจที่สําคัญอ่ืนๆ (อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ, เศรษฐกิจ

พอเพียง)

๒๑๑๑๐๒ เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Economy and Living

ความหมายและความสําคัญของเศรษฐศาสตร แนวการศึกษา

ทางทฤษฎีเศรษฐศาสตรเบื้องตนทั้งจุลภาคและมหภาค เครื่องมือชี้วัด

ทางเศรษฐกิจภาคตางๆ ไดแก ภาคการผลิตภาคการเงินและการคลัง

ภาคตางประเทศ และภาคเศรษฐกิจอ่ืนๆ ที่สําคัญ เศรษฐกิจพอเพียง

ตามแนวพระราชดําริ และเศรษฐกิจอาเซียน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เปล่ียนชื่อวิชาใหส่ือ

ความหมายไดชดัเจนวาเปน

วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

- ปรับคําอธิบายรายวิชาใหมี

ความเฉพาะยิ่งขึ้น

Page 102: RPCA Policescience Course2556

๑๐๓

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สท.(SG) ๑๑๐๑ จิตวิทยาทั่วไป ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความหมายและความสําคัญของจิตวิทยา สรีรจิตวิทยา

พันธุกรรมและส่ิงแวดลอม พัฒนาการของมนุษย การรับรู การเรียนรู

บุคลิกภาพ การจูงใจ ความผิดปกติทางจิต

๒๑๑๑๐๓ จิตวิทยาทั่วไป ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

General Psychology

ความหมายและขอบเขตของจิตวิทยาสรีรจิตวิทยาพันธุกรรม

และส่ิงแวดลอม พัฒนาการของมนุษย การรับรู การเรียนรู บุคลิกภาพ

การจูงใจ อารมณ ความผิดปกติทางจิต และการบําบัดรักษา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

สท.(SG) ๑๒๑๐ สังคมวิทยา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความรูเบื้องตนเก่ียวกับสังคม ลักษณะทั่วไปของสังคมมนุษย

โครงสรางและหนาที่ตางๆ ของสังคม การจัดระเบียบทางสังคม

วัฒนธรรม การขัดเกลาทางสังคม สถาบันสังคม การจัดระดับชั้นทาง

สังคม กลุม การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม พฤติกรรม

เบี่ยงเบน พฤติกรรมรวม ความรับผิดชอบตอสังคม รวมทั้งปญหาสังคม

ที่สําคัญในปจจุบัน โดยเนนสังคมและวัฒนธรรมไทยที่มีผลกระทบจาก

การเปล่ียนแปลงทางสังคม และเกิดปญหาการปรับตัว

๒๑๒๑๐๔ สังคมวิทยา ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Sociology

ความเปนมาของสังคมวิทยา การจัดระเบียบทางสังคม

วัฒนธรรม และการขัดเกลาทางสังคม สถาบันครอบครัว ปญหาคานิยม

และจริยธรรม สถาบันสังคม และกลุมสังคม การจัดระดับชั้นทางสังคม

การเปล่ียนแปลงทางสังคม พฤติกรรมเบี่ยงเบนและการเสียระเบียบใน

สังคม พฤติกรรมรวมหรือพฤติกรรมรวมหมู ปญหาสังคม ปญหาสังคม

ยุคใหม ปญหาความเสมอระหวางหญิง-ชาย ปญหาคนหาย ปญหา

คอรรัปชั่นและการสรางคานิยมใหมตานภัยทุจริต หลักเศรษฐกิจ

พอเพียงกับอาชีพตํารวจ ปญหาความไมสงบในสามจังหวัดชายแดน

ภาคใต ปญหาความม่ันคงของชาติ ลักษณะสังคมไทย คานิยม และ

อุปนิสัยประจําชาติ ปญหาเมืองและชนบท ปญหาประชากรและ

คุณภาพชีวิต ปญหาชุมชนแออัด ปญหาชนกลุมนอย

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

Page 103: RPCA Policescience Course2556

๑๐๔

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

๒๒๑๑๐๕ อาเซียนศึกษา ๑ หนวยกิต (๑-๐-๒)

Asean Education

ประวัติความเปนมา พัฒนาการของอาเซียน กลไกอาเซียน กฎบัตร

อาเซียน วิสัยทัศน วัตถุประสงค และการกอตั้งประชาคมอาเซียน การประชุม

อาเซียน การจัดตั้งประชาคมอาเซียนและแนวทางดําเนินงานสามเสาหลักไดแก

ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชา

สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงที่มาของเขตการคาเสรีอาเชียนและสภาพเศรษฐกิจ

บนพื้นฐานประชาคมอาเซียน แนวโนมทิศทางการเปล่ียนแปลงทางประชาสังคม

อาเซียน การปรับตัวในการเปนพลเมืองที่ดีภายใตกฎบัตรของอาเซียน และ

ยุทธศาสตรของสํานักงานตํารวจแหงชาติตอประชาคมอาเซียน

- เพิ่มรายวิชา

- เพื่ อ ใ ห ผู เ รี ย น มีพื้ น ฐ าน

ความรูเก่ียวกับอาเซียนเพื่อ

เตรียมความพรอม เข า สู

ประชาคมอาเซียน

สท.(SG) ๑๑๐๕ การใชภาษาอังกฤษ ๑ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๐)

ฝกทักษะในการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใช

ในการติดตอส่ือสารในชีวิตประจําวัน โดยประกอบดวยการอานเพื่อ

ความเขาใจ การเขียนทั่วไป การฟงและการพูดตามสถานการณ

๒๑๑๑๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๑ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

English Usage 1

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชในการ

ปฏิบัติงานในอาชีพตํารวจ ไดแก การแนะนําตนเอง การบรรยายลักษณะ

งานตํารวจ หนาที่และความรับผิดชอบ กฎหมายและกิจกรรมทางกฎหมาย

เบื้องตน การส่ือสารบรรยายลักษณะของบุคคลและยานพาหนะ เชน คดี

ทํารายรางกาย จราจร เปนตน สนทนาอยางงายๆ เพื่อสอบปากคําผูตอง

สงสัยและพยาน การออกคําส่ัง การเตือน การหยุดรถ การตรวจสอบ

เอกสารสําคัญและการรับแจงเหต ุ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

- เพิ่มหนวยกิตใหสอดคลอง

กับเน้ือหาที่เพิ่มขึ้น

Page 104: RPCA Policescience Course2556

๑๐๕

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สท.(SG) ๑๒๐๖ การใชภาษาอังกฤษ ๒ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๐)

ฝกทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อใชแสวงหาขอมูลและความรู

เก่ียวกับสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวัน จากแหลงขอมูลและส่ือ

ตางๆ นํามาประมวลสรุป แสดงความคิดเห็น อภิปราย และนําเสนอ

ขอมูลได

๒๑๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๒ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

English Usage 2

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชในการ

ปฏิบัติงานในอาชีพตํารวจ ไดแก การรับแจงความ การใหคําแนะนํา

เก่ียวกับกฎหมาย การบรรยายลักษณะบุคคล การบรรยายสถานที่เกิด

เหตุ คําศัพทที่เก่ียวของกับคดีทางอาญาและยาเสพติด คําศัพทเก่ียวกับ

กระบวนการยุติธรรม การส่ือสารในงานจราจรและความผิดเก่ียวกับบนทอง

ถนน การจับกุม การออกคําส่ัง การสอบสอนผูตองสงสัยและการสอบ

พยาน สรางบทสนทนาอยางงายๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

- เพิ่มหนวยกิตใหสอดคลอง

กับเน้ือหาที่เพิ่มขึ้น

สท.(SG) ๑๒๑๑ ภาษาไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักการใชภาษาเพื่อการส่ือสารในชีวิตประจําวันและใน

หนาที่การงาน การฟงเพื่อจับใจความและตีความ การพูดในสถานการณ

ตางๆ การอานเพื่อเขาถึงคานิยม และแนวคิดของงานเขียน ความรู

พื้นฐานเก่ียวกับงานสารบรรณ และการเขียนหนังสือติดตอราชการ

๒๑๒๑๐๘ การใชภาษาไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Thai Usage 1

หลักการใชภาษาเพื่อการส่ือสารในชีวิตประจําวันและใน

หนาที่การงาน การฟงเพื่อจับใจความและตีความ การพูดในสถานการณ

ตางๆ การอานเพื่อเขาถึงคานิยม และแนวคิดของงานเขียน ความรู

พื้นฐานเก่ียวกับงานสารบรรณ และการเขียนหนังสือติดตอราชการ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

สท.(SG) ๒๑๐๗ การใชภาษาอังกฤษ ๓ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๐)

ฝกทักษะในการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใชในการ

ติดตอส่ือสารในการปฏิบัติงานของตํารวจ โดยประกอบดวยการอานเพื่อความ

เขาใจ การเขียนทั่วไป การฟงและการพูดตามสถานการณในวิชาชีพตํารวจ

๒๔๑๑๐๙ ภาษาอังกฤษสําหรับตํารวจ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒)

เพื่อการส่ือสาร

English for Communication

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใช

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ชัดเจนขึ้น

Page 105: RPCA Policescience Course2556

๑๐๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สนทนาและอภิปรายส่ือความตามสถานการณในชีวิตประจําวันและใน

การปฏิบัติงานในอาชีพตํารวจหรืออาชีพอ่ืนการแสดงความคิดและขอ

โตแยงอยางมีเหตุผล การอภิปรายเก่ียวกับเรื่องที่ เปนประเด็นหรือ

ปญหาสังคมที่มีเน้ือหาเก่ียวกับงานตํารวจ การนําเสนองาน การเรียนรู

วัฒนธรรมที่เก่ียวของ

สท.(SG) ๒๒๐๘ การใชภาษาอังกฤษ ๔ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๐)

ฝกทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อใชแสวงหาขอมูลและความรู

เก่ียวกับการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจ จากแหลงขอมูลและส่ือตางๆ นํามา

ประมวลสรุป แสดงความคิดเห็น อภิปราย และนําเสนอขอมูลได

ตัดออก

สท.(SG) ๓๒๑๓ มนุษยสัมพันธและจิตวิทยาสําหรับตํารวจ

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายและความสําคัญของมนุษยสัมพันธ ทักษะการ

ส่ือสารกับงานตํารวจ จิตวิทยาองคการในงานตํารวจ การบริหารความ

ขัดแยง การประยุกตใชหลักของมนุษยสัมพันธและจิตวิทยาในงานตํารวจ

๒๔๑๑๑๐ มนุษยสัมพันธและจติวิทยาสําหรับ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ตํารวจ

Human Relation and Psychology for Police Officers

ความหมายและความสําคัญของมนุษยสัมพันธ ทักษะการ

ส่ือสารกับงานตํารวจ จิตวิทยาองคการในงานตํารวจ การบริหารความ

ขัดแยง การประยุกตใชหลักของมนุษยสัมพันธและจิตวิทยาในงานตํารวจ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

สท.(SG) ๑๒๐๙ จริยธรรมตํารวจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายและวิวัฒนาการของปรัชญาและจริยศาสตร ปรัชญา

วิทยาศาสตร ปรัชญาประยุกต พุทธปรัชญา จริยธรรมและจรรยาบรรณของ

วิชาชีพตาง ๆในสังคมไทยการนํา หลักปรัชญา และจริยศาสตรมาใชในวิชาชีพ

๒๑๑๑๑๑ จริยธรรมตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Ethics

ความหมายของปรัชญาและจริยศาสตร พุทธปรัชญา ปรัชญา

ประยุกต ปรัชญาวิทยาศาสตร จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชีพ

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนขึ้น

Page 106: RPCA Policescience Course2556

๑๐๗

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตํารวจ หลักการสรางนิสัย จริยธรรมและจิตใตสํานึกในสังคมพุทธจริยศาสตร

สําหรับขาราชการตํารวจและโครงสรางจริยธรรมตํารวจ

ตางๆ ในสังคมไทย การนําหลักปรัชญาและจริยศาสตรมาใชในวิชาชีพ

ตํารวจ หลักการสรางนิสัย จริยธรรมและจิตสํานึกในสังคม พุทธจริยศาสตร

สําหรับขาราชการตํารวจและประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณตํารวจ

บร.(PA) ๑๒๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๐) วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟทแวร โครงสรางขอมูล รูปแบบการจัดเก็บขอมูล การส่ือสารขอมูลหลักพื้นฐานใน การวิเคราะหงานและการเขียนผังงาน ระบบสารสนเทศในงานตํารวจ การปฏิบัติงานดานสํานักงานอัตโนมัตโิดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

๒๑๒๑๑๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒) Information Technology วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟทแวร โครงสรางขอมูล รูปแบบการจัดเก็บขอมูล การส่ือสารขอมูลหลักพื้นฐานใน การวิเคราะหงานและการเขียนผังงาน ระบบสารสนเทศในงานตํารวจ การปฏิบัติงานดานสํานักงานอัตโนมัติโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป

- เปล่ียนรหัสวิชา - เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

บร.(PA) ๒๒๐๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐) หลักการจัดระบบสารสนเทศตํารวจ ระบบสารสนเทศตํารวจในงานปองกันและปราบปรามอาชญากรรม งานดานการบริหารงานทั่วไป งานเชี่ยวชาญเฉพาะดาน และหนวยงานบริหารระบบสารสนเทศตํารวจ รวมทั้งแนวทางปฏิบัติงานในสวนที่เก่ียวของกับการใชระบบสารสนเทศตํารวจใหเกิดประโยชนสูงสุด

ตัดออก

๒๓๒๑๑๓ ระเบียบวิธีวิจัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔) Research Methodology ความสําคัญของการวิจัยที่มีตองานตํารวจ ระเบียบวิธีวิจัยและสถิติเบื้องตนที่ใชในงานวิจัย ความหมาย บทบาท ชนิด ประเภท คุณลักษณะของการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย เครื่องมือการเก็บรวบรวมขอมูล การสุมตัวอยาง การวิเคราะหขอมูล การเขียนโครงราง และการนําเสนอรายงานผลการวิจัย

- เพิ่มรายวิชา

- เพื่ อ ใ ห ผู เ รี ย น มีพื้ น ฐ าน

ความรูเก่ียวกับการทําวิจัย เพื่อทําโครงงานหรือวิจัย ในการสอบวิชาชีพตํารวจ

Page 107: RPCA Policescience Course2556

๑๐๘

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สท.(SG) ๓๒๑๔ สถิติเพื่อการวิจัยและการทําเอกสารวิจัย

๒ หนวยกิต (๒-๑-๐)

ความสําคัญของสถิติตอการวิจัย การเปรียบเทียบรอยละ

การทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบไคสแคว การวิเคราะหความสําคัญ

ระหวางตัวแปร การวิเคราะหถดถอย การวิเคราะหความแปรปรวน

การนําสถิติไปใชในการปฏิบัติงานตํารวจ การวิเคราะหขอมูลสถิติดวย

คอมพิวเตอร ความสําคัญและประเภทของการวิจัย ขั้นตอนตางๆ ใน

กระบวนการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย โดยเนนการฝกหัดการทํา

โครงรางการวิจัยและรายงานการวิจัย

๒๔๑๑๑๔ คณิตศาสตรและสถิติ ๒ หนวยกิต (๑-๒-๒)

Mathematics and Statistics

คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน ความสําคัญของสถิติตอ

การวิจัย สถิติพื้นฐาน ทฤษฎีความนาจะเปน การสุมกลุมตัวอยาง

การประมาณคาประชากร การทดสอบสมมุติฐาน การทดสอบความ

แตกตางคาเฉล่ีย ประชากร การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะห

ความแปรปรวนรวม การวิเคราะหถดถอย การประยุกตใชสถิติในงาน

ตํารวจ การวิเคราะหขอมูลสถิติดวยคอมพิวเตอร

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

ข. หมวดวิชาเฉพาะ : วิชาบังคับ

สท.(SG) ๒๑๑๔ หลักรัฐประศาสนศาสตร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความหมาย ความสําคัญ ขอบเขต วิวัฒนาการ และทฤษฎี

ทางรัฐประศาสนศาสตร รวมถึงการจัดองคการ นโยบายสาธารณะและ

การวางแผน การบริหารทรัพยากรมนุษย การบริหารงานคลังสาธารณะ

การบริหารราชการไทยปจจุบัน เทคนิคการบริหาร และภาวะผูนํา

๑๑๒๒๐๑ หลักรัฐประศาสนศาสตร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Principle of Public Administration

ความหมาย ความสําคัญ ขอบเขต วิวัฒนาการ และทฤษฎี

ทางรัฐประศาสนศาสตร องคการและการจัดการ นโยบายสาธารณะและ

การวางแผน การบริหารทรัพยากรมนุษยการบริหารงานคลังสาธารณะ

เทคนิคการบริหาร และภาวะผูนํา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

บร.(PA) ๒๑๐๒ การบริหารงานตํารวจ ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ศึกษาแนวคิดและหลักการบริหาร การจัดองคการ นโยบาย

และการวางแผน การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ การ

๑๒๑๒๐๒ หลักการบริหารงานตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Principle of Police Administration

แนวคิดและหลักการบริหาร การจัดองคการ นโยบายและ

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับเน้ือหาวิชาใหชัดเจนขึ้น

Page 108: RPCA Policescience Course2556

๑๐๙

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

บริหารงานพัสดุ ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

การวางแผน การบริหารงานบุคคล การบริหารงานงบประมาณ และการ

บริหารงานพัสดุของสํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

บร.(PA) ๓๑๐๓ การบริหารงานตํารวจ ๒ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ศึกษารูปแบบและแนวทางการบริหารงานตํารวจยุคใหม การ

บริหารเชิงกลยุทธ การบริหารคุณภาพรวม การบริหารการเปล่ียนแปลง

การบริหารความขัดแยง และการบริหารกิจการบานเมืองที่ด ี

๑๓๒๒๐๓ การบริหารงานสถานีตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Station Administration

แนวคิดและหลักการบริหารงานสถานีตํารวจ รูปแบบการจัด

สถานีตํารวจ ลักษณะงานตํารวจ แผนและวิธีปฏิบัติงาน เครื่องมืออุปกรณ

เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการ การประชาสัมพันธ สภาพปญหาและ

อุปสรรคพรอมแนวทางการแกไข รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับเน้ือหาวิชาใหชัดเจนขึ้น

บร.(PA) ๓๒๐๔ การบริหารงานตํารวจ ๓ ๒หนวยกิต (๒-๐-๐)

ศึกษาแนวคิดและหลักการบริหารงานสถานีตํารวจ รูปแบบ

การจัดสถานีตํารวจ ลักษณะงานตํารวจ แผนและวิธีปฏิบัติงาน

เครื่องมืออุปกรณ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริการ การประชาสัมพันธ

สภาพปญหาและอุปสรรคพรอมแนวทางการแกไข

๑๔๑๒๐๔ การบริหารงานตํารวจยุคใหม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Modern Police Administration

รูปแบบและแนวทางการบริหารงานตํารวจยุคใหม อาทิ

การบริหารเชิงกลยุทธ การบริหารคุณภาพรวม การบริหารการ

เปล่ียนแปลง การบริหารความขัดแยง และการบริหารกิจการบานเมืองที่

ดี รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับเน้ือหาวิชาใหชัดเจนขึ้น

บร.(PA) ๓๐๑๘ การอํานวยการตํารวจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักการและกระบวนการอํานวยการของสํานักงานตํารวจ

แหงชาติ อาท ิการแตงตั้งการเล่ือนขั้น และอัตราเงินเดือน การพิจารณา

๑๒๑๒๐๕ การอํานวยการตํารวจ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police General Staff Affair

หลักการและกระบวนการอํานวยการของสํานักงานตํารวจ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ลดหนวยกิต

Page 109: RPCA Policescience Course2556

๑๑๐

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

บําเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ การเล่ือนยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ

การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน วินัยและการลงทัณฑ รวมทั้ง

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

แหงชาติ อาทิ การแตงตั้ง การเล่ือนขั้นและอัตราเงินเดือน การพิจารณา

บําเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษ การเล่ือนยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ

การจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน วินัยและการลงทัณฑ รวมทั้ง

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

กม.(LA) ๑๑๐๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมาย ลักษณะและโครงรางของกฎหมายโดยทั่วไป

ประเภทของกฎหมาย วิวัฒนาการของกฎหมายทฤษฎีและแนวคิดตางๆ

ทางกฎหมาย ระบบกฎหมายตางๆ ที่มาของกฎหมาย ศักดิ์ของ

กฎหมาย การใชกฎหมาย หลักการตีความกฎหมาย ความสัมพันธ

ระหวางนิติศาสตรกับศาสตร อ่ืนที่ เ ก่ียวของ จรรยาบรรณของนัก

กฎหมาย ธรรมนูญศาลลําดับชั้นของศาลและอํานาจศาลและผูพิพากษา

๑๑๑๒๐๖ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Introduction to Law

ความหมาย ลักษณะ โครงรางและความสําคัญของกฎหมาย

ทฤษฎีและแนวคิดตางๆ ทางกฎหมาย วิวัฒนาการ ระบบ ที่มา การจัด ทํา

และศักดิ์ของกฎหมาย การแบงแยกประเภทของกฎหมาย การใช

การตคีวาม การอุดชองวางและการยกเลิกกฎหมาย ความสัมพันธระหวาง

นิติศาสตรกับศาสตรอ่ืนที่ เก่ียวของ จรรยาบรรณของนักกฎหมาย

ธรรมนูญศาล ลําดับชั้นของศาลและอํานาจศาลและผูพิพากษา

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิง่ขึ้น

- ปรับลดหนวยกิต

กม.(LA) ๑๑๐๒ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้ง

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมาย ความสําคัญและวิวัฒนาการของกฎหมายรัฐธรรมนูญ

หลักทั่วไปเก่ียวกับรัฐและระบอบการปกครอง ประมุขแหงรัฐ การแบง

แยกอํานาจ การใชอํานาจอธิปไตยแนวนโยบายแหงรัฐ สิทธิและเสรีภาพ

ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ การควบคุมมิใหกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ

การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเลือกตั้งของประเทศไทย

๑๑๑๒๐๗ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

เลือกตั้ง Constitutional Law and Election Law

ความหมาย ความสําคัญและวิวัฒนาการของกฎหมายรัฐธรรมนูญ

หลักทั่วไปเก่ียวกับรัฐและระบอบการปกครอง ประมุขแหงรัฐ การแบง

แยกอํานาจ การใชอํานาจอธิปไตยแนวนโยบายแหงรัฐ สิทธิและเสรีภาพ

ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ การควบคุมมิใหกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ

การแกไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ และกฎหมายเลือกตั้งของประเทศไทย

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

Page 110: RPCA Policescience Course2556

๑๑๑

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

กม.(LA) ๑๑๐๓ กฎหมายอาญา ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะสาระสําคัญวาดวยบทบัญญัติ

ทั่วไป บทบัญญัติที่ใชแกความผิดทั่วไปและที่ใชกับความผิดลหุโทษ

๑๑๑๒๐๘ กฎหมายอาญา ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 1

ประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะสาระสําคัญวาดวยบทบัญญัติ

ทั่วไป บทบัญญัติที่ใชแกความผิดทั่วไปและที่ใชกับความผิดลหุโทษ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๑๒๐๔ กฎหมายอาญา ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความผิดเก่ียวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร ความผิด

เก่ียวกับการปกครอง ความผิดเก่ียวกับการยุติธรรม ความผิดเก่ียวกับ

ศาสนา ความผิดเก่ียวกับความสงบสุขของประชาชน ความผิดเก่ียวกับ

การกอใหเกิดภยันตรายตอประชาชน ความผิดเก่ียวกับการปลอมและ

การแปลง ความผิดเก่ียวกับการคาและคําพิพากษาฎีกาที่เก่ียวของ

๑๑๒๒๐๙ กฎหมายอาญา ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 2

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิด

เก่ียวกับความม่ันคงแหงราชอาณาจักร ความผิดเก่ียวกับการปกครอง

ความผิดเก่ียวกับการยุติธรรม ความผิดเก่ียวกับศาสนา ความผิดเก่ียวกับ

ความสงบสุขของประชาชน ความผิดเก่ียวกับการกอใหเกิดภยันตรายตอ

ประชาชน ความผิดเก่ียวกับการปลอมและการแปลง ความผิดเก่ียวกับ

การคาและคําพิพากษาศาลฎีกาที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

กม.(LA) ๒๑๐๕ กฎหมายอาญา ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความผิดเก่ียวกับเพศ ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย

ความผิดเก่ียวกับเสรีภาพและชื่อเสียง และคําพิพากษาฎีกาที่เก่ียวของ

๑๒๑๒๑๐ กฎหมายอาญา ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Law 3

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิด

เก่ียวกับเพศความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย ความผิดเก่ียวกับเสรีภาพ

และชื่อเสียง และคําพิพากษาศาลฎีกาที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

Page 111: RPCA Policescience Course2556

๑๑๒

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

กม.(LA) ๒๒๐๖ กฎหมายอาญา ๔ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความผิดเก่ียวกับทรัพย ความผิดลหุโทษและคําพิพากษา

ฎีกาที่เก่ียวของ

๑๒๒๒๑๑ กฎหมายอาญา ๔ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Criminal Law 4

ประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะสาระสําคัญวาดวยความผิด

เก่ียวกับทรัพย ความผิดลหุโทษ และคําพิพากษาศาลฎีกาที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

กม.(LA) ๑๒๐๗ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เฉพาะสาระสําคัญวาดวย

หลักทั่วไป ลักษณะบุคคล ตั้งแตสภาพบุคคล การส้ินสภาพบุคคล

ความสามารถของบุคคล ภูมิลําเนา และนิติบุคคล สาระสําคัญลักษณะ

ทรัพย นิติกรรม สัญญา หน้ี ละเมิด และอายุความ

๑๑๒๒๑๒ กฎหมายแพงและพาณิชย ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Civil and Commercial Law 1

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเฉพาะสาระสําคัญวาดวย

หลักทั่วไป ลักษณะบุคคล ตั้งแตสภาพบุคคล การส้ินสภาพบุคคล

ความสามารถของบุคคล ภูมิลําเนาและนิติบุคคล สาระสําคัญลักษณะ

ทรัพย นิติกรรม สัญญา หน้ี ละเมิดและอายุความ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิตให

สอดคลองกับเน้ือหา

กม.(LA) ๒๑๐๘ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเฉพาะสาระสําคัญวาดวย

การซ้ือขาย เชาซ้ือเชาทรัพย ยืม ฝากทรัพย การประกันภัยและตั๋วเงิน

๑๒๑๒๑๓ กฎหมายแพงและพาณิชย ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Civil and Commercial Law 2

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเฉพาะสาระสําคัญวาดวยการซ้ือ

ขาย เชาทรัพยเชาซ้ือ ยืม ฝากทรัพย ค้ําประกัน จํานองจํานํา การประกันภัย และ

ตั๋วเงิน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

๑๓๑๒๑๔ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Civil and Commercial Law 3

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเฉพาะสาระสําคัญวาดวย

ครอบครัวและมรดก

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

Page 112: RPCA Policescience Course2556

๑๑๓

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

กม.(LA) ๒๑๑๐ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเก่ียวกับหลักทั่วไป

การสืบสวน และการสอบสวน อํานาจและเขตอํานาจพนักงานสอบสวนและ

ศาล หมายเรียก และหมายอาญา การจับ ขัง จําคุก คนและปลอยชั่วคราว

วิธีการสอบสวนและชันสูตรพลิกศพ รวมทั้งความเห็นและคําส่ังในการสอบสวน

๑๒๒๒๑๕ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Criminal Procedure Law 1

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเก่ียวกับหลักทั่วไป

การสืบสวน และการสอบสวน อํานาจและเขตอํานาจพนักงานสอบสวนและ

ศาล หมายเรียก และหมายอาญา การจับ ขัง จําคุก คนและปลอยชั่วคราว

วิธีการสอบสวนและชันสูตรพลิกศพ รวมทั้งความเห็นและคําส่ังในการสอบสวน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๒๒๑๑ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเก่ียวกับการฟอง

คดีอาญา การแกฟอง ถอนฟอง ฟองซํ้า การไตสวนมูลฟอง การฟองคดีแพง

เก่ียวเน่ืองกับคดีอาญา การพิจารณาคําพิพากษาและคําส่ัง การอุทธรณ การ

ฎีกา การบังคับตามคําพิพากษา คาธรรมเนียม การอภัยโทษ การเปล่ียน

โทษหนักเปนเบา การลดโทษ วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง และการ

นําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชในศาลจังหวัด และวิธีพิจารณา

ความอาญาสําหรับเยาวชนและครอบครัว

๑๓๑๒๑๖ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒

Criminal Procedure Law 2 ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเก่ียวกับการฟอง

คดีอาญา การแกฟอง ถอนฟอง ฟองซํ้า การไตสวนมูลฟอง การฟองคดีแพง

เก่ียวเน่ืองกับคดีอาญา การพิจารณาคําพิพากษาและคําส่ัง การอุทธรณ การ

ฎีกา การบังคับตามคําพิพากษา คาธรรมเนียม การอภัยโทษ การเปล่ียน

โทษหนักเปนเบา การลดโทษ วิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง และการ

นําวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงมาใชในศาลจังหวัด และวิธีพิจารณา

ความอาญาสําหรับเยาวชนและครอบครัว

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๓๑๑๓ กฎหมายลักษณะพยาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะพยาน แนวคิดทฤษฎี

เก่ียวกับพยานหลักฐาน ประเภทของพยาน หนาที่ นําสืบและภาระ

การพิสูจนในคดีแพงและคดีอาญา การยื่นพยานหลักฐาน การรับฟง

๑๓๑๒๑๗ กฎหมายลักษณะพยาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Evidentiary Law

หลักทั่วไปของกฎหมายลักษณะพยาน แนวคิดทฤษฎี

เก่ียวกับพยานหลักฐาน ประเภทของพยาน หนาที่นําสืบและภาระการ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 113: RPCA Policescience Course2556

๑๑๔

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

พยานหลักฐานในคดีแพงและคดีอาญา การสืบพยานคดีแพงและคดี

อาญา ขอกําหนดและขอหามการรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพงและ

คดีอาญา การชั่งนํ้าหนักพยานหลักฐาน การมาศาลของพยานและการ

ซักถามพยานและศึกษาหลักเกณฑจากคําพิพากษาศาลฎีกา

พิสูจน ในคดีแพงและคดีอาญา การยื่นพยาน หลักฐาน การรับฟง

พยานหลักฐานในคดีแพงและคดีอาญา การสืบพยานคดีแพงและ

คดีอาญา ขอกําหนดและขอหามการรับฟงพยานหลักฐานในคดีแพงและ

คดีอาญา การชั่งนํ้าหนักพยาน หลักฐาน การมาศาลของพยาน และการ

ซักถามพยานและศึกษาหลักเกณฑจากคําพิพากษาศาลฎีกา

กม.(LA) ๓๒๑๔ กฎหมายปกครอง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมาย ลักษณะ และวิวัฒนาการของกฎหมายปกครอง

บอเกิดของกฎหมายปกครอง การจัดโครงสรางองคการของฝายปกครอง

หลักการรวม การแบง และการกระจายอํานาจ การจัดระเบียบราชการ

บริหาร การจัดทําบริการสาธารณะ ฝายปกครอง ดุลพินิจฝายปกครอง

หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง การกระทําของฝายปกครอง

หลักเกณฑที่เก่ียวกับวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ขอมูลขาวสารของ

ทางราชการ ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ กฎหมายวาดวยศาล

ปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง และกฎหมายปกครองที่สําคัญอ่ืนๆ

๑๓๒๒๑๘ กฎหมายปกครอง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Administrative Law

ความหมาย ลักษณะ วิวัฒนาการและบอเกิดของกฎหมาย

ปกครอง การจัดโครงสรางองคการของฝายปกครอง การจัดระเบียบ

ราชการบริหาร การจัดทําบริการสาธารณะ ดุลพินิจฝายปกครอง หลักการ

พื้นฐานของกฎหมายปกครอง การกระทําทางปกครอง หลักเกณฑที่

เก่ียวกับวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ขอมูลขาวสารของราชการ ความ

รับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ กฎหมายวาดวยศาลปกครองและวิธี

พิจารณาคดีปกครอง

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

๑๒๑๒๑๙ กฎหมายตํารวจแหงชาติ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

National Police Laws

ความสําคัญและความเปนมาของพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ

หลักกฎหมายเก่ียวกับการจัดระเบียบราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติ

คณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ คณะกรรมการขาราชการตํารวจ ยศ

- เพิ่มรายวิชา

- เพื่อใหผูเรียนมีความรู

เก่ียวกับกฎหมายของ

ตํารวจ

Page 114: RPCA Policescience Course2556

๑๑๕

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตํารวจและชั้นขาราชการตํารวจ ระเบียบขาราชการตํารวจเก่ียวกับตําแหนงและ

การกําหนดตําแหนง การบรรจุ การแตงตั้ง และการเล่ือนขั้นเงินเดือน วินัย และ

การรักษาวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ การรองทุกข และเครื่องแบบ

ตํารวจ กองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา

กม.(LA)๑๒๐๙ กฎหมายสิทธิมนุษยชน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

วิวัฒนาการและที่มาของแนวความคิดและปรัชญาวาดวย

สิทธิมนุษยชน เครื่องมือหรือกลไกที่สรางขึ้นเพื่อรองรับคุมครองสิทธิ

มนุษยชน การคุมครองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศในระดับภูมิภาค

การคุมครองสิทธิมนุษยชนของไทย สิทธิมนุษยชนที่เก่ียวของกับอํานาจ

หนาที่ขององคกรในกระบวนการยุติธรรมหรือองคกรอ่ืน

๑๔๒๒๒๐ สิทธิมนุษยชน ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Human Rights

วิวัฒนาการและที่มาของแนวความคิดและปรัชญาวาดวย

สิทธิมนุษยชน เครื่องมือหรือกลไกลที่สรางขึ้นเพื่อรองรับคุมครองสิทธิ

มนุษยชน การคุมครองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศในระดับภูมิภาค

การคุมครองสิทธิมนุษยชนของไทย สิทธิที่เก่ียวของกับอํานาจหนาที่ของ

องคกรในกระบานการยุติธรรมหรือองคกรอ่ืน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

สส.(CI) ๒๑๐๑ นิติวิทยาศาสตร ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การนําวิทยาการตํารวจและเทคโนโลยีมาใชในการสืบสวน

และสอบสวน หนวยงานที่รับผิดชอบเก่ียวกับงานวิทยาการตํารวจ การ

ตรวจสถานที่เกิดเหตุ การจัดทําแผนที่เกิดเหตุ และการเขียนรายงาน

การตรวจสถานที่เกิดเหตุ การถายรูปในงานตํารวจ ความหมาย

ความสําคัญ การเก็บรวบรวมและจัดสงวัตถุพยานประเภทเอกสาร ยา

เสพติดใหโทษและสารระเหย

๓๓๑๒๒๑ การตรวจสถานที่เกิดเหตุ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Crime Scene Investigation

ความเปนมา ขอบเขตของงานนิติวิทยาศาสตร หนวยงานที่

รับผิดชอบเก่ียวกับงานนิติวิทยาศาสตร การบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุ

การตรวจสถานที่เกิดเหตุเบื้องตน ตั้งแตขั้นตอนการปองกันรักษาและการ

เขาสถานที่เกิดเหตุ การสํารวจสถานที่เกิดเหตุเบื้องตน การบันทึกสถานที่

เกิดเหตุดวยวิธีการจดบันทึก การทําแผนที่แผนผัง การถายภาพ การ

คนหาวัตถุพยาน การเก็บรวบรวมและบรรจุหีบหอวัตถุพยานเพื่อสง

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

กวาง ลึกและชัดเจนยิ่งขึ้น

Page 115: RPCA Policescience Course2556

๑๑๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตรวจหอง ปฏิบัติการ และการสงคืนสถานที่เกิดเหตุ การตรวจสถานที่

เกิดเหตุในคดีเก่ียวกับทรัพย ชีวิต จราจร เพลิงไหม ระเบิด อาชญากรรม

คอมพิวเตอร และการฝกปฏิบัติการตรวจสถานที่เกิดเหตุจําลอง

สส.(CI) ๒๑๐๒ นิติวิทยาศาสตร ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมาย ความสําคัญ การเก็บรวบรวมและจัดสงวัตถุ

พยานประเภทพิมพลายน้ิวมือแฝง ฝามือแฝง ฝาเทาแฝง การตรวจ

พิสูจนทางชีววิทยา เคมี และฟสิกส อาวุธปน ปลอกกระสุนปน หัว

กระสุนปน เขมาปน สารพิษ ยาพิษ กาซพิษ วัตถุออกฤทธ์ิตอจิต

ประสาท การตรวจสถานที่เกิดเหตุคดีประทุษรายตอทรัพย ชีวิต

อัตวินิบาตกรรม ขมขืน เพลิงไหม จราจรทางบก และคดีระเบิด การ

ตรวจพิสูจนโดยใชเครื่องมือวิทยาศาสตรที่มีเทคโนโลยีสูง

๓๓๒๒๒๒ การพิสูจนหลักฐาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminalistics

การตรวจพิสูจนวัตถุพยานประเภทตางๆ ไดแก วัตถุพยาน

ประเภทลายน้ิวมือ ฝามือ ฝาเทาแฝง และระบบพิมพลายน้ิวมืออัตโนมัติ

วัตถุพยานประเภทเอกสาร อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน วัตถุพยานทาง

เคมี ฟสิกส ชีววิทยา การตรวจหาสารพันธุกรรม วัตถุพยานประเภทยา

เสพติด วัตถุออกฤทธ์ิตอจิตและประสาท วัตถุพยานประเภทยาพิษและ

สารพิษ รวมถึงเทคโนโลยีการตรวจพิสูจนขั้นสูงตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนยิ่งขึ้น

สส.(CI) ๒๒๐๓ นิติวิทยาศาสตร ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

งานทะเบียนประวัติอาชญากร แผนประทุษกรรมและการ

บันทึกแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณ ผูกระทําผิด และ

การบันทึกประวัติการพิมพลายน้ิวมือ การถายภาพประวัติ ขอมูลทองถิ่น

เชน การทําประวัติบุคคลบางประเภท การทําแผนที่สถานที่สําคัญ บาน

บุคคลสําคัญ แหลงม่ัวสุมของคนราย แหลงอบายมุข บานคนรายหรือผูที่

มีพฤติการณเปนภัยสังคม

๓๔๑๒๒๓ การทะเบียนประวัติอาชญากร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Record

งานทะเบียนประวัติอาชญากร แผนประทุษกรรมและการ

บันทึกแผนประทุษกรรม ประวัติและตําหนิรูปพรรณผูกระทําผิด และ

การบันทึกประวัติการพิมพลายน้ิวมือ การถายภาพประวัติ ขอมูลทองถิ่น

เชน การทําประวัติบุคคลบางประเภท การทําแผนที่สถานที่สําคัญ บาน

บุคคลสําคัญ แหลงม่ัวสุมของคนราย แหลงอบายมุข บานคนรายหรือผูที่มี

พฤติการณเปนภัยสังคม

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 116: RPCA Policescience Course2556

๑๑๗

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สส.(CI) ๒๒๐๔ นิติเวชศาสตร ๔ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักการและวิธีการในการตรวจพิสูจนหลักฐานเก่ียวกับ

บุคคล การชันสูตรพลิกศพหาสาเหตุของการตาย เทคนิคการตรวจโดย

ใชวิทยาการ การตรวจพิสูจนเก่ียวกับความผิดทางเพศ การประสานงาน

ระหวางแพทยกับพนักงานสอบสวน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ และ

ขอบังคับที่เก่ียวของกับนิติเวชวิทยา และการดูงานในการตรวจพิสูจน

ทางนิติเวชวิทยา

๓๔๒๒๒๔ นิติเวชศาสตร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Forensic Medicine

หลักการและวิธีการในการตรวจพิสูจนหลักฐานเก่ียวกับ

บุคคล การชันสูตรพลิกศพ หาสาเหตุของการตาย เทคนิคการตรวจโดย

ใชวิทยาการ การตรวจพิสูจนเก่ียวกับความผิดทางเพศ การประสานงาน

ระหวางแพทยกับพนักงานสอบสวน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบและ

ขอบังคับที่เก่ียวของกับนิติเวชวิทยา และการดูงานในการตรวจพิสูจน

ทางนิติเวชวิทยา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

บร.(PA) ๓๒๐๗ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความรูเ ก่ียวกับอุปกรณคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย

ระบบปฏิบัติการ รูปแบบและวิธีการกออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

การปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร แนวทางการ

สืบสวนสอบสวนเพือ่หาตัวผูกระทําความผิด รวมทั้งกฎหมายที่เก่ียวของ

๓๓๒๒๒๕ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Cyber Crime

ความรู เ ก่ียวกับอุปกรณคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย

ระบบปฏิบัติการ รูปแบบและวิธีการกออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร

การปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร แนวทางการ

สืบสวนสอบสวนเพื่อหาตัวผูกระทําความผิด รวมทั้งกฎหมายที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

สส.(CI) ๒๒๐๕ การสอบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายและวัตถุประสงคของการสอบสวน อํานาจหนาที่

และขอบเขต ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน หลักทั่วไปเก่ียวกับ

การสอน ความสําคัญของการสอบสวน คุณธรรมและจรรยาบรรณของ

พนักงานสอบสวน กระบวนการสอบสวน วิธีการทําสํานวนการสอบสวน

๑๒๒๒๒๖ การสอบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 1

ความหมายและวัตถุประสงคของการสอบสวนอํานาจหนาที่

และขอบเขตความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน หลักทั่วไปเก่ียวกับ

การสอน ความสําคัญของการสอบสวน คุณธรรมและจรรยาบรรณของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 117: RPCA Policescience Course2556

๑๑๘

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

เทคนิคการซักถามผูกลาวหา ผูตองหาและพยาน รวมทั้งกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

พนักงานสอบสวน กระบวนการสอบสวน วิธีการทําสํานวนการสอบสวน

การซักถามผูกลาวหา ผูตองหา และพยาน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

สส.(CI) ๓๑๐๖ การสอบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๐)

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีเปรียบเทียบปรับในอํานาจ

ของพนักงานสอบสวน คดีที่อยูในอํานาจของศาลแขวง คดีเด็กและ

เยาวชนกระทําความผิดคดีประทุษรายตอทรัพย คดีประทุษรายตอชีวิต

และรางกาย คดีความผิดเก่ียวกับเพศ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ

และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน

และฝกปฏิบัติ

๑๓๑๒๒๗ การสอบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 2

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีเปรียบเทียบปรับในอํานาจ

ของพนักงานสอบสวน คดีที่อยูในอํานาจของศาลแขวง คดีเด็กและ

เยาวชนกระทําความผิดคดีประทุษรายตอทรัพย คดีประทุษรายตอชีวิต

และรางกาย คดีความผิดเก่ียวกับเพศ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ

และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน

และฝกปฏิบัติ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

สส.(CI) ๓๒๐๗ การสอบสวน ๓ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๐)

หลักการและวิธีการสอบสวนคดียาเสพติดใหโทษคดีอุบัติเหตุ

จราจร คดีเก่ียวกับการใชเช็ค คดีความผิดตามพระราชบัญญัติที่มีโทษ

ทางอาญาที่สําคัญ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ

ที่เก่ียวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน และฝกปฏิบัต ิ

๑๓๒๒๒๘ การสอบสวน ๓ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 3

หลักการและวิธีการสอบสวนคดียาเสพติดใหโทษคดีอุบัติเหตุ

จราจร คดีเก่ียวกับการใชเช็ค คดีความผิดตามพระราชบัญญัติที่มีโทษ

ทางอาญาที่สําคัญ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่

เก่ียวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวน และฝกปฏิบัต ิ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 118: RPCA Policescience Course2556

๑๑๙

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สส.(CI) ๓๒๐๘ การสอบสวน ๔ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๐)

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีความผิดเก่ียวกับการปลอม

แปลง คดีความผิดเก่ียวกับเพลิงไหม คดีความผิดเก่ียวกับเสรีภาพและ

ชื่อเสียง คดีชันสูตรพลิกศพและวิสามัญฆาตกรรม และคดีที่มีระเบียบ

หรือขอตกลงพิเศษ เชน ขาราชการหรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจกระทํา

ความผิด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวนและฝกปฏิบัต ิ

๑๔๑๒๒๙ การสอบสวน ๔ ๓ หนวยกิต (๒-๒-๔)

Interrogation 4

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีความผิดเก่ียวกับการปลอม

แปลง คดีความผิดเก่ียวกับเพลิงไหม คดีความผิดเก่ียวกับเสรีภาพและ

ชื่อเสียง คดีชันสูตรพลิกศพและวิสามัญฆาตกรรม และคดีที่มีระเบียบ

หรือขอตกลงพิเศษ เชน ขาราชการหรือพนักงาน รัฐวิสาหกิจ

กระทําความผิด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่

เก่ียวของ พรอมทั้งศึกษาตัวอยางสํานวนการสอบสวนและฝกปฏิบัต ิ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

๑๔๒๒๓๐ การสอบสวน ๕ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Interrogation 5

หลักการและวิธีการสอบสวนคดีพิเศษดานตางๆ เชน คดี

ความผิดเก่ียวกับเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ทรัพยสิน

ทางปญญา คามนุษย และอ่ืนๆ

- เพิ่มรายวิชาเปนวิชาบังคับ

- เพื่อเนนใหผูเรียนมีความรู

ความเขาใจในเรื่องการ

สอบสวน

สส.(CI) ๔๑๑๑ การสอบสวนคดีเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การสอบสวนคดีเก่ียวกับภาษีอากร (ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษี

การคา) การสอบสวนคดีเก่ียวกับสรรพสามิต (ภาษีนํ้ามัน, รถยนต, สุรา)

การสอบสวนคดีเก่ียวกับการฉอโกงบัตรเครดิต

ตัดออก - ตัดวิชาบังคับเลือกออกไป

รวมในวิชาการสอบสวน ๕

และใหเปนวิชาบังคับ

Page 119: RPCA Policescience Course2556

๑๒๐

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สส.(CI) ๔๑๑๓ การสืบสวนคดีพิเศษ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

จากการที่ผูเรียนไดเรียนกฎหมายมาแลว ในวิชาน้ีเปนการนํา

ตัวอยางคดีมาทําการศึกษาและวิเคราะหไดแกคดีดังตอไปน้ีแนวความคิด

เก่ียวกับการปองกันและปราบปรามองคกรอาชญากรรม คดีเก่ียวกับการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริตคดีเก่ียวกับความผิดทางอาญาของ

ผูดํารงตําแหนง ทางการเมือง คดีเก่ียวกับการปองกันและปราบปราม

การฟอกเงิน คดีเก่ียวกับการเลือกตั้ง คดีเก่ียวกับกฎหมายขอมูลขาวสาร

คดีเก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน คดีอาญาที่อยูในอํานาจของกรม

สอบสวนพิเศษ การสืบสวนเชิงปองกันตามกฎหมายผูตรวจการรัฐสภา

ตัดออก - ตัดวิชาบังคับเลือกออกไป

รวมในวิชาการสอบสวน ๕

และใหเปนวิชาบังคับ

สส.(CI) ๔๑๑๕ การสอบสวนคดีทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การสอบสวนคดีความผิดเก่ียวกับ พ.ร.บ.ปาไม การสอบสวน

คดีความผิดเก่ียวกับ พ.ร.บ.ที่ดิน การสอบสวนคดีความผิดเก่ียวกับ

พ.ร.บ. สาธารณสุข

ตัดออก - ตัดวิชาบังคับเลือกออกไป

รวมในวิชาการสอบสวน ๕

และใหเปนวิชาบังคับ

สส.(CI) ๒๒๐๙ การสืบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

แนวความคิดและวิวัฒนาการของการสืบสวน คุณธรรมและ

คุณลักษณะของพนักงานสืบสวน หลักการเบื้องตน และประเภทของ

การสืบสวน การสืบสวนโดยใชวิธีธรรมดา การสืบสวนโดยใชวิทยาการ

ตํารวจและขอมูลทองถิ่น การสังเกตจดจํา รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

๑๒๒๒๓๑ การสืบสวน ๑ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Investigation 1

แนวความคิดและวิวัฒนาการของการสืบสวน คุณธรรมและ

คุณลักษณะของพนักงานสืบสวน หลักการเบื้องตน และประเภทของ

การสืบสวน การสืบสวนโดยใชวิธีธรรมดา การสืบสวนโดยใชวิทยาการ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 120: RPCA Policescience Course2556

๑๒๑

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ ตํารวจและขอมูลทองถิ่น การสังเกตจดจํา รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

สส.(CI) ๓๑๑๐ การสืบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

เทคนิคการสืบสวนคดีความผิดเก่ียวกับการประทุษรายตอ

ทรัพย ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย ความผิดเก่ียวกับเพศ ความผิด

เก่ียวกับการปลอมแปลง ความผิดเก่ียวกับภยันตรายแกประชาชน

ความผิดเก่ียวกับยาเสพติด และความผิดอ่ืน ๆ รวมทั้งกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๓๑๒๓๒ การสืบสวน ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Investigation 2

การสืบสวนคดีความผิดเก่ียวกับการประทุษรายตอทรัพย

ความผิดเก่ียวกับชีวิตและรางกาย ความผิดเก่ียวกับเพศ ความผิด

เก่ียวกับการปลอมแปลง ความผิดเก่ียวกับภยันตรายแกประชาชน

ความผิดเก่ียวกับยาเสพติด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตาง ๆ

ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ปป.(CP) ๑๒๐๒ การปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว

๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความสําคัญและความมุงหมายในการปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว

ปญหาเด็กและเยาวชนในสังคม และแนวทางการปฏิบัติตอเด็กและเยาวชนที่

กระทําผิด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตาง ๆที่เก่ียวของ

๑๑๒๒๓๓ การปฏิบัติตอเยาวชนและครอบครัว ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Practice toward Youth and Family

ความสําคัญและความมุงหมายในการปฏิบัติตอเยาวชนและ

ครอบครัว ปญหาเด็กและเยาวชนในสังคมและแนวทางการปฏิบัติตอเด็กและ

เยาวชน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบขอบังคับและคําส่ังตาง ๆที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชดัเจนยิ่งขึ้น

ปป.(CP) ๑๑๐๑ หลักอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายและขอบขายของอาชญาวิทยา ความหมายของ

อาชญากรรมและผูกระทําความผิด ทฤษฎี สาเหตุแหงอาชญากรรมตาม

แนวคิดของนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร ชีววิทยาจิตวิทยาสังคมวิทยา

รัฐศาสตรและเศรษฐศาสตร วิธีการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม

๑๒๑๒๓๔ หลักอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

Criminology and Criminal Justice

ความหมายและขอบขายของอาชญาวิทยา ความหมายของ

อาชญากรรมและผูกระทําความผิด ทฤษฎี สาเหตุแหงอาชญากรรมตาม

แนวคิดของนิติศาสตร รัฐประศาสนศาสตร ชีววิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

Page 121: RPCA Policescience Course2556

๑๒๒

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

และการควบคุมทางสังคมที่เก่ียวของ รวมทั้งความรูเบื้องตนเก่ียวกับ

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา

รัฐศาสตรและเศรษฐศาสตร วิธีการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม

และการควบคุมทางสังคมที่เก่ียวของ รวมทั้งความรูเบื้องตนเก่ียวกับ

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา

ปป.(CP) ๒๑๐๓ ปญหาอาชญากรรมและการควบคุมแหลงอบายมุข

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การจําแนกประเภทของอาชญากรรม ความหมาย แนวโนม

การกระทําผิด ลักษณะแบบแผนพฤติกรรมและสาเหตุของอาชญากรรม

ที่สําคัญ ไดแก อาชญากรรมพื้นฐาน อาชญากรรมผูดี อาชญากรรมที่มี

การดําเนินงานในรูปองคกร อาชญากรรมปราศจากเหยื่อ อาชญากรรม

การเมือง อาชญากรรมการกอการราย อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ

อาชญากรรมเก่ียวกับคอมพิวเตอร และอาชญากรรมที่นาสนใจอ่ืน ๆ

รวมทั้งแนวทางและมาตรการในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม

และควบคุมแหลงอบายมุขแตละประเภทดังกลาว

๑๒๑๒๓๕ ปญหาอาชญากรรมและการควบคุม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

แหลงอบายมุข

Crime Problems and Vice Control

การจําแนกประเภทของอาชญากรรม ความหมาย แนวโนม

การกระทําผิด ลักษณะแบบแผนพฤติกรรมและสาเหตุของอาชญากรรม

ที่สําคัญ ไดแก อาชญากรรมพื้นฐาน อาชญากรรมผูดี อาชญากรรมที่มี

การดําเนินงานในรูปองคกร อาชญากรรมปราศจากเหยื่อ อาชญากรรม

การเมือง อาชญากรรมการกอการราย อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญา

กรรมเก่ียวกับคอมพิวเตอรและอาชญากรรมที่นาสนใจอ่ืนๆ รวมทั้ง

แนวทางและมาตรการในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมและ

ควบคุมแหลงอบายมุขแตละประเภทดังกลาว

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

บร.(PA) ๓๐๑๗ การบรรเทาสาธารณภัย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายและความสําคัญของการบรรเทาสาธารณภัย

การวางแผนดําเนินการ การเตรียมรับสถานการณ หลักการและแนวทาง

ปฏิบัติขณะเกิดและหลังเกิดสาธารณภัยชนิดตางๆรวมทั้งการฝกปฏิบัติ

การจัดเตรียมและการใชเครื่องมืองายๆ การปฏิบัติการชวยเหลือ

๑๒๑๒๓๖ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Public Disaster Prevention and Relief

ความหมายและความสําคัญของการบรรเทาสาธารณภัย

การวางแผนดําเนินการการเตรียมรับสถานการณ หลักการและแนวทาง

ปฏิบัติขณะเกิดและหลังเกิดสาธารณภัยชนิดตางๆ รวมทั้งการฝกปฏิบัติการ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

Page 122: RPCA Policescience Course2556

๑๒๓

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ผูประสบภัย การปฐมพยาบาลและการเคล่ือนยายผูประสบภัยสาธารณะ

ตางๆ

จัดเตรียมและการใชเครื่องมืองายๆ การปฏิบัติการชวยเหลือผูประสบภัย

การปฐมพยาบาลและการเคล่ือนยายผูประสบภัยสาธารณะตาง ๆ

ปป.(CP) ๒๒๐๔ ยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๐)

ความสําคัญของยุทธวิธีตํารวจ หลักการตรวจคน จับกุมและ

ควบคุมผูกระทําผิดกฎหมาย รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและ

คําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๒๒๒๓๗ ยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Police Tactics 1

ความสําคัญของยุทธวิธีตํารวจ หลักการตรวจคน จับกุมและ

ควบคุมผูกระทําผิดกฎหมาย รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและ

คําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ปป.(CP) ๓๑๐๖ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักการและแนวความคิดเก่ียวกับการปองกันอาชญากรรม

ดวยการบังคับใชกฎหมาย การควบคุมโดยสถาบันสังคม การจัดสภาพ

แวดลอม งานชุมชนและมวลชนสัมพันธ การวางแผนและจัดทําโครงการ

ปองกันอาชญากรรม โดยเนนการปฏิบัติงานในหนาที่ตํารวจ รวมทั้ง

กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๓๑๒๓๘ การปองกันและปราบปราม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

อาชญากรรม ๑

Prevention and Suppression of crime 1

หลักการและแนวความคิดเก่ียวกับการปองกันอาชญากรรม

ดวยการบังคับใชกฎหมายการควบคุมโดยสถาบันสังคม การจัดสภาพ

แวดลอม งานชุมชนและมวลชนสัมพันธ การวางแผนและจัดทําโครงการ

ปองกันอาชญากรรม โดยเนนการปฏิบัติงานในหนาที่ตํารวจ รวมทั้ง

กฎหมายระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

ปป.(CP)๓๒๐๗ การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๒

๒ หนวยกิต (๒-๑-๐)

วิวัฒนาการ ความสําคัญของสายตรวจ ทฤษฎีและประเภท

ของสายตรวจ การใชเครื่องมืออุปกรณและเครื่องมือส่ือสาร การจัด

๑๓๒๒๓๙ การปองกันและปราบปราม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔) อาชญากรรม ๒ Prevention and Suppression of crime 2 วิวัฒนาการ ความสําคัญของสายตรวจ ทฤษฎีและประเภทของสายตรวจ การจัดเวลา การจัดผลัด และการจัดชุดปฏิบัติการของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 123: RPCA Policescience Course2556

๑๒๔

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

เวลาผลัดและการแบงเขตของสายตรวจ การวางแผนการตรวจทองที่

เทคนิคการออกตรวจทองที่ดานตรวจ จุดตรวจ จุดสกัด รวมทั้งกฎหมาย

ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตาง ๆ ที่เก่ียวของ

สายตรวจ อุปกรณเครื่องมือที่จําเปนสําหรับสายตรวจ การวางแผน การตรวจทองที่ เทคนิคการออกตรวจทองที่ดานตรวจ จุดตรวจ จุดสกัด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

ปป.(CP) ๔๑๑๒ การรักษาความปลอดภัย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประวัติความเปนมาและความหมาย หลักการรักษาความ

ปลอดภัย ประเภท และหนาที่ความรับผิดชอบ วิธีการรักษาความ

ปลอดภัยตางๆ เชน การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล ขอมูล

ขาวสาร และสถานที่ การถวายความปลอดภัย แผนและมาตรการในการ

รักษาความปลอดภัยตางๆ ระดับในประเทศและตางประเทศ หนวยงาน

การรักษาความปลอดภัย และหนวยงานที่ เ ก่ียวของ ตลอดจนการ

ประสานงานรวมทั้ง กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่

เก่ียวของ

๑๒๒๒๔๐ การรักษาความปลอดภัย ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

Security

ประวัติความเปนมาและความหมาย หลักการรักษาความ

ปลอดภัย ประเภทและหนาที่ความรับผิดชอบ วิ ธีการรักษาความ

ปลอดภัยตางๆ เชน การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับบุคคล ขอมูล

ขาวสาร และสถานที่ การถวายความปลอดภัย แผนและมาตรการในการ

รักษาความปลอดภัยตางๆ ระดับในประเทศและตางประเทศ หนวยงาน

การรักษาความปลอดภัยและหนวยงานทีเ่ก่ียวของ ตลอดจนการประสาน

งาน รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

ปป.(CP) ๔๑๐๘ การตํารวจชุมชน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประวัติความเปนมา และความหมายและการตํารวจชุมชน

แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับตํารวจชุมชน การศึกษาเปรียบเทียบการ

ตํารวจชุมชนของประเทศไทยกับตางประเทศ การนําแนวคิดและทฤษฎี

เก่ียวกับการตํารวจชุมชนไปประยุกตใชกับงานตํารวจในสถานการณ

ตางๆ รวมทั้ง กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๔๑๒๔๑ การตํารวจชุมชนและการมีสวนรวม ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

ของประชาชน Community Policing and the

Participation of the People

ประวัติความเปนมาและความหมายของการตํารวจชุมชน

ความสําคัญของงานตํารวจชุมชน แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับตํารวจ

ชุมชน หลักการและแนวคิดเก่ียวกับกิจการตํารวจกับการมีสวนรวมของ

ประชาชน ลักษณะงานชุมชนสัมพันธ การประชาสัมพันธ การใหบริการ

- เปล่ียนชื่อวิชาและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

กวางและชัดเจนขึ้น

Page 124: RPCA Policescience Course2556

๑๒๕

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

แกชุมชน การมีสวนรวมในกิจการตางๆ ในชุมชน การศึกษาเปรียบเทียบ

การตํารวจชุมชนของประเทศไทยกับตางประเทศ ยุทธวิธีและขั้นตอน

การดําเนินงานชุมชน การดําเนินการตามโครงการชุมชน การฝกปฏิบัติ

กิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชน การนําแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับ

การตํารวจชุมชนไปประยุกตใช กับงานตํารวจในสถานการณตางๆ

รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

ปป.(CP) ๔๑๑๓ อาชญากรรมขามชาต ิ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประวัติความเปนมาและความหมาย ลักษณะและประเภท

ของอาชญากรรมขามชาติ สถานการณและแนวโนมของอาชญากรรม

ขามชาติ แนวทางและมาตรการในการปองกันและปราบปราม

อาชญากรรมขามชาติแตละประเภทดังกลาว กฎหมาย ระเบียบ

ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ ตลอดจนอนุสัญญาตางๆ

๑๔๒๒๔๒ อาชญากรรมขามชาติกับการขาว ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

และสถานการณโลกปจจุบัน

Transnational Crime Intelligence and

Contemporary Global Situation

ประวัติความเปนมา ความหมาย ลักษณะและประเภทของอาชญา

กรรมขามชาติ สถานการณและแนวโนมของอาชญากรรมขามชาติ แนวทางและ

มาตรการในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติแตละประเภท

ประวัติ ความเปนมา ความหมาย แนวคิดของลัทธิตาง ๆระบบการเมืองและการ

ปกครองในประเทศไทยและตาง ประเทศ การวิเคราะหขาวในสถานการณโลก

ปจจุบันและการพยากรณสถานการณในอนาคตเพื่อกําหนดแนวทางและมาตรการ

ในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม หนวยงานการขาวและหนวยงานที่

เก่ียวของ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคบั และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

- ปรับเน้ือหาวิชาใหกวางและ

และชัดเจนขึ้น

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

Page 125: RPCA Policescience Course2556

๑๒๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ปป.(CP) ๔๑๑๔ การขาวและสถานการณโลกปจจุบัน

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประวัติความเปนมา และความหมาย แนวคิดของลัทธิตางๆ

ตลอดจนระบบการเมืองและการปกครองในประเทศไทยและตาง

ประเทศ วิเคราะหการขาวในสถานการณโลกปจจุบัน ตลอดจนการ

พยากรณสถานการณในอนาคตเพื่อกําหนดแนวทางและมาตรการในการ

ปองกันและปราบปรามอาชญากรรม หนวยงานการขาวและหนวยงานที่

เก่ียวของ ตลอดจนการประสานงาน กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และ

คําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

ตัดออก

ปป.(CP) ๔๑๑๕ การตอตานการกอการรายสากล ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความรูทั่วไปของการกอการราย และความหมายการกอการ

รายสากล ประเภทและวิธีการกอการรายสากล, กลุมของผูกอการรายที่

สําคัญๆ ในประเทศไทยและตางประเทศ แนวทางในการปองกันและ

ปราบปราม และหนวยงานที่ เ ก่ียวกับการกอการรายและการ

ประสานงาน กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๔๒๒๔๓ การตอตานการกอการรายสากล ๒ หนวยกิต (๒-๐-๔)

และการจัดการภายใตสภาวะวิกฤต

The Anti International Terrorism

and Role of Police in Managing a Crisis

ประวัติความเปนมาและความหมายของการกอการราย

สากล การจัดการภายใตสภาวะวิกฤต การแบงประเภทของการกอการ

รายและการบริหารวิกฤตการณในประเทศและตางประเทศ บทบาท

ความรับผิดชอบและเครื่องมือกลไกที่เก่ียวของกับการกอการรายสากล

และการบริหาร วิกฤตการณโดยการวิ เคราะหและแก ไขปญหา

วิกฤตการณตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับลดหนวยกิต

- ปรับเน้ือหาวิชาใหกวางและ

และชัดเจนขึ้น

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

Page 126: RPCA Policescience Course2556

๑๒๗

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ปป.(CP) ๔๑๑๗ การจัดการภายใตสภาวะวิกฤติ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประวัติความเปนมาและความหมาย แนวคิด ทฤษฎี และการ

แบงประเภทของการจัดการภายใตสภาวะวิกฤติ บทบาทและความ

รับผิดชอบของหนวยงาน องคกรตางๆ ตลอดจนบุคคลที่เก่ียวของในการ

แกไขสภาวะวิกฤติ และการประสานงานการชวยเหลือและการฟนฟูหลัง

สภาวะวิกฤต ิการวิเคราะหและการแกไขปญหาวิกฤติตางๆ (กรณีศึกษา)

ตัดออก

บร.(PA) ๓๑๐๖ การจราจร ๓ หนวยกิต (๒-๑-๒)

แนวความคิดและทฤษฏีเก่ียวกับการจราจร ความรูเบื้องตน

ดานวิศวกรรมจราจรและการจัดระบบการขนสงหลักการและการปฏิบัติ

ในการตรวจและการควบคุมการจราจร การตรวจสถานที่เกิดเหตุ

อุบัติเหตุจราจร รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่

เก่ียวของ โดยสงนักเรียนนายรอยตํารวจออกไปฝกปฏิบัติภาคสนามดวย

๑๒๒๒๔๔ การจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Management

แนวความคิดและทฤษฏีเก่ียวกับการจราจร ความรูเบื้องตน

ดานวิศวกรรมจราจรและการจัดระบบการขนสง หลักการและการปฏิบัติ

ในการตรวจและการควบคุมการจราจร การตรวจสถานที่เกิดเหตุคดี

อุบัติเหตุจราจร รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่

เก่ียวของ การฝกปฏิบัติภาคสนาม

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

ตร.(PT) ๑๑๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกบุคคลทามือเปลาและบุคคลทาอาวุธ

๔๑๑๒๐๑ การฝกแบบตํารวจ ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 1

การฝกบุคคลทามือเปลา บุคคลแถวชิด และบุคคลทาอาวุธ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

Page 127: RPCA Policescience Course2556

๑๒๘

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตร.(PT) ๒๑๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกบุคคลทามือเปลาและบุคคลทาอาวุธ การศึกษา

หลักการ และวิธีการในการทําหนาที่ครูฝก และการฝกหัดทําหนาที่ครู

ฝก

๔๒๑๒๐๒ การฝกแบบตํารวจ ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 2

หลักการ วิธีการในการทําหนาที่ครูฝก และการฝกหัดทํา

หนาที่ครูฝก (การฝก บุคคลทามือเปลา บุคคลแถวชิด และบุคคลทา

อาวุธ)

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

ตร.(PT) ๓๑๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝกและทําหนาที่ครูฝก บุคคลทามือ

เปลา บุคคลทาอาวุธ และฝกการใชกระบี ่

๔๓๑๒๐๓ การฝกแบบตํารวจ ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 3

การฝกบุคคลทากระบี่ การทําหนาที่ ผูบังคับกองเกียรติยศ

และกองรักษาการณ และทบทวนการทําหนาที่ครูฝก

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

ตร.(PT) ๔๑๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

ทบทวนการใชกระบี่ฝกหัดทําหนาที่ผูบังคับกองเกียรติยศ

ฝกหัดทําหนาที่ผูบังคับกองรักษาการณ และทําหนาที่ครูฝก

๔๔๑๒๐๔ การฝกแบบตํารวจ ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Training 4

การทําหนาที่ครูฝกที่สถานีตํารวจ และทบทวนการฝกบุคคล

ทากระบี่

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

ตร.(PT) ๑๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑ ไมนับหนวยกิต (๑-๒-๐)

การฝกปฏิบัติในการตรวจคน การปลดอาวุธ การจับกุมและ

การควบคุม ผูกระทําผิดกฎหมาย การตั้งจุดตรวจ การลอมจับคนราย

และการใชกําลังกับผูกระทําผิดกฎหมายในรูปแบบตางๆ ที่ไมใชลักษณะ

การกอการราย

๔๑๒๒๐๕ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 1

การฝกปฏิบัติในการตรวจคน การปลดอาวุธ การจับกุมและ

การควบคุมผูกระทําผิดกฎหมาย การตั้งจุดตรวจ การลอมจับคนราย

และการใชกําลังกับผูกระทําผิดกฎหมายในรูปแบบตางๆ ที่ไมใชลักษณะ

การกอการราย

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

Page 128: RPCA Policescience Course2556

๑๒๙

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตร.(PT) ๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกปฏิบัติในการตอตานการกอความไมสงบ การควบคุม

ฝูงชน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ การแกปญหาตัวประกัน

การปองกันและปราบปรามจลาจล และการตอตานการกอการรายใน

รูปแบบตางๆ

๔๒๒๒๐๖ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 2

การฝกปฏิบัติในการตอตานการกอความไมสงบ การควบคุม

ฝูงชน การรักษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญ การแกปญหาตัวประกัน

การปองกันและปราบปรามจลาจลและการตอตานการกอการรายใน

รูปแบบตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

ตร.(PT) ๓๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝกและทําหนาที่ครูฝกในการตรวจคน

การปลดอาวุธการจับกุม และควบคุมผูกระทําผิดกฎหมาย การตั้งจุด

ตรวจ การลอมจับคนราย และการใชกําลังกับผูกระทําผิดกฎหมายใน

รูปแบบตางๆ ที่ไมใชลักษณะการกอการราย

๔๓๒๒๐๗ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 3

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝกและทําหนาที่ครูฝกในการตรวจคน

การปลดอาวุธ การจับกุมและควบคุมตัวผูกระทําผิดกฎหมาย การตั้งจุด

ตรวจ การลอมจับผูกระทําผิด และการใชกําลังกับผูกระทําผิดกฎหมาย

ในรูปแบบตางๆ ที่ไมใชลักษณะการกอการราย

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

ตร.(PT) ๔๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔ ไมนับหนวยกิต (๐-๒-๐)

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝกและทําหนาที่ครูฝกในการตอตาน

การกอความไมสงบ การควบคุมฝูงชน การรักษาความปลอดภัยบุคคล

สําคัญ การแกไขปญหาตัวประกัน การปองกันและปราบปรามจลาจล

และการตอตานการกอการรายในรูปแบบตาง ๆ

๔๔๑๒๐๘ การฝกยุทธวิธีตํารวจ ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Police Tactic Training 4

การฝกหัดทําหนาที่ครูฝก และทําหนาที่ครูฝกในการตอตาน

การกอความไมสงบการควบคุมฝูงชน การรักษาความปลอดภัยบุคคล

สําคัญ การแกไขปญหาตัวประกัน การปองกันและปราบปรามจลาจล

และการตอตานการกอการรายในรูปแบบตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

Page 129: RPCA Policescience Course2556

๑๓๐

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตร.(PT) ๑๑๐๙ การยิงปน ๑ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

ประวัติความเปนมาและประโยชนของการยิงปน หลักการ

พื้นฐานเก่ียวกับการใชอาวุธปน กฎในการปองกันอันตราย การบํารุง

รักษาอาวุธปน ฝกการเล็งปนและการล่ันไก รวมทั้งฝกซอมการยิงปนพก

โดยเนนทาทางการเล็งและการล่ันไก ศึกษาลักษณะประเภทของอาวุธ

ปนที่ใชในกิจการตํารวจ อุปกรณและการทํางานของอาวุธปนที่สําคัญ

รวมทั้งการถอดประกอบอาวุธปนบางชนิด

๔๑๒๒๐๙ การยิงปน ๑ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 1

ประวัติความเปนมาและประโยชนของการยิงปน กฎการใช

อาวุธปน หลักการพื้นฐานในการยิงปนกฎในการปองกันอันตราย สิทธิและ

อํานาจของเจาพนักงานตํารวจในการใชอาวุธปนตามกฎหมาย การบํารุง

รักษาอาวุธปน ลักษณะประเภทของอาวุธปนที่ใชในกิจการตํารวจ อุปกรณ

และการทํางานของอาวุธปนที่สําคัญ การถอดประกอบอาวุธปนบางชนิด ฝก

พื้นฐานการยิงปน ฝกการยิงปนพกตามหลักสูตรการยิงปนและกฎกติกา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชือ่วิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

ตร.(PT) ๑๒๑๐ การยิงปน ๒ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย สิทธิและอํานาจของ

เจาพนักงานตํารวจ ในการใชอาวุธปนตามกฎหมาย ฝกการยิงปนพก

ศึกษาลักษณะประเภทของอาวุธปนที่ใชในกิจการตํารวจอุปกรณและ

การทํางานของอาวุธปนที่สําคัญ รวมทั้งการถอดประกอบอาวุธปนบาง

ชนิด

๔๒๒๒๑๐ การยิงปน ๒ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 2

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการยิงปนพก

ฝกหาความชํานาญในการยิงปนพกตามหลักสูตรการยงิปนและกฎกติกา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางและ

ลึกขึ้น

ตร.(PT) ๒๑๑๑ การยิงปน ๓ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการยิงปนพก

ฝกหาความชํานาญ ในการยิงปนพก ฝกการยิงปนพกตามระบบการ

แขงขัน

๔๓๒๒๑๑ การยิงปน ๓ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 3

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการยิงปนพก

ฝกยิงปนพกตามหลักสูตรการยิงปนและกฎกติกา หลักการยิงปนพกทาง

ยุทธวิธี ฝกการยิงปนพกทางยุทธวิธี

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางขึ้น

Page 130: RPCA Policescience Course2556

๑๓๑

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตร.(PT) ๒๒๑๒ การยิงปน ๔ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎกติกา

ในการยิงปนพก ตามระบบการแขงขัน ฝกการยิงปนพก ตามระบบการ

แขงขัน และจัดใหมีการแขงขันยิงปนพกตามระบบแขงขัน

๔๔๑๒๑๒ การยิงปน ๔ ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Shooting 4

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎ

กติกาในการยิงปนพกทางยุทธวิธี และจัดใหมีการยิงปนพกทางยุทธวิธี

ฝกความชํานาญในการยิงปนพกทางยุทธวิธีในรูปแบบตางๆ ศึกษา

ขอบกพรองของการยิงปนพกทางยุทธวิธี ทบทวนและจัดใหมีการแขงขัน

ยิงปนพกตามระบบแขงขัน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

- เพิ่มเน้ือหาวิชาใหกวางขึ้น

ตร.(PT) ๓๑๑๓ การยิงปน ๕ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎกติกา

ในการยิงปนพก ตามระบบการแขงขัน และจัดใหมีการแขงขันยิงปนพก

ตามระบบแขงขัน

ตัดออก

ตร.(PT) ๓๒๑๔ การยิงปน ๖ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎกติกา

ในการยิงปนพก ตามระบบการแขงขัน และจัดใหมีการแขงขันยิงปนพก

ตามระบบแขงขัน หลักการและกฎกติกาในการยิงปนพกทางยุทธวิธี

ฝกการยิงปนพกทางยุทธวิธี

ตัดออก

ตร.(PT) ๔๑๑๕ การยิงปน ๗ ไมนับหนวยกิต (๑-๑-๐)

การทบทวนกฎในการปองกันอันตราย หลักการและกฎกติกา

ในการยิงปนพกทางยุทธวิธีและจัดใหมีการยิงปนพกทางยุทธวิธี ฝก

ตัดออก

Page 131: RPCA Policescience Course2556

๑๓๒

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ความชํานาญในการยิงปนพกทางยุทธวิธีในรูปแบบตางๆ ศึกษา

ขอบกพรองของการยิงปนพกทางยุทธวิธี ทบทวนและจัดใหมีการแขงขัน

ยิงปนพกตามระบบแขงขัน

พล.(PE) ๑๑๐๑ พลศึกษาวิทยาศาสตรการกีฬา ๑ ไมนับหนวยกิต (๒-๒-๐)

กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาพื้นฐาน มัดกลามเน้ือที่สําคัญ ระบบ

พลังงานของรางกาย กลไกการทํางานของรางกายในขณะออกกําลังกาย ระบบ

กลามเน้ือ ระบบหัวใจไหลเวียนเลือด สมรรถภาพทางกาย องคประกอบของสมรรถ

ภาพทางกาย ความสมบูรณทางรางกาย การฝกฝนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย

ทั่วไป โภชนาการอาหารหลัก ๕ หมู สารอาหารที่จําเปนตอการออกกําลังกาย

หลักในการเลือกอาหารที่มีประโยชน การจัดและแบงสัดสวนอาหาร การกําหนด

ตารางการรับประทานอาหาร การปองกันการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย

การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นบอยครั้ง วิธีการปองกันการบาดเจ็บ การดูแลตัวเองเพื่อ

ปองกันการบาดเจ็บ การรักษาหรือการปฐมพยาบาลเบื้องตน การบริหารเพื่อ

ปองกันการบาดเจ็บ การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ หลักการเลือกชนิดและกิจกรรม

กีฬา ประโยชนจากการออกกําลังกาย ขอปฏิบัติตนในการออกกําลังกายที่ถูกตอง

๔๑๑๒๑๓ วิทยาศาสตรการกีฬา ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Physical Education and Sport Science

สมรรถภาพทางกายทั่วไป และสมรรถภาพทางกายเฉพาะ

ดาน การทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีการทดสอบสมรรถภาพทาง

กายที่เหมาะสมความสําคัญและความจําเปนของการทดสอบสมรรถภาพ

การทดสอบสมรรถภาพทางกายดวยวิธีงายๆ ดวยตนเอง และการ

ทดสอบสมรรถภาพทางกายดวยเครื่องมือ การประเมินผลการทดสอบ

สมรรถภาพทางกาย การออกกําลังกาย หรือการฝกเพื่อพัฒนา

สมรรถภาพทางกายเฉพาะดาน

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

ชัดเจนขึ้น

พล.(PE) ๑๒๐๒ การกีฬา ไมนับหนวยกิต (๒-๒-๐)

จัดการเรียนการสอนวิชากีฬาหลักที่มีการจัดการแขงขันกีฬาระหวาง

โรงเรียนทหาร-ตํารวจรวม ๔ ชนิดกีฬา ดังน้ี วิชากีฬาฟุตบอล ประวัติกีฬาฟุตบอล

วิธีการเลน กีฬาฟุตบอล การฝกกีฬาฟุตบอลเบื้องตน ฝกทักษะพื้นฐาน

ตัดออก

Page 132: RPCA Policescience Course2556

๑๓๓

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

การเคล่ือนไหวของรางกาย การเรียนรูการเลนเปนทีม การรูกฎกติกามารยาทการ

เลนกีฬาฟุตบอล การปองกันการบาดเจ็บ และการปฐมพยาบาล วิชากีฬารักบี้

ฟุตบอล ประวัติกีฬารักบี้ฟุตบอล วิธีการเลน การฝกทักษะเบื้องตนการเรียนรูกฎ

กติกาและการฝกเลนเปนทีม การปองกันการบาดเจ็บจากการฝกซอมตลอดจนการ

รักษาพยาบาล วิชากีฬาบาสเกตบอล ประวัติกีฬาบาสเกตบอล วิธีการเลน การฝก

ทักษะเบื้องตนการเรียนรูกฎกติกาและการฝกเลนเปนทีม การปองกันการบาดเจ็บ

จากการฝกซอมตลอดจนการรักษาพยาบาล วิชากรีฑา ความเปนมาของกรีฑา

ประเภทตางๆ กรีฑาประเภทลู กรีฑาประเภทลาน การเรียนรูกฎกติกาของกรีฑาทั้ง

๒ ประเภท การฝกซอมและการรักษาการบาดเจ็บจากการเลนกรีฑา การเขารวม

แขงขันกรีฑา และการจัดการแขงขันกรีฑา

๔๑๒๒๑๔ วายน้ํา ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Swimming

กระบวนการใชทักษะทางดานรางกายในสภาวะแวดลอม

ในนํ้า ระบบการหายใจ การลอยตัว การเตะเทา การหมุนแขน และการ

พลิกหนาหายใจโดยอาศัยหลักชีวกลศาสตรทางดานรางกาย หลักการ

ชวยเหลือผูประสบเหตุทางนํ้าและการปฐมพยาบาล

- เพิ่มรายวิชา

พล.(PE) ๒๑๐๓ การตอสูปองกนัตัว ๑ (ยูโด) ไมนับหนวยกิต (๒-๒-๐)

ความรูทั่วไปเก่ียวกับยูโด ทักษะเบื้องตนในการเรียนยูโด

ทักษะการลมและทําใหคูตอสูเสียการทรงตัว ทักษะการทุมดวยเทคนิค

๔๒๑๒๑๕ ยูโด ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Judo

ความรูทั่วไปเก่ียวกับยูโด ทักษะเบื้องตนในการเรียนยูโด

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

Page 133: RPCA Policescience Course2556

๑๓๔

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

การใชมือและแขน ทักษะการทุมดวยเทคนิคการใชสะโพก ทักษะการ

ทุมดวยเทคนิคการใชขาและเทา ทักษะการทุมดวยเทคนิคการนอนหงาย

ทุมและเทคนิคการนอนตะแคงทุม เทคนิคการจับยึด เทคนิคการรัดคอ

เทคนิคการหักแขน การฝกตอสูอิสระ กติกาการแขงขัน การสอบเล่ือน

สาย การตอสูปองกันตัว

ทักษะการลมและทําใหคูตอสูเสียการทรงตัว ทักษะการทุมดวยเทคนิค

การใชมือและแขน ทักษะการทุมดวยเทคนิคการใชสะโพก ทักษะการทุม

ดวยเทคนิคการใชขาและเทา ทักษะการทุมดวยเทคนิคการนอนหงายทุม

และเทคนิคการนอนตะแคงทุม เทคนิคการจับยึด เทคนิคการรัดคอ

เทคนิคการหักแขน การฝกตอสูอิสระ กติกาการแขงขัน การสอบเล่ือน

สาย การตอสูปองกันตัว

นับหนวยกิต

พล.(PE) ๒๒๐๔ การตอสูปองกนัตัว ๒ (มวย) ไมนับหนวยกติ (๒-๒-๐)

ประวัติความเปนมาของกีฬามวยไทย ระเบียบประเพณีการ

ไหวครู การบริหารรางกายและการฝกโดยการใชนํ้าหนัก จุดและ

เปาหมายสําคัญของรางกาย การยืนในทาคุม การเคล่ือนที่ การชกหมัด

ตางๆ และการปองกัน การใชอาวุธมวยไทยและการปองกัน การฝกการ

ตอสูบนเวที การเปนกรรมการตัดสินบนเวทีผูชี้ขาดการใหคะแนนและ

การดําเนินการจัดการแขงขัน

๔๒๒๒๑๖ มวยไทย ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Muay Thai

ประวัติความเปนมาของกีฬามวยไทย ระเบียบประเพณีการ

ไหวครู การบริหารรางกายและการฝกโดยการใชนํ้าหนัก จุดและเปาหมาย

สําคัญของรางกาย การยืนในทาคุม การเคล่ือนที่ การชกหมัดตางๆ และ

การปองกัน การใชอาวุธมวยไทยและการปองกัน การฝกการตอสูบนเวที

การเปนกรรมการตัดสินบนเวทีผูชี้ขาดการใหคะแนนและการดําเนินการ

จัดการแขงขัน

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

พล.(PE) ๓๑๐๕ การตอสูปองกันตัว ๓ ไมนับหนวยกิต (๒-๒-๐)

ศิลปะการปองกันตัวเบื้องตน องคประกอบของการตอสู

พื้นฐานการเคล่ือนไหว การใชวิชากายาวุธและความรูเรื่องสรีระศาสตร

ในการปดปอง ตอบโตและหยุดยั้งเฉียบขาด วิชาปองกันตัวจากการจูโจม

ดวยอาวุธชนิดตางๆความ สามารถในการควบคุมคนราย กระบวนการ

๔๓๑๒๑๗ การตอสูปองกันตัว ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Self Defense

ศิลปะการปองกันตัวเบื้องตน องคประกอบของการตอสู

พื้นฐานการเคล่ือนไหว การใชวิชาการอาวุธและความรูเรื่องสรีระศาสตร

ในการปดปอง ตอบโตและหยุดยั้งเฉียบขาด วิชาปองกันตัวจากการจูโจม

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

Page 134: RPCA Policescience Course2556

๑๓๕

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

เพิ่มขีดความสามารถในการเคล่ือนไหวใหมีความรวดเร็ว ความคลองตัว

สูง พัฒนาสูความชํานาญสูงสุดและตระหนักในความปลอดภัยมากที่สุด

ดวยอาวุธชนิดตางๆ ความสามารถในการควบคุมคนราย กระบวนการ

เพิ่มขีดความสามารถในการเคล่ือนไหวใหมีความรวดเร็ว ความคลองตัว

สูง พัฒนาสูความชํานาญสูงสุดและตระหนักในความปลอดภัยมากที่สุด

พล.(PE) ๓๒๐๖ การตอสูปองกันตัว ๔ ไมนับหนวยกิต (๒-๒-๐)

การประยุกตวิชาการตอสูปองกันตัว ๑-๓ และวิชาปองกันตัว

แขนงตาง ๆมาใชปองกันตวัและแกไขปญหาเฉพาะหนาตามความชํานาญและ

ความแตกตางเฉพาะบุคคล โดยฝกจากการจําลองสถานการณจริง จนมีความ

พรอมเขาสูการปฏิบัติหนาที่จริงไดการพัฒนาความสามารถในการจับกุมและ

การควบคุมคนรายอยางมีประสิทธิภาพโดยสอดคลองกับรูปแบบของยุทธวิธี

ตํารวจ การพัฒนาบุคลิกภาพ การใชจิตวิทยาการตอสู วิธีการควบคุมสถานการณ

และการควบคุมความรุนแรงเพื่อรักษามาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติ

หนาที่ ตลอดจนผสมผสานกับวิชาชีพตํารวจไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด

๔๓๒๒๑๘ ศิลปะการปองกันตัว ๑ หนวยกิต (๐-๒-๐)

Martial Arts

การประยุกตการตอสูในแขนงตางๆ มาปองกันตัวและ

แกปญหาเฉพาะหนาดวยศิลปะการตอสูปองกันตัวชั้นสูง ไดแก ยูโด มวย

ไทยและการตอสูปองกันตัวโดยอาศัยทักษะทางดานรางกายเปน

เครื่องมือในการหยุดยั้งควบคุมและจับกุมคนรายไดอยางมีประสิทธิภาพ

- เปล่ียนชื่อและรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

นับหนวยกิต

พล.(PE) ๔๑๐๗ พลศกึษาวิทยาศาสตรการกีฬา ๒ ไมนบัหนวยกิต (๒-๒-๐)

สมรรถภาพทางกายทั่วไป และสมรรถภาพทางกายเฉพาะดาน การ

ทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสม ความ

สําคัญและความจําเปนของการทดสอบสมรรถภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย

ดวยวิธีงาย ๆดวยตนเอง และการทดสอบสมรรถภาพทางกายดวยเครื่องมือ การ

ประเมินผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย การออกกําลังกาย หรือการฝกเพื่อ

พัฒนาสมรรถภาพทางกายเฉพาะดาน

ตัดออก

Page 135: RPCA Policescience Course2556

๑๓๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

วิชาเลือก

สท.(SG) ๓๐๑๕ การเมืองการปกครองไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

แนวคิด ประวัติและวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครอง

ไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจสังคม

และวัฒนธรรมของไทย ซ่ึงสงผลกระทบตอระบบและกระบวนการ

ทางการเมืองของไทยในสมัยตางๆ สถาบันและกระบวนการทางการ

เมืองการปกครอง ทั้งฝายผูนํา ประชาชน และกลุมอิทธิพลตาง ๆ

๒๔๐๓๐๑ การเมืองการปกครองไทย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Thai Politics and Government

แนวคิด ประวัติและวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครอง

ไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและ

วัฒนธรรมของไทยซ่ึงสงผลกระทบตอระบบและกระบวนการทางการ

เมืองของไทยในสมัยตางๆ สถาบันและกระบวนการทางการเมืองการ

ปกครอง ทั้งฝายผูนํา ประชาชน และกลุมอิทธิพลตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

๒๔๐๓๐๒ ภาษาไทยกับการเขียนสํานวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

สอบสวน Investigation Report Writing

หลักการใชภาษาเพื่อการเขียนสํานวนสอบสวน การฟงเพื่อ

จับใจความและการถายทอดดวยการเขียน ความรูพื้นฐานเก่ียวกับงาน

สารบรรณ และการเขียนหนังสือติดตอราชการ

- เพิ่มรายวิชา

- เพื่อใหผูเรียนมีพื้นฐาน

ความรูดานภาษาอังกฤษ

เพียงพอตอการทําสํานวน

สอบสวนเปนภาษาอังกฤษ

สท.(SG) ๓๐๑๖ การพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร ๓ หนวยกิต (๒-๒-๐)

แนวคิดในการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอรเพื่อประยุกต

ใชในงานตํารวจ เน้ือหาครอบคลุมเทคโนโลยีสารสนเทศกับงานตํารวจ

วงจรวิเคราะหและออกแบบระบบ การออกแบบสวนประสานผูใช

การออกแบบฟงกชั่นการทํางาน การออกแบบฐานขอมูล โปรแกรม

สําเร็จรูปและภาษาคอมพิวเตอรที่เก่ียวของในการพัฒนาระบบงาน

ตัดออก

Page 136: RPCA Policescience Course2556

๑๓๗

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

๑๔๐๓๐๓ องคการตํารวจเปรียบเทียบ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Comparative Police Organization

รูปแบบ โครงสรางอํานาจหนาที่ การบริหารจัดการองคการ

ตํารวจของประเทศตางๆ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ญ่ีปุน

รวมถึงประเทศในกลุมอาเซียน

- เพิ่มรายวิชา

- เปนการเพิ่มแนวทางการ

ศึกษาใหหลากหลายขึ้น

บร.(PA) ๓๐๑๕ สัมมนาการบริหารงานตํารวจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การสัมมนาทบทวนปญหาในทางการบริหารและการปฏิบัติ

งานตํารวจในดานตางๆ อาทิ องคการและการจัดการ การบริหารงาน

บุคคล การบริหารงบประมาณและพัสดุ พฤติกรรมองคการ เทคนิคการ

บริหาร การวางแผน และการพัฒนาองคการ

๑๔๐๓๐๔ สัมมนาการบริหารงานตํารวจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Police Administration

การสัมมนาทบทวนปญหาในทางการบริหารและการปฏิบัติ

งานตํารวจในดานตางๆ อาทิ องคการและการจัดการ การบริหารงาน

บุคคล การบริหารงบประมาณและพัสดุ พฤติกรรมองคการ เทคนิคการ

บริหาร การวางแผน และการพัฒนาองคการ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

บร.(PA) ๓๐๑๓ การบริหารทรัพยากรมนุษย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ศึกษาความหมาย ลักษณะ และบทบาทของการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย วิวัฒนาการและแนวความคิดของการบริหารทรัพยากร

มนุษย ความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย ปญหาในการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ ไดแก

การวิเคราะหงาน การวางแผนทรัพยากรมนุษย การสรรหาและการ

คัดเลือกบุคคล การบรรจุและการแนะนําตัวเขาทํางาน การพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเปล่ียนแปลง

๑๔๐๓๐๕ การบริหารทรัพยากรมนุษย ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Human Resource Management

ความหมาย ลักษณะและบทบาทของการบริหารทรัพยากร

มนุษย วิวัฒนาการและแนวความคิดของการบริหารทรัพยากรมนุษย

ความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย ปญหาในการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ ไดแก การ

วิเคราะหงาน การวางแผนทรัพยากรมนุษย การสรรหาและการคัดเลือก

บุคคล การบรรจุและการแนะนําตัวเขาทํางาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 137: RPCA Policescience Course2556

๑๓๘

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ตําแหนงงาน การใหประโยชนตอบแทนและความม่ันคง และความ

สัมพันธระหวางฝายบริหารกับพนักงาน

การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเปล่ียนแปลงตําแหนงงาน การให

ประโยชนตอบแทนและความม่ันคง และความสัมพันธระหวางฝาย

บริหารกับพนักงาน

บร.(PA) ๓๐๑๔ การบริหารงานงบประมาณและพัสดุ

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

หลักการและกระบวนการในการบริหารงานคลังและงบประมาณ

เทคนิคและวิธีการจัดทํางบประมาณ วงจรงบประมาณ หลักและ

กระบวนการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานงบประมาณและพัสดุของ

สํานักงานตํารวจแหงชาต ิรวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ัง

ตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๔๐๓๐๖ การบริหารงบประมาณและพัสดุ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Budgeting and Material Management

หลักการและกระบวนการในการบริหารงานคลังและ

งบประมาณ เทคนิคและวิธีการจัดทํางบประมาณ วงจรงบประมาณ หลัก

และกระบวนการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานงบประมาณและพัสดุของ

สํานักงานตํารวจแหงชาติ รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ัง

ตาง ๆที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

๑๔๐๓๐๗ นโยบายสาธารณะ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Public Policy

ความหมาย ลักษณะ ประเภท วิวัฒนาการของนโยบาย

สาธารณะ ปญหาเชิงนโยบายสาธารณะ กระบวนการนโยบายสาธารณะ

ปจจัยแวดลอมที่เก่ียวของกับการกําหนดนโยบายสาธารณะ ตลอดจน

องคกรที่เก่ียวของในการกําหนดนโยบายสาธารณะ หลักการนโยบาย

สาธารณะและการวางแผนขั้นตอน กระบวนการ นโยบายการพัฒนาทาง

เศรษฐกิจ นโยบายการพัฒนาทางสังคม นโยบายการพัฒนาทาง

การเมืองและนโยบายทองถิ่น

- เพิ่มรายวิชา

- เปนการเพิ่มแนวทางการ

ศึกษาใหหลากหลายขึ้น

Page 138: RPCA Policescience Course2556

๑๓๙

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

บร.(PA) ๓๐๑๖ พฤติกรรมองคการ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ศึกษาแนวความคิดพื้นฐานของพฤติกรรมองคการ เพื่อให

เกิดความเขาใจเก่ียวกับกลไกพฤติกรรมองคการ และเนนเทคนิคตางๆ ที่

จะนํามาประยุกตใชเพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพ และความพึงพอใจใน

องคการ การศึกษาจะครอบคลุมปจจัยในระดับปจเจกบุคคล เชน

กระบวนการพฤติกรรมการเรียนรู การรับรู และแรงจูงใจในการทํางาน

เปนตน และศึกษาถึงปจจัยบุคคลในลักษณะเม่ือรวมกันเปนกลุม รวมทั้ง

ศึกษาถึงสภาวะแวดลอมขององคการในแงมุมตาง ๆ ที่จะสงผลกระทบ

ตอบุคคลและกลุมคนอันจะทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในพฤติกรรม

องคการตามไปดวย

ตัดออก

กม.(LA) ๓๐๑๕ กฎหมายระหวางประเทศ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ลักษณะทั่ วไปและที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ

ความสัมพันธระหวางกฎหมายระหวางประเทศกับกฎหมายภายใน

ประเทศ ปญหาสถานะของบุคคล การขัดกันแหงกฎหมาย ปญหา

อํานาจของรัฐในคดีอาญาการตกลงระหวางประเทศเก่ียวกับการ

ปราบปรามอาชญากรรม การดําเนินคดีผูกระทําผิดทางอาญา และการ

สงผูรายขามแดน

๑๔๐๓๐๘ กฎหมายระหวางประเทศ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐) International Law ลักษณะทั่ วไปและที่มาของกฎหมายระหวางประเทศ ความสัมพันธระหวางกฎหมายระหวางประเทศกับกฎหมายภายใน ประเทศ ปญหาสถานะของบุคคล การขัดกันแหงกฎหมาย ปญหาอํานาจของรัฐในคดีอาญา การตกลงระหวางประเทศเก่ียวกับการปราบปรามอาชญากรรม การดําเนินคดีผูกระทําผิดทางอาญา และการสงผูรายขามแดน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 139: RPCA Policescience Course2556

๑๔๐

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

กม.(LA) ๓๐๑๖ สัมมนาในวิชากฎหมายอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวล

กฎหมายอาญา และกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวของ และการศึกษาหลัก

กฎหมายจากแนวคําพิพากษาฎีกา

๑๔๐๓๐๙ สัมมนาในวิชากฎหมายอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Criminal Law

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวล

กฎหมายอาญา และกฎหมายอ่ืนที่ เก่ียวของ และการศึกษาหลัก

กฎหมายจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๓๐๑๗ สัมมนาในวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอ่ืนที่เ ก่ียวของกับ

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และการศึกษาหลักกฎหมายจากแนว

คําพิพากษาฎีกา

๑๔๐๓๑๐ สัมมนาในวิชากฎหมายวิธีพิจารณา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

ความอาญา

Seminar in Criminal Procedure Law

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ที่นาสนใจในประมวล

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวของ และ

การศึกษาหลักกฎหมายจากแนวคําพิพากษาศาลฎีกา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๓๐๑๘ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง เฉพาะสาระสําคัญ

วาดวยหลักทั่วไป ศาล คูความ การโตแยงสิทธิ และการใชสิทธิทางแพง

วิธีการพิจารณาในศาลชั้นตน อุทธรณและฎีกา คําพิพากษาหรือคําส่ังที่

เก่ียวของ

๑๔๐๓๑๑ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Civil Procedure Law ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง เฉพาะสาระสําคัญวาดวยหลักทั่วไป ศาล คูความ การโตแยงสิทธิ และการใชสิทธิทางแพง วิธีการพิจารณาในศาลชั้นตน อุทธรณ และฎีกา คําพิพากษาหรือคําส่ังที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๓๐๒๐ กฎหมายคุมครองผูบริโภค ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

แนวความคิดและหลักการเก่ียวกับการคุมครองผูบริโภค

มาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ และมาตรการเก่ียวกับการคุมครองผูบริโภค

๑๔๐๓๑๒ กฎหมายคุมครองผูบริโภค ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Consumer Law

แนวความคิดและหลักการเก่ียวกับการคุมครองผูบริโภค

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 140: RPCA Policescience Course2556

๑๔๑

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

หนวยงานในการพิทักษปองกันสิทธิหรือประโยชนของผูบริโภค ตาม

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคและกฎหมายอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ

มาตรฐาน ระเบียบปฏิบัติ และมาตรการเก่ียวกับการคุมครองผูบริโภค

หนวยงานในการพิทักษปองกันสิทธิหรือประโยชนของผูบริโภค ตาม

พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคและกฎหมายอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ

กม.(LA) ๓๐๒๕ กฎหมายอาญาระหวางประเทศ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การบังคับใชกฎหมายอาญาที่เก่ียวกับอาชญากรรมขามชาติ

ประเภทตางๆ เชน การคายาเสพติดอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร ความผิดเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

อาชญากรรมที่เปนองคกร การจ้ี เครื่องบินหรือเรือโดยสาร การยึดตัว

ประกัน การกอการราย การคาอาวุธ ตลอดจนการศึกษากฎหมายตางๆ

ที่เก่ียวของ

ตัดออก

กม.(LA) ๓๐๒๖ กฎหมายแพงและพาณิชย ๓ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เฉพาะสาระสําคัญวาดวย

ครอบครัวและมรดก

- เปล่ียนเปนวิชาบังคับ

กม.(LA) ๓๐๒๗ กฎหมายแพง : นิติกรรมสัญญา

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะนิติกรรมตั้งแต

ความหมาย ลักษณะ และแบบของนิติกรรม ความสมบูรณของนิติกรรม

การแสดงเจตนา โมฆะกรรมและโมฆียกรรม เงื่อนไขและเงื่อนเวลา

ระยะเวลาและ อายุความ ลักษณะสัญญาตั้งแตลักษณะทั่วไป การกอให

๑๔๐๓๑๓ กฎหมายแพง : นิติกรรมสัญญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

Juristic Acts and Contract Law

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ลักษณะนิติกรรมตั้งแต

ความหมาย ลักษณะและแบบของนิติกรรม ความสมบูรณของนิติกรรม

การแสดงเจตนา โมฆะกรรมและโมฆียกรรม เงื่อนไขและเงื่อนเวลา

ระยะเวลาและอายุความ ลักษณะสัญญาตั้งแตลักษณะทั่วไป การกอให

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 141: RPCA Policescience Course2556

๑๔๒

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

เกิดสัญญา การตีความสัญญา ผลแหงสัญญา การเลิกสัญญา ตลอดจน

มัดจําและการกําหนดเบี้ยปรับ

เกิดสัญญา การตีความสัญญา ผลแหงสัญญา การเลิกสัญญา ตลอดจน

มัดจําและการกําหนดเบี้ยปรับ

กม.(LA) ๓๐๒๘ เอกเทศสัญญา :จางแรงงาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

จางทําของ

กฎหมายวาดวยจางแรงงาน จางทําของ รับขน และธุรกรรม

ทางอิเล็กทรอนิกส

ตัดออก

กม.(LA) ๓๐๒๓ กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา ๓ (๓-๐-๐)

แนวความคิดและกฎหมายเก่ียวกับลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร

เครื่องหมายการคา เครื่องหมายบริการ ชื่อทางการคา การกอตั้งสิทธิ

การขอรับความคุมครอง และการละเมิดทรัพยสินทางปญญา ความ

รวมมือระหวางประเทศในการคุมครองทรัพยสินทางปญญา

๑๔๐๓๑๔ กฎหมายทรัพยสินทางปญญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Intellectual Property Law

แนวความคิดเก่ียวกับการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และ

กฎหมายเก่ียวกับลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา การขอรับความ

คุมครอง การละเมิดทรัพยสินทางปญญา และความรวมมือระหวาง

ประเทศในการคุมครองทรัพยสินทางปญญา

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

กม.(LA) ๓๑๑๒ พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความผิดอาญาตามกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวกับศีลธรรมอันดีของ

ประชาชนส่ิงแวดลอมและการอนุรักษ ทรัพยากร ธรรมชาติ ยาเสพติด

ใหโทษ เศรษฐกิจ และการพาณิชย ความเปนธรรมในดานแรงงาน และ

พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาที่สําคัญตางๆ

๑๔๐๓๑๕ พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Criminal Penalty Law

ความผิดอาญาตามกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวกับศีลธรรมอันดีของ

ประชาชน ส่ิงแวดลอม และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ยาเสพติด

ใหโทษ เศรษฐกิจและการพาณิชย ความเปนธรรมในดานแรงงาน และ

พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาที่สําคัญตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- เปล่ียนจากวิชาบังคับมาเปน

วิชาเลือก

Page 142: RPCA Policescience Course2556

๑๔๓

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

สส.(CI) ๓๑๑๖ การสัมมนาการสืบสวน ๓ หนวยกิต (๐-๓-๐)

การฝกวิเคราะหคดีการฉอโกงประกันภัยการฝกวิเคราะห

คดีการทุจริตเก่ียวกับรถ การฝกวิเคราะหคดีการปลอมเอกสาร การฝก

วิเคราะหคดีการขมขืนกระทําชําเรา การฝกวิเคราะหคดีโดยใชประโยชน

จากส่ือสารมวลชน การฝกแสวงหาขอมูลขาวสารจากชุมชน การฝก

การสืบคนประวัติศาสตรทางวัฒนธรรมในการปองกันปราบปราม

อาชญากรรม การฝกภาคสนามเก่ียวกับการโจรกรรมรถ การฝกการ

สรางโครงสรางความสัมพันธขององคกรอาชญากรรมการฝกสะกดรอย

ติดตามบุคคลและยานพาหนะ

๑๔๐๓๑๖ การสัมมนาการสืบสวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Criminal Investigation

การฝกวิเคราะหคดีการฉอโกงประกันภัย คดีการทุจริต

เก่ียวกับรถ คดีการปลอมเอกสาร คดีการขมขืนกระทําชําเรา และการ

ฝกวิเคราะหคดีโดยใชประโยชนจากส่ือสารมวลชน การฝกแสวงหา

ขอมูลขาวสารจากชุมชน การฝกการสืบคนประวัติศาสตรทางวัฒนธรรม

ในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม การฝกภาคสนามเก่ียวกับการ

โจรกรรมรถ การฝกการสรางโครงสรางความสัมพันธขององคกร

อาชญากรรม การฝกสะกดรอยติดตามบุคคลและยานพาหนะ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

- ปรับคําอธิบายรายวิชาให

กระชับชัดเจนขึ้น

สส.(CI) ๓๑๑๗ สัมมนาการสอบสวน ๓ หนวยกิต (๐-๓-๐)

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ในการสอบสวนคดีอาญา

ประเภทตางๆ ตลอดจนการสอบสวนความผิดเก่ียวกับเศรษฐกิจ ความผิด

เก่ียวกับการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ความผิดเก่ียวกับทรัพย

สินทางปญญา รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตาง ๆ ที่เก่ียวของ

๑๔๐๓๑๗ สัมมนาการสอบสวน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Seminar in Interrogation

การสัมมนาทบทวนปญหาสําคัญๆ ในการสอบสวนคดีอาญา

ประเภทตางๆ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

สส.(CI) ๔๑๑๔ วิทยาการตํารวจกาวหนา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมในงาน

พิสูจนหลักฐาน การทะเบียนประวัติอาชญากรและวิทยาการตํารวจดาน

ตางๆ ตลอดจนปญหา และขอขัดของในการใชวิทยาการในการสืบสวน

และสอบสวน

๔๐๓๑๘ วิทยาการตํารวจกาวหนา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Advanced Forensic Science

การประยุกตใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมในงาน

พิสูจนหลักฐาน การทะเบียนประวัติอาชญากรและวิทยาการตํารวจดานตาง ๆ

ตลอดจนปญหาและขอขัดของในการใชวิทยาการในการสืบสวนและสอบสวน

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

Page 143: RPCA Policescience Course2556

๑๔๔

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ปป.(CP) ๓๐๑๘ วิชาการทหาร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐) สถานการณ นโยบาย และยุทธศาสตรในการปองกันประเทศและการรักษา ความม่ันคงของชาติ บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของทหารในดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและการปกครอง การประสานความรวมมือระหวางทหาร ตํารวจและพลเรือนในการพัฒนา การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความม่ันคงของชาต ิ

๑๔๐๓๑๙ วิชาการทหาร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Military สถานการณ นโยบาย และยุทธศาสตรในการปองกันประเทศและการรักษาความม่ันคงของชาติ บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของทหารในดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและการปกครอง การประสานความรวมมือระหวางทหาร ตํารวจและพลเรือนในการพัฒนาการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความม่ันคงของชาต ิ

- เปล่ียนรหัสวิชา - เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

๑๔๐๓๒๐ ยุทธวิธีตํารวจ ๒ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Police Tactics 2

แนวความคิด ทฤษฎีและรูปแบบของการกอความไมสงบ

หลักนิยมและแนวปฏิบัติในการตอตานการกอความไมสงบ การบริหาร

วิกฤตการณ และการเจรจาตอรอง

- เพิ่มรายวิชา

- เปนการเพิ่มแนวทางการ

ศึกษาใหหลากหลายขึ้น

๑๔๐๓๒๑ การปองกันและปราบปรามยาเสพติด ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Narcotics Prevention and Suppression ความรูเบื้องตนเก่ียวกับยาเสพติด ลักษณะอาการของผูติดยาและโทษของยาเสพติด วิธีการปองกันและแกไขปญหาผูติดยาเสพติด มาตรการในการแกไขปญหายาเสพติดของประเทศไทย หนวยงานที่เก่ียวของกับการแกไขปญหายาเสพติด วิธีการสืบสวนปราบปรามยาเสพติดในหนาที่ตํารวจ บุคคลในขายงานของผูกระทําผิดเก่ียวกับยาเสพติด ลักษณะเฉพาะของคดียาเสพติด รวมทั้งกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เพิ่มรายวิชา

- เปนการเพิ่มแนวทางการ

ศึกษาใหหลากหลายขึ้น

Page 144: RPCA Policescience Course2556

๑๔๕

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

ปป.(CP) ๓๐๑๙ การบริหารงานยุติธรรมทางอาญา ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐) การบริหารงานของหนวยงานตางๆ ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ตั้งแตการจับกุมดําเนินคด ีจนถึงการลงโทษและการปฏิบัติตอผูกระทําความผิด เรือนจําและทัณฑสถาน การคุมประพฤติ การพักการลงโทษ การอภัยโทษ การปฏิบัติตอผูกระทําผิดในชุมชน บทบาทของประชาชนตองานยุติธรรมทางอาญา และความสอดคลองระหวางงานยุติธรรมทางอาญากับภาวะการเปล่ียนแปลงทางสังคม

ตัดออก

ปป.(CP) ๔๑๑๖ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐) ประวัติความเปนมา และความหมาย ลักษณะและประเภทของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ สถานการณและแนวโนมของอาชญา กรรมทางเศรษฐกิจ แนวทางและมาตรการในการปองกันและปราบ ปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจแตละประเภทดังกลาว กฎหมายระเบียบ ขอบังคับ และคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

๑๔๐๓๒๒ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) Economic Crime ประวัติความเปนมา ความหมาย ลักษณะและประเภทของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ สถานการณและแนวโนมของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ แนวทางและมาตรการในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจแตละประเภทดังกลาว กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับและคําส่ังตางๆ ที่เก่ียวของ

- เปล่ียนรหัสวิชา - เพิ่มชื่อวิชาภาษาอังกฤษ

๑๔๐๓๒๓ การปองกันและปราบปราม ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

การคามนุษยสําหรับเจาหนาที่ผูปฏิบัติ

Human Trafficking Suppression for Frontline Law

Enforcement Officials

ความหมายของการคามนุษย ประวัติความเปนมาของกฎหมาย

การคามนุษยของประเทศไทยและตางประเทศ การคดัแยกเหยื่อจากการคา

มนุษย สงผลกระทบจากการคามนุษยและความตองการของเหยื่อคามนุษย

- เพิ่มรายวิชา

- เปนการเพิ่มแนวทางการ

ศึกษาใหหลากหลายขึ้น

Page 145: RPCA Policescience Course2556

๑๔๖

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

การวิเคราะหขาวกรองจากการคามนุษย และขั้นตอนการปฏิบัติจากการ

สืบสวนพบคดีคามนุษยเกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบ

บร.(PA) ๔๑๐๘ วิศวกรรมจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายของวิศวกรรมจราจร ลักษณะของระบบการจราจร

การวิเคราะหปริมาณจราจร ความเร็ว ความลาชา ความจุ การออกแบบและ

ควบคุมระบบการจราจร โดยใชเครื่องมือทางดานวิศวกรรม เชน ปาย

สัญญาณ และสัญญาณไฟ นอกจากน้ันยังศกึษาถึงลักษณะการไหลเวียนของ

การจราจร รวมทั้งการวิเคราะหอุปสงคการจราจร

ตัดออก

บร.(PA) ๔๑๐๙ เทคนคิการตรวจจับและการตั้งดาน ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายของการตรวจจับ กฎของความปลอดภัยทางถนน

การกําหนดเปาหมาย การสรางความตระหนักถึงความเส่ียง วิธีการ

ตรวจจับความผิดจราจร การเรียกหยุดรถ การตั้งจุดตรวจ การตรวจจับ

ความผิดสําคัญ เชน การไมสวมหมวกนิรภัย การขับรถดวยความเร็ว

การขับรถขณะเมาสุรา และการฝาฝนสัญญาณไฟ

ตัดออก

บร.(PA) ๔๑๑๐ อุบัติเหตุจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

สาเหตุของอุบัติเหตุจราจร ความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร

การวัดจํานวนอุบัติเหตุจราจร การวิเคราะหอุบัติเหตุจราจร ความรูเรื่อง

Road Safety Audit เก่ียวกับถนนเบื้องตน การขับรถขณะมึนเมา การ

ขับรถดวยความเร็ว การแกไขและบรรเทาปญหาอุบัติเหตุจราจร การจัด

๑๔๐๓๒๔ อุบัติเหตุจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Accident Management

สาเหตุของอุบัติเหตุจราจร ความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร

การวัดจํานวนอุบัติเหตุจราจร การวิเคราะหอุบัติเหตุจราจร ความรูเรื่อง

Road Safety Audit เก่ียวกับถนนเบื้องตน การขับรถขณะมึนเมา การ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

Page 146: RPCA Policescience Course2556

๑๔๗

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๙ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ เหตุผลการปรับปรุง

การจราจรเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในชุมชน (Traffic Calming) ขับรถดวยความเร็ว การแกไขและบรรเทาปญหาอุบัติเหตุจราจร การจัด

การจราจรเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในชุมชน (Traffic Calming)

บร.(PA) ๔๑๑๑ การบังคับใชกฎหมายจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

ความหมายของการบังคับใชกฎหมายจราจร กระบวนการยับยั้ง

การกระทําผิดกฎหมายจราจร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบังคับใช

กฎหมายจราจร กฎหมายที่เก่ียวของกับการจราจร กระบวนการออกระเบียบ

หรือขอกําหนดการจราจร ใบส่ังเจาพนักงานจราจร การบังคับใชกฎหมาย

จราจรในกรณีตางๆ เชน การขับรถขณะมึนเมา การขับรถดวยความเร็ว

การคาดเข็มขัดนิรภัย และการฝาฝนสัญญาณไฟ

๑๔๐๓๒๕ การบังคับใชกฎหมายจราจร ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖)

Traffic Law Enforcement

ความหมายของการบังคับใชกฎหมายจราจร กระบวนการยับยั้ง

การกระทําผิดกฎหมายจราจร ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบังคับใช

กฎหมายจราจร กฎหมายที่เก่ียวของกับการจราจร กระบวนการออกระเบียบ

หรือขอกําหนดการจราจร ใบส่ังเจาพนักงานจราจร การบังคับใชกฎหมาย

จราจรในกรณีตางๆ เชน การขับรถขณะมึนเมา การขับรถดวยความเร็ว

การคาดเข็มขัดนิรภัย และการฝาฝนสัญญาณไฟ

- เปล่ียนรหัสวิชา

- เพิ่มชื่อวิชาเปนภาษาอังกฤษ

บร.(PA) ๔๑๑๒ เทคโนโลยีสําหรับการปฏิบัติงานจราจร

๓ หนวยกิต (๓-๐-๐)

การนําเทคโนโลยีมาใชในงานจราจรจากอดีตถึงปจจุบัน

ประโยชนของการใชเทคโนโลยีในงานจราจร หลักการนําเทคโนโลยีมาใช

ในงานจราจร นโยบายการใชเทคโนโลยีในงานจราจรทั้งในประเทศและ

ตางประเทศ เทคโนโลยีรูปแบบตางๆ เชน การใชคอมพิวเตอรซอฟแวร

การใชเทคโนโลยีระบบควบคุมส่ังการ เทคโนโลยีการตรวจวัดมลภาวะ

จราจร การใชเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร (Geographic

Information System: GIS) และ Global Positioning System (GPS)

ตัดออก

Page 147: RPCA Policescience Course2556

ภาคผนวก ง

ขอบังคับโรงเรียนนายรอยตํารวจ

วาดวยระเบียบและหลักสูตรการศึกษาอบรมนักเรียนนายรอยตํารวจ พ.ศ.

๒๕๕๒

Page 148: RPCA Policescience Course2556

๑๕๑

Page 149: RPCA Policescience Course2556

๑๕๒

Page 150: RPCA Policescience Course2556

๑๕๓