44
BACK 2010 WORLD EXPO TO THE FUTURE.

TERRE MAGAZINE

Embed Size (px)

DESCRIPTION

TERRE MAGAZINE : ARCHITECTURE MAGAZINE. The Advertising in this magazine only used for education.

Citation preview

Page 1: TERRE MAGAZINE

BACK

2010WORLDEXPO

TOTHEFUTURE.

Page 2: TERRE MAGAZINE
Page 3: TERRE MAGAZINE

1

10

40

4Editor’s

Imprints

contributes

ScoopHoroScope

tion

Intreview

ShoppingFashion

Novel

Subscrip

Stock List

Letter

37

7

34

6

2839

1618

Page 4: TERRE MAGAZINE
Page 5: TERRE MAGAZINE
Page 6: TERRE MAGAZINE

ณ.โลกแห่งนี้

ชาวโลกในเมืองนี้บ้านเมืองในโลกใบนี้

เราได้พบกับความสด แปลกใหม่อย่างที่เราไม่เคยได้พบจากโลกของเรามา

ก่อน ตัวตึกราบ้านข่องผุดใหม่ขึ้นมาราวกับดอกเห็ด และแถมยังดูมีความเป็นสภาปัตยกรรมที่ส่อให้เห็นถึง

วิวัฒนาการก้าวไปอีกขั้นของโลกใบนี้อีกด้วยมีการdesignที่ตรงกับโลกดาวเคราะห์ของเราเหลือเกินเราจึงไปเสาะหาข้อมูลสนองความต้องการให้แก่ดาว

เคราะห์ของเราที่ต้องการแรงบันดาลใจที่ยึดเหนี่ยวและตัวตนแบบดั่งidolเพื่อรวบรวมนานาข้อมูลกลับไปให้

ดาวเคราะห์แห่งTERREของพวก

เรา

Page 7: TERRE MAGAZINE
Page 8: TERRE MAGAZINE

CREATIVE

MISS.WIJITTRA

MR.YVES

MISS.MANTAKARN

CHIRAANANWATANA

SORNSUNGTHONG

FASHION CO-ORDINATOR

PHOTOGRAPHER&GRAPHIC DESIGN

Page 9: TERRE MAGAZINE

SPECIALTHX

TAKSANAN THODYUSUWAN

-NICE ILLUSTRATION

COOL NOVEL

-MY SUPER

MODEL

FROM

SET

FASH-ION

&

FOR

PHOTOGRAPHER&GRAPHIC DESIGN

Page 10: TERRE MAGAZINE
Page 11: TERRE MAGAZINE
Page 12: TERRE MAGAZINE

“จงหลงใหลและเชื่อมั่นในสิ่งที่คุณทำ��แล้วงานนั้นจะมีชีวิต�งานไม่ใช่แค่ภาระหน้าที่�หากแต่เป็นสิ่งที่คุณต้องใส่จิตวิญญาณ

ของคุณเข้าไปด้วย”

คุณ�วสุ�วิรัชศิลป์

�คุณวสุ�วิรัชศิลป์�สถาปนิกเจ้าของสตูดิโอออกแบบขนาดกลาง�ชื่อของ�VASLab�(Vertere�Archi-

tecture�Studio�Laboratory)�ในฐานะของผู้ประกอบการธุรกิจ

สร้างสรรค์ซึ่งได้ผลิตผลงานออกมาให้ชาวไทยได้

รับชม�จนเป็นหนุ่มสถาปัตคนหนึ่ง

ที่ถูกจับตามองและน่าสนใจเป็นพิเศษ

จำ�กัดความ�VASLab�เนื่องด้วยโอกาสแรกที่เข้ามาเป็นโปรเจ็คท์บ้านที่มีโจทย์ต่างจากความต้องการของบ้านทั่วไป�เจ้าของบ้านเขาชอบพื้นที่แบบ�Loft�และ

ชอบงานคอนกรีตเปลือยเป็นพิเศษ�ความชอบที่ตรงกันนี้เลยเปิดโอกาสให้ผมได้ทดลองเต็มที่�ซึ่งถือเป็นโชคดีที่งานในช่วงแรกของเราค่อนข้าง

แตกต่างจากสิ่งที่มีในสมัยนั้น�ทำ�ให้ภาพของ�VASLab

�ชัดเจนตั้งแต่ต้น

UNIQUE

Page 13: TERRE MAGAZINE

โดยส่วนตัว�ผมได้รับอิทธิพลสูงจากแนวคิด�Deconstruction�ของพวกหัวก้าวหน้า�(Avant-garde)�ในยุคนั้น�ผลงานของ�VASLab�จากงานแรกและงานต่อๆ�มา�จึงมีบางอย่างที่คล้ายๆ�กัน�นั่นคือการให้ความสำ�คัญกับ�“ฟอร์มและสเปซ”�(Form�and�Space)�ซึ่งจากฟอร์มและสเปซนั้น�เราก็สร้างอะไรที่มี

ความเคลื่อนไหวและมีนัยยะซ่อนอยู่�ส่วนในตัวคอนเซปท์นั้นเรามักจะใช้

การ�metaphor

การตีความนามธรรมสู่รูปธรรมอย่างบ้านผม�ผมตั้งคอนเซ็ปท์

ว่า�“ชีวิตคือการเดินทาง”�(Life�as�a�journey)�ซึ่งการเดินทางได้ถูกตีความเป็น�“เส้นทาง”�และสำ�หรับชีวิตผมมีทางอยู่�3�เส้นที่เกาะเกี่ยวกันอยู่�ซึ่งเส้นทางเหล่านี้จะมองเห็น

ได้ชัดเจนถ้าดูจากแปลน�มันขึ้นอยู่ที่การวิเคราะห์ของผู้สร้างงาน�และขึ้นอยู่กับว่าคุณจะ

เชื่อเขาหรือด้วยหรือไม่

ผมชอบงานของ�Le�Corbusier�ชอบความ�pure�และความ�simple�ของฟอร์มที่ผันแปรกัน�Le�Cor-busier�ถือเป็นปรมาจารย์ของแนวคิด�Deconstruction�ซึ่งมีอิทธิพลกับงานของ�VASLab�

พูดง่ายๆ�คือ�เอางานศิลปะ�หรือกระบวนการทางศิลปะมาใช้เยอะ�กระบวนการที่เราวิเคราะห์และสังเคราะห์มันเข้มข้นมากกว่าแค่�

“Just�a�building”

UNIQUE

MORETHANJUST A BUILDING

Page 14: TERRE MAGAZINE

ลูกค้าของ�VASLab�ในช่วงแรกลูกค้าส่วนมากได้จากคอนเน็กชั่นของผมและหุ้นส่วน�(คือคุณบุญเลิศ�ดียืน)�แต่หลังจากงานเราออกสื่อไป�

ก็มีลูกค้าที่�walk�in�เข้ามามากขึ้นเรื่อยๆ�และผมค่อนข้างภูมิใจว่า�เขาไม่ได้มอง

เราเป็นประเภท�hi-end�แต่มองว่าเราทำ�โปรเจ็คท์ที่ควบคุมต้นทุนได้�

เพราะวัสดุที่เราใช้ไม่ได้เน้นว่าต้องราคาสูง�เราพยายามนำ�เสนอสิ่งที่อาจไม่มีคนคิดมาก่อน

ว่าจะใช้ได้

โจทย์ที่ลูกค้ามีเข้ามาคือ�“ความต่าง”�ครับ�

และส่วนมากก็จะมาจบอยู่ที่สิ่งที่เราเคยทำ��และพยายามจะทำ�ต่อไป�ที่ผ่านมาออฟฟิศเราได้รับ

การสนับสนุนอย่างดีจากลูกค้า�เขาเปิดโอกาสให้เราคิดอย่างเต็มที่�ลูกค้าส่วนมาก

ที่เข้ามาจะชอบอะไรที่เป็น�masculine_ดิบแต่เท่�

เขาเข้ามาเพราะรู้อยู่แล้วว่าเราทำ�งานยังไง�ซึ่งเขาก็เปิดให้เรา

ทำ�ในแบบ�VASLab�เลย�เพราะฉะนั้นงานจะหนีไม่พ้นคอนกรีต�ฟอร์ม�มูฟเมนท์�และปรัชญาในกระบวนการ

ทำ�งาน

ขยายความเรื่องวัสดุต้องบอกก่อนว่าเรื่องวัสดุในเมืองไทยเรามีค่อนข้างจำ�กัด�เทคโนโลยีเรายังไปไม่ถึงระดับสากล�วิธีการก่อสร้าง�ถ้าไม่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก�ก็จะเป็นเหล็กล้วนหรือโครงสร้างไม้ที่เรามีประสบการณ์ตรงนี้�เพราะ

คุณบุญเลิศ�เคยทำ��Construction�Management�มาก่อน�เขาจะรู้เรื่องวัสดุต่างๆ�เยอะ�และเขาก็เป็นดีไซเนอร์ที่พยายามใช้วัสดุที่ต่างจากคน

อื่น�หรือนำ�มาประยุกต์ใช้ในแบบที่คนอื่นไม่ทำ�

Thank you :

Page 15: TERRE MAGAZINE

ที่มาของแรงบันดาลใจผมบอกไม่ได้ว่าอะไรจะเป็นแรงบันดาลใจให้กับงานใหม่ๆ�แต่ผมว่าทุกวันนี้สิ่งที่เราต้องเรียนรู้คือเทคโนโลยี�และกระบวนการ

ผลิตว่าจะไปต่ออย่างไร�ประสบการณ์ที่เราเรียนรู้จะ

ผสมผสานเกิดเป็นส่วนผสมใหม่ได้เอง�ผมมองว่าสิ่งที่ต่างคือ�

Outcome�นะ�แต่�Process�ยังเหมือน

เดิม�กระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรมมันไม่มีทางต่าง�เรื่องของ�Belief�กับ�Passion�

มันก็ไม่ได้หายไปไหน

ความเฉพาะตัวกับการตลาดสำ�หรับเศรษฐกิจขาลงอย่างปี

นี้�ตอนแรกเราก็เดาว่าน่าจะเงียบ�ที่ไหนได้งานเยอะมากอย่างไม่น่าเชื่อ�ปีนี้กลายเป็นปีที่

เราทำ�งานหนักมากขึ้น�ลองมองดูว่าในภาวะเศรษฐกิจ

ขาลง�คนที่มีที่ดินเปล่าและมีเงินเย็น�เขา

จะได้เปรียบ�ส่วนมากเราจะได้ลูกค้าลักษณะนี้เข้ามา�แล้วเขาก็จะไม่ได้มองหา

ใครเยอะ�พอมาคุยกัน�ทุกอย่างโอเค�ก็ทำ�เลย�เรียกได้

ว่าตอนนี้เราไม่ต้อง�pitch�งานเลย

ไขวิญญาณผู้ประกอบการสร้างสรรค์�กับวสุ�วิรัชศิลป์�-��บริการดีเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในธุรกิจออกแบบสถาปัตยกรรม�-��ชนะใจลูกค้าด้วยการตีโจทย์ให้เข้าถึงใจลูกค้ามากที่สุด�

-�ขนาดของสตูดิโอ�Concep-tual�Architecture�ไม่ควรเกิน�

15�คน�-�สตูดิโอที่มีแนวทางเฉพาะลักษณะนี้ควรรับงาน�2�ประเภทควบคู่กัน�คืองานที่ทำ�เป็น�showcase�ซึ่งอาจไม่ได้มีเข้ามาตลอด�และงานเชิงพาณิชย์ที่ต้องมีป้อนออฟฟิศ

ตลอด

www.urticle.tcdcconnect.comwww.positioning.com

www.walk2design.comwww.vaslabarchitecture.com

Page 16: TERRE MAGAZINE
Page 17: TERRE MAGAZINE
Page 18: TERRE MAGAZINE

Prick

ly P

airC

hair

$390

. Memo

ry Chai

rby

okuji

n Yos

hioka

$690

.

$500

.

Page 19: TERRE MAGAZINE

Boh

emian

by Pa

tricia

Urqu

iola

Blow

nG

lass

Lamp

Elian

a Gero

ttaby

Patri

cia Ur

quiol

a

Gho

st Lamp

by T

homas

$500

.

$299

.

$590

.

Page 20: TERRE MAGAZINE
Page 21: TERRE MAGAZINE

เสื้อสายเดี่ยวเอวลอย

กระโปรงยาว

ผ้าคลุม

จาก rotsaniyom

Page 22: TERRE MAGAZINE

สร้อยข้อมือหนัง สีดำ ทอง

จาก hermes.

Page 23: TERRE MAGAZINE

เดรสยาวสายเดี่ยวสีดำ

จาก rotsaniyom

Page 24: TERRE MAGAZINE

เสื้อสายเดี่ยวเอวลอย

กระโปรงยาว

ผ้าคลุม

จาก rotsaniyom

สร้อยคอสีทอง

จาก forever 21

Page 25: TERRE MAGAZINE

เดรสยาวสีดำ

ผ้าคลุมลายgalaxy

จาก rotsaniyom

Page 26: TERRE MAGAZINE

นางแบบ

Taksanan Thodyusuwan.

เสื้อผ้า

Rotsaniyom สาขา siam

สถานที่

Lit Bangkok Hotel

36/1 Soi Kasemsan 1, Rama 1 Road, Pathumwan,

Bangkok 10330

Tel.0-2612-3456

www.litbangkok.com

Page 27: TERRE MAGAZINE
Page 28: TERRE MAGAZINE
Page 29: TERRE MAGAZINE
Page 30: TERRE MAGAZINE

AT the Shanghai World2010, นับตั้งแต่วันแรกที่เปิดงานก็ถือได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ที่โลกจับตามองหรือจะเลือกว่าตั้งตารอเลยก็ว่าได้ จึงทำ ให้ไม่แปลกใจที่มีผู้คนแห่เข้าไปชมกว่า3แสนคนต่อวันเลยก็

ว่าได้และไหนยังต้องไปต่อสู้กับการรอคอยเพื่อจะได้พบนานาอาคารที่สวยงามแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็นรุปทรงและการเล่นลวดลายที่น่าดึงดูด จึงทำ ให้เรียกว่าวันเดียวก็ไม่พอจริงจริง แต่เราก็มั่นใจงานนี้ผู้ชมก็

ไม่ทำ ให้เรารอเสียเปล่า ไม่เชื่อเราขอท้าพวกคุณไปพบกับงานได้เลย...

WORLD

2010EXPO

Page 31: TERRE MAGAZINE

BALANCITYGERMAN PAVILION

บนพื้นที่ขนาด 6,000 ตร.มกับแนวคิดแปลกใหม่ของGERMAN PAVILION ที่ถ่ายทอดให้ผู้ชมเห็นถึงความสมดุลระหว่างโลกสมัยใหม่กับการดำ รงรักษาเอาไว้ซึ่งวัฒนธรรมของประเทศเยอรมัน นวัต

กรรมกับประเพณี การอยู่ร่วมกันกับปัจเจก ไปจนถึงโลกาภิวัฒน์กับอัตลักษณ์ของเยอรมัน ซึ่งทำ ผุ้ชมได้เห็นถึงวิถีชีวิตแบบคนเมืองของชาวเยอรมันและผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบมาเพื่อแก้ไขปัญหาใน

ชีวิตประจำ วันของมหานครเมืองใหญ่ GERMAN PAVILIONใช้ลักษณะตัวอาคารเป็นรูปร่างเหลี่ยมผสมผสานหลายลูกบาศก์เป็นรูปขยาย โดยห่อหุ้ม

ด้วยฟิล์มสีเงินโปร่งแสง ภายใต้เงื่อนไขแสงไฟ รวมกันเป็นคอนเซป “เมืองแห่งสมดุล”

Page 32: TERRE MAGAZINE

MATERIALLIGHT&ด้วยพื้นที่กว่า 6,000 ตร.มและความสูง

200 เมตร ตึกของอิตาลีจัดเป็นตึกที่ใหญ่เป็นอันดับสองของงานเอ็กโปร์ โดยพื้นที่ภายใน

ถูกแบ่งออกเป็นส่วนย่อยหลากหลายขนาดเหมือนเป็นย่านๆเชื่อมต่อกันหมด โดยมีพื้นที่สี่เหลี่ยมตรงกลางทำ หน้าที่เป็นศูนย์กลางโดยอยู่ภายใต้แนวคิด “CITY OF MAN”อันประกอบไปด้วย20ส่วนมาประกอบกันโดยเหมือนดั่ง20แคว้นของอิตาลีไฮไลท์อยู่ที่วัสดุที่ใช้โดยเลือกใช้วัสดุนวัตกรรมทันสมัยคือ “ปูนซีเมนต์โปร่งแสง”ซึ่งช่วยสร้างอากาสบริสุทธิ์ กำ จัดอากาศเสียและแถมยังมีกระเบื้องเซรามิคแอนตี้แบคทีเรียม่านกระนกที่ช่วยลดความเข้มของคลื่นแสงรวมไปถึงการที่ใช้แสงธรรมชาติเข้ามาในอาคาร นับเป็นการช่วยประหยัดพลังงานที่เห็นกันได้อย่างชัดเจน

ในขณะที่วิกฤติเรื่องภาวะโลกร้อนและการอณุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่ทุกๆประเทศทั่วโลกกำ ลังให้ความสนใจอย่างจริงจังITALIAN PAVILION ได้นำ เสนอเรื่องของคุณภาพในการใช้ชีวิตของมนุษญชาติที่เต็มไปด้วยประวัติศาสตร์ อารยธรรม ประเพณี และอารยธรรมควบคู่ไปกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เชื่อมโยง อดีต ปัจจุบัน และอนาคตเข้าด้วยกันบนพื้นฐานความยั่งยืน

ITALIAN PAVILION ได้ถูกก่อสร้างในวันที่8 พฤษภาคม 2009

โดยทีมผู้เชี่ยวชาญและนานาสถาปนิกหลายชีวิตโดยมีนาย เจียมพาวโล อิมบริกี สถาปนิกที่ได้พัฒนา

ปูนซีเมนต์โปร่งแสงเพื่อใช้กับอาคารนี้โดยทำ งานร่วมกันกับกลุ่มอิตัลซีเมนติ

เพื่อพยามคัดเลือกสีให้กับตัวอาคารที่จะสร้างความเป็นปึกแผ่นและแข็งแกร่ง

เพื่อที่จะสร้างความประหลาดใจให้แก่ผู้ชมเนื่องจากวัสดุปูนซเทนต์ตัวนี้สามารถให้แสงผ่านเข้าไป

ภายในอาคารได้จึงแปรเปลี่ยนความหนักทึบของผนังหายไป

กลายเป็นความโปร่งโล่งเบาสบายให้อย่างทันตาเห็น

Page 33: TERRE MAGAZINE

ณ วันนี้เรามักจะคิดถึงการประหยัดพลังงานอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกันแบบผิวเผินที่ปลายเหตุ

โดยทำ ให้กลุ่มผู้สร้าง ITALIAN PAVILIONเล็งเห็นและตั่งใจที่จะสร้าง พัฒนาโลกเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจึงดำ เนินงานภายใต้ความคิดที่ยั่งยืนของ“นวัตกรรมปูนซีเมนต์โปร่งแสง”ที่แสดงให้เห็นในจองโครงสร้างตัวอาคารนับเป็นอีกเส้นทางที่ต้องการผสมผสานความล้ำ สมัยของอาคารเข้ากับวิถีความเป็นอยู่ของคนที่ถูกยกระดับขึ้นโดยใช้ผลิตวัสดุที่มนุษย์จำ เป็นต้องบริโภคและพึงคำ นึงถึงธรรมชาติที่ต้องช่วยกันดูแลรักษา คงอยู้ไว้และทำ ให้สิ่งเหล่านั้นเข้ามามีบทบาท และเกิดประโยชน์สูงสุดให้กับตัวเราและเหล่ามวลมนุษย์บนโลก ใบเดียวกัน

กลุ่มอิตัลซีเมนติเชื่อว่าGREEN CONCEPTต้องมาจากการผลิตนวัตกรรมที่ดีกว่าและสามารถนำ มาทดแทนวัสดุรุ่นเก่าได้และสิ่งเหล่านั้นจะเป็นดั่งแรงผลักดันที่สำ คัญของเหล่าแหล่งวัสดุจากนานาแห่งที่จะหันมาช่วยกันผลิตวัสดุที่ช่วยในการลดโลกร้อน หาพลังงานมาทดแทนธรรมชาติและนั้นร่ะ จะถือเป็นการช่วยประหยัดพลังงานช่วยโลกและช่วยเราได้อย่างแท้จริง. ITALIAN

PAVILION

Page 34: TERRE MAGAZINE

PAPER

CONA

STORYSWEDISH

PAVILION

SWEDISH PAVILION ออกแบบโดยSWECO บริษัทวิศวกรรมจากสวีเดน

โดยตัวอาคารมีขนาดใหญ่มีความสูงขนาดเท่ากับ 3 ชั้น ซึ่งถูกแบ่งเป็นอาคารซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ“ความเป็นปึกแผ่นของเมืองและชนบท”โดยระหว่างอาคารย่อยนั้นมีพื้นที่ว่างเป็นแกนกลางเป็นรูปของกางแขนซึ่งสื่อถึงธงชาติของสวีเดน อาคารทั้ง 4 ส่วน เชื่อมกันด้วยทางเดินขณะที่ผนังของอาคารนำ GRIDของเมืองมาใช้ตกแต่ง และผนังภายในอาคารนั้นตกแต่งด้วยภาพของธรรมชาติของพวกเหล่าต้นไม้และนานาพันธุ์ไม้ล้อมรอบตัวอาคารมีส่วนทำ ให้ตัวอาคารดูสดชื่อนและมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้นสำ หรับเนื้อหาที่จัดแสดงในSWEDISH PAVILION นั้นอยู่ภายใต้คีย์เวิร์ดอย่างSUSTAINABILITY, INNOVATIONและCOMMUNICATIONเนื้อหาทั้งหมดถูกตีความบนพื้นฐานของคำ 3 คำ ตั้งแต่เรื่องราวของนวัตกรรมที่สามารถช่วยแก้ปัญหาต่างๆปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตภายในบ้านเมืองไปจนถึงการแสดงให้เห็นถึงความสำ คัญของการสื่อสารภายใต้เทคโนโลยีสมัยใหม่.

Page 35: TERRE MAGAZINE

CONVER

PAVILION

KOREAN PAVILIONออกแบบโดยทีมสถาปนิกจาก MASS STUDIES

โดยตัวอาคารนี้เป็นในอาคารที่ใหญ่ที่สุดในงานด้วยพื้นที่กว่า 6,000 ตารางเมตรโดยตัวอาคารKOREAN PAVILIONนั้น

มีคอนเซปอยู่ภายใต้“CONVERGENCE”

ซึ่งเป็นการสื่อสารกันเชื่อมโยงระหว่าง

“SIGN”(SYMBOL) กับ “SPACE”เข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ที่สุด

โดยมีการจัดแสดงพิมพ์เขียวของเมืองในอนาคตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงสุด

และใช้โครงสร้าของตัวอาคารที่ได้แรงบันดาลใจมาจาก

“ตัวอักษรของภาษาเกาหลี”ที่สื่อให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวอย่างเห็น

ได้อย่างชัดเจนและยังแสดงถึงวัฒนธรรมดั้งเดิมของเกาหลีอีกด้วย

GENCEKOREAN

Page 36: TERRE MAGAZINE

ARIES

TAURAS

GEMINI

CANCER

LEO

VIRGO

บ้านของชาวราศีเมษจะไม่ใหญ่ไม่เล็กเกินไป เรียบง่าย สะดุดตา เพื่อสร้างความรู้สึกเป็นสง่า ภายในบ้านจะมีความโปร่งโล่งเฟอร์นิเจอร์น้อยชิ้น เพราะชอบความเป็นอิสระ เป็นคนใจร้อน ถ้ามีของเยอะจะรู้สึกเกะกะ โทนสีที่นิยมคือ สีออกเหลืองนวลขาว หรือสีแดงของไม้มะค่า ลักษณะเด่นเป็นผู้ใฝ่รู้ จึงต้องมีห้องหนังสือ และชั้นวางหนังสือเป็นสัดส่วน

สไตล์การแต่งบ้าน จะออกเรียบๆ สบายๆ เน้นเฟอร์นิเจอร์ที่แสดงถึงความอัครฐานและบ่งบอกถึงฐานะ ลักษณะของห้องต่างๆ จะถูกออกแบบให้เป็นไปตามการใช้งานจริง และภายในห้องจะต้องมีสิ่งที่จา เป็นอยู่ครบถ้วน ส่วนของตกแต่ง มักจะเป็นงานศิลปะ สีที่นิยม สีทอง สีแดง สีเลือดนก

บ้านจะโปร่งโล่งให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก หรือมีโคมไฟหลายๆ จุด เพื่อให้ความสว่าง บ้านถูกออกแบบให้มีมุมทา กิจกรรมหลายมุม ชอบการต้อนรับ ชาวราศีนี้จึงให้ความสา คัญกับบริเวณหน้าบ้าน ห้องรับแขก และห้องครัว ชื่นชอบในงานศิลปะ และความงามของเฟอร์นิเจอร์เน้นความทันสมัย แปลกตา สีที่นิยม สีเขียว สีฟ้า

ชาวราศีนี้เป็นผู้ที่ชอบพบปะผู้คนและมีมนุษยสัมพันธ์เป็นเลิศ การสร้างบ้านตลอดจนการตกแต่งจึงไม่เพียงเพื่อความสุขกายสบายใจของตนเองและครอบครัว แต่ยังคา นึงถึงผู้อื่นด้วย ชอบงานศิลปะ เครื่องดนตรี จึงมักพบเห็นสองสิ่งนี้เป็นของแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์เน้นความสะดวกสบาย เครื่องเรือนสามารถจัดเก็บของได้มากสีที่นิยมใช้คือ สีเหลือง สีขาว สีฟ้า และสีออกโทนส้ม

เป็นผู้ที่ชอบทา งาน ชอบใช้สมองตลอดเวลา จึงต้องมีห้องทา งาน เน้นบ้านที่แข็งแรงมั่นคง เพื่อตอบสนองความต้องการในเชิงจิตใจ บ้านกว้างใหญ่ไว้อวดผู้มาเยือน ส่วนเฟอร์นิเจอร์นิยมความแข็งแรง ทนทาน ใช้งานหนักได้พื้นห้องมักจะเป็นหินอ่อน หินแกรนิต สีที่นิยมใช้ คือสีในวรรณะร้อน คือสีแดง สีส้ม สีแสด และสีที่แลดูโปร่งเช่น สีขาวนวล สีขาวอมส้ม

ลักษณะเด่นมีความเป็นแม่ศรีเรือน เป็นพ่อบ้าน มักให้ความสา คัญกับห้องครัวเป็นพิเศษ ต้องมีอุปกรณ์ครบถ้วน เป็นคนที่รักครอบครัว ชื่นชอบของเก่า การแต่งบ้านต้องมีการแบ่งสัดส่วนภายในอย่างชัดเจน ควรมีความโล่งโปร่งมากๆ เพราะให้ความสา คัญกับการทา งานจึงมักไม่ค่อยมีเวลาดูแล เฟอร์นิเจอร์ต้องแข็งแรงทนทาน ถ้าเป็นของเก่าที่ตกทอดกันมาจะยิ่งชอบมาก สีที่นิยม คือ สีเขียว สีแสด สีม่วง สีเทา และสีฟ้า

21 MARCH-20 APRIL

21 APRIL-20 MAY

21 MAY-21 JUNE

22 JUNE-22 JULY

23 JULY-23 AUGUST

24 AUGUST-22 SEPTEMBER

Page 37: TERRE MAGAZINE

LIBRA

SCORPIO

SAGITTARIUS

CAPRICORN

AQUARIUS

PISCES

ลักษณะเด่นชาวราศีนี้คือ มีงานอดิเรกในการวาดภาพ และสะสมภาพ บ้านจึงเน้นผนังทึบไว้ติดงานเหล่านี้ หรือมีมุขทา งานศิลปะโดยเฉพาะ

ห้องนอนมีเตียงสวยๆ บ้านมีความเนี้ยบเป็นระเบียบ เพราะอุปนิสัยเป็นคนประณีต ชอบความหรูหรา เฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งต้องประณีตเรียบร้อย

หากเป็นภาพ แผนที่ หรือลูกโลกประดับในบ้านจะชอบมาก เพราะชอบเดินทาง สีที่นิยมคือ สีฟ้า สีน้า เงิน สีดา

ชาวราศีนี้คือใส่ใจกับห้องน้า เป็นพิเศษ หากเลือกได้ห้องน้า ต้องเป็นห้องที่กว้างใหญ่ สวยงาม อุปกรณ์ครบครัน

มีความสว่างที่เพียงพอ เกือบจะเป็นห้องนอนห้องที่สองเลยทีเดียว อุปนิสัยเป็นคนลึกลับและมีสัญชาตญาณในการปกป้องตัวเองสูง วิตกกังวล และรักสันโดษ

ทา ให้บ้านมีลักษณะแปลกตา เฟอร์นิเจอร์มีรูปทรงที่ทันสมัย หรือไม่ก็เก่าแก่โบราณไปเลย เป็นคนชอบเครื่องเสียง หรือสิ่งที่เป็นไฮเทคโนโลยีทั้งหลาย

สีที่นิยมคือ สีเหลืองอ่อนและสีขาว

เป็นคนที่มีภารกิจยุ่ง วุ่นวายแม้แต่เวลาจะนอนก็ยังอดไม่ได้ต้องเอางานมาทา ด้วย

ในห้องนอนจึงต้องมีโต๊ะทา งาน และตู้หนังสือ เป็นนักอนุรักษนิยมชอบความเป็นธรรมชาติ บริเวณบ้าน จึงต้องมีต้นไม้เป็นส่วนประกอบสา คัญ

เฟอร์นิเจอร์ที่ใช้มักจะทา จากไม้ และมีขนาดใหญ่ ไม่ชอบความเกะกะ สีที่นิยมใช้คือ สีแสด

สีเหลือง และสีชมพู

ด้วยอุปนิสัยที่ชอบวิตกกังวลทา ให้ต้องมีกระจกเงาบานใหญ่ และยาวพอที่จะส่องเห็น ตั้งแต่ศีรษะจดปลายเท้า

เพื่อเพิ่มความมั่นใจเมื่อต้องออกไปพบปะผู้คน ชอบเก็บตัว ระแวดระวัง มีความเป็นส่วนตัวสูง บ้านมักมีรั้วรอบขอบชิด หรือมีม่านหน้าทึบ

ให้ความสา คัญกับการพักผ่อน ห้องนอนต้องสงบและมืดทึบ เฟอร์นิเจอร์คา นึงถึงประโยชน์

ในการเก็บทรัพย์สินและสิ่งของได้มาก สีที่นิยมคือ สีดา สีม่วง หรือสีโทนเข้มๆู

ชาวราศีนี้ชอบการพบปะสังสรรค์ มักมีผู้คนไปมาหาสู่เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้-เจรจาธุรกิจ

ห้องรับแขกจึงควรมีเนื้อที่จัดปาร์ตี้เล็กๆ ตัวบ้านเน้นความสวยงาม คนชอบเล่นกีฬาชอบออกกา ลังกาย และชอบฟังดนตรี

บริเวณบ้านจึงมักมีส่วนเพื่อออกกา ลังกาย และมีมุมฟังดนตรี เฟอร์นิเจอร์เน้นความสวยงามของรูปทรงและสีสัน

สีที่นิยม สีน้า เงิน สีฟ้า และสีเขียว

รอบๆ บ้านมักมีตุ่มใส่น้า บ่อเลี้ยงปลา อ่างบัว ตรงกับสัญลักษณ์ของเจ้าราศี ที่เป็นรูปปลา เป็นคนรักสบาย รักความเป็นอิสระ

บ้านมีความเด่นชัดที่ความเรียบง่าย ดูสบายๆ แต่ทันสมัยตามยุค

ชอบความโล่ง ไม่ยึดติด เฟอร์นิเจอร์มักเป็นแบบที่ประยุกต์ไปใช้งานได้หลายอย่าง ในห้องน้า มักจะมีอ่างอาบน้า เพื่อสร้าง ความเย็นกาย เย็นใจให้

สีที่นิยมคือ สีเขียว สีฟ้า และม่วงอมคราม

23 SEPTEMBER-22 OCTOBER

23 OCTOBER-22 NOVEMBER

23 NOVEMBER-21 DECEMBER

20 JANUARY-19 FEBRUARY

20 FEBRUARY-20 MARCH

22 DECEMBER-19 JANUARY

Page 38: TERRE MAGAZINE
Page 39: TERRE MAGAZINE

LIVELIVELIVELIVE

LIVE LIVE

LIfE

LIVE LIfE

LIVE

LIVE

LIVE

LIVE

LIVE

LIVELIFE

LIFELIFE

LIFE

LIFE

LIFE

LIFE

กาลครั้งหนึ่ง ไม่นานมานี้ตัวข้าได้โคจรมาพบกับโลกใบหนึ่งใบนี้

ข้าก็ไม่รู้ว่าจะเรียกโลกใบนี้ว่าอย่างไรดีเพราะโลกใบนี้เต็มไปด้วยนานาตึกราบ้านช่อง

ไม่พอแถมยังมีรูปทรงที่ประหลาดต่างกันไปหมดอย่างนับไม่ถ้วน

จนทา ให้หัวข้าเวียนไปหมดลายตายังกับอยู่ในโลกแห่ง

อดีต ปัจจุบัน อนาคตไปพร้อมๆกันงั้นข้านั้นงงและนึกสงสัยอยู่เหมือนกันว่า

เจ้าโลกใบนี้อยู่ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างไรจะเคยมีเรื่องวิวาทกันบ้างหรือไม่

LIfELIfE

Page 40: TERRE MAGAZINE

LIVE

LIVE

LIVE

LIFE

LIFE

LIfE

LIfE

LIfE

LIfELIfE

LIfE

LIfE

LIfE

life

live

นี้ข้าเป็นตึกเจ้าถิ่นโบราณส่วนเจ้านั้นเป็นแค่เพียงตึกน้องใหม่น้อยประสบการณ์

จนเคารพข้าชั้นผู้ใหญ่บัดเดี๋ยวนี้หรือจะเป็น

ข้านั้นเป็นตึกใหม่ไฟแรงมากไปด้วยความแปลกสดใหม่ส่วนเจ้านั้นตึกแก่โบราณล้านปี

จะมาสู้อะไรกับข้าวัยเยาว์ได้เหล่าแต่หากเทียบแล้วรวมรวมมันก็ดูไม่ต่างกับการใช้ชีวิต

ของพวกมนุษย์ที่ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันภายใต้ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต

และก็อยู่ด้วยกันได้อย่างลงตัวเพราะไม่ว่าจะเป็นมนุษย์รุ่นเก่าแบบvintageที่ถึงจะดูอาวุโส

แต่ก็เอ็นดูช่วยเหลือชี้แนะต่าง ใๆห้มนุษย์รุ่นใกม่แบบmodern

และในทางกลับกันนั้นมนุษยรุ่นใหม่modernก็ให้ความเคารพ ศรัทธา

แก่มนุษย์รุ่นเก่าvintageเสมอมา

ที่แท้มันก็เป็นอน่างนี้นี้เอง เลยทา ให้โลกใบนี้นั้นสามารถรวมทุกยุคทุกสมัย

ได้อย่างลงตัว.

Page 41: TERRE MAGAZINE

MEMBERSUBSCRIPTION

To:NAME:

ADDRESS:

PHONE NO:

E-MAIL:BILL TO ADDRESS:

I WOULD LIKe TO PAY BY:

-HOME:

BANK:

BANK:

NO:

CREDiT CARD NO:NAME ON CARD:SIGNATURE ON CARD:CREDIT CARD EXPIRY DATE:

BRANCH:

DATE:

DATE:

-MOBILE PHONE:-OFFICE:

AC PAYEE TO : TERRE MAGAZINE CO.;LTD

TERRE MAGAZINE CO.;LTDMONEY TRANSFER DIRECT TO :

CREDIT CARD :

START

CO

NTACT US:

TERRE MAG

@HO

TMAIL.C

OM

990JUSTTODAY

/YEARS.

Page 42: TERRE MAGAZINE

AD

E

R

Art 4D (Architecture/ Design and Arts Magazine)

Daybed (Home Decorate

Elle Decorative

Rotsaniyom

(Home&Decor Magazine)

www.rotsaniyom.com

Magazine)

Page 43: TERRE MAGAZINE
Page 44: TERRE MAGAZINE

BACK TOTHE FUTURE.