53
ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ ที่นามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ ๗. การนาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านบันเทิงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น - การนาภาพยนตร์ออกมาฉาย - การออกแบบและตัดต่อภาพ - การควบคุมคุณภาพของเสียง - การออกแบบท่าทางเต้น - การโฆษณา เป็นต้น

ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

  • Upload
    -

  • View
    610

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ๗. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านบันเทิงที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น

- การน าภาพยนตร์ออกมาฉาย- การออกแบบและตัดต่อภาพ- การควบคุมคุณภาพของเสียง- การออกแบบท่าทางเต้น- การโฆษณา เป็นต้น

Page 2: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ

๘. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านการสื่อสาร เช่น- การน าอินเตอร์เน็ตเข้ามามีส่วนร่วมในงาน เป็นต้น

๙. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านตลาดหลักทรัพย์ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ เช่น- การซ้ือ-ขายหุ้น เป็นต้น

Page 3: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ๑๐. การน าคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานด้านสื่อสิ่งพิมพ์ที่เก่ียวข้องกับธุรกิจ เช่น

- การหาข้อมูลข่าวสาร- การออกแบบรูปเล่ม- การตัดต่อข้อมูล- การส่งไปตีพิมพ์ เป็นต้น

Page 4: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๑. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น

- ใช้ในการเก็บบันทึกเกี่ยวกับประวัติของพนักงานว่า ช่ือสกุลอะไร อายุเท่าไหร่ จบการศึกษามาจากที่ไหน เคยท างานมาแล้วหรือไม่ เป็นต้น ซ่ึงท าให้ประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และสะดวกในการใช้ระยะเวลาในการค้นหามากกว่าที่จะใช้กระดาษในการเขียนบันทึกข้อมูล

Page 5: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจ

- ใช้ในบันทึกเกี่วยกับข้อมูลและรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าว่าเป็นประเภทอะไร ช่ือสินค้าอะไร สีอะไร มีลักษณะรูปแบบเป็นอย่างไร ผลิตเมื่อไหร่ และมีวันหมดอายุวันไหน เป็นต้น

Page 6: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๒. ประโยชน์ในเรื่องของการให้บริการลูกค้า คือสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และต่อเนื่องซ่ึงสามารถให้บริการลูกค้าที่มาขอใช้บริการได้อย่างทันทีที่ลูกค้ามาเข้ารับการบริการ เช่น

- ใช้ในด้านงานธนาคาร เช่น การฝากถอนเงินในธนาคาร เป็นต้น- ใช้ในด้านการศึกษา เช่น การลงทะเบียนเรียน การบันทึกผลการ เรียน และการประการผลการเรียน เป็นต้น

Page 7: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๓. ประโยชน์ในเรื่องของงานวิจัย เช่น- ใช้ในการค านวณ คือ ใช้หาค่าของตัวเลขที่มีความสลับซับซ้อน เช่น การหาค่าของสมการ การถอดราก และยกก าลังของตัวเลข เป็นต้น ซ่ึงสามารถค านวณได้อย่างแม่นย า และมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น- ใช้ในการประมวลผลข้อมูลในการทดลอง และท าการสรุปผลของการวิจัย เป็นต้น

Page 8: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๔. ประโยชน์ในเรื่องของการเก็บรักษาสินค้า เช่น - ท าให้สามารถควบคุมอุหภูมิของสินค้าภายในโกดังได้ วา่สินค้าประเภทไหนต้องการอุหภูมิประมาณก่ีองศา ชอบอากาศแบบไหน เป็นตน้ จึงมีส่วนช่วยในการเก็บรักษาสินค้าได้เปน็เวลานาน และท าให้เกิดการเสียหายของสินค้าลดน้อยลงอีกด้วย

Page 9: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๕. ประโยชน์ในเรื่องของการตรวจสอบคุณภาพของสินค้า เช่น- เมื่อป้อนข้อมูลสินค้าลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็สามารถทราบได้ทันทีเลยว่าข้อมูลของสินค้ายังมีสภาพดีอยู่หรือไม่ และท าให้สามารถทราบวันผลิต และวันหมดอายุได้อีกด้วย

Page 10: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๖. ประโยชนใ์นเรื่องของการค านวณเงินเดือนและคา่แรงงานของพนักงาน เช่น- ในการค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ได้มีการน าโปรแกรมส าเร็จรูปขึ้นมาใช้เฉพาะในการค านวณเงินเดือนและค่าแรงของพนักงาน ท าให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

Page 11: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความสามารถและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

ที่น ามาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจประโยชน์ในการน าเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจ มีดังนี้

๗. ประโยชนใ์นเรื่องของการท าบัญชี คือ สามารถน าโปรแกรมส าเร็จรูปทางบัญชีเข้ามาช่วยในเรื่องต่าง ๆ เช่น- ในเรื่องของการลงบันทึกรายการทางด้านบัญชี- ในเรื่องของการลงสต็อกสินค้า- ในเรื่องของการจัดท างบการเงินไม่ว่าจะเป็นงบทดลอง งบกระแส เงินสด และงบดุล งบก าไรขาดทุน

Page 12: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ความส าคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อห้องสมุด

1. ช่วยในการบันทึกข้อมลูข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว

2. บันทึกขอ้มูลและสารสนเทศได้เป็นจ านวนมาก

3. สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว

4. สามารถสื่อสารไปใช้ในระยะไกลได้

เทคโนโลยสีารสนเทศในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

Page 13: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

1.1 โปรแกรมส านักงาน

–โปรแกรมจัดการงานเอกสาร

–โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล

–โปรแกรมสเปรดชีท

Page 14: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

1.2 โปรแกรมห้องสมุดอตัโนมัติแบบบูรณาการ– ลักษณะ

• เป็นระบบเบ็ดเสร็จ

• เป็นโปรแกรมที่ท างานในระบบเครือข่าย

• เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาส าหรับงานหอ้งสมุดโดยเฉพาะ

• เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นส าหรับงานห้องสมุดทุกงาน

Page 15: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์1.2 โปรแกรมห้องสมุดอตัโนมัติแบบบูรณาการ

• ตัวอย่างโปรแกรม– ELIB– L Spider– Library 2000– นวสาร– Alice for Window

Page 16: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• การพิจารณาน าระบบห้องสมุดอัตโนมัตมิาใช้

– เลือกขนาดโปรแกรมให้เหมาะสมกบัขนาดห้องสมุด

– ให้เลือกซือ้ระบบงานทีจ่ าเป็นก่อน

–ผู้ผลิตมีความมั่นคง

–หากไม่พร้อมด้านการเงนิอาจใช้โปรแกรมฟรี หรือคิดขึ้นเอง

Page 17: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2. เทคโนโลยีท่ีใช้ร่วมกบัระบบห้องสมดุอตัโนมัติ

– 2.1 บาร์โคด้

– 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

– 2.3 RFID

– 2.4 Self Checkout

– 2.6 ประตูกันขโมย

– 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

– 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

Page 18: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.1 บาร์โค้ด

ส่วนประกอบของบาร์โคด้ 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีด า 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง

Page 19: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
Page 20: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• ประเภทของบาร์โค้ด

–Smart Barcode

–Dumb Barcode

• บาร์โค้ดกับงานห้องสมุด

–บัตรประจ าตัวสมาชิก (Patron/ User Card) – เลขประจ าหนังสือ (Item Barcode)

Page 21: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

Page 22: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
Page 23: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

Page 24: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.3 RFID : Radio Frequency Identification

1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ (Tag)

Page 25: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.3 RFID : Radio Frequency Identification

2. เครื่องอ่านสัญญาณความถ่ีวิทยุ

Page 26: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• บริการรับคนืวัสดุสารสนเทศ

Page 27: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เรียงวัสดุสารสนเทศ

Page 28: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

Page 29: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

Page 30: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

Page 31: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• RFID กับงานห้องสมุด

• การส ารวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

Page 32: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

ขั้นตอนการท างานของ RFID1. Folio Tag2. Tagging3. Check out4. Security Gates5. Book Return6. Shelf Management Reader

Page 33: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.4 Self Checkout

Page 34: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.6 ประตูกันขโมย

Page 35: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนยส์ารสนเทศ

2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

Page 36: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหลก็

Page 37: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล

3.1 โทรสารหรือแฟกซ์

3.2 อีเมล์

3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN

3.4 Z39.50

3.5 อินเทอร์เน็ต

3.6 อินทราเน็ต

3.7 web2.0 / Library 2.0

Page 38: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล

3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ ใช้ในการสื่อสารข้อมูลของห้องสมุดและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

Page 39: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.2 อีเมล์ ใช้ในการติดต่อระหว่างหน่วยงาน และใช้ในการใหบ้ริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ

Page 40: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN ส าหรับเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดเข้ากับเครือข่ายท้ังจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

Page 41: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.4 Z39.50

– เป็นมาตรฐานก าหนดรูปแบบวิธีการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอรเ์พื่อให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นไปยังระบบอื่นๆ ได้มากกว่า 1 ระบบ ได้โดยไม่ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบและข้อก าหนดของระบบที่ต้องการติดต่อด้วย

Page 42: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

• Z39.50 ก าหนดการท างานด้วย Protocol Z39.50ท างานดังนี้

• 1. Initialization

• 2. Search

• 3. Retrieval

• 4. Result Set Delete

• 5. Access Control

• 6. Accounting /Resource Control

• 7. Sort

• 8. Browse

• 9.Extended Services

• 10. Explain

• 11. Termination

Page 43: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.5 อินเทอร์เน็ต มีประโยชน์คือ– ใช้ในการสืบคน้สารสนเทศสาขาต่างๆ

– ใช้ในการติดตามข่าวสารที่ทนัสมัยต่างๆ

– ผู้ใช้สามารถสืบค้นฐานข้อมลูออนไลน์ของห้องสมดุผ่านเว็บได้

– เผยแพรข่้อมูลข่าวสารของหอ้งสมุดผ่านเว็บได้

– เป็นประโยชน์ในการท างานของบรรณารักษ์

Page 44: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.6 อินทราเน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองคก์ร

Page 45: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 web2.0 / Library 2.0

• Web 2.0 การสร้างเว็บให้ผู้ใช้มีส่วนร่วม

• Library 2.0 พัฒนามาจากแนวคิดของ Web 2.0

Page 47: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 Library 2.0– ผู้ใช้มีส่วนร่วม

– บริการแบบ “User Center Services”

Page 48: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยใีนห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

3.7 Library 2.0 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่

• Blog 60 %

• Wikis 46.7%

• RSS 73.3%

• IM 26.7%

• Social Bookmarking 33.3%

Page 49: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

49

Page 50: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

เทคโนโลยีในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ

4. เทคโนโลยีภาพลักษณ์

4.1 สื่อที่ใช้ในการจัดเกบ็

4.2 ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์

–CANON Canofile

–KEYFILE

–Kodak ImageLink

–SPOOLVIEW

–INFOMA

Page 51: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

CANON Canofile

Page 52: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

Kodak ImageLink

Page 53: ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน

ปัญหาการน าเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุด

1. ห้องสมุดขาดแคลนงบประมาณ

2. ห้องสมุดขาดแคลนบคุลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. เทคโนโลยีมักล้าสมัยเร็ว

4. ห้องสมุดเฉพาะส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก