67
เกณฑหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตร แสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย ฉบับปรับปรุงใหม .2551

หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551

  • Upload
    taem

  • View
    5.857

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

เกณฑหลักสตูรการฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตร แสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย

ฉบับปรบัปรงุใหม พ.ศ 2551

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

124

เกณฑหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานเพื่อวุฒิบัตรเกณฑหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานเพื่อวุฒิบัตรฯฯ สาขสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน พาเวชศาสตรฉุกเฉิน พ..ศศ. . 25512551

1 เกณฑหลักสูตรการฝกอบรม

1.1 ชื่อหลักสูตร (ก) สาขาประเภทที่ 1 (ภาษาไทย) หลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญ ใน

การประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน (ภาษาอังกฤษ) Residency Training in Emergency Medicine

1.2 ชื่อวุฒิบัตร ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน (ภาษาอังกฤษ) Diploma of the Thai Board of Emergency Medicine ชื่อยอ (ภาษาไทย) ว.ว. สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน (ภาษาอังกฤษ) Diploma, Thai Board of Emergency Medicine

1.3 หนวยงานที่รับผิดชอบ ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย สมาคมเวชศาสตรฉุกเฉิน

1.4 หลักการและเหตุผล “เวชศาสตรฉุกเฉิน (emergency medicine)” เปนวิชาแพทยเฉพาะทางสาขาหนึ่ง ซึ่งครอบคลุม

การศึกษา คนควา วิจัย และใหบริการเกี่ยวกบัการประเมิน การจัดการ การบําบัดรักษา และการปองกันการเจ็บปวยกะทันหันซึ่งเปนภยันตรายตอการดํารงชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการบําบัดรักษาอยางทันทวงที

วิชาเวชศาสตรฉุกเฉินจึงเปนการบูรณาการองคความรูเวชวิทยาการสาขาตางๆ ประกอบกับวิทยาการบริหารจัดการ เปนองคความรูท่ีเปนเอกลักษณ และยังเปนวิชาที่มีความกาวหนาทางวิทยาการอยางรวดเร็ว ซึ่งลวนทาทายความรูความสามารถของแพทยฉุกเฉินในการใหการวินิจฉัย การดูแลรักษา การพยากรณ

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

125

โรค และการติดตามความรูความกาวหนาใหทัน รวมท้ังเปนเครือขายนิรภัยทางสุขภาพที่สําคัญยิ่งของสังคม และมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับประชาชนทุกคนที่เจ็บปวยอยางกะทันหันและจําเปนตองไดรับการบําบัดรักษาทางการแพทย

“แพทยฉุกเฉิน” เปนแพทยเฉพาะทางซึ่งมีภารกิจหลักในการประเมิน และการบําบัดรักษาอยางรวดเร็วใหแกบุคคลท่ีประสบภาวะฉุกเฉินทางการแพทย ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเฉพาะทางเวชกรรมฉุกเฉินในสถานการณตางๆ ท้ังในและนอกโรงพยาบาล มีบทบาทเปนทั้งผูตรวจวินิจฉัยและบําบัดรักษาผูปวยโดยตรงและผูประสานการบริบาลผูปวย และนอกจากภาระหนาท่ีในการประเมินและการบําบัดการเจ็บปวยอันมีโอกาสนําไปสูการเสียชีวิต ความพิการ หรือความทุกขทรมานหากไมไดรับการรักษาอยางทันทวงทีแลว แพทยฉุกเฉินยังสามารถดูแลผูปวยท่ีเขาใจวาตนเองจําเปนตองไดรับการบําบัดอยางเรงดวน รวมท้ังบุคคลผูไมสามารถเขาถึงระบบการดูแลรักษาพยาบาลตามปกติได. ดวยเหตุนี้ แพทยฉุกเฉินจึงตองสามารถบูรณาการและเขาใจการดูแลรักษาทางการแพทยสาขาตางๆ ท่ีเกี่ยวของอยางลึกซึง้ รวมท้ังอยูในตําแหนงท่ีเปนเอกลักษณ ซึ่งมีบทบาทหลักในการวางแผน การพัฒนา การดําเนินการ และการประเมินผล ของระบบบริการสุขภาพที่ทรงสมรรถภาพและมีประสิทธิผล

นอกจากบทบาทในการดูแลรักษาผูปวยฉกุเฉินแลว แพทยฉุกเฉินยงัมีบทบาทที่สําคัญตอระบบบริการสุขภาพอีกประการหนึ่ง คือเปนประตูท่ีประชาชนเขาสูระบบบริการสุขภาพอื่นๆ ทําหนาท่ีเปนผูรักษาประตูของระบบบริการ การสรางเสริมงานเวชศาสตรฉุกเฉินใหเขมแข็งจะชวยลดคาใชจายในการรับผูปวยฉุกเฉินไวเปนผูปวยใน (อยูรับการรักษาในโรงพยาบาล) โดยไมจําเปนลงไดอีกมาก

ดังนั้น ระบบเวชบริการฉุกเฉินจึงเปนเครือขายนิรภัยทางสุขภาพที่สําคัญยิ่งของสังคม และแพทยฉุกเฉินมีความจําเปนสําหรับบุคคลทุกคนท่ีเจ็บปวยฉุกเฉิน และจําเปนตองไดรับการบําบัดรักษาทางการแพทย โดยเฉพาะการเจ็บปวยท่ีอาจนําไปสูการเสียชีวิต ความพิการ หรอืความทุกขทรมานหากไมไดรับการรักษาอยางทันทวงที แพทยฉุกเฉินจึงตองมีความรูความชํานาญ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคุณสมบัติอื่นๆ หลายดาน ตลอดจนตองเปนผูท่ีรูขอจํากัดของตนเอง และมีความสามารถในการเรียนรูอยางตอเนื่อง หลักสูตรฉบับนี้จึงไดจัดทําข้ึนเพื่อใหการฝกอบรมแพทยประจําบาน เวชศาสตรฉุกเฉินบรรลุวัตถุประสงคดังท่ีวางไวได

1.5 กําหนดการเปดฝกอบรม เริ่มการฝกอบรมในวันที่ 1 มิถุนายน ปการศึกษา 2551

1.6 อาจารย เพื่อใหสามารถติดตามความกาวหนาของผูเขารับการฝกอบรมได สถาบันฝกอบรมตองมีอาจารย

แพทย ซึ่งไดรับหนังสืออนุมตัิหรือวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินจากแพทยสภา เปนผูใหการฝกอบรมที่

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

126

รับผิดชอบภาระงานของแผนกฉุกเฉินเต็มเวลา จํานวนอยางนอย 3 คน และอาจารยผูรับผิดชอบการฝกอบรมของสถาบันฝกอบรมตองปฏิบัติงานดานเวชศาสตรฉุกเฉินมาแลว ไมนอยกวา 3 ป

ในกรณีมีจํานวนอาจารยแพทยผูฝกอบรมเตม็เวลาไมพอ อาจจัดใหมีอาจารยแพทยแบบบางเวลารวมดวยได แตตองมีอาจารยผูใหการฝกอบรมแบบเต็มเวลาไมนอยกวารอยละ 50 ของจํานวนอาจารยผูใหการฝกอบรม (นั่นคือจํานวนอาจารยผูใหการฝกอบรมแบบไมเต็มเวลา ตองไมมากกวาจาํนวนอาจารยผูใหการฝกอบรมแบบเต็มเวลาที่มีอยู)

ในกรณีท่ีหลักสูตรการฝกอบรมเปนแบบที่มีสถาบันรวมฝกอบรม หรือมีสถาบันฝกอบรมสมทบ ใหอนุโลมใชหลักเกณฑท่ีกําหนดดังกลาวสําหรับการกําหนดจํานวนอาจารยในแตละสถาบันฝกอบรม โดยทอนเปนสัดสวนตามเวลาที่สถาบันฝกอบรมนั้นๆ มีสวนรวมในการฝกอบรม

ท้ังนี้ ยกเวนเฉพาะในหวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (ภายใน พ.ศ.2554) อนโุลมใหสถาบันฝกอบรมซึง่ตั้งอยูในเขตกรงุเทพมหานคร และฉบับที่ 11 (ภายใน พ.ศ.2559) อนโุลมใหสถาบันฝกอบรมซึ่งตั้งอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร มีแพทยผูไดรับวุฒิบัตร/หนังสอือนุมตัิ แสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอื่น ไดแก อายุรศาสตร, ศัลยศาสตร, กุมารเวชศาสตร, สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา, วิสัญญีวิทยา, ศัลยศาสตรออรโธปดกิส, จักษุวิทยา, โสตศอนาสิกวิทยา, เวชศาสตรฟนฟู, จิตเวชศาสตร, เวชปฏิบัติท่ัวไป และ/หรือเวชศาสตรครอบครัว ปฏิบัติงานดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินที่แผนกฉุกเฉินทดแทนอาจารยแพทยซึ่งไดรับหนังสืออนุมัติหรอืวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินได

ผูฝกอบรมแบบเต็มเวลา หมายถึง ขาราชการ, หนักงานมหาวิทยาลัย, ลูกจางประจํารวมทั้งอาจารยเกษียณอายุราชการปฏิบัติงานในโรงพยาบาล, คณะแพทยศาสตรหรือหนวยงานที่ปฏิบัติงานเต็มเวลา และไดรับเงินเดือนในอัตราเต็มเวลา ผูฝกอบรมแบบไมเต็มเวลา แบงเปน 2 ประเภท

ก. พนักงานมหาวิทยาลัยหรอืลูกจางประเภทบางเวลาอยางนอยครึ่งเวลา และไดรับเงินเดือนตามสัดสวนงาน ใหนับเวลาปฏิบัติงานตามสัญญาจาง ข. ผูท่ีปฏิบัติงานอยูท่ีสถาบันอื่น แผนกอื่น หรืออาจารยเกษียณอายุมาชวยสอนบางเวลา โดยไมไดมีสัญญาจางจากหนวยงาน หรือปฏิบัติงานนอยกวาครึ่งเวลา ใหคิดเวลาปฏิบัติงานเฉพาะที่มาปฏิบัติงานสําหรับการเรียนการสอนแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน รวมท้ังไมนับเวลาที่มาสอนนักศึกษา/นิสิตแพทยและแพทยประจําบานอายุรศาสตร ผูฝกอบรมวุฒบัิตรฯในระดับเดียวกันใชศักยภาพได 35 ช่ัวโมง ตอสัปดาหใน 1 สาขาวิชา แตถาฝกอบรมมากกวา 2 สาขาวิชา ตองแบงศักยภาพเปน 2 สาขาวิชา โดยคิดสาขาวิชาหลักไมนอยกวาครึ่งหนึ่ง

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

127

1.7 จํานวนผูเขารับการฝกอบรม (ศักยภาพการฝกอบรม) กําหนดให สถาบันฝกอบรมจะรับผูเขารับการฝกอบรมไดในสัดสวน ปละ ช้ันละ 1 คน ตอจํานวน

อาจารยผูใหการฝกอบรมแบบเต็มเวลา 2 คน สําหรับตําแหนงแรก และปละ ช้ันละ 1 คนสําหรับตําแหนงตอจากนั้น หากสถาบันฝกอบรมจําเปนจะตองจัดใหมีอาจารยผูใหการฝกอบรมปฏิบัติงานแบบบางเวลาดวย ใหใชหลักเกณฑท่ีกําหนดในขอ 6 ในการคํานวณ รวมท้ังตองมีปริมาณงานบริการของสาขาที่ใหการฝกอบรมตามที่ระบุไวในเกณฑเฉพาะสําหรับสถาบันฝกอบรม โดยคํานวณศักยภาพในการฝกอบรมไดดังตารางที่ 1.7.1 ตารางที่ 1.7.1 การคํานวณศักยภาพในการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน จํานวนผูเขารับการฝกอบรมปละชั้นละ 2 3 4 5 6 7 จํานวนแพทยผูใหการฝกอบรม (คน) 3 4 5 6 7 8 ผูปวยเขาฉุกเฉิน (ราย/ป) 18,000 21,000 24,000 27,000 30,000 33,000

- ผูปวยเด็กและเยาวชน (ราย/ป) 1,800 2,100 2,400 2,700 3,000 3,300 - ผูปวยวิกฤติ (ราย/ป) 540 640 740 840 940 1,040

จํานวนผูเขารับการฝกอบรมปละชั้นละ 8 9 10 11 12 เพิ่ม 1 จํานวนแพทยผูใหการฝกอบรม (คน) 9 10 11 12 13 เพิ่ม 1

ผูปวยเขาฉุกเฉิน (ราย/ป) 36,000 39,000 42,000 45,000 48,000 เพิ่ม

3,000 - ผูปวยเด็กและเยาวชน (ราย/ป) 3,600 3,900 4,200 4,500 4,800 เพิ่ม 300 - ผูปวยวิกฤติ (ราย/ป) 1,140 1,240 1,340 1,440 1,540 เพิ่ม 100

หากสถาบันฝกอบรมใดมีสถานภาพเปนสถาบันรวมฝกอบรม หรอืสถาบันฝกอบรมสมทบใหกับ

หลายหลักสูตรในสาขาเดยีวกนั จํานวนผูเขารับการฝกอบรมที่จะปฏิบัติงานในสถาบันฝกอบรมแหงนั้น ในเวลาหนึ่งๆ ตองไมเกินศักยภาพของสถาบันฝกอบรมนั้น

1.8 คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม ผูเขารับการฝกอบรมตองมีคุณสมบัติสอดคลองกับขอบังคับแพทยสภาวาดวย หลักเกณฑการออก

หนังสืออนุมัติและวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาตางๆ

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

128

พ.ศ.2546 คือไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตและไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม และมีคุณสมบัติอยางใดอยางหนึ่ง ดงัตอไปนี้ 1.8.1 แพทยที่ไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต และไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม

เขารับการฝกอบรมในชั้นปที่ 1 ได โดยจะเปนผูที่ปฏิบัติงานชดใชทุนแลวหรือไมก็ได (ประเภทที่ 1)

1.8.2 แพทยท่ีไดรับวฒุิบัตร/หนงัสอือนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาหรืออนุสาขาทางดานอายุรศาสตร, ศัลยศาสตร, กุมารเวชศาสตร, สูติศาสตร-นรีเวชวทิยา,วิสัญญีวิทยา, ศัลยศาสตรออรโธปดิก, จักษุวิทยา, โสตนาสิกและลาริงซวิทยา, เวชศาสตรฟนฟู, จิตเวชศาสตร, เวชปฏิบัติท่ัวไป และ/หรือเวชศาสตรครอบครัว หรืออนุสาขาของสาขาดังกลาว หรือเปนแพทยประจําบานปสุดทายของสาขาดังกลาวสามารถเขารับการฝกอบรมในชั้นปท่ี2 ได

1.9 จํานวนปการฝกอบรม 1.9.1 แพทยท่ียังไมเคยไดรับวุฒิบัตร/หนังสอือนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ

เวชกรรม สาขาใดสาขาหนึ่งมากอน มีระยะเวลาการฝกอบรมตามหลักสูตร 3 ป. 1.9.2 แพทยท่ีไดรับวฒุิบัตร/หนงัสอือนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม

สาขาหรืออนุสาขาทางดานอายุรศาสตร, ศัลยศาสตร,กุมารเวชศาสตร, สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา, วิสัญญีวิทยา, ศัลยศาสตรออรโธปดิกส, จักษุวิทยา, โสตศอนาสิกวิทยา, เวชศาสตรฟนฟู, จิตเวชศาสตร, เวชปฏิบัติท่ัวไป และ/หรือเวชศาสตรครอบครัว มากอนแลว มีระยะเวลาการฝกอบรมตามหลักสูตร 2 ป

1.10 วัตถุประสงค 1.10.1 วัตถุประสงคทั่วไป

เมื่อสิ้นสุดการฝกอบรม ตามเกณฑหลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินแลว ผูเขารับการฝกอบรมตองมีสามัตถิยภาพหลัก (core competencies) ท่ีครอบคลุมเวชปฏิบัติท้ัง 6 ดาน ดังตอไปนี้

ก. การบริบาลผูปวย (holistic patient care) ข. ความรูและทักษะเวชกรรม (medical knowledge and skill) ค. ทักษะระหวางบุคคลและการสื่อสาร (interpersonal skills and communication) ง. ความเปนนักวิชาชีพ (professionalism) จ. การเรียนรูและการพัฒนาบนฐานแหงเวชปฏิบัติ (practice-based learning and improvement) ฉ. การปฏิบัติบนฐานแหงระบบ (systems-based practice)

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

129

1.10.2 วัตถุประสงคเฉพาะ เมื่อสิ้นสุดการฝกอบรม ตามเกณฑหลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู

ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินแลว ผูเขารับการฝกอบรมตองสามารถปฏิบัติงานเวชกรรมฉกุเฉินไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิผลในโรงพยาบาล สถาบันการศึกษา หรือสถาบันอื่น โดยมีสามัตถิยภาพและคุณสมบัติ อยางนอยดงัตอไปนี้

ก. มีความรูและทักษะเวชกรรมในการตรวจวินิจฉัย, การกูชีพ, การสรางเสถียรภาพ, การประเมินสภาพ และการบําบัดรักษาผูปวยทุกประเภทที่รับบริการการแพทยฉุกเฉิน ดังรายละเอยีดตามเนือ้หาหลักสตูร การฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตร/หนงัสืออนมุัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

ข. ประยุกตแนววิธีการคิดอยางเปนระบบและรอบคอบ ในการกําหนดระดับความเรงดวนในการประเมินและการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน

ค. บริหารการสงผูปวยไปรับการตรวจติดตามการรักษาพยาบาล หรือสงตอเพื่อรับการบําบัด รักษาเฉพาะทางไดอยางเหมาะสม

ง. บริหารจัดการบริบาลผูปวยฉุกเฉิน ท้ังในชุมชน นอกโรงพยาบาล และท่ีแผนกฉุกเฉินในโรงพยาบาลไดเปนอยางดี

จ. บริหารจัดการระบบเวชบริการฉุกเฉิน ท้ังในชุมชน นอกโรงพยาบาล และแผนกฉุกเฉินในโรงพยาบาลได ท้ังในภาวะปกติและในภาวะภัยพิบัติ

ฉ. ใหความรูแกผูปวยและสาธารณชน เพื่อนําไปสูการปองกันการเจ็บปวยฉุกเฉินไดอยางเหมาะสม

ช. สอนและดําเนินการฝกอบรมแพทยและบุคลากรสุขภาพทุกระดับ ตลอดจนประชาชนทั่วไปใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการคัดแยกและบริบาลผูปวยฉุกเฉินไดอยางถกูตอง

ซ. มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเวชวิทยาการระบาด รวมท้ังประเมินระเบียบวิธีการวิจัยและนําไปประยุกตใชในเวชปฏิบัติไดอยางเหมาะสม ตลอดจนทําการวิจัยทางเวชกรรมได

ฌ. เขาใจและประยุกตหลักการและการปฏิบัติในกระบวนการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนือ่ง ญ. จัดการและใชเวชทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ ฎ. ใชขอมูลสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิผล รวมท้ังจัดทําและประยุกตแนวทางเวชปฏิบัติ

อิงหลักฐาน เพื่อปรับปรุงเวชปฏิบัติใหทันสมัย ฏ. สื่อสารกับผูปวย, ครอบครัว และบุคลากรดานสุขภาพ ตลอดจนผูเกี่ยวของอื่นๆ ไดอยางมี

ประสิทธิผล

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

130

ฐ. ใชทรัพยากรเพื่อแจงภาวะคุกคามตอทองถิ่นและประเด็นสุขภาพตางๆ รวมท้ังการปองกันภาวะคุกคามตอทองถิ่นไดอยางมีประสิทธิผล

ฑ. แสดงคุณภาพแหงนักวิชาการใหปรากฏไดอยางชัดเจน ฒ. ผานการประเมินผลเพื่อขอรับวุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบ

วิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

1.11 เนื้อหาสังเขปของการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุวตัถุประสงคดังกลาว ผูเขาฝกอบรมจะตองมคีวามรูความสามารถตามเนือ้หาสังเขปการ

ฝกอบรมดงัตอไปนี้ 1.11.1 ความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกับเวชกรรมฉุกเฉินและโครงสรางที่เกี่ยวของ

ก. วิทยาศาสตรการแพทยพ้ืนฐานที่เกี่ยวของกับเวชศาสตรฉุกเฉนิ 1) โครงสรางและการทําหนาท่ีของระบบอวัยวะ

(ก) ศีรษะ, หู, ตา, จมูก และคอหอย (ข) ทรวงอกและการหายใจ (ค) การไหลเวยีนเลือด (หัวใจและหลอดเลือด) (ง) ชองทองและทางเดินอาหาร (จ) ไตและทางเดินปสสาวะ (ฉ) การสืบพันธุ (ช) ผิวหนังและเนือ้เยื่อออน (ซ) เมแทโบลิซึม, ตอมไรทอ และภาวะโภชนาการ (ฌ) เลือดและการสรางเม็ดเลือด (ญ) โครงรางและกลามเนื้อ (ฎ) ประสาท

2) กลวิธานและพยาธิสภาพการบาดเจ็บและการเปนพิษ 3) พยาธิวิทยาและกําเนิดพยาธิของเวชภาวะฉุกเฉนิ 4) อิทธิพลของสิ่งแวดลอมตอการเกิดโรค 5) จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกัน 6) การตัดสินใจทางเวชกรรม

(ก) วิธีเชิงปริมาณเพื่อชวยการตัดสินใจทางคลินิก 1) Diagnostic testing 2) Measures of disease probability & Bayes’ theorem

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

131

3) Statistical prediction model (ข) เครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจ

1) Decision support systems 2) Decision analysis

(ค) Evidence-based medicine 1) Systematic review 2) Meta-analysis 3) Clinical practice guidelines

ข. ความรูทางเวชกรรมฉุกเฉินทัว่ไป: แพทยประจําบานตองมีความรู ความสามารถ ทักษะ และเจตคติ ทางเวชกรรมฉุกเฉินทัว่ไป ดังตอไปนี้:-

1) บริบาลนอกสถานพยาบาล (out of hospital care) คือสามารถมีบทบาทในการจัดการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินนอกสถานพยาบาล ท้ังการรักษาผูปวยฉุกเฉินโดยตรงและการสั่งการทางการแพทยทางไกลผานระบบสื่อสาร (online) หรือคําสั่งการรักษามาตรฐาน (offline) แกพนักงานปฏิบัติการแพทยฉุกเฉินนอกสถานพยาบาล (pre-hospital medical providers); ตลอดจนการรวบรวมขอมูลจากการปฏิบัติการนอกสถานพยาบาลมาใชในการประเมินและการจัดการดูแลรกัษาผูปวยฉุกเฉิน

2) สรางเสถียรภาพแกผูปวยฉุกเฉิน (emergency stabilization) คือสามารถกระทําการประเมินขั้นตนและดําเนินการขั้นตามตอไปอยางเหมาะสม เพื่อสรางเสถยีรภาพและบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน

3) ปฏิบัติการซักประวัติและตรวจรางกายไดอยางตรงเปาหมาย (performance of focused history and physical examination) คือสามารถสื่อสารอยางมปีระสิทธิผลเพื่อแปลและประเมินผลอาการและประวัติของผูปวยฉุกเฉิน, กําหนดรูปจจัยเสีย่งสําคัญจากประวัติการเจ็บปวย, ใหการประเมินไดตรงประเด็น, แปลผลสัญญาณชีพ สภาวะ และลักษณะผูปวยท่ีปรากฏ, กําหนดรูการตรวจพบที่สําคัญ, และกระทําการทางเทคนิคท่ีจําเปนในการตรวจวินจิฉัย

4) ปจจัยอันมีผลกระทบ (modifying factors) คือสามารถกําหนดรูอายุ, เพศ, เช้ือชาติ, อุปสรรคในการสื่อสาร, สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม, โรคพื้นฐานประจําตัว และปจจัยอื่นๆ ท่ีอาจมีผลกระทบตอการจัดการดูแลรกัษาผูปวยฉุกเฉิน

5) ประเด็นดานวิชาชีพและกฎหมาย (professional and legal issues) คือมีความเขาใจและสามารถประยุกตหลักการทางวชิาชีพ, จรรยาบรรณ และแนวคิดทางดานกฎหมาย ท่ีมีความสําคัญตอการจัดการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน

6) สืบคนเพื่อการวินิจฉัย (diagnostic studies) คือสามารถเลอืกและดําเนินการการสืบคนที่เหมาะสมที่สุดเพื่อการวินจิฉัยโรค และแปลผลดังกลาวไดอยางถูกตอง

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

132

7) วินิจฉัย (diagnosis) คือสามารถวินจิฉัยแยกโรค และกําหนดรูการวินจิฉยัโรคท่ีนาจะเปนไปไดมากท่ีสุดจากขอมูลประวัติ, การตรวจรางกาย, การทําหัตถการ และผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ

8) ทําหัตถการเพื่อการบําบัดรักษา (therapeutic interventions) คือสามารถทําหัตถการและมาตรการที่ไมใชการใชยา เพื่อการบําบัดรักษาและการใหคําแนะนําปรึกษา

9) บําบัดรักษาดวยยา (pharmacotherapy) คือสามารถเลือกการบําบัดรักษาดวยยาท่ีเหมาะสม, ทราบสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร อันตรกิรยิา และปฏิกิริยาอันไมพึงประสงคของยาดังกลาว

10) สังเกตอาการและประเมินซ้ํา (observation and reassessment) คือสามารถประเมินและทําการประเมินซ้ําถึงประสิทธิผลของการบําบัดรักษาผูปวยฉุกเฉิน รวมท้ังระบุภาวะแทรกซอนและความผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึนได, ตลอดจนตรวจติดตามเฝาระวัง สังเกตอาการ จัดการ และธํารงเสถียรภาพของผูปวยฉุกเฉิน ในระยะตางๆ ไดอยางเหมาะสม

11) ปรึกษาและสงผูปวยฉุกเฉินตอ (consultation and disposition) คือสามารถทํางานรวมกับแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางอื่นๆ ในการประเมินและการรักษาผูปวยฉุกเฉิน, จัดการสงผูปวยฉุกเฉินไปยังสถานที่ท่ีเหมาะสมในกรณีท่ีจําเปน, วางแผนการตรวจติดตาม ตลอดจนสื่อสารกับผูปวยฉุกเฉิน ครอบครัว และผูเกี่ยวของในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินอยางมีประสิทธิผล

12) ปองกันและใหการศึกษา (prevention and education) คือสามารถประยุกตขอมูลทางวิทยาการระบาดเพื่อกําหนดปจจัยเสี่ยงของผูปวยฉุกเฉิน, ใหการศึกษาแกผูปวยฉุกเฉิน ตลอดจนเลอืกวิธีการปองกันโรคและการบาดเจ็บไดอยางเหมาะสม

13) บันทึกเอกสาร (documentation) คือสามารถเขียนบันทึกเอกสารเพื่อเปนขอมูลสื่อสารการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน ไดอยางรัดกุม เพือ่ชวยการปรับปรุงคุณภาพและการประมวลผล

14) ภารกิจและการจัดการคณะผูดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน (multi-tasking and team management) คือสามารถกําหนดระดับความเรงดวนและความจําเปนของผูปวยในแผนกฉุกเฉิน เพื่อใหสามารถดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินไดอยางเหมาะสมที่สุด, สรางปฏิสัมพันธ ประสานงาน ใหการศึกษา และกํากับดูแลคณะผูท่ีเกี่ยวของในการดูแลรักษาผูปวยท้ังหมด, จัดการใชทรัพยากรของสถานพยาบาลอยางเหมาะสม, และมีความคุนเคยกับการจัดการในภาวะภัยพิบัติ

1.11.2 โรคที่สําคัญและพบไดบอยทางเวชกรรมฉุกเฉิน “แพทยประจําบาน” ตองมีและสามารถประยุกตความรูทางวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน ความรู

ทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิก และทักษะในการสัมภาษณประวัติ การตรวจรางกาย การตรวจทางหองปฏิบัติการ และการทําหัตถการตางๆ เพื่อการวินิจฉัย การวินิจฉยัแยกโรค การปฏิบัติการบําบัดรักษา การฟนฟูสภาพ การสรางเสริมสขุภาพ และการปองกันภาวะ/โรคท่ีกอใหเกิดการเจ็บปวยฉุกเฉิน โดยจําแนกระดับความรูความสามารถตามโรค/ภาวการณเจ็บปวยท่ีอาจมีความเรงดวนตอการคุกคามชีวิต และภาวะแทรกซอนที่อาจกอใหเกิดการเจ็บปวยรนุแรงตามมา เปน 3 ระดับ ดังตอไปนี้:-

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

133

ระดับที่ ความรูความสามารถและทักษะเวชกรรมของแพทยประจําบาน

1

ตองมีความรูความชํานาญและทักษะเวชกรรมที่เกีย่วของกบัเรื่องดังกลาวอยางลึกซ้ึง เนื่องจากอาจมภีาวะคุกคามตอชีวิต (life threatening) สถานการณวิกฤติเวลา (time-critical situation) ท่ีหากไมไดรับการแกไขระบบการหายใจ, ระบบไหลเวียนโลหิต หรือระบบประสาท อยางทันทวงทีแลว ผูปวยจะมโีอกาสเสียชีวิตไดสูงมาก

2

ตองมีความรูความชํานาญและทักษะเวชกรรมที่เกีย่วของกบัเรื่องดังกลาวเปนอยางดี เนื่องจากอาจมภีาวะฉุกเฉิน (emergent) ท่ีตองไดรับการรักษาอยางรวดเรว็ มิฉะนั้นอาจกอใหเกิดอาการที่รุนแรงขึ้นหรือมีภาวะแทรกซอนตามมา ซึ่งสงผลใหเสียชีวิต หรือพกิาร หรือการเจบ็ปวยเรื้อรงัในระยะยาว

3 ควรมีความรูความชํานาญและทักษะเวชกรรมที่เกีย่วกับเรื่องดังกลาวพอสมควร เนื่องจากเปนภาวะที่ไมฉุกเฉิน (lower acuity) สามารถรอรับการบําบัดรักษาในวันทําการปกติได โดยไมกอใหเกดิอาการที่รุนแรงขึ้นหรือภาวะแทรกซอนตามมา

หมายเหตุ สําหรับโรค/ภาวะท่ีไมไดจัดระดับอยูในรายการ เปนโรค/ภาวะที่แพทยประจําบานนามีความรูบาง คือสามารถวินิจฉยัแยกโรคและใหคําแนะนําแกผูปวยและผูเกี่ยวของไดตามความเหมาะสม

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

134

15) กลุมอาการและอาการแสดงนํา ระดับ ระดับ กลุมอาการ

1 2 3 กลุมอาการ

1 2 3 Abdominal pain X Jaundice X Abnormal vaginal bleeding X Joint pain/Swelling X Altered mental status X Limp X Anuria X Loss of hearing X Anxiety X Loss of vision X Apnea X Lymphadenopathy X Ascites X Malaise X Ataxia X Multiple trauma X Back pain X Nausea/Vomiting X Bleeding X Needle stick X Chest pain X Pain X Colic X Palpitations X Coma X Paralysis X Confusion X Paresthesia/Dysthesia X Constipation X Pelvic pain X Cough X Peritonitis X Cramps X Poisoning X Crying/Fussiness X Pruritus X Cyanosis X Rash X Dehydration X Rectal bleeding X Diarrhea X Rectal pain X Diplopia X Rhinorrhea X Dizziness X Shock X Dysmenorrhea X Shortness of breath X Dysphagia X SIDS (3.1) X Dyspnea X Sleeping problems X Dysuria X Sore throat X Edema X Stridor X Eye pain X Syncope X Failure to thrive X Tachycardia X Fatigue X Tinnitus X Feeding problems X Tremor X Fever X Tumor lysis syndrome X Headache (12.3) X Urinary incontinence X Hematemesis X Urinary retention X Hematochezia X Vertigo X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

135

Hematuria X Weakness X Hemoptysis X Weight loss X Hiccough X Wheezing X Hypotension X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

136

16) เวชภาวะฉกุเฉนิชองทองและระบบทางเดินอาหาร ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 2.1 Abdominal Wall 2.4 Gall Bladder and Biliary Tract - Hernias (obstructive) X Cholangitis X Cholecystitis X 2.2 Esophagus Cholelithiasis/Choledocholithiasis X Infectious disorders Tumors X - Candida (4.4, 7.5) X Inflammatory disorders

- Esophagitis X 2.5 Pancreas - Gastroesophageal reflux X - Pancreatitis X Toxic effects of caustic (17.1) - Tumors X - Acid X - Alkali X 2.6 Peritoneum Motor abnormalities Spontaneous bacterial peritonitis X - Spasms X Structural disorders 2.7 Stomach - Boerhaave’s syndrome X Infectious disorders X - Diverticula X Inflammatory disorders - Foreign body X - Gastritis X - Hiatal hernias X Peptic ulcer diseases - Mallory-Weiss syndrome X - Hemorrhage X - Stricture and stenosis X - Perforation X - Tracheoesophageal fistula X Structural disorders - Varices X - Hypertrophic pyloric stenosis X Tumors X - Foreign body X Tumors X 2.3 Liver Cirrhosis X 2.8 Small Bowel

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

137

- Alcoholic X Infectious disorders X - Biliary obstructive X Inflammatory disorders - Drug-induced X - Regional enteritis X Hepato-renal failure X Motor abnormalities Infectious disorders - Obstruction X - Abscess X - Paralytic ileus X - Hepatitis Structural disorders Acute X - Aortoenteric fistula X Chronic X - Congenital anomalies X Tumors X - Intestinal malabsorption X - Meckel’s diverticulum X Tumors X Vascular insufficiency, Acute X Vascular insufficiency, Chronic X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

138

2) เวชภาวะฉุกเฉินชองทองและระบบทางเดินอาหาร (ตอ) ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 2.9 Large Bowel 2.10 Rectum and Anus Infectious disorders Infectious disorders - Antibiotic associated X - Perianal/Anal abscess X - Bacterial X - Perirectal abscess X - Parasitic X - Pilonidal cyst and abscess X - Viral X Inflammatory disorders Inflammatory disorders - Proctitis X - Acute appendicitis X Structural disorders - Necrotizing enterocolitis X - Anal fissure X - Ulcerative colitis X - Anal fistula X - Other colitis X - Congenital anomalies X Motor abnormalities - Foreign body X - Hirschsprung’s disease X - Hemorrhoids X - Obstruction X - Rectal prolapse X Structural disorders Tumors X - Diverticulitis X - Intussusception X - Volvulus X Tumors X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

139

17) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบหัวใจและหลอดเลือด ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 3.1 Cardiopulmonary Arrest X 3.5 Diseases of the Myocardium, Acquired 3.2 Congenital Abnormalities Cardiac failure

- Cor pulmonale X Disorders due to anatomic anomalies

X - High output X

Genetically transmitted disorders X - Low output X Cardiomyopathy X - Hypertrophic X 3.3 Disorders of Circulation Congestive heart failure X Arterial Coronary syndromes X - Aneurysm X Ischemic heart disease X - Aortic dissection X Myocardial infarction X - Thromboembolism X Myocarditis X Venous Ventricular aneurysm X - Thromboembolism (16.6) X 3.6 Diseases of the Pericardium 3.4 Disturbances of Cardiac Rhythm Pericardial tamponade (18.1) X Cardiac dysrhythmias X Pericarditis X - Ventricular X - Supraventricular X 3.7 Endocarditis X - Conduction disorders X

3.8 Hypertensive Emergencies X

3.9 Tumors X 3.10 Valvular Disorders X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

140

18) เวชภาวะฉกุเฉนิผิวหนัง ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 4.1 Cancers of the Skin X 4.5 Maculopapular Lesions Erythema multiforme X 4.3 Dermatitis X Henoch-Schönlein purpura X Purpura X 4.4 Infections Urticaria X Bacterial - Abscess X 4.6 Papular/Nodular Lesions - Cellulitis X Hemangioma/Lymphangioma X - Erysipelas X Lipoma X - Impetigo X - Necrotizing infection X 4.7 Vesicular/Bullous lesions Fungal Pemphigus X - Candida (2.2, 7.5) X Staphylococcal scalded skin - Tinea X Syndrome

X

Parasitic Stevens Johnson syndrome X - Pediculosis infestation X Toxic epidermal necrolysis X

- Scabies X

Viral - Herpes zoster (10.6) X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

141

19) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบเมแทโบลิซึม, ตอมไรทอ และภาวะโภชนาการ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 5.1 Acid-Base Disturbances 5.5 Nutritional Disorders Metabolic or respiratory Vitamin deficiencies X - Acidosis X Vitamin excess X - Alkalosis X Wernicke-Korsakoff syndrome X

Mixed acid-base balance Disorders

X 5.6 Parathyroid Disease X

5.2 Adrenal Disease 5.7 Pituitary Disorders X Corticoadrenal insufficiency X Panhypopituitarism X Cushing’s syndrome X 5.8 Thyroid Disorders 5.3 Fluid and Electrolyte disturbances Hyperthyroidism X

X Hypothyroidism X Fluid overload Volume depletion X Thyroiditis X Hypercalcemia/Hypocalcemia X Hyperkalemia/Hypokalemia X 5.9 Tumors of Endocrine Glands Hypernatremia/Hyponatremia X Endocrine hypertension X

Pituitary X 5.4 Glucose Metabolism

Thyroid X

Diabetes mellitus - Type 1 X - Type 2 X - Complications in glucose metabolism Diabetic ketoacidosis Hyperglycemia

X X

Hyperosmolar coma X Hypoglycemia X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

142

20) เวชภาวะฉกุเฉนิเหตุสิ่งแวดลอม ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 6.1 Bites and Envenomation (18.1) 6.4 High-Altitude Illness Arthropods X Acute mountain sickness X - Insects X Barotrauma of ascent X - Spiders X High-altitude cerebral edema X Mammals X High-altitude pulmonary edema X Marine organisms (17.1) X Snakes X 6.5 Submersion Incidents Cold water immersion X 6.2 Dysbarism Near drowning X Air embolism X Barotrauma X 6.6 Temperature-Related Illness Decompression syndrome X Heat - Heat exhaustion X 6.3 Electrical Injury (18.1) X - Heat stroke X Lightning X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

143

21) เวชภาวะฉกุเฉนิศีรษะ, หู, ตา, จมูก และคอหอย ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 7.1 Ear Foreign body X

7.3 Cavernous Sinus Thrombosis X

Mastoiditis X Otitis externa X 7.4 Nose Otitis media X Epistaxis X Sudden hearing loss X Foreign body X Rhinitis X Sinusitis X

7.2 Eye 7.5 Oropharynx/Throat External eye Dentalgia X Diseases of the oral soft tissue - Burn confined to eye & adnexa X - Ludwig’s angina X - Conjunctivitis X - Stomatitis X - Corneal abrasions (18.1) X Diseases of the salivary glands - Dacryocystitis X - Sialolithiasis X - Disorders of lacrimal system X - Suppurative parotitis X - Foreign body X Foreign body X - Inflammation of the eyelids X Gingival and periodontal disorders Chalazion X - Gingivostomatitis X Hordeolum X Larynx/Trachea Anterior pole (segment) - Epiglottitis (16.1) X - Glaucoma X - Laryngitis X - Hyphema (18.1) X - Tracheitis X - Iritis (18.1) X Oral candidiasis (2.2, 4.4) X Posterior pole (segment) Periapical abscess X - Choroiditis/Chorioretinitis X Peritonsillar abscess X - Optic neuritis X Pharyngitis/Tonsillitis X - Papilledema X Retropharyngeal abscess X - Retinal detachments & Defects X and other deep neck infection - Retinal vascular occlusion X Temporomandibular joint X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

144

Orbit Disorders - Cellulitis 7.6 Tumors X Preseptal X Postseptal X - Purulent endophthalmitis X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

145

22) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบเลือด ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 8.5 Red Blood Cell Disorders 8.1 Blood Transfusion

Complications X

Anemias X - Aplastic

8.2 Hemostatic Disorders - Hemoglobinopathies Coagulation defects X - Thalassemias - Acquired X - Hemolytic - Hemophilia X - Iron deficiency DIC X - Megaloblastic Platelet disorders X Polycythemia X - Thrombocytopenia X Methemoglobinemia (17.1) X 8.3 Lymphomas X 8.6 White Blood Cell Disorders Leukemia X 8.4 Pancytopenia X Multiple myeloma X

23) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบภูมิคุมกัน

ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค 1 2 3

กลุมอาการ/โรค 1 2 3

9.1 Collagen Vascular Disease 9.3 Hypersensitivity Raynaud’s disease X Allergic reaction X Reiter’s syndrome X Anaphylaxis X Rheumatoid arthritis (11.3) X Angioedema X Scleroderma X Drug allergies X Systemic lupus erythematosus X Vasculitis X 9.4 Kawasaki Syndrome X

9.2 HIV and Manifestations X 9.5 Sarcoidosis X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

146

9.6 Transplant-Related Problems Immunosuppression X Rejection X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

147

24) เวชภาวะฉกุเฉนิเหตุติดเชื้อตามระบบ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 10.1 Epidemic diseases X 10.5 Protozoan – Parasites X

10.2 Bacterial Malaria X Bacterial food poisoning X Amoebiasis X - Botulism X Chlamydia X 10.6 Ricketteal X Gonococcal X Scrub typhus X Meningococcemia X Murine typhus X Mycobacterial infections - Atypical mycobacteria X 10.7 Viral X - Tuberculosis X Dengue hemorrhagic fever X Other bacterial diseases X Infectious mononucleosis X - Gas gangrene (11.6) X Influenza/Parainfluenza X Sepsis/Bacteremia X Japanese B encephalitis X - Shock X Hepatitis X

Herpes simplex (4.4, 13.1) X - Systemic inflammatory response syndrome (SIRS)

X Herpes zoster/Varicella (4.4) X

- Toxic shock syndrome X HIV (9.2) X Spirochetes Measles X - Syphilis X Mump X Tetanus X Rabies X Roseola X 10.3 Biologic Weapons X Rubella X 10.4 Fungal Infections X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

148

25) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบโครงรางและกลามเนื้อ (ไมใชจากการบาดเจ็บ) ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 11.1 Bony Abnormalities 11.4 Muscle Abnormalities Aseptic necrosis of hip X Myalgia/Myositis X Osteomyelitis X Rhabdomyolysis X Tumors X 11.5 Overuse Syndromes 11.2 Disorders of the Spine Bursitis X Disc disorders X Muscle strains X Inflammatory spondylopathies X Peripheral nerve syndrome X Low back pain - Carpal tunnel syndrome X - Cauda equina syndrome (18.1) X Tendonitis X - Sacroiliitis X - Sprains/Strains X 11.6 Soft Tissue Infections Fasciitis X 11.3 Joint Abnormalities Felon X Arthritis Gangrene (10.1) X - Septic X Paronychia X - Gout X Synovitis/Tenosynovitis X - Rheumatoid (9.1) X - Juvenile X - Osteoarthrosis X Congenital dislocation of the hip X Slipped capital femoral epiphysis X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

149

26) เวชภาวะฉกุเฉนิระบบประสาท ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 12.1 Cranial Nerve Disorders X 12.7 Neuromuscular Disorders Facial palsy X Guillain-Barre syndrome X Trigeminal neuralgia X Myasthenia gravis X 12.2 Demyelinating Disorders 12.8 Other Conditions of the Brain Multiple sclerosis X Dementia (14.6) X Parkinson’s disease X 12.3 Headache (1.4) X Pseudotumor cerebri X Muscle contraction Vascular 12.9 Seizure Disorders X Febrile 12.4 Hydrocephalus X Neonatal Normal pressure X Status epilepticus VP shunt X 12.5 Infections/Inflammatory

12.10 Spinal Cord Compression

X

Encephalitis X 12.11 Stroke Intracranial & intraspinal

Abscess X

Hemorrhagic Meningitis X - Intracerebral X - Bacterial - Subarachnoid X - Viral Ischemic Myelitis X - Embolic X Neuralgia/Neuritis X - Thrombotic X 12.6 Movement Disorders X 12.12 Transient cerebral Dystonic reaction X Ischemia

X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

150

12.13 Tumors X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

151

27) เวชภาวะฉกุเฉนิสูตินรีเวชกรรม ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 13.1 Female Genital Tract 13.3 Complications of Pregnancy Cervix Abortion X - Cervicitis & endocervicitis X Ectopic pregnancy X - Tumors X Infectious disorders - Pelvic inflammatory disease X

Hemolysis, elevated liver enzyme, low platelets (HELLP) syndrome

X

Tubo-ovarian abscess X Hemorrhage, antepartum Lesions - Abruptio placentae (18.18) X - Placenta previa X Hyperemesis gravidarum X Ovary

Hypertension complicating pregnancy X

- Eclampsia - Torsion X - Preeclampsia - Tumors X Infections X Uterus Rh isoimmunization X - Dysfunctional bleeding X - Endometriosis X 13.4 High Risk Pregnancy X - Tumors X 13.5 Normal Labor & Delivery X Gestational trophoblastic X 13.6 Complications of Labor Vagina and vulva Fetal distress X - Bartholin’s abscess X Premature labor (18.18) X - Foreign body X Premature rupture of membranes X Rupture of uterus (18.18) X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

152

13.2 Normal Pregnancy X 13.7 Complications of Delivery Malposition of fetus X Nuchal cord X Prolapse of cord X

13.8 Postpartum Complications

Endometritis X

Hemorrhage X Mastitis X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

153

28) เวชภาวะฉกุเฉนิจิตเวชกรรม ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 14.1 Addictive Behavior 14.5 Organic Psychoses Alcohol dependence X Chronic organic psychotic conditions X Drug dependence X - Alcoholic psychoses X Eating disorders X - Drug psychoses X Substance abuse X Delirium X Dementia (12.8) X 14.2 Mood & Thought Disorders Intoxication and/or withdrawal (17.1) Acute psychosis X - Alcohol X Bipolar disorder X - Hallucinogens X Depression X - Opioids X - Suicidal risk X - Phencyclidine X Grief reaction X Schizophrenia X

- Sedatives/Hypnotics/ Anxiolytics

X

- Sympathomimetics/cocaine X 14.3 Factitious Disorders Drug-seeking behavior X 14.6 Violence/Abuse/Neglect

Domestic Munchausen syndrome/ Munchausen by proxy

X - Child, spouse, elder X

Homicidal risk X 14.4 Neurotic Disorders X Sexual assault X 14.7 Personality Disorders X 14.8 Psychosomatic Disorders X Hypochondriasis Hysteria/Conversion

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

154

29) เวชภาวะฉกุเฉนิไต ทางเดินปสสาวะ และอวยัวะสืบพันธุ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 15.5 Male Genital Tract

15.1 Acute & Chronic Renal Failure X Structural

- Paraphimosis / Phimosis X - Priapism X

15.2 Complications of Renal Dialysis X

- Prostatic hypertrophy X - Torsion of testis X 15.3 Glomerular Disorders Testicular masses X Glomerulonephritis X Tumors Nephrotic syndrome X - Prostate X - Testis X 15.4 Infection Cystitis X 15.6 Nephritis X Pyelonephritis X Hemolytic uremic syndrome X 15.7 Structural Disorders 15.5 Male Genital Tract Calculus of urinary tract X Genital lesions X Obstructive uropathy X Hernias (obstructive) X Polycystic kidney disease X Inflammation / Infection - Balanitis / Balanoposthitis X 15.8 Tumors X - Epididymitis / Orchitis X - Gangrene of the scrotum X - Prostatitis X - Urethritis X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

155

30) เวชภาวะฉกุเฉนิทรวงอกและระบบหายใจ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 16.1 Acute Upper Airway Disorders 16.5 Physical & Chemical irritants/Insults Infections Pneumoconiosis X - Croup X - Epiglottitis (7.5) X

Toxic effects of gases, fumes, vapors (18.1)

X

- Pertussis/Whooping cough X - Upper respiratory infection X 16.6 Pulmonary Embolism / Obstruction X Infarct X Tracheostomy/Complications X

16.7 Pulmonary Infections 16.2 Disorders of Pleura, Mediastinum, and Chest Wall Lung abscess X Costochondritis X Pneumonia Mediastinitis X - Aspiration X Pleural effusion X - Atypical X Pleuritis X - Bacterial X Pneumomediastinum X - Chlamydia X Pneumothorax (18.1) - Fungal X Simple X - Mycoplasmal X Tension X - Viral X Pulmonary tuberculosis X

16.3 Noncardiogenic Pulmonary Edema

X 16.8 Tumors

Breast X 16.4 Obstructive/Restrictive Lung Disease Chest wall X

Pulmonary X Asthma / Reactive airway disease

X

Bronchitis and bronchiolitis X 16.9 Superior Vena Cava X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

156

Bronchopulmonary dysplasia X Obstruction COPD X

Environmental / Industrial exposure

X

Foreign body X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

157

31) เวชภาวะฉกุเฉนิเหตุเปนพิษ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 17.1 Agrochemical Classes 17.3 Drug Classes Anticholinestrase agents X Analgesics Paraquat and its derivatives X - Acetaminophen X Arsenic compounds X - Nonsteroidal anti- Copper compounds X inflammatories (NSAIDS)

X

Mercury compounds X Organotin compounds X

- Opiates and related Narcotics

X

Bipyridylium derivatives X - Salicylates X Coumarin derivatives X - others X Nitrophenol derivatives X Organochlorine compounds X

Anesthetics Anticholinergics/Cholinergics

X X

Phenoxyacetic acid derivatives X Anticoagulants X Pyrazole X Anticonvulsants X Pyrethroid X Antidepressants X Triazine derivative X Antiparkinsonism drugs X Thiocarbamate X

Antihistamines and Antiemetics

X

17.2 Other Chemical Classes Antipsychotics X Alcohol Bronchodilators X - Ethanol X Cardiovascular drugs - Glycol X - Antiarrhythmics X - Isopropanol X - Antihypertensives X - Methanol X - Beta blockers X Carbon monoxide X - Calcium channel blockers X Caustic agents Hormones/Steroids X - Acid X Hypoglycemics/Insulin X - Alkali X Iron X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

158

Cyanides, hydrogen sulfide X Isoniazid X Hallucinogens X Neuroleptics X Hazardous materials X Non-prescription drugs X Heavy metals X

Recreational drugs Sedatives/Hypnotics

X X Herbicides, insecticides, and

rodenticides X

Household/Industrial chemicals X Stimulants/ Sympathomimetics

X

Hydrocarbons Inhaled toxins

X X

Marine toxins (6.1) X X Methemoglobinemia (8.5) X

17.2 Hazardous Material Incidence

Mushrooms/Poisonous plants X Organophosphates X Strychnine X

17.3 Weapon of Mass Destruction

X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

159

32) เวชภาวะฉกุเฉนิเหตุบาดเจ็บ ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 18.1 Abdominal trauma 18.6 Head trauma - Diaphragm X - Intracranial injury X - Hollow viscus X - Scalp lacerations/Avulsions X - Penetrating X - Skull fractures X - Retroperitoneum X - Solid organ X 18.7 Injuries of the spine - Vascular X - Dislocations/Subluxations X

- Fractures X 18.2 Chest trauma X - Sprains/Strains X - Aortic dissection/disruption - Cardiac contusion 18.8 Lower extremity bony trauma - Pulmonary contusion - Dislocations/Subluxations X - Clavicle fracture - Fractures (open and closed) X - Rib fracture/Flail chest - Sternum fracture 18.9 Neck trauma - Hemothorax - Laryngotracheal injuries X - Penetrating chest trauma - Penetrating neck trauma X - Pericardial tamponade (3.6) - Vascular injuries - Pneumothorax (16.2) Carotid artery X Simple Jugular vein X Tension 18.3 Cutaneous injuries 18.11 Ophthalmologic trauma - Avulsions X - Corneal abrasion / Lacerations X - Bite wounds (6.1) X - Corneal burns X - Electrical burns (6.3) X - Acid/Alkali X - Chemical burns (16.6) X - Ultraviolet X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

160

- Thermal burns X - Eyelid lacerations X - Lacerations X - Foreign body X - Puncture wounds X - Hyphema (7.2) X - Lacrimal duct injuries X 18.4 Facial fractures - Penetrating globe X - Dental X - Retinal detachments X - Le Fort X - Traumatic iritis (7.2) X - Mandibular X - Orbital X 18.12 Otologic trauma - Nasal fracture/septal hematoma X - Hematoma X - Perforated tympanic membrane X 18.5 Genitourinary trauma - Bladder X 18.13 Pediatric fractures - External genitalia X - Epiphyseal X - Renal X - Greenstick X - Ureteral X - Torus X

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

161

18) เวชภาวะฉุกเฉินเหตุการบาดเจ็บ (ตอ) ระดับ ระดับ กลุมอาการ/โรค

1 2 3 กลุมอาการ/โรค

1 2 3 18.14 Pelvic fracture X 18.16 Spinal cord and CNS trauma

- Cauda equina syndrome (11.2) X 18.15 Soft-tissue extremity injuries - Injury to nerve roots X - Amputation/Replantation X - Peripheral nerve injury X - Compartment syndromes X - Spinal cord injury X - Injuries to joints X without radiologic Knee X abnormalities: SCIWORA

X

Penetrating X - Penetrating soft-tissue X 18.17 Upper extremity bony trauma - Periarticular X - Dislocations/Subluxations X - Sprains and strains X - Fractures (open & closed) X - Tendon injuries Lacerations/Transections X 18.18 Trauma in Pregnancy Ruptures X - Abruptio placentae (13.3) X Achilles tendon X - Perimortem C-section X Patellar tendon X - Premature labor (13.6) X - Rupture of uterus (13.6) X

18.19 Multi-system Trauma X

- Blast injury X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

162

1.11.3 หัตถการการตรวจพิเศษและ/แปลผลการตรวจทางหองปฏิบัติการเวชศาสตรฉุกเฉิน

1.11.3.1 หัตถการ แพทยประจําบานตองมีความรูความสามารถระบุขอบงช้ี ข้ันตอนวิธีทํา ภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดข้ึน และสามารถทําหัตถการดวยตนเอง รวมท้ังสอนใหผูอื่นทําไดอยางถูกตอง ไดอยางนอยตามจํานวนครั้งท่ีคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินกําหนด โดยจําแนกเปนระดับดังตอไปนี้

ค. หัตถการที่แพทยประจําบานสามารถทําไดโดยไมตองมีผูกํากบัดูแล และตองมีประสบการณในการสอนและกํากับดูแลนิสิตนักศึกษาแพทยใหทําหัตถการดังกลาว

ง. หัตถการที่แพทยประจําบานตองทําไดภายใตการกํากับดูแล จนกระทั่งมีความมั่นใจและสามารถสอน นิสิตนักศึกษาแพทยหรือแพทยประจําบานใหทําหัตถการนั้นไดดวย

จ. หัตถการที่แพทยประจําบานควรทําได คือมีโอกาสไดทําดวยตนเองหรอือยางนอยชวยทําหรือทําจําลอง

ฉ. หัตถการที่แพทยประจําบานนาทําได คือมีประสบการณในการชวยทําหรืออยางนอยไดรับการสาธิต

หัตถการ / ระดับ ก ข ค ง 1. Airway Techniques

1.1. Airway adjuncts X 1.2. Cricothyrotomy/standard tracheostomy X 1.3. Heimlich maneuver X 1.4. Intubation

(1) Nasotracheal X (2) Orotracheal X (3) Rapid sequence X

1.5. Mechanical ventilation X 1.6. Percutaneous transtracheal ventilation X

2. Anesthesia 2.1. Local X 2.2. Regional nerve block X 2.3. Sedation-analgesia for procedures X

3. Blood and Component Therapy Administration X 4. Diagnostic Procedures

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

163

4.1. Anoscopy X 4.2. Arthrocentesis X 4.3. Bedside ultrasonography X 4.4. Lumbar puncture X 4.5. Nasogastric intubation X 4.6. Paracentesis X 4.7. Pericardiocentesis X 4.8. Peritoneal lavage X 4.9. Slit lamp examination X 4.10. Thoracentesis X 4.11. Tonometry X

5. Genital/Urinary 5.1. Bladder catheterization

(1) Foley catheter X (2) Suprapubic X

5.2. Testicular detorsion X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

164

หัตถการ / ระดับ* ก ข ค ง

6. Head and Neck 6.1. Control of epistaxis

(1) Anterior packing X (2) Cautery X (3) Posterior packing / balloon placement X

6.2. Laryngoscopy X 6.3. Needle aspiration of peritonsillar abscess X 6.4. Removal of rust ring X 6.5. Tooth replacement X

7. Hemodynamic Techniques 7.1. Arterial catheter insertion X 7.2. Central venous access

(1) Femoral X (2) Jugular X (3) Subclavian X (4) Umbilical X (5) Venous cutdown X

7.3. Intraosseous infusion X 7.4. Peripheral venous cutdown X

8. Obstetrics 8.1. Delivery of newborn

(1) Abnormal delivery X (2) Normal delivery X

* ก. หัตถการที่แพทยประจําบานสามารถทําไดโดยไมตองมีผูกํากับดูแล และตองมีประสบการณในการสอนและกํากับดูแลนิสิตนักศึกษาแพทยใหทําหัตถการดังกลาว ข. หัตถการที่แพทยประจําบานตองทําไดภายใตการกํากับดูแล จนกระทั่งมีความมั่นใจและสามารถสอน นิสิตนักศึกษาแพทยหรือแพทยประจําบานใหทําหัตถการนั้นไดดวย ค. หัตถการที่แพทยประจําบานควรทําได คือมีโอกาสไดทําดวยตนเองหรืออยางนอยชวยทําหรือทําจําลอง ง. หัตถการที่แพทยประจําบานนาทําได คือมีประสบการณในการชวยทําหรืออยางนอยไดรับการสาธิต

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

165

9. Other Techniques 9.1. Excision of thrombosed hemorrhoids X 9.2. Foreign body removal X 9.3. Gastric lavage X 9.4. Gastrostomy tube replacement X 9.5. Incision/drainage X 9.6. Pain management (See Anesthesia) X 9.7. Physical restraints X 9.8. Sexual assault examination X 9.9. Trephination, nails X 9.10. Wound closure techniques X 9.11. Wound management X

10. Resuscitation 10.1. Basic Cardiopulmonary Resuscitation (B-CPR)

(1) Adult medical resuscitation X (2) Adult trauma resuscitation X (3) Pediatric medical resuscitation X (4) Pediatric trauma resuscitation X

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

166

หัตถการ / ระดับ* ก ข ค ง

10.2. Advance Cardiopulmonary Resuscitation (A-CPR) (1) Adult medical resuscitation X (2) Adult trauma resuscitation X (3) Pediatric medical resuscitation X (4) Pediatric trauma resuscitation X

10.3. Neonatal resuscitation X 11. Skeletal Procedures

11.1. Fracture / Dislocation immobilization techniques X 11.2. Fracture / Dislocation reduction techniques X 11.3. Spine immobilization techniques X

12. Thoracic/Cardiology 12.1. Cardiac pacing

(1) Cutaneous X (2) Transvenous X

12.2. Defibrillation/Cardioversion X 12.3. Thoracostomy X 12.4. Thoracotomy X

13. Universal Precautions X

1.11.3.2 ทักษะการตรวจและการแปลผลทางหองปฏิบัติการ รังสีวินิจฉัย และการตรวจพิเศษอื่นๆ

ก. แพทยประจําบานตองมีความรูความสามารถระบุขอบงช้ี ข้ันตอนวิธีการตรวจ และสามารถดําเนินการไดดวยตนเอง รวมท้ังตองมีประสบการณในการสอนและกํากับดูแลนิสิตนักศึกษา

* ก. หัตถการที่แพทยประจําบานสามารถทําไดโดยไมตองมีผูกํากับดูแล และตองมีประสบการณในการสอนและกํากับดูแลนิสิตนักศึกษาแพทยใหทําหัตถการดังกลาว ข. หัตถการที่แพทยประจําบานตองทําไดภายใตการกํากับดูแล จนกระทั่งมีความมั่นใจและสามารถสอน นิสิตนักศึกษาแพทยหรือแพทยประจําบานใหทําหัตถการนั้นไดดวย ค. หัตถการที่แพทยประจําบานควรทําได คือมีโอกาสไดทําดวยตนเองหรืออยางนอยชวยทําหรือทําจําลอง ง. หัตถการที่แพทยประจําบานนาทําได คือมีประสบการณในการชวยทําหรืออยางนอยไดรับการสาธิต

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

167

แพทยใหตรวจและการแปลผลทางหองปฏิบัติการ รวมท้ังการตรวจพิเศษ อยางนอยดังตอไปนี้:- 1) Complete Blood Count 2) Malarial parasite 3) ESR 4) ABO blood group, Rh and cross matching 5) Urine analysis 6) Body fluid analysis: CSF, pleural, etc. 7) Stool exam including stool occult blood 8) Gram stain, AFB stain 9) Venous clotting time, clot retraction, clot lysis 10) Electrocardiography

ข. แพทยประจําบานตองมีความรูความสามารถระบุขอบงช้ี ข้ันตอน การเตรียมผูปวยสําหรับการตรวจ และสามารถแปลผล การตรวจทางรังสีวินจิฉัย ไดถูกตอง อยางนอยดังตอไปนี ้1) Chest x-ray 2) Acute abdomen series 3) Plain KUB 4) Skull and sinuses 5) Bones and joints 6) Ultrasonography: abdomen, pelvis 7) CT Scan 8) MRI 9) Intravenous contrast arterial and venous studies 10) Echocardiography

ค. แพทยประจําบานตองมีความรูความสามารถระบุขอบงช้ีของการตรวจ การเตรียมผูปวยสําหรับการตรวจและ/หรอืการเก็บตัวอยางเพือ่สงตรวจ และสามารถแปลผล รายงานการตรวจ ไดถูกตอง 1) Red cell indices, Reticulocyte count, Inclusion body, Platelet count 2) Coagulation study 3) การเก็บตัวอยางจากที่ตางๆเพื่อการเพาะเชื้อ รวมท้ังการตรวจความไวตอยาตานจุลชีพ 4) การทํา cytology

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

168

5) Endocrinologic studies: plasma glucose (fasting and non-fasting), thyroid function test., serum cortisol

6) Liver profile 7) Kidney profile 8) Lipid profile 9) การตรวจทางเวชพิษวิทยา 10) การตรวจ HIV 11) Serologic studies 12) Arterial blood gas analysis 13) Spirometry, Peak Expiratory Flow Rate measurement 14) Radionuclide scan 15) Barium contrast GI studies 16) การตรวจวัตถุพยานทางนิติเวชกรรม

1.11.4 วิทยาการจัดการระบบบริการการแพทยฉุกเฉนิ และความรูบูรณาการ

ก. การจัดการระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน 1) Pre-hospital clinical care protocols

(ก) On-line vs. off-line medical direction (ข) Regulations (ค) Local scope of practice

2) Pre-hospital ground & air medical system planning, design, and logistics (ก) System Design (ข) Level of response: first responders, BLS, ALS, Air medical response (ค) Single vs. multi-tiered responses (ง) Pre-hospital finance & management (จ) Funding for national & local agencies (ฉ) Legislation

3) Disaster preparedness & response (ก) Mass casualty management (ข) Incident command (ค) Search & rescue

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

169

(ง) Triage (จ) Evacuation (ฉ) Medical response to terrorism: special operations, biological agents, chemical

agents, and overview of radioactive agents (ช) Psychological response to disasters (ซ) Care of the dead & their families (ฌ) Public health response to disasters: surveillance and reporting

4) Weapons of mass destruction (ก) Ionizing Radiation: Principles, Scenarios, and Management (ข) Blast injuries: Devices, Blast injuries, and Prognostic factors (ค) Chemical Agents: Agents, Identification, and Management (ง) Biological Agents: Agents (viral, bacterial, fungal, toxins), Identification, and

Management 5) Hazardous materials

(ก) Decontamination (ข) Chemical warfare agents vs. Hazardous materials (ค) Identification of HazMat (ง) Personal protective equipment

6) Injury prevention & control (ก) General overview (ข) Specific local programs

7) Basic methodology, data acquisition & management, & ethics of research ข. ความรูบูรณาการ

1) การสื่อสารและความสัมพันธระหวางบุคคล (ก) การจัดการเรื่องรองทุกข (ข) การแกปญหาความขัดแยง (ค) การสรางความสัมพันธกับแพทยสาขาอื่นและเจาหนาท่ีแผนกตางๆ (ง) การสรางคณะทํางาน (จ) การสอน

2) การวิจัย

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

170

(ก) เวชปฏิบัติอิงหลักฐาน (ข) การแปลความหมายเวชวรรณกรรมและผลการวิจัยทางการแพทย (ค) การทําวิจัย

3) การจัดการความเสี่ยง กฎหมาย และขอบังคับ (ก) การรับรองคุณภาพการรักษาพยาบาลและการศึกษา (ข) การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ (ค) การรักษาความลับของผูปวย (ง) การยินยอมและการปฏิเสธการรักษา (จ) ทุรเวชปฏิบัติและการชดใชคาเสียหาย (ฉ) การรายงาน (การทําราย, โรคติดตอ, ขอมูลทางเวชกรรมและสุขภาพของประเทศ และอื่นๆ)

(ช) การจัดการความเสี่ยง 4) การบริหารจัดการ

(ก) การเงิน (1) งบประมาณและแผนงาน (2) การกําหนดตนทุน (3) การเรียกเก็บเงินและการเบิกจายคาดูแลรักษา

(ข) การจัดการของระบบหลักประกันสุขภาพ (1) หลักประกันสุขภาพถวนหนา (2) ประกันสังคม (3) สวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (4) อื่นๆ

(ค) การปฏิบัติการ (1) การบริหารแผนกและหนวยงาน (2) การดําเนินการดานเอกสาร (3) การออกแบบระบบเพื่อชวยการปฏิบัติงาน (4) การจัดการทรัพยากรบุคคล (5) การจัดการขอมูลและสารสนเทศ (6) นโยบายและแนววิธีปฏิบัติ (7) ความปลอดภัย และการรักษาความปลอดภัย

(ง) การปรับปรุงสมรรถภาพ

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

171

(1) ความพอใจของผูรับบริการ และการบริการ (2) การลดความผิดพลาด (3) แนวทางเวชปฏิบัติ

(จ) คุณลักษณะของการเปนผูเช่ียวชาญ (1) ผลลัพธของการรักษาผูปวยฉุกเฉิน (2) จรรยาบรรณ (3) ความบกพรอง (4) ลักษณะผูนํา (การนํา, การจัดการ, การเปนที่ปรึกษา) (5) การดูแลสุขภาพตนเองและผูรวมงาน (6) การพัฒนาทางวิชาชีพและการศึกษาอยางตอเนื่อง

(ฉ) หลักการขอตกลง (1) การวิเคราะหเนื้อหาขอตกลงและองคประกอบของขอตกลง (2) การจางงานและขอตกลงอิสระ (3) การเจรจาตอรอง

1.12 วิธีการฝกอบรม เพื่อใหบรรลวุัตถุประสงคท่ีกําหนด สถาบันฝกอบรมตองจัดประสบการณการเรียนรู โดยมี

ระยะเวลาสําหรับการฝกอบรมตามขอ 9.1 (3 ป) รวมท้ังสิ้นไมนอยกวา 144 สัปดาห หรือการฝกอบรมตามขอ 9.2 (2 ป) รวมท้ังสิ้นไมนอยกวา 96 สัปดาห ดังนี้.-

(1) ดานความรู เขารวมกิจกรรมวิชาการที่กําหนดไวเปนประจําอยางสม่ําเสมอ โดยมีกิจกรรมวิชาการที่กําหนดไวลวงหนาอยางชัดเจน (ไมรวมการรายงานระหวางการเปลี่ยนเวร) เฉลี่ยอยางนอย 5 ช่ัวโมงตอสัปดาห ประกอบดวยกิจกรรมอยางนอยดังตอไปนี้.- ก. กิจกรรมที่ตองดําเนินการอยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ไดแก.-

1) การประชุมบรรยาย/นําเสนอทางวิชาการ 2) การประชุมทบทวนวารสารวิชาการ (journal review)

ข. กิจกรรมที่ตองดําเนินการอยางนอยเดอืนละ 1 ครั้ง ไดแก.- 1) การประชุมเสนอเหตุการณเวชกรรมอันไมพึงประสงค (adverse medical events) ซึ่ง

รวมถงึภาวะแทรกซอนและการเสียชีวิต (morbidity and mortality conferences) 2) การประชุมทบทวนการกูชีพ (cardiopulmonary resuscitation conference) 3) การประชุมสัมมนาการบริหาร (administrative seminars) 4) การประชุมวิจัย (research meeting)

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

172

ท้ังนี้ อาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมตองมสีวนรวมในกิจกรรมวิชาการดังกลาว และการเขารวมกิจกรรมวิชาการดังกลาวนี้เปนสวนหนึ่งของการประเมินอาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมดวย

ในกรณีผานการหมุนเวยีนผานการปฏิบัติงานตามสาขาวิชาตางๆ ตามขอ 1.12 (2) ข. ตองเขารวมกิจกรรมทางวิชาการอยางสม่ําเสมอ ตามที่สาขาวิชานั้นๆ กําหนด.

(2) ฝกอบรมปฏิบัติการทางคลินิก อยางนอยดังตอไปนี้.- ก. การปฏิบัติงานเวชกรรมฉุกเฉนิ: ตองจัดหมนุเวียนใหมีประสบการณในการดูแลบําบัดรักษา

ผูปวยทุกเพศทุกวัยท่ีมารับบริการดวยปญหาทางเวชกรรมที่หลากหลาย ณ แผนกฉุกเฉิน (หนวยฉุกเฉินและหนวยสังเกตอาการ) และติดตามผลลัพธการดูแลรักษาผูปวยดังกลาว ท่ีโรงพยาบาลระดับตางๆ รวมอยางนอย 72 สัปดาหสําหรับการฝกอบรมตามขอ 9.1 (3 ป) หรอือยางนอย 60 สปัดาหสําหรับการฝกอบรมตามขอ 9.2 (2 ป)

ในระหวางการปฏิบัติงานดังกลาวนี้ ตองจัดใหแพทยผูรับการฝกอบรมมภีาระหนาท่ีระหวางการปฏิบัติงานท่ีแผนกฉุกเฉิน ดังตอไปนี้.-

1) ปฏิบัติงานรับผิดชอบดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินในความควบคุมของอาจารยผูใหการฝกอบรม เฉลีย่ไมนอยกวา 32 ช่ัวโมงตอสัปดาห และไมเกิน 48 ช่ัวโมงตอสัปดาห รวมท้ังควรจัดใหมีการติดตามผลลัพธการรกัษาผูปวยดวย และเมื่อรวมเวลาศึกษาอยางอื่นตามกําหนดการแลวไมควรเกิน 60 ช่ัวโมงตอสัปดาห

ท้ังนี้ ขณะปฏิบัติงานที่แผนกฉุกเฉิน ผูเขารับการฝกอบรมไมควรมีการทํางานในแตละวันติดตอกันเกินกวา 12 ช่ัวโมง และในแตละวันตองมีเวลาพักอยางนอยเทากับเวลาปฏิบัติงาน รวมท้ังควรจัดใหมีวันพักอยางนอย 1 วันตอสัปดาห

2) รวมการสอนขางเตียงและตรวจเยี่ยมผูปวยฉุกเฉินกับอาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมอยางนอย 5 ครัง้ตอสัปดาห

3) รวมกิจกรรมวิชาการ เชน การประชุมวิชาการ วารสารสโมสร 4) ฝกอบรมรงัสีวนิิจฉัย การทําหัตถการ การตรวจทางหองปฏิบัติการ และการตรวจพิเศษ

ตางๆทางเวชกรรมฉุกเฉิน 5) ฝกอบรมการอาํนวยการกูชีพและปฏิบัติงานเปนที่ปรึกษานอกแผนกฉุกเฉนิ 6) ชวยสอนและปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย

ข. การหมุนเวียนผานการปฏิบัติงานตามสาขาวิชาตางๆ สําหรับการฝกอบรมตามขอ 1.9.1 (3 ป) รวมอยางนอย 40 สัปดาห ดังตอไปนี้.-

1) กุมารเวชศาสตร อยางนอย 4 สัปดาห โดยตองจัดใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินทางกุมารเวชกรรม.

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

173

2) ศัลยศาสตร, ศัลยศาสตรออรโธปดิกส และวิสัญญีวิทยา รวมอยางนอย 8 สัปดาห โดยตองจัดใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินทางศัลยกรรมและการบาดเจ็บ, การดูแลทางหายใจ และการระงับความรูสึก

3) สูติศาสตรและนรีเวชวิทยาอยางนอย 4 สัปดาห โดยตองจัดใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินทางสูตินรีเวชกรรม

4) อายุรศาสตร อยางนอย 8 สัปดาห โดยตองจดัใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินทางอายุรกรรม

5) เวชบําบัดวิกฤต ท้ังทางกุมารเวชศาสตร ศัลยศาสตร และอายุรศาสตร รวมท้ังระบบหัวใจและหลอดเลือด และระบบการหายใจ รวมอยางนอย 16 สปัดาห โดยตองจัดใหมีความรู ทักษะ และเจตคติในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินในภาวะวิกฤต

ท้ังนี้ยกเวนการหมุนเวียนผานการปฏิบัติงานในสาขาวิชาท่ีเคยไดมีประสบการณแลวเทียบเทาตามที่หลักสูตรกําหนดสําหรับการฝกอบรมตามขอ 1.9.2 (2 ป)

ค. การฝกอบรมการกูชีพขั้นสูง: ผานการฝกอบรมการกูชีพข้ันสูงอยางนอย 3 ดาน ไดแก ดานโรคหัวใจ (Advanced Cardiac Life Support), ดานการบาดเจ็บ (Advanced Trauma Life Support), ดานการไดรับพิษ (Advanced Hazmat Life Support), ดานกุมารเวชกรรม (Advanced Pediatric Life Support), ดานการดูแลนอกโรงพยาบาล (Advanced Prehospital Life Support) และ/หรือหลักสูตรอื่นที่เทียบเทาหลักสูตรดังกลาว รวมท้ังมีประสบการณในการเปนผูชวยผูฝกอบรมหลักสูตรดังกลาว จากสถาบันที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พิจารณาแลวใหการรับรอง

ง. ทักษะและประสบการณการทําหัตถการ: ผูเขารับการฝกอบรมแตละคนตองมีโอกาสเพียงพอในการทําหัตถการรุกรางกาย (invasive procedures), การเฝาตรวจผูปวยท่ีขาดเสถียรภาพ (monitor unstable patients), และการอํานวยการกูชีพ ท้ังข้ันพื้นฐานและขั้นกาวหนา ทุกรูปแบบในทุกกลุมอายุ ตามที่กําหนดแนบทายหลักสูตรนี้ ใหไดรับประสบการณท้ังการกระทําตอผูปวยจรงิและการจําลองปฏิบัติการมีจํานวนครั้งอยางนอยตามที่กําหนด

ในการอํานวยการกูชีพ ผูเขารับการฝกอบรมตองมีโอกาสในการดําเนินมาตรการที่สําคัญตางๆ เชน การกระตุกหัวใจดวยไฟฟา (defibrillation & cardioversion), การกํากับจังหวะการเตนหัวใจ (cardiac pacing), การบําบัดภาวะช็อก, การสั่งบริหารยาทางหลอดเลือดดํา (เชน thrombolytics, vasopressors, neuromuscular blocking agents), และทําหัตถการรุกรางกายตางๆ (เชน cut-downs, central line insertion, tube thoracostomy, endotracheal intubation).

สถาบันฝกอบรมตองมีบันทึกรายงานการกูชีพและหัตถการ ซึ่งอาจบันทึกเปนลายลักษณอักษรและหรือการบนัทึกสด (live recordings) ท่ีผูเขารับการฝกอบรมแตละคนไดทํา อยางนอยตามเนือ้หาหลักสูตรท่ีกําหนด โดยรายงานดังกลาวควรบันทึกบทบาทของผูเขารับการฝกอบรม (เชน เปนผูรวมหรอืเปน

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

174

ผูอํานวยการ), ชนิดของหัตถการที่ทํา, สถานที่ (แผนกฉุกเฉิน, หออภิบาลผูปวย, ท่ีเกิดเหตุ, ฯลฯ), อายุของผูปวย, และการวินิจฉยั และนําเสนอตอคณะกรรมการฝกอบรมและสอบฯ เพื่อประกอบการพิจารณาเสนอขออนุมัติวุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน แกผูรับการฝกอบรม

(3) ฝกอบรมบริหารจัดการและปฏิบัติการเวชกรรมฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล อยางนอย 4 สัปดาหแตไมเกิน 16 สัปดาห โดยรวมจัดการและปฏิบัติงานกับหนวยปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินนอกโรงพยาบาล รวมท้ังรวมสังเกตการณในการประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการการแพทยฉุกเฉินระดับชาติหรือภูมภิาคหรือทองถิ่นดวย โดยตองจัดใหมีประสบการณตามภาคผนวกที่ 4.1

(4) ศึกษาวิทยาศาสตรการแพทยพ้ืนฐานประยุกต (correlated basic medical science) ใหครบตามที่ไดกําหนด

(5) วิชาบังคับเลือก รวมอยางนอย 16 สัปดาห โดยจัดใหมีการเลือกหมุนเวียนผานการฝกอบรม/ปฏิบัติงานท่ีหนวยเฉพาะทางสาขาวิชาตางๆ อยางนอย 4 หนวยดังตอไปนี ้ ก. การขนสงเวชกรรมทางอากาศ (aero-medical transport) ข. การควบคุมการบาดเจ็บและการเจ็บปวยฉุกเฉนิ (emergency illness & injury control) ค. การพัฒนาคุณภาพเวชกรรมและความปลอดภัยผูปวย (patient safety & quality improvement) ง. จักษุวิทยาฉุกเฉิน (emergency ophthalmology) จ. จิตเวชศาสตรฉุกเฉิน (emergency psychiatry) ฉ. นันทนเวชศาสตรฉุกเฉิน (recreation & wilderness medicine): การกีฬา การทองเท่ียว การ

ผจญภัย ช. นิติเวชศาสตร (medical forensic) ซ. ภาวะฉุกเฉินการสาธารณสุข (public health emergencies) ฌ. รังสีวินจิฉัยฉุกเฉิน (emergency diagnostic radiology and ultrasound) ญ. วิทยาการจัดการเวชกรรมฉุกเฉินชนบท (rural emergency medical managerial science) ฎ. เวชพิษวิทยาฉุกเฉิน (emergency medical toxicology) ฏ. เวชวิทยาการระบาดและเวชวิจัยฉุกเฉิน (emergency medical epidemiology and research) ฐ. เวชศาสตรการบริการเลือดฉุกเฉิน (emergency blood service medicine) ฑ. เวชศาสตรการบาดเจ็บ (traumatic medicine) ฒ. เวชศาสตรการทหาร (military medicine): การสงคราม การจลาจล และการกอการราย ณ. เวชศาสตรการสังเกตอาการฉกุเฉิน (observational medicine) ด. เวชศาสตรการอาชีพและสิ่งแวดลอมฉุกเฉิน (occupational and environmental medical

emergencies)

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

175

ต. เวชศาสตรฉุกเฉินผูสูงอายุ (emergency geriatric medicine) ถ. เวชศาสตรฉุกเฉินระหวางประเทศ (international emergency medicine) ท. เวชศาสตรภัยพิบัติและกลุมชน (disaster and mass gathering medicine) ธ. เวชศาสตรแรงกดดันอากาศสูง (hyperbaric medicine) น. เวชศึกษาศาสตรฉุกเฉิน (emergency medical education) บ. เวชสารสนเทศและการสื่อสารฉุกเฉิน (emergency medical information and

communications) ป. โสต นาสิก และลาริงซวิทยาฉุกเฉิน (emergency otolaryngology)

ท้ังนี้สถาบันฝกอบรมสามารถจัดใหแพทยประจําบานศึกษาและฝกอบรมผสมผสานหลายสาขาวิชา (ไมเกิน 3 สาขาวิชา) ควบคูกันในเวลาอยางนอย 4 สัปดาห โดยไมแยกชวงเวลาในการปฏิบัติงานแตละสาขาจากกัน รวมท้ังอาจจัดใหมีวิชาเลอืกเสรีในระหวางเวลาที่เหลือจากที่กําหนดไวขางตน โดยใหมีการจัดทําแผนการสอน/ฝกอบรมวิชาบังคับเลือกดังกลาว

(6) งานวิชาการและงานวิจัย ทํางานศึกษาวิจัยตนแบบ (original research project) โดยเปนผูวิจัยหลักหรอืผูนิพนธหลักอยางนอย

1 ฉบับ ซึ่งอาจเปนการศึกษาวิจัยทางเวชกรรม, การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน, การศึกษาวิจัยทางวิทยาการระบาด, การศึกษาวิจัยเชิงระบบในการควบคุมภาวะฉุกเฉินหรือการบริหารจัดการระบบเวชบริการฉุกเฉิน, การศึกษาวิจัยทุติยภูมิ (เชน การวิจัยทบทวนวารสารอยางเปนระบบ, การวิจัยและพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติ) และ/หรืออนุกรมรายงานผูปวย

ท้ังนี้งานวิจัยดังกลาวตองประกอบดวยหวัขอหลัก ไดแก (1) จุดประสงคของการวิจัยหรือวจิัยวารสาร, (2) วธิีการวิจัยหรอืวจิัยวารสาร, (3) ผลการวจิัย, (4) การวิจารณผลการวิจัยหรอืวิจยัวารสาร และ (5) บทคัดยอ รวมท้ังนําเสนอผลงานดังกลาวเปนลายลักษณอักษรใหคณะอนุกรรมฝกอบรมและสอบฯ พิจารณา

1.13 การประเมินผูเขารับการฝกอบรมและประเมนิเพื่อวุฒิบัตรฯ และหนังสืออนุมัติฯ (1) การประเมินระหวางการฝกอบรม สถาบันการฝกอบรมตองจัดใหมีการประเมินสามัตถิยภาพ

ของผูเขารับการฝกอบรมระหวางการฝกอบรม ตามตารางที่ 1.13.1 โดยจัดใหมีการสอบและการประเมินเพื่อพัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติ รวมท้ังประเมินการเขียนเวชระเบียนและการบันทึกในสมุดคูมือแพทยประจําบานเปนรายบุคคลเมื่อสิ้นสุดการฝกอบรมในแตละช้ันป เพื่อใหขอมูลแกผูเขารับการฝกอบรมประกอบการพัฒนาและเลื่อนระดับชั้น

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

176

ตารางที่ 1.13.1 วิธีการทดสอบเพื่อประเมินสามัตถิยภาพหลัก วิธีการประเมิน / สามัตถิยภาพหลัก ก ข ค ง จ ฉ

การทดสอบปรนัย การทดสอบอัตนัย การตรวจและทบทวนเวชระเบียน (incorporate chart stimulated recall / review)

การทบทวนวรรณกรรม (chart and literature review) การบันทึกสด (live recordings) การประเมินเวชวัตถุวิสัย (Objective Structured Clinical Evaluation: OSCE)

การสอบถามความพึงพอใจของผูปวย (patient satisfaction queries) การสอบสัมภาษณ (oral examination) บันทึกหัตถการ (procedure logs) แบบจําลองหัตถการ (model simulation for procedures) ผูปวยมาตรฐาน (standardized patients) แฟมผลงาน (portfolios) มาตรการประเมินองครวม (global rating scale evaluations) หมายเหตุ: สามัตถิยภาพหลัก (core competency) ไดแก ก. การบริบาลผูปวย (holistic patient care), ข. ความรูและทักษะเวชกรรม (medical knowledge & skill), ค. ทักษะระหวางบุคคลและการสื่อสาร (interpersonal skills and communication), ง. ความเปนนักวิชาชีพ (professionalism), จ. การเรียนรูและการพัฒนาบนฐานแหงเวชปฏิบัติ (practice-based learning and improvement) และ ฉ. การปฏิบัติบนฐานแหงระบบ (systems-based practice)

(2) การประเมินเพือ่วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน: ผูมีสิทธิ์เขารับการประเมินเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตองมีคุณสมบัติสอดคลองกับขอบังคับแพทยสภาวาดวยหลักเกณฑการออกหนังสืออนุมัติและวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาตางๆ พ.ศ. 2546 รวมท้ังมคุีณสมบัติเพิ่มเติมดังตอไปนี้:-

ก. สถาบันที่ใหการฝกอบรมหรือปฏิบัติงานเห็นสมควรใหเขาสอบได โดยตองผานหรือกําลังรับการฝกอบรมหรือปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง ดังตอไปนี้

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

177

1) ผานการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินแลวครบถวนตามหลักสูตรของแพทยสภา หรือกําลงัฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินระดับปสุดทาย

2) ปฏิบัติงานชดใชทุนและปฏิบัติงานตอเนื่องในสถาบันการแพทยและสาธารณสุขในสวนภูมิภาคของทางราชการ ท่ีมีการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน โดยมีระยะเวลาปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินไมนอยกวา 36 เดือน

ข. มีบันทึกทักษะและประสบการณการทําหัตถการ ตามที่กําหนดไวในขอ 1.12 (2) ง. อยางนอยในรอบ 1 ปท่ีผานมา นําเสนอคณะกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พิจารณาแลวใหผาน

ค. ผานการฝกอบรมการกูชีพข้ันสูงอยางนอย 3 ดาน ไดแก ดานโรคหัวใจ (Advanced Cardiac Life Support), ดานการบาดเจ็บ (Advanced Trauma Life Support), ดานการไดรับพิษ (Advanced Hazmat Life Support), ดานกุมารเวชกรรม (Advanced Pediatric Life Support), ดานการดูแลนอกโรงพยาบาล (Advanced Prehospital Life Support) และ/หรือหลักสูตรอื่นที่เทียบเทาหลักสูตรดังกลาว รวมท้ังมีประสบการณเปนผูชวยผูฝกอบรมหลักสูตรดงักลาว จากสถาบันที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พิจารณาแลวใหการรับรอง

ง. มีผลงานวิชาการเปนนิพนธตนฉบับ ซึ่งอาจเปนการศึกษาวิจัยทางเวชกรรม, การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน, การศึกษาวิจัยทางวิทยาการระบาด, การศึกษาวิจัยเชิงระบบในการควบคุมภาวะฉุกเฉินหรือการบริหารจัดการระบบเวชบริการฉุกเฉิน, การศึกษาวิจัยทุติยภมูิ (เชน การวิจัยทบทวนวารสารอยางเปนระบบ, การวิจัยและพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติ) และ/หรืออนุกรมรายงานผูปวยทางเวชกรรมฉุกเฉนิ ตีพิมพในวารสารวิชาการทางการแพทยซึ่งมีการทบทวนอยางเปนระบบหรือเสนอเปนลายลักษณอักษรตอคณะกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พิจารณาแลวใหผานอยางนอย 1 เรือ่ง

จ. ผานการทดสอบประเมินความรู ทักษะ และเจตคติ ตามเนื้อหาหลักสูตรซึ่งกําหนดสามัตถิยภาพหลักเพื่อวฒุิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้

1) วิธีการทดสอบ: อนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ อาจกําหนดรายละเอียดวิธีการทดสอบเพื่อประเมินสามัตถิยภาพหลักไดดังตารางที่ 1.13.1 โดยจําแนกเปนการสอบ 3 ภาคสวนหลัก ดังตอไปนี้ (ก) การสอบภาคทฤษฎี ประกอบดวยขอสอบปรนัย (เชน คําถามมีคําตอบหลายขอใหเลือก, คําถามใหตอบดวยคําตอบสั้น) รวมท้ังอาจจัดใหมีขอสอบอัตนัยไดตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ กําหนด

(ข) การสอบภาคปฏิบัติ ประกอบดวยการสอบแปลผลทางหองปฏิบัติการและการสอบรายสั้นเพื่อประเมินทักษะหรือความสามารถจําเพาะ (objective structured clinical

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

178

examination: OSCE) เชน การวินิจฉัยเฉพาะจุด (spot diagnosis), การใหคําปรึกษา (counseling), การตรวจจําเพาะ

นอกจากนี้ อาจจัดใหมีการสอบรายยาวเพือ่ประเมินความรูสามารถในการปฏิบัติตอผูปวย (เชน การคนหารวบรวมขอมูล การวินิจฉัยและรักษา การแปลผลทางหองปฏิบัติการ) รวมท้ังประเมินการอํานวยการทางการแพทยฉุกเฉิน (Emergency Medical Director Course Practice) ไดตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ กําหนด

(ค) การสอบสัมภาษณ 2) การจัดการสอบ: ใหอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ กําหนดรายละเอียดวธิีการ เงื่อนไข

และกําหนดการสอบแตละภาคสวน ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ (ก) ใหดําเนินการสอบใหแลวเสรจ็ภายในเดอืนมถินุายนเมือ่สิ้นสดุการฝกอบรมแตละป (ข) ผูเขารับการสอบตองมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนดในขอ 13.2 (ก), (ข), (ค),

(ง) และ (จ) ในวันที่เขารับการสอบ เวนแตการสอบภาคทฤษฎี ใหแพทยประจําบานที่ผานการฝกอบรมตั้งแตครบ 23 เดือนขึ้นไปเขาสอบได

(ค) อาจจัดใหมีการสอบภาคปฏิบัติไดตั้งแตกลางปท่ี 3 ของการฝกอบรม และ/หรือในเดือนมิถุนายนเมื่อสิ้นสุดการฝกอบรม

3) เกณฑการตัดสิน: การสอบผานตองไดคะแนนอยางนอยเทากับเกณฑท่ีอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ กําหนด ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดังตอไปนี้ (ก) เกณฑการตัดสินการสอบผานภาคทฤษฎี ใชการอิงเกณฑดวยการประเมินจากคาเฉลี่ยของเกณฑผานขั้นต่ํา (minimal passing level, MPL) ของขอสอบแตละขอเปนหลัก เวนแตคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พิจารณาแลวเห็นสมควรใหองิกลุม

(ข) เกณฑการตัดสินภาคปฏิบัติและการสัมภาษณใชอิงเกณฑคาเฉลี่ยของเกณฑผานขั้นต่ํา (minimal passing level, MPL)

(ค) การสอบภาคทฤษฎีและการสอบภาคปฏิบัติ เมื่อสอบผานแตละภาคสามารถใชไดอีก 3 ป หากสอบผานไดไมครบตามกําหนดในอีก 3 ป ตองสอบใหม

(2) การประเมินเพือ่หนังสืออนุมติัแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขา

เวชศาสตรฉุกเฉิน: ผูมีสิทธิ์เขารับการประเมินเพื่อหนังสืออนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตองมีคุณสมบัติสอดคลองกับขอบังคับแพทยสภาวาดวยหลักเกณฑการออกหนังสอือนุมัติและวุฒบัิตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาตางๆ พ.ศ.2546 รวมท้ังตองมคุีณสมบัติเพิ่มเติมครบถวนดังตอไปนี้:-

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

179

ก. ไดทํางานในสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ในสถานบริการทางการแพทยและสาธารณสุขท่ีมีแพทยรับผิดชอบภาระงานของแผนกฉุกเฉินเต็มเวลาจํานวนอยางนอย 3 คน และมีภาระงานบริการของสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินตามเกณฑสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน รวมท้ังไดรับการรับรองจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินดวย เปนเวลาไมนอยกวาท่ีกําหนดในขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้

1) แพทยท่ีไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต และไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตองมีการปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินเต็มเวลา (โดยอนโุลมตามเกณฑสถาบันฝกอบรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ขอ 2.2. ข.) ณ สถาบันที่มีเกณฑลักษณะอยางนอยตามมาตรฐานที่แพทยสภากําหนด และคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบแพทยเฉพาะทางสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินรับรองไมนอยกวา 5 ป

2) แพทยท่ีไดรับวุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาหรืออนุสาขาทางดานอายุรศาสตร, ศัลยศาสตร, กุมารเวชศาสตร, สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา, วิสัญญีวิทยา, ศัลยศาสตรออรโธปดิก, จักษุวิทยา, โสตนาสิกและลาริงซวิทยา, เวชศาสตรฟนฟู, จิตเวชศาสตร, เวชปฏิบัติท่ัวไป และ/หรือเวชศาสตรครอบครัว หรืออนุสาขาของสาขาดังกลาว ตองมีการปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินเต็มเวลา(โดยอนโุลมตามเกณฑสถาบันฝกอบรมสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ขอ 2.2. ข.) ณ สถาบันที่มีเกณฑลักษณะอยางนอยตามมาตรฐานที่แพทยสภากําหนด และคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบแพทยเฉพาะทางสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินรับรองไมนอยกวา 2 ป

ข. มีคุณสมบัติอื่นอยางครบถวนตามที่กําหนดในขอ 1.13 (2) ขอ ข, ค, ง และ จ โดยใชเกณฑการตัดสินเชนเดียวกับการประเมินเพื่อวุฒิบัตรฯ

ท้ังนี้ ยกเวนแพทยท่ีไดรับวุฒิบัตรฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน จากสถาบันในตางประเทศที่แพทยสภารับรอง และไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม ใหผานเฉพาะการสอบสัมภาษณ โดยไมจําเปนตองมีคุณสมบัติอื่นดังกลาวขางตน

1.14 การประกันคุณภาพการฝกอบรม สถาบันฝกอบรมที่ไดรับอนุมัติใหจัดการฝกอบรม ตองจัดใหมีการประกันคุณภาพการ

ฝกอบรมตามระบบ กลไก และเกณฑท่ีแพทยสภากําหนด รวมท้ังผานการประเมินความพรอมในการเปนสถาบันฝกอบรม และสถาบันฝกอบรมตองจดัใหมีการประกันคุณภาพการฝกอบรมอยางตอเนื่อง ดังนี้.-

1.14.1 การประกันคุณภาพการฝกอบรมภายใน: สถาบันฝกอบรมตองจัดใหมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพฝกอบรมภายในอยางตอเนื่อง

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

180

1.14.2 การประกันคุณภาพการฝกอบรมภายนอก: สถาบันฝกอบรมตองไดรับการประเมินคุณภาพจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตามขอกําหนดอยางนอยทุก 5 ป

1.15 การทบทวน/พัฒนาหลักสูตรการฝกอบรม กําหนดใหมีการทบทวนและพัฒนาหลักสูตรฝกอบรม รวมท้ังแจงผลการทบทวนและพัฒนา

ใหแพทยสภารับทราบเปนระยะๆ หรืออยางนอยทุก 5 ป

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

181

2. เกณฑสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน กําหนดใหสถาบันฝกอบรมหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความ

ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตองมีลักษณะตามประกาศแพทยสภาที่ 18/2550 เรือ่ง เกณฑหลักสูตรการฝกอบรมเปนผูมีความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาตางๆ เกณฑสถาบันฝกอบรม การขอเปนสถาบันฝกอบรม และการติดตามกํากับดูแลสถาบันการฝกอบรม พ.ศ. 2550 รวมท้ังตองมีลักษณะตามเกณฑท่ัวไปและเกณฑเฉพาะ ตลอดจนระบุสถานภาพสถาบันฝกอบรม ดังตอไปนี้

2.1 เกณฑทั่วไปสําหรับสถาบันฝกอบรม (1) ลักษณะทั่วไป ก. ไดรับการรับรองคุณภาพ หรือกําลังดําเนินการพัฒนาเพื่อการรับรองคุณภาพ ข. มีบรรยากาศทางวิชาการในลักษณะสังคมนักวิชาการ เพื่อเสริมสรางคุณสมบัติในการใฝรูใหแก

ผูเขารับการฝกอบรม ค. มีระบบการบริหารจัดการที่ด ี มีสถานที่ เครื่องมอือุปกรณ และจํานวนผูปวยท้ังประเภทผูปวย

ในและผูปวยนอกพอเหมาะแกการฝกอบรม และผูเขารับการฝกอบรมมีสวนดําเนินการดูแลรักษาและใหบริการแกผูปวยโดยตรง

ง. มีหนวยงานเทียบเทาภาควิชาในคณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร หรือแผนกในโรงพยาบาล เปนผูรับผิดชอบดําเนินการ โดยผูบริหารของคณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร / โรงพยาบาล ท่ีรับผิดชอบดําเนินการ ตองไมมีผลประโยชนสวนตัวท่ีอาจขัดขวางการบริหารงานและการพัฒนางานการฝกอบรมแพทยประจําบาน

จ. มีปณิธานและพันธกิจระบุไวชัดเจนวามุงผลติแพทยประจําบานที่มีความรูความสามารถและคุณสมบัติสอดคลองกับหลักสตูร และมีความสามารถในการเปนนักวิชาการและที่จะศึกษาตอเนื่องได และมีวัตถุประสงคของหลักสูตรที่สอดคลองกับพันธกิจ

ฉ. มีระบบบริหารงานที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการจัดการฝกอบรมใหบรรลุตามปณิธาน ไดแก การบริหารงานทั่วไป การบริหารการศึกษา เปนตน ระบบบริหารงานดังกลาวใหทําเปนระเบียบของคณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร / โรงพยาบาล และประกาศใหผูเกี่ยวของทราบท่ัวกัน

ช. มีแพทยผูทรงคุณวุฒิจํานวนเพียงพอรับผิดชอบในสาขาที่ฝกอบรมและในสาขาที่เกี่ยวของ และมีความมุงมั่น ความเต็มใจในการเปนอาจารยประจําหลักสูตรฝกอบรม

ซ. ในระยะเริ่มแรก คณะแพทยศาสตร / วิทยาลยัแพทยศาสตร / โรงพยาบาลที่ขอเปดดําเนินการฝกอบรม อาจพิจารณาทําความตกลงกับคณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร /

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

182

โรงพยาบาลที่มีประสบการณดําเนินการเปดหลักสูตรฝกอบรมมาแลวไมต่ํากวา 5 ป ใหชวยทําหนาท่ีเปนที่ปรึกษา / ชวยเหลือ หรอืเปนสถาบันสมทบ / สถาบันรวมในการดําเนินการฝกอบรม

ฌ. กอนเปดดําเนินการฝกอบรม คณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร / โรงพยาบาล ตองดําเนินการใหแพทยสภารับรองหลักสูตรของสถาบันฝกอบรม เพื่อใหผูสาํเร็จการฝกอบรมมีสิทธิ์เขาสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ และตองมีความพรอมในการจัดการฝกอบรมและทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะอาจารย สื่อการศึกษาและอุปกรณการฝกอบรม ครบถวนตามเกณฑท่ีกําหนด ท้ังนี้ตองมีแผนดําเนินงานระยะ 5 ปท่ีมีความชัดเจนและเปนไปได โดยแผนปฏิบัติการตองแสดงใหเห็นวามีความพรอมดังกลาวกอนเริ่มการฝกอบรมแตละช้ันปอยางนอย 1 ปการศึกษา

ญ. ในกรณีท่ีเปนสถาบันฝกอบรมภาคเอกชน นอกจากตองมีคุณสมบัติตามขอ (ก) ถึง (ฌ) แลว ตองไมแสวงหากําไรจากการฝกอบรม โดยใหจัดตั้งมูลนธิิหรือกองทุนที่มีทุนสํารองเพียงพอในการดําเนินการระยะยาว และใหมีผูแทนอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ เปนกรรมการของมูลนิธิหรอืกองทุนโดยตําแหนง

(2) หนวยงานกลางพื้นฐาน สถาบันฝกอบรมนั้นตองมีหนวยงานกลางใหบริการดังตอไปนี้ ก. หองปฏิบัติการสําหรับการชันสูตร สถาบันฝกอบรมตองมีการใหบรกิารตรวจทาง

หองปฏิบัติการหรือติดตอขอรบับริการตรวจทางหองปฏิบัติการใหครอบคลุมการชันสูตรประเภทพื้นฐานและประเภทจําเพาะที่จําเปนสําหรับการฝกอบรม ซึ่งหองปฏิบัติการตองมีพยาธิแพทยหรือแพทยหรือบุคลากรอืน่ที่มีความรูความชํานาญเปนผูควบคุม

1) หองปฏิบัติการดานพยาธิวิทยากายวิภาค สามารถตรวจศพ ตรวจชิ้นเนื้อและสิ่งสงตรวจทางเซลลวิทยาที่ไดจากการผาตัดหรือการทําหัตถการ สามารถเตรียมสไลดช้ินเนื้อเยื่อและสิ่งสงตรวจเพื่อตรวจดวยกลองจลุทรรศนไดเอง พยาธิแพทยตองมีเวลา มีความสามารถ และเต็มใจใหคําปรึกษาหารือหรือสอนแพทยประจําบานทุกสาขาได มีอัตราการตรวจศพซึ่งเปรียบเสมือนดัชนีช้ีบงความสนใจทางวิชาการและความใสใจในการคนหาสาเหตุ การดําเนินโรค และการประเมินผลการรักษาของแพทยในโรงพยาบาลนั้น ตองไมนอยกวารอยละ 10 ของจํานวนผูปวยท่ีถึงแกกรรม (ไมรวมการตรวจศพทางดานนิติเวชศาสตร) การตรวจศพ การตรวจชิ้นเนื้อ และการตรวจทางเซลลวิทยาตองกระทําโดยครบถวนจนสามารถใหการวินจิฉัยข้ันสุดทาย และตองมีรายงานการตรวจเกบ็ไวเปนหลักฐานทุกราย

ในกรณีท่ีอัตราการตรวจศพของสถาบันฝกอบรมไมถึงเกณฑท่ีกําหนด สถาบันตองแสดงหลักฐานที่บงช้ีถึงความสนใจทางวิชาการและความใสใจในการคนหาสาเหตุ

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

183

การดําเนินโรค และการประเมินผลการรักษาของแพทยในโรงพยาบาล ดวยการตรวจทางพยาธิวิทยาหรอืการตรวจอื่นๆ

2) หองปฏิบัติการดานพยาธิวิทยาคลินิกหรือเวชศาสตรชันสูตร สามารถใหบริการตรวจดานโลหิตวิทยา เคมีคลินิก จุลทรรศนศาสตร จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุมกันไดเปนประจํา รวมท้ังตองมีการใหบริการทางดานธนาคารเลือดที่จําเปนสําหรับการฝกอบรม

ข. หนวยรังสีวิทยา สถาบันฝกอบรมตองมรีังสีแพทยผูทรงคุณวุฒิ สามารถตรวจทางรงัสท่ีีจําเปนสําหรับการฝกอบรมได

ค. หองสมุดทางแพทย สถาบันฝกอบรมตองมีหองสมุดซึง่มีตํารามาตรฐานทางการแพทย วารสารการแพทยท่ีใชบอย และหนังสือดรรชนีสําหรับชวยคนรายงานที่ตีพิมพในวารสารสําหรับใหแพทยประจําบานใชไดสะดวก

ง. หนวยเวชระเบียนและสถิติ สถาบันฝกอบรมตองจัดใหผูปวยทุกคนมีแฟมประจําตัว ซึ่งบันทึกประวัติ ผลการตรวจรางกาย การสั่งการรักษาที่เปนมาตรฐาน และมีระบบการจัดเก็บ คนหา และการประมวลสถิติท่ีมีประสิทธิภาพ

2) หนวยงานทางดานคลินิกทีเ่กีย่วกับการดูแลรักษาผูปวยสาขาที่ฝกอบรม สถาบันฝกอบรมตองมีหนวยงานทางคลินิกที่สําคัญ ไดแก อายุรศาสตร ศัลยศาสตร กุมารเวชศาสตร สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา เพื่อใหการดูแลรักษาผูปวยในสาขาที่ฝกอบรมหากจําเปน

3) กิจกรรมวิชาการ สถาบันฝกอบรมตองจดัใหมีกิจกรรมวิชาการสม่ําเสมอ ท้ังในหนวยงานที่รับผิดชอบในการสาขาที่ฝกอบรม เชน กิจกรรมวารสารสโมสร หรอืกิจกรรมวิชาการระหวางหนวยงานหรือระดับโรงพยาบาล เชน morbidity mortality conference, clinicopathological conference

นอกจากนี้สถาบันฝกอบรมตองจัดหรืออนุญาตใหผูเขารับการฝกอบรมไปเรียนวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐานประยุกต หรือวิทยาศาสตรคลินิกสัมพันธ และควรสนับสนุนใหผูเขารับการฝกอบรมไดรวมประชุมวิชาการนอกสถาบันฝกอบรมตามโอกาสสมควร

2.2 เกณฑเฉพาะสําหรับสถาบันฝกอบรม สถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตองจัดใหมีหนวยงานใหการดแูลผูปวยฉุกเฉินตลอดเวลา มีงานบริการที่มีคุณภาพและปริมาณ โดยตองมีสถานที่ เครื่องมืออุปกรณ จํานวนผูปวย การบริการ และผูดําเนินการฝกอบรม ตามเกณฑอยางนอยดงัตอไปนี้

(1) เปนโรงพยาบาลทั่วไป ท่ีมีสถานที่และเครื่องมืออุปกรณท่ีเพียงพอสําหรับตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลผูปวยฉุกเฉินและการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน และมีหนวยงานที่สําคัญอยางนอย ไดแก กุมารเวชศาสตร, ศัลยศาสตร, สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา และอายุรศาสตร

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

184

ก. มีแพทยผูใหการฝกอบรมที่มีคณุวุฒิและจํานวน ดังตอไปนี้.- 1) แพทยซึ่งไดรับวุฒิบัตร/หนังสอือนุมัติฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ปฏิบัติงานดูแลรักษา

ผูปวยท่ีแผนกฉุกเฉินตลอด 24 ช่ัวโมง ทุกวัน ท้ังวันทําการและวันหยุด 2) มีอาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมที่รับผิดชอบภาระงานของแผนกฉุกเฉินเต็มเวลา (ท้ัง

การบริการ, การศึกษา และการวิจยั รวมตั้งแต 35 ช่ัวโมงตอสัปดาหข้ึนไป) อยางนอย 3 คน

ในกรณีมีจํานวนอาจารยแพทยผูฝกอบรมเตม็เวลาไมพอ อาจจัดใหมีอาจารยแพทยไมเต็มเวลาไดแตตองไมเกินรอยละ 50 ของจํานวนอาจารยท้ังหมด ท้ังนี้ภาระงานเวชศาสตรฉุกเฉินของอาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมไมเตม็เวลาตองไมเกนิคนละ 17.5 ช่ัวโมงตอสัปดาห และเมื่อรวมกันทั้งหมดจะตองไมมากกวาภาระงานของผูใหการฝกอบรมเต็มเวลาที่ขาดไป

3) อาจารยผูทําหนาท่ีหัวหนาสถาบันฝกอบรมหรือประธานการฝกอบรมจะตองปฏิบัติงานทางดานสาขาเวชศาสตรฉุกเฉินมาแลวไมนอยกวา 3 ป

ท้ังนี้ ยกเวนเฉพาะในหวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (ภายใน พ.ศ. 2554) อนโุลมใหสถาบันฝกอบรมซึ่งตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร และฉบับที่ 11 (ภายใน พ.ศ. 2559) อนโุลมใหสถาบันฝกอบรมซึ่งตั้งอยูนอกเขตกรุงเทพมหานคร มีแพทยผูไดรับวุฒิบัตร/หนังสืออนุมัติแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอื่น ไดแก อายุรศาสตร, ศัลยศาสตร, กุมารเวชศาสตร, สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา, วิสัญญีวิทยา, ศัลยศาสตรออรโธปดิกส, จักษุ-วิทยา, โสตศอนาสิกวิทยา, เวชศาสตรฟนฟู, จิตเวชศาสตร, เวชปฏิบัติท่ัวไป และ/หรือเวชศาสตรครอบครัว ปฏิบัติงานดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉินที่แผนกฉุกเฉินทดแทนอาจารยแพทยซึง่ไดรับหนังสืออนุมัติหรอืวุฒบัิตรฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินได

ข. มีงานบริการเวชกรรมฉุกเฉินที่มีคุณภาพและจํานวนเพียงพอสําหรับการฝกอบรม ดังตอไปนี้:-

1) มีปริมาณผูมารับบริการฉุกเฉินไมนอยกวา 18,000 รายตอป โดยมีลักษณะเฉพาะของผูปวยอยางนอย ไดแก:- (ก) มีผูปวยเด็กและเยาวชน (อายุนอยกวา 18 ป) อยางนอยรอยละ 10 หรือไมนอยกวา

1,800 รายตอป หรือมีแผนกฉุกเฉินเฉพาะกุมารเวชกรรม (เชน สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี) สมทบ

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

185

(ข) มีผูปวยวิกฤตอยางนอยรอยละ 3 แตตองไมต่ํากวา 540 รายตอป รวมท้ังมีพื้นที่เฉพาะสําหรับการปฏิบัติการกูชีพ และมีการปฏิบัติการกูชีพข้ันสูง ท้ังทางการบาดเจ็บ กุมารเวชกรรม และอายุรกรรม อยางนอยรอยละ 10 ผูปวยวิกฤตทั้งหมด

2) มีการปฏิบัติการดูแลรักษาผูปวยและการทําหัตถการตามที่กําหนดไวในเนื้อหาหลักสูตร รวมท้ังมีพื้นที่ในการปฏิบัติการดังกลาวอยางเพียงพอ ตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินกําหนด

3) มีระบบการคัดแยกและการจัดลําดับความเรงดวนผูปวยฉุกเฉิน และใหการรักษาพยาบาลตามลําดับความเรงดวนทางการแพทย

4) มีพื้นที่สําหรับสังเกตอาการอยางเพียงพอ ตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินกําหนด

5) มีพื้นที่สําหรับงานบริการสนับสนุนอยางเพียงพอ ตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวช-ศาสตรฉุกเฉินกําหนด

6) มีระบบจําหนายถายโอนการบริบาลผูปวยฉุกเฉินระหวางหนวยปฏิบัติการ (inter-facility patient transfer) ท้ังในและนอกโรงพยาบาล และระบบการติดตอสื่อสารกับหนวยปฏิบัติการฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลและระหวางโรงพยาบาล

7) มีระบบการปรึกษาแพทยเฉพาะทางสาขาตางๆ ท่ีจําเปน อยางนอย ไดแก อายุรศาสตร, ศัลยศาสตร, กุมารเวชศาสตร และสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา พรอมใหคําปรึกษาและรับผูปวยไปรักษาตอไดอยางเหมาะสมและทันทวงที

8) มีกระบวนการจัดทําแผนและการฝกซอมการรับสถานการณผูปวยจํานวนมากฉับพลัน ภาวะฉุกเฉินซับซอน และภัยพิบัติ อยางนอยปละ 1 ครั้ง

ค. มีหองปฏิบัติการ/หนวยงานสนับสนุน พรอมสนับสนุนและรองรับการปฏิบัติงานเวชกรรมฉุกเฉิน ท้ังการบริการและการวิจัย อยางนอยดังตอไปนี้:-

1) มีการตรวจทางหองปฏิบัติการและรังสีวินิจฉยัท่ีจําเปนตอการวินิจฉยัในภาวะฉุกเฉิน ซึ่งสามารถตรวจไดทันทีและไดผลกลับมาทันทวงที

2) มีคลังเลือด เวชภัณฑ และเภสัชภัณฑ พรอมใหการสนับสนุนสิ่งของที่จําเปนในการดูแลรักษาผูปวยฉุกเฉิน ไดทันที

ง. มีโครงสรางการจัดองคกรของหนวยเวชกรรมฉุกเฉินและการจัดการฝกอบรม รวมท้ังระบบและวิธีการปฏิบัติงานตามขอ 2.3 (ค), (ฉ), (ช) และ (ซ) ซึ่งเขียนเปนลายลักษณอักษรไวอยางชัดเจน.

จ. มีหองสมุดและบริการเวชสารสนเทศที่เหมาะสมกับการฝกอบรม ตลอดจนมีพื้นที่สนับสนุนการศึกษาและฝกอบรมอยางเพยีงพอ รวมท้ังมีพื้นที่สํานักงานสําหรับอาจารยแพทยและผูเขารับการฝกอบรม ตามที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินกําหนด

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

186

ฉ. มีกิจกรรมวิชาการและการวิจยัอยางสม่ําเสมอ การฝกอบรมตองมีสภาพแวดลอมท่ีสนับสนุนการซักถามและการเรียนรู เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดรวมในการพัฒนาองคความรู ทักษะ และเจตคติทางเวชกรรมฉุกเฉนิ, เรียนรูวิธีการประเมินผลการคนพบจากการวิจัย และสรางนิสัยการซักถาม อันเปนความรับผิดชอบของนักวิชาการอยางตอเนื่อง อาจารยแพทยผูใหการฝกอบรมโดยภาพรวม ตองแสดงออกถงึการมีสวนเกี่ยวของกบักิจกรรมการเรียนรูอยางกวางขวาง และตองมีกิจกรรมวิชาการและการวิจัยอยางนอยดังตอไปนี้:-

1) การตรวจเยี่ยมผูปวยพรอมอาจารยผูใหการฝกอบรม อยางนอยสัปดาหละ 5 ครั้ง 2) การประชุมวิพากษทางคลินิกและการศึกษาปญหาผูปวย อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง โดย

ในกิจกรรมดังกลาวควรมีลักษณะที่สนับสนุนการซักถามและการเรียนรู ทําใหมีความเขาใจอยางลึกซึ้งเกี่ยวกับกลวิธานของภาวะปกติและผิดปกติ รวมท้ังการประยุกตองคความรูปจจุบันสูเวชปฏิบัติประจํา

3) สโมสรวารสาร อยางนอยเดอืนละ 1 ครั้ง การทบทวนวารสารอยางเปนระบบ (systematic review) และการอภิปรายการวจิัย (research conference)

4) การประชุมรวมระหวางภาควชิา/หนวยงาน อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง 5) การมีสวนรวมในการประชุมราชวิทยาลัย, วิทยาลัย และสมาคมวิชาชีพทางการแพทย

และวิทยาศาสตรแหงชาติ โดยเฉพาะการนําเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติและการตีพิมพผลงานวิชาการในวารสารการแพทย

6) การวิจัยโดยเฉพาะในโครงการที่ไดรับการสนับสนุนทุนจากแหลงท่ีมีการทบทวนขอเสนออยางเปนระบบ และ/หรือผลการวิจัยสามารถนําตีพิมพหรือนําเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติได

7) แหลงแนะแนวและสนับสนุนสงเสริมการวิจยั (เชน การออกแบบการวิจัย, การวิเคราะหสถิติ) สําหรับผูเขารับการฝกอบรมในการทําวิจัย

8) การสนับสนุนผูเขารับการฝกอบรมในกิจกรรมการศึกษาวิจยั 9) การสอนใหผูเขารับการฝกอบรมมีความเขาใจเกี่ยวกับพื้นฐานระเบียบวิธีวิจัย, การ

วิเคราะหสถิติ และวิธีการวิเคราะหวิจารณเวชวรรณกรรมปจจุบัน (critical analysis of current medical literature).

10) กิจกรรมอื่นๆ ตามที่อนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ กําหนดเพิ่มเติม กรณีสถาบันฝกอบรมใดขาดหนวยงานหรือลกัษณะบางขอ อาจจัดการฝกอบรมโดยใช

สถาบันการฝกอบรมอื่นเปนสถาบันสมทบ หรือสถาบันรวมฝกอบรม โดยความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

187

2.3 สถานภาพของสถาบันฝกอบรม สถาบันฝกอบรมมีสถานภาพหลายอยาง ตามบทบาทหนาท่ีในการฝกอบรม ดงันี้ สถาบันฝกอบรมหลัก ไดแก สถาบันฝกอบรมที่ดําเนินการจัดทําหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจํา

บาน และไดรับอนุมัติจากแพทยสภาใหเปดเปนสถาบันฝกอบรม โดยจัดใหผูเขารับการฝกอบรมไดรับประสบการณจากสถาบันฝกอบรมตลอดหลักสูตร หรือเปนเวลาไมต่ํากวาระยะเวลา 2 ใน 3 ของหลักสูตร

สถาบันฝกอบรมสมทบ ไดแก สถาบันฝกอบรมที่ไดรับอนุมัติจากแพทยสภาใหเปนสถาบันฝกอบรมสมทบกับสถาบันหลักเพื่อจัดการฝกอบรมแพทยประจําบานในสวนที่สถาบันหลักไมสามารถจัดประสบการณได โดยกิจกรรมดังกลาวเมื่อรวมกันแลวตองมีระยะเวลารวมกันไมต่ํากวา 3 เดือน และไมเกิน 1 ใน 3 ของระยะเวลาของหลักสูตร ตัวอยาง คณะแพทยศาสตร ......... จัดทําหลักสูตรการฝกอบรมฯ สาขา ..........

และขออนุมัติเปดเปนสถาบันฝกอบรม แตขอใหคณะแพทยศาสตร / โรงพยาบาล ............. เปนสถาบันฝกอบรมสมทบ จัดกิจกรรม .......... ใหผูเขารับการฝกอบรมเปนเวลา 6 เดือน เปนตน

สถาบันรวมฝกอบรม ไดแก สถาบันฝกอบรมตั้งแต 2 แหงข้ึนไปที่ดําเนินการจัดทําหลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานและไดรับอนุมัติจากแพทยสภาใหเปดเปนสถาบันฝกอบรมรวมกนั โดยจัดใหผูเขารับการฝกอบรมไดรับประสบการณจากทุกสถาบัน โดยแตละแหงมีเวลาไมต่ํากวา 1 ใน 3 ของระยะเวลาของหลักสูตร ตัวอยาง คณะแพทยศาสตร .............. รวมกบั โรงพยาบาล .............. จัดทํา

หลักสูตรการฝกอบรมฯ สาขา ................ และขออนุมัติเปดเปนสถาบันรวมฝกอบรม โดยผูเขารับการฝกอบรมไดรับประสบการณจากคณะแพทยศาสตร ............ เปนเวลา 2 ป และจากโรงพยาบาล ............. เปนเวลา 1 ป เปนตน

สถาบันฝกอบรมกิจกรรมเลือก ไดแก สถาบันฝกอบรมที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ใหเปนสถาบันฝกอบรมที่จัดประสบการณเพิ่มเติมใหแกผูเขารับการฝกอบรมที่สนใจไดในลักษณะของกิจกรรมเลือก (elective) โดยมรีะยะเวลาไมเกิน 3 เดือน

หลักสูตรอาจจดัใหผูเขารับการฝกอบรมไดรบัประสบการณเพิ่มเติมจากสถาบันฝกอบรมกิจกรรมเลือกไดโดยตองมรีะยะเวลารวมกันตลอดหลักสูตร

เกณฑหลักสูตรและมาตรฐานการฝกอบรมฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

188

ไมเกินระยะเวลาที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉินกําหนด

3. การขออนุมัติเปนสถาบันฝกอบรม

คณะแพทยศาสตร / วิทยาลัยแพทยศาสตร / โรงพยาบาลใดที่มีความประสงคจะเปดเปนสถาบันฝกอบรมในสาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ถาเปนการจัดการฝกอบรมที่มีหรือไมมีสถาบันฝกอบรมสมทบ ใหสถาบันฝกอบรมหลกัเปนผูดําเนินการจัดทําขอมูล สวนกรณีเปนการจดัการฝกอบรมในลักษณะที่มีสถาบันรวมฝกอบรม ใหสถาบันรวมฝกอบรมทุกแหงรวมกันรับผิดชอบเปนผูดําเนินการจัดทําขอมูล ตามเกณฑหลักสูตรการฝกอบรมทีไ่ดรับอนุมัตินั้น เสนอแพทยสภาเพื่อสงให อนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน ตรวจรบัรองการเปดเปนสถาบันฝกอบรมและกําหนดศักยภาพของสถาบันฝกอบรมหลักและสถาบันสมทบ (ถามี) หรือสถาบันรวมฝกอบรม ตามเกณฑหลักสูตรและจํานวนความตองการของแพทยเฉพาะทางสาขานั้น แลวใหนําเสนอราชวทิยาลัยอายุรแพทยฯ เสนอใหแพทยสภาอนุมัติตอไป

กรณีสถาบันฝกอบรมกิจกรรมเลือก ใหสถาบันฝกอบรมหลักเปนผูดําเนินการจัดทําขอมูลและนําเสนออนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาเวชศาสตรฉุกเฉนิ พิจารณาอนุมตัิ 4. การติดตามกํากับดูแลสถาบันฝกอบรม

อนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ ตองจัดใหมีการติดตามกํากับดูแลสถาบันฝกอบรมหลัก สถาบันฝกอบรมสมทบ สถาบันรวมฝกอบรม ท่ีไดรับอนุมัติใหเปดการฝกอบรมเปนระยะๆ โดยดําเนินการตามแนวทางที่แพทยสภากําหนด และเสนอรายงานผานราชวิทยาลัยอายุรแพทยฯ เพื่อเสนอใหแพทยสภารับทราบเปนระยะๆ

หากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พบวาสถาบันฝกอบรมหลักหรือสถาบันรวมฝกอบรมใดไมมีผูสมัครเขารับการฝกอบรมในหลักสูตรใดติดตอกันเกิน 5 ป ให “พัก” การประกาศรับสมัครแพทยประจําบานสําหรับหลักสูตรนั้นของสถาบันฝกอบรมหลักหรือสถาบันรวมฝกอบรมนั้นไวกอน จนกวาคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ จะไดประเมินสถาบันฝกอบรมนั้นวายังมีความพรอมในการฝกอบรมตามเกณฑท่ีกําหนด

หากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ พบวาสถาบันฝกอบรมหลักหรือสถาบันรวมฝกอบรมใดไมมีผูสมัครเขารับการฝกอบรมในหลักสูตรใดติดตอกันเกิน 10 ป ให “ยกเลิก” การเปนสถาบันฝกอบรมของสถาบันฝกอบรมหลักหรือของสถาบันรวมฝกอบรมกลุมนั้น และใหทําเรื่องแจงราชวิทยาลัยอายุรแพทยฯ เสนอแพทยสภาเพื่ออนุมัติ หากสถาบันฝกอบรมมีความประสงคจะขอเปนสถาบันฝกอบรมอกี ใหดําเนินการตามวิธีการขออนุมัติเปนสถาบันฝกอบรมดังกลาวขางตน

ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พ.ศ.2550

189

รายนามคณะอนุกรรมการจัดทําเกณฑหลักสูตรอบรมแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรฉุกเฉิน

1. นายแพทยสันต หัตถีรัตน ประธาน 2. นายแพทยจอมจักร จันทรสกลุ อนุกรรมการ 3. แพทยหญิงจิตรลดา เผาไพโรจนกร อนุกรรมการ 4. นายแพทยชาญเวช ศรัทธาพุทธ อนุกรรมการ 5. นายแพทยดาบศักดิ์ กองสมุทร อนุกรรมการ 6. นายแพทยธวัชชัย ปานเสถียรกุล อนุกรรมการ 7. นายแพทยธัญญณัฐ บุนนาค อนุกรรมการ 8. แพทยหญิงธารทิพย ประณุทนรพาล อนุกรรมการ 9. นายแพทยธีระ ลีลานันทกิจ อนุกรรมการ 10. นายแพทยบุญชู กุลประดิษฐารมณ อนุกรรมการ 11. นายแพทยบุญเลิศ จุลเกียรต ิ อนุกรรมการ 12. นายแพทยประเสริฐ วศินานุกร อนุกรรมการ 13. นายแพทยปรีชา ศิริทองถาวร อนุกรรมการ 14. แพทยหญิงคุณหญิงวรรณา สมบูรณวิบูลย อนุกรรมการ 15. นายแพทยวิทยา ศรีดามา อนุกรรมการ 16. นายแพทยวิศาล เยาวพงศศิริ อนุกรรมการ 17. นายแพทยสมชาย กาญจนสุต อนุกรรมการ 18. นายแพทยสมัย ขาววิจิตร อนุกรรมการ 19. นายแพทยสันตชัย เตชะโสภณมณี อนุกรรมการ 20. นายแพทยสารเนตร ไวคกุล อนุกรรมการ 21. นายแพทยสุทธิศักดิ์ สุทธิพงษชัย อนุกรรมการ 22. นายแพทยสุวชัย อินทรประเสริฐ อนุกรรมการ 23. นายแพทยอนันต ตัณมุขยกุล อนุกรรมการ 24. นายแพทยสุรจิต สุนทรธรรม อนุกรรมการและเลขานุการ 25. นายแพทยเฉลิมพร บุญสิริ อนุกรรมการและเลขานุการรอง 26. นายแพทยอดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ อนุกรรมการและเลขานุการรอง