79
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนหนองหว้าพิทยาสรรค์ พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ผู้จัดทำ นำงสำวณิชัชฌำ อำโยวงษ์ ภาพจาก: http://geneticsm6.wordpress.com/ รายวิชา พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ 6

คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

  • Upload
    -

  • View
    13.144

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ,สื่อการเรียนการสอนชีววิทยา, ณิชัชฌา, พันธุศาสตร์, เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Citation preview

Page 1: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนหนองหว้าพิทยาสรรค์

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ผู้จัดท ำ นำงสำวณิชัชฌำ อำโยวงษ์

ภาพจาก: http://geneticsm6.wordpress.com/

รายวิชา พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Page 2: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

1. อธิบายความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพนัธุ์และปรับปรุงพันธุ์ เพื่อเพิ่มผลผลติของสัตว์ได ้

2. ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์และผลการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม อาหาร และการแพทย์ได ้

3. อธิบายความหมายของพันธุวศิวกรรมได้ บอกประโยชน์ของสิ่งมชีีวิตที่ได้จากการเปลี่ยนถ่ายหน่วยพันธุกรรม (GMOs) ได้

Page 3: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. อธิบายความหมายและตัวอย่างการโคลนได ้

5. ใช้หลักการของเทคนิคเจลอเิล็กโทรโฟรซีสี พีซีอาร ์ และสมบัติของเอนไซม์ตักจ าเพาะ เพื่อพสิูจน์บุคคลได ้

Page 4: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

เทคโนโลยีชีวภาพ

เทคโนโลยีทีน่ าเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ช้กับสิ่งมีชวีิต หรือชิ้นส่วนสิ่งมีชวีิต หรอืผลิตผลของสิ่งมีชีวิต

ประโยชน์ต่อมนุษย์

การเกษตร อาหาร สิ่งแวดล้อม การแพทย์

Biotechnology

Page 5: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

เทคโนโลยีชีวภาพ

1. พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering)

Biotechnology

2. การโคลนยีน (Gene Cloning)

3. การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม

4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA

Page 6: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

พันธุวิศวกรรม

เทคโนโลยีทีท่ าการเคลื่อนย้ายยีน จากสิ่งมีชีวิตพันธุ์หนึ่ง ไปสู่สิ่งมีชวีิตอกีพันธุ์หนึ่ง

สิ่งมีชีวิตรูปแบบใหม่ (novel)

Genetic engineering

Page 7: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Living modified organisms: LMOs

Genetically modified organisms

Page 8: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การใช้เทคโนโลยีตัดต่อยีน (DNA)

หลักการของพันธวุิศวกรรม

ตัด เอนไซม์ตัดจ าเพาะ (Restriction Enzyme)

Page 9: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

หลักการของพันธวุิศวกรรม

เชื่อมต่อชิ้น DNA เข้าไปในพาหะ พาหะ= แบคทีเรีย

ได้ DNA พาหะ หรือ เวกเตอร์

เอนไซม์เชื่อมต่อ = ไลเกส

Page 10: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

DNA พาหะ หรือ เวกเตอร ์

= แบคทีเรียที่มี DNA ของตัวเอง + DNA ที่ต้องการ

Page 11: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Halmilton Smith

หลักการตั้งชื่อเอนไซม์ตัดจ าเพาะ (Restriction Enzyme)

อักษรตัวแรกของชื่อจีนัสรวมกับ อักษรสองตัวแรกของสปีชีส์

ตามด้วยชื่อสายพันธุ์ (ถ้าเอนไซม์มีมากกว่า 1 ชนิด

ตัวเลขโรมัน

Page 12: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Halmilton Smith

หลักการตั้งชื่อเอนไซม์ตัดจ าเพาะ (Restriction Enzyme)

ตัวอย่าง Escherrichia coli Ry13

ECoR = E.coli R

R คือ สายพันธุ์ RY13 คือ ล าดับที่พบเอนไซม์

Page 13: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ถ้าสิ่งมีชวีิตมีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Streptormyces albus

จะตั้งชื่อเอนไซมท์ี่ผลิตจากส่ิงมีชีวิตนี้ได้ว่า

Sal

Page 14: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ถ้าสิ่งมีชีวิตมีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Bacillus amyloliquefaceinsH

จะตั้งชื่อเอนไซม์ที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิตนี้ได้ว่า

BamH

Page 15: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Halmilton Smith

ปัจจุบันมี 1,200 เอนไซม์

Restriction mapping

Page 16: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 17: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 18: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 19: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ประโยชน์ของเอนไซม์ตัดจ าเพาะ (Restriction Enzyme)

1. ตัด DNA เป็นท่อนสั้นๆ

2. ทราบล าดับเบสที่แน่นอนตรงจุดตัด (บริเวณจดจ า: recognition site)

3. สามารถเชื่อมชิ้นส่วน DNA จากข้อ 1 ตามต้องการได้

Page 20: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ดีเอ็นเอสายผสม (Recombinant DNA)

Page 21: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ตัวอย่างการสังเคราะห์ฮอร์โมนโกรท

Page 22: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ขั้นตอนการท า ดีเอ็นเอลูกผสม

พันธุวิศวกรรม (genetic engineering)

การโคลนดีเอ็นเอ (DNA cloning)

Page 23: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ขั้นตอนการท า ดีเอ็นเอลูกผสม

1. การเตรยีมยีน (gene) หรือดเีอ็นเอที่น่าสนใจ

2. การตัด DNA อย่างจ าเพาะดว้ยเอนไซม์ตัดจ าเพาะ

3. การเชือ่มต่อ DNA ที่แยกได ้กับ DNA พาหะ (vector)

Page 24: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

DNA พาหะ (vector) มี 3 รูปแบบ คือ

1. พลาสมิด (Plasmid)

2. ฝาจ (Phage)

3. คอสมิด (Cosmid)

Page 25: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

พลาสมิด (Plasmid) = DNA วงแหวนที่อยู่นอกโครโมโซมของแบคทีเรีย

Page 26: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ฝาจ (Phage) = แบคทีเรียที่มีสารพันธุกรรมของไวรัส

Page 27: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

คอสมิด (Cosmid) = พลาสมิดที่มี cos site ของฝาจแลมบ์ดาอยู่ด้วย เพื่อให้สามารถแทรกดีเอ็นเอที่มีขนาดใหญ่ได้ 45 kbase

Page 28: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ขั้นตอนการท า ดีเอ็นเอลูกผสม

4. การน าดเีอ็นพาหะที่ถูกตัดตอ่เรียบร้อยแล้ว (ดีเอ็นเอสายผสม) ใสเ่ข้าไปในเซลล์ผูร้ับ

Page 29: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ขั้นตอนการท า ดีเอ็นเอลูกผสม

4. เลี้ยงเซลล์ผู้รับให้แบ่งเซลล์หลายๆ ครั้ง ท าใหเ้พิ่มจ านวนเซลล์ หรือเพิ่มปริมาณยีนที่น่าสนใจ

กระบวนการนี้ เรยีกว่า การโคลนยีน (gene cloning)

5. การคัดเลือกเซลล์ที่มีดีเอ็นเอสายผสม

ที่ต้องการ

Page 30: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การโคลนยนี (gene cloning)

การโคลนดีเอ็นเอ (DNA cloning) หรือ

ท าได้ 2 วิธ ี

1. การโคลนยีนโดยอาศัยพลาสมิดของดีเอ็นเอ 2. การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิค พอลิเมอเรสเชนรีแอกชันหรือพีซีอาร์

Page 31: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

DNA cloning = เพื่อเพิ่มจ านวน DNA ให้มีปริมาณมากพอ ที่จะน าไปใช้ได ้

น าไปโคลน

Page 32: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

1. การโคลนโดยอาศัยพลาสมิดของแบคทีเรีย

เลี้ยงแบคทีเรีย ในอาหารเลี้ยง

Page 33: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

2. การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิคพอลเิมอเรสเชนรีแอกชัน Polymerase chain reaction: PCR

เครื่องมือ Thermocycler หน้าที:่ เพิ่ม-ลดอุณหภูมิ เพื่อเพิ่มปริมาณ DNA ในแต่ละรอบ

Page 34: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

เครื่องมือ Thermocycler

90 – 95 C

50 – 55 C

70 – 75 C

ขั้นที่ 1

ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3

20 – 30 รอบ

Page 35: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

องค์ประกอบในการท า PCR

1. DNA แม่พิมพ์ (template DNA)

2. นิวคลีโอไทด์ ทั้ง 4 ชนิด

3. ไพรเมอร์ (primer): DNA สายสั้นๆ

4. เครื่อง Thermo cycle

5. บัพเฟอร์ที่เหมาะสม

6. เอนไซม์ DNA polymerase

Page 36: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

2. การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิคพอลิเมอเรสเชนรีแอกชันหรือพีซีอาร์

Polymerase chain reaction: PCR

DNA สายใหม่จ านวนมาก (amplified product)

Amplicon

Page 37: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

หลักการของเทคนิค PCR

การสังเคราะห์ DNA อยา่งต่อเนื่องเป็นวงจรลูกโซ ่1 รอบ ประกอบดว้ย 3 ขั้นตอน ดงันี ้

1. การ แยก DNA เป็นสายเดี่ยว

2. การ จับ ของไพรเมอร์กับ DNA

3. การ สร้าง DNA สายใหม่

Page 38: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ข้อดีของเทคนิค PCR

ใช้ DNA ต้นแบบปริมาณเล็กน้อย ได้ DNA สายใหม่จ านวนมาก

ในเวลาอันรวดเร็ว และท าได้ง่าย

Page 39: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ประโยชน์ของเทคนิค PCR (หน้า 85)

ด้านการแพทย์

ตรวจหาเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย

: โรคเอดส์ วัณโรค มาลาเรีย และโรคไข้หวัดนก

Page 40: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ประโยชน์ของเทคนิค PCR (หน้า 85)

ด้านการเกษตร

ตรวจสอบสายพันธุ์พืช โรคสายพันธุ์พืช

ความสมัพันธ์ระหว่างความต้านทานโรคของสายพนัธุ์พืช การป้องกัน ก าจัดโรคพืชที่เกิดจากเชือ้เรา แบคทีเรีย และไวรัส

Page 41: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ประโยชน์ของเทคนิค PCR (หน้า 85)

ศึกษาความแปรผันหรือการกลายพันธุ์ของยีน

การท าแผนที่ยีน (Gene mapping)

การศึกษาล าดับเบสของสิ่งมีชีวิต

งานวิจยัทางชีววิทยาโมเลกุล และ พนัธุวิศวกรรม

Page 42: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การท าแผนที่ยีน : การวิเคราะห์ล าดับเบสของยีน (gene sequencing)

Disease Gene Mapping with Multiple Chromosomes

Page 43: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การสร้าง DNA ตรวจติดตาม DNA probe

หมายถึง

DNA สายสั้นๆ สามารถจับกับชิ้น DNA ที่สนใจได้อย่างจ าเพาะ

DNA probe จะติดสารกัมมันตรังสีไว้

ท าให้เราสามารถติดตาม ช้ิน DNA ที่สนใจนั้นได้โดยอาศัยกัมมันตภาพรังสีที่ติด

อยู่กับ DNA probe

Page 44: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การวิเคราะห์ DNA และการศึกษาจีโนม

1. การวิเคราะห์ DNA ด้วยเจลอิเล็กโทรโฟริซีส (Gel electrophoresis)

2. การศึกษาจีโนม

Page 45: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

1. การวิเคราะห์ DNA ด้วยเจลอิเล็กโทรโฟริซีส (Gel electrophoresis)

หลักการ การแยกสารพันธุกรรมหรือโปรตีน

โดยใช้กระแสไฟฟ้า

Page 46: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 47: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 48: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 49: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 50: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

โครงการศึกษาจีโนมมนุษย์

จีโนม (Genome) หมายถงึ

Human genome project: HGP

ล าดับเบสทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งๆ

ข้อมูลทางพันธุกรรมทั้งหมดที่จ าเป็น ในการใช้สร้างและการด ารงชีวิตอย่างปกติ

ของสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่ง

Page 51: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

โครงการศึกษาจีโนมมนุษย์ Human genome project

International project

Page 52: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 53: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 54: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ DNA

1. กระบวนการนิติวิทยาศาสตร์

2. ยีนบ าบัด

3. เภสัชกรรม

4. การเกษตร

Page 55: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

1. กระบวนการนิติวิทยาศาสตร์

กระบวนการนิติวิทยาศาสตร์ หมายถึง

กระบวนการทางกฎหมายที่มีการน าเทคโนโลยีทาง DNA มาใช้ในการพิสูจน์บุคคล

โดยใช้ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint)

พิสูจน์ความเป็นพ่อลูก ใช้ในด้านอาชญากรรม

Page 56: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การพิสูจน์ความเป็นพ่อลูก

หลักการ ลูกแต่ละคน ย่อมได้รับพันธุกรรมมาจาก

พ่อและแม่อย่างละครึ่ง

Page 57: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

กิจกรรม นักสืบหัวเห็ด

จุดประสงค์

เพื่อวิเคราะห์ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ

Page 58: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

สถานการณ์ที่ 1

สามีภรรยาคู่หนึง่มีบุตร 4 คน ในจ านวนนี้มี ลูกสาว 2 คน และลูกชาย 2 คน

จงวิเคราะห์ ลายพิมพ์ DNA ของทุกคน คนใดเป็นลูกติดพ่อและคนใดเป็นบุตรบุญธรรม

Page 59: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ค าตอบสถานการณ์ที่ 1 ลูกติดพ่อ คือ คนที่ 1 2 และ 3

บุตรบุญธรรม คนที่ 4

Page 60: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

สถานการณ์ที่ 2

สามีภรรยาคู่หนึ่งมีบุตร 4 คน ในจ านวนนี้มี ลูกสาว 2 คน และลูกชาย 2 คน

จงวิเคราะห์ ลายพิมพ์ DNA ของทุกคน คนใดเป็นลูกติดพ่อและคนใดเป็นบุตรบุญธรรม

Page 61: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ค าตอบสถานการณ์ที่ 2 ลูกติดพ่อ คือ D1 และ S1

ลูกติดแม่ คือ D2

บุตรบุญธรรม คือ S2

Page 62: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

สถานการณ์ที่ 3

จากการตรวจลายพิมพ์ DNA ของคนในครอบครัว ก และ ข นักเรยีนบอกได้หรือไม่ว่าคนใน ครอบครัวใดมีความสัมพันธ์กันในลักษณะของพ่อ-แม-่ลูก

และครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กันเพราะเหตุใด

Page 63: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

ค าตอบสถานการณ์ที่ 3 ครอบครัว ก

มีความสัมพันธ์กันในลกัษณะของพ่อ-แม่-ลูก

ครอบครัว ข

ไม่มีความสัมพันธ์กัน

เพราะลูกมีลายพิมพ์ DNA ไม่พ่อและแม่

Page 64: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

สถานการณท์ี่ 4 ได้มีการใช้ลายพิมพ์ DNA เพื่อตรวจพสิูจน์ความเกี่ยวพันในคดอีาญาที่รุนแรงเช่น

ฆาตกรรม ท ารา้ยร่างกาย ซึ่งสามารถใช้เป็นหลักฐานส าคัญอย่างหนึ่งประกอบ

การพจิารณาคดีทางศาล ตัวอย่างเช่น คดีฆาตกรรมคดีฆาตกรรมคดีหนึ่งได้น าคราบ

เลือดของฆาตกรที่พบในสถานที่เกิดเหตุและเลือดของผู้ต้องสงสัยจ านวน 7 คน

มาท าลายพิมพ์ DNA และน ามาเปรียบเทียบกัน เมื่อน าลายพิมพ์ DNA ของผู้ต้อง

สงสัยมาเปรียบเทียบกับลายพมิพ์DNA ของคราบเลือดฆาตกร พบว่าเป็นดังนี้

Page 65: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

การเปรยีบเทียบลายพมิพ์ DNA ของผู้ตอ้งหากับคราบเลือด

คนที่ 4 เป็นฆาตกร

Page 66: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

สถานการณท์ี่ 5 ถ้านักเรียนได้รับเลือกเป็นคณะลูกขุนโดยมี ลายพิมพ ์DNA จากหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุในคดีฆาตกรรมและลายพิมพ ์DNA ของผู้ต้องสงสัยหมายเลข 1-5

จงหาว่า (1) บุคคลหมายเลข 4 ถูกกล่าวหาว่าเป็น ฆาตกร นักเรียนจะตัดสินว่าเขาเป็นฆาตกรหรือ เป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะเหตุใด (2) ผู้ต้องสงสัยหมายเลขใดที่มีลายพมิพ์ DNA ใกล้เคียงกับหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุ

Page 67: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

คนที่ 4 ไม่ใช่ฆาตกร

คนที่ 5 เป็นฆาตกร เพราะมลีายพิมพ์ DNA ตรงกับหลักฐานมากที่สุด

Page 68: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

2. ยีนบ าบัด (Gene therapy)

การใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมช่วยรักษาโรคที่เกิดจากกรรมพนัธุ์

โรคทาลัสซีเมีย โรคมะเร็ง

หลักการ ใช้เวกเตอรใ์ห้น ายีนที่ต้องการเข้าสู่เซลล์เป้าหมาย

ในร่างกาย และท าให้เกดิการแสดงออกให้ได้ผลผลิต ที่ถูกตอ้งตามต้องการ

Page 70: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

3. เภสัชกรรม

การประยุกตใ์ช้เทคโนโลยทีาง DNA ในด้านเภสัชกรรม

การผลิตวัคซีน เซรุ่ม น้ ายาตรวจวินิจฉัยโรค

ยาต่อต้านเนื้องอก การผลิตอินซูลิน

Page 71: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
Page 72: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

พืชต้านทานโรคและแมลง พืชที่มีคุณค่าทางอาหารสูง พืชที่ให้ผลผลิตสูง

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

Page 73: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

พืชดัดแปลงพันธุกรรมให้ต้านทานแมลง

การถ่ายยีนบีทีที่สร้างสารพิษจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis

ซึ่งสามารถท าลายตัวอ่อนของแมลงบางชนิดได้

ฝ้าย ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ และมะเขือเทศ

Page 74: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

มะละกอต้านทานโรคใบด่างจุดวงแหวน

การถ่ายฝากยีนสร้างโปรตีนเปลือกไวรัส (Coat protein gene)

Page 75: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

การสร้างวิตามินเอในเมล็ดข้าว

การน ายีนจากดอกแดฟโฟดิล (daffodils) และยีนจากแบคทีเรีย Erwinia breteria

ถ่ายฝากในข้าว

ข้าวสีทอง (golden rice)

Page 76: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Golden Rice

Page 77: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

Normal Rice Golden Rice

Page 78: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

ต้นยาสูบต้านแมลง

การถ่ายฝากยีนที่ก าหนดสารยับยั้งเอนไซม์ย่อยโปรตีน (Proteinase inhibitor) จากถั่วพุ่ม

(cow pea) และจากมันฝรั่ง

Page 79: คลิก Download บทที่ 3 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ

4. การเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (Transgenic plant)

การสร้างพืชทนเค็ม พืชทนแล้ง กล้วยไม้สีแปลก