35
แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย (Guiding Priciples for Successful e-Government) ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ 1

Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย โดยคุณไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อำนวยการสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ในงานสัมมนา 40 องค์การมหาชน 17 กันยายน 2557

Citation preview

Page 1: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย

(Guiding Priciples for Successful e-Government)

ไอรดา เหลืองวิไล

รองผู้อํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

1

Page 2: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Topic• สถานภาพ e-Government ของประเทศไทย

• นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา e-Government ของประเทศไทย

2

Page 3: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

สถานภาพ e-Government ของประเทศไทย

3

Page 4: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

e-Governmentวิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานภาครัฐ ปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน การบริการด้านข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนมีความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น

ประการสําคัญจะต้องมีความร่วมมืออย่างใกล้ชิดและเต็มใจจากทั้ง 3 ฝ่าย ได้แก่

ภาครัฐ

ประชาชนภาคธุรกิจ

4

e-Government ความหมายและเป้าหมาย

Page 5: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

เป้าหมายของ e-Government

• เพื่อปฏิรูปกระบวนการทํางานของภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์

• เพื่อนําบริการของรัฐไปสู่ประชาชนอย่างสะดวก รวดเร็ว

• เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของภาครัฐ

• เพื่อเพิ่มความโปร่งใสและความรับผิดชอบของภาครัฐต่อประชาชน

5

Page 6: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

United Nations e-Government Survey คือ รายงานการจัดอับดับความพร้อมของรัฐบาล

อิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Readiness) โดย องค์การสหประชาชาติ ซึ่งทําการเผยแพร่

รายงานผลการสํารวจรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2003 จนถึงปัจจุบัน

Indicators - Online service index (OSI)

- Telecommunication infrastructure index (TII)

- Human capital index (HCI)

and supplementary e-participation index (EPI)

United Nations e-Government Survey

6

e-Government Ranking 2014

Page 7: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Index 2014 2012Rank

Change

UN e-Government Development Index (EGDI) 102 92 -10

- Telecommunication Infrastructure Index (TII) 107 103 -4

- Online Service Index (OSI) 76 67 -9

- Human Capital Index (HCI) 118 104 -14

e-Participation (EPI) 54 48 -6

การเปลี่ยนแปลงของระดับคะแนนและการจัดอับดับปี 2012 – 2014

7

Page 8: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

E-Government Development Index 2003-2014

Yeare-Government

(Rank)

Online Service

x 1/3 (Rank)

Infrastructure

x 1/3 (Rank)

Human Capital

x 1/3 (Rank)

e-Participation

(Rank)Countries

2014 0.4631(102) 0.1470 (76) 0.0948 (107) 0.2213 (118) 0.5490 (54) 193

2012 0.5093 (92) 0.1699 (67) 0.0787 (103) 0.2606 (104) 0.3158 (48) 193

2010 0.4653 (76) 0.1133 (67) 0.0576 (94) 0.2943 (66) 0.0857 (110) 192

2008 0.5031 (64) 0.1683 0.0503 0.2843 0.2955 (41) 192

2005 0.5518 (46) 0.2218 0.0433 0.2867 0.2540 (28) 191

2004 0.5096 (50) 0.178 0.039 0.293 0.2131(25) 191

2003 0.446 (56) 0.127 0.039 0.280 0.103 (31) 191

http://unpan3.un.org/egovkb/en-us/Data/Country-Information/id/169-Thailand 8

Page 9: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

E-Government Development Index 2014 : Southeast Asia

No Country E-Government 2014 Rank 2014 Rank 2012Rank

Change

1 Singapore 0.90762 3 10 +7

2 Malaysia 0.61152 52 40 -12

3 Brunei Darussalam 0.50424 86 54 -32

4 Philippines 0.47681 95 88 -7

5 Viet Nam 0.47045 99 83 -16

6 Thailand 0.46308 102 92 -10

7 Indonesia 0.44874 106 97 -9

8 Cambodia 0.29986 139 155 +16

9Lao People's Democratic

Republic 0.26588 152 153 +1

10 Timor-Leste 0.25276 161 170 +9

11 Myanmar 0.18694 175 160 -15

9

Page 10: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

The Waseda University International e-Government Ranking

จัดทําโดย The Waseda University Institute of e-Government

เป็นการจัดอันดับการพัฒนา e-Government จาก 55 ประเทศทั่วโลก

(ข้อมูลปี 2013) ซึ่งประกอบไปด้วย

- 7 ตัวชี้วัดหลัก

- 30 ตัวชี้วัดย่อย

The Waseda University International e-Government Ranking

The Waseda University International

e-Government Ranking 2013: Thailand

อันดับที่ 20 จาก 55 ประเทศ

10

Page 11: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Waseda University International e-Government Ranking 2013

Rank Year Index Value Countries Rank Change

20 2013 69.49 55 + 3

23 2012 67.1 55 -

23 2011 67.67 50 + 2

25 2010 63.2 40 - 4

21 2009 64.51 34 - 1

20 2008 44.9 34

การเปลี่ยนแปลงการจัดอับดับปี 2008 - 2013

11

Page 12: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

เปรียบเทียบในระดับ Southeast Asia

No CountryE-Government

2013

Rank

2013

Rank

2012

1 Singapore 94.00 1 1

2 Thailand 69.49 20 23

3 Malaysia 66.26 24 23

4 Brunei Darussalam 60.89 31 38

5 Viet Nam 55.42 37 38

6 Indonesia 53.05 40 33

7 Philippines 50.88 41 31

8 Cambodia 33.52 50 51

12

Page 13: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

การวัดผล (1/2)

13

Page 14: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

การวัดผล (2/2)

14

Page 15: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

สรุป ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนารัฐบาลอเิล็กทรอนิกส์ เพื่อการพัฒนา

e-Government ของประเทศไทย ตาม Waseda Ranking

• ส่งเสริมให้มีการจัดทํากรอบแนวคิดในการขับเคลื่อนและพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (Thailand e-Government

Readiness Framework)

• Government CIO: ส่งเสริมให้ CIO มีความรู้ความเข้าใจและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารหน่วยงาน

รวมถึงการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของประชาชน

เป็นหลัก

• Management Optimization/Efficiency: ส่งเสริมการบริหารจัดการภายในหน่วยงานภาครัฐให้มีการแลกเปลี่ยน

และเชื่อมโยงทางด้านข้อมูลและบริการ เพื่อขับเคลื่อนการทํางานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

• e-Government Services: ยกระดับบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐให้สามารถทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้

ประชาชนสามารถใช้บริการ ณ จุดเดียวแบบครบวงจร (One stop service)

• e-Participation: หน่วยงานภาครัฐควรบริหารจัดการ e-Participation เพื่อตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน

รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ15

Page 16: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Assesses 14 countries

10 indicators which contribute to

the infrastructural and regulatory

preparedness for cloud

computing adoption in the region

The Asia Cloud Computing Association’s Cloud Readiness Index 2014

(CRI 2014)

The Asia Cloud Computing Association’s Cloud Readiness Index 2014

(CRI 2014)

Source: Asia Cloud Computing Research 2014http://www.asiacloudcomputing.org/research/cri2014

Cloud Readiness Index 2014

16

Page 17: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

ACCA’s Cloud Readiness Index 2014ACCA’s Cloud Readiness Index 2014

Source: Asia Cloud Computing Research 2014 17

Page 18: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Climbed from 2012’s 13 th placement

Highlights of ThailandHighlights of Thailand

RECENT GOVERNMENT LEGISLATION

• Ministry of ICT : drafting the third five-year national ICT master plan to upgrade

the country's technology sector.

• The Electronic Government Agency (EGA) : announced plans to enhance the

development and use of cloud in Thailand in 2013.

• Ministry of Education: Technology Master plan includes five strategies designed to

improve the use of technology in learning and improve students’ access to digital

content.

Source: Asia Cloud Computing Research 2014 18

Page 19: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

19

over 650 nominations from government, education and healthcare organisations from

16 countries

Since 2007 the FutureGov Awads have been Asia Pacific’s only international

celebration of public sector excellence.

Public Service Organisation of the Year – Oceania

Public Service Organisation of the Year – SAARC

Public Service Organisation of the Year – North Asia

Public Service Organisation of the Year – ASEAN

Citizen Engagement

Government Cloud

Government Transformation of the Year

Digital Inclusion

Business Process

Green Government

Data Centers

Information Management

Service Innovation

E-Government

Information Security

Connected Government

Wireless Government

Technology Leadership

FutureCity of the Year

Education Organisation of the Year

Government Organisation of the Year

EGA won 2 categories

Information Management , Government Cloud

Page 20: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา e-Government ของประเทศไทย

20

Page 21: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

Smart Thailand 2020

StrongerEconomy

SocialEquality

EnvironmentalFriendly

Smart Agriculture

Smart Services

Smart Health

Smart Learning

EnvironmentalFriendly

Smart Environment(ICT for Green & Green ICT)

Smart Government

ICT Humana Resources and ICT Competent

WorkforceICT Infrastructure ICT Industry

ICT 2020: Framework

21

นโยบายที่เกี่ยวกับการพัฒนา ICT ของประเทศไทย

Page 22: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

ICT2020: ตัวชี้วัดการพัฒนา ร้อยละ 80 ของประชากรทั่วประเทศ สามารถเข้าถึงโครงข่ายโทรคมนาคมและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงภายในปี พ.ศ. 2558

และร้อยละ 95 ภายในปี พ.ศ. 2563

ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 มีความรอบรู้ เข้าถึง สามารถพัฒนาและใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่างรู้เท่าทัน

สัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT (รวมอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนด์) ต่อ GDP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 18

ยกระดับความพร้อมด้าน ICT โดยรวมของประเทศไทย โดยให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาสูงที่สุดร้อยละ

25 (Top quartile) ของ Networked Readiness Index

เพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม) โดยเกิดการจ้างงานแบบ

ใหม่ๆ ที่เป็นการทํางานผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ตระหนักถึงความสําคัญและบทบาทของ ICT ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตร

กับสิ่งแวดล้อมที่มา: บทสรุปผู้บริหาร กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศไทย หน้าที่ 7

22

Page 23: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

“พัฒนาสังคมอุดมปัญญาด้วย ICT เพื่อก้าวสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างยั่งยืน โดยทั่วถึง เท่า

เทียม และมั่นคงปลอดภัย ในทุกชุมชนและท้องถิ่น”

(Shape-up Smart Thailand toward Digital Economy) วิสัยทัศน์

ที่มา: (ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557-2563

(ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3)

สืบเนื่องจากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 จะสิ้นสุดลงในปี 2556 กระทรวง ICT

จึงร่วมมือกับสถาบันวิจัยและให้คําปรึกษาแห่ง ม.ธรรมศาสตร์ ดําเนินการจัดทํา

(ร่าง) แผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3 ของประเทศไทย พ.ศ. 2557 – 2563 โดยมีกรอบ

ระยะเวลา 7 ปี เพื่อให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และเป้าหมายการ

พัฒนาตามกรอบนโยบาย ICT2020 โดยจะมีการปรับแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 3

ทุกๆ 2 ปี หรือตามความเหมาะสมของสถานการณ์

23

Page 24: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของ

ประเทศไทย พ.ศ.2557– 2563

1.การพัฒนาทุนมนุษย์ให้เป็นกําลัง

สําคัญในการพัฒนา ICT ของ

ประเทศ และมีความพร้อมใน การมี

ส่วนร่วมในการพัฒนา

(Participatory People)

2.การพัฒนาโครงสร้าง

พื้นฐานที่คุ้มค่าและ

พอเพียง (Optimal

Infrastructure)

3.การพัฒนาระบบ

บริการของภาครัฐอย่าง

ฉลาด (Smart

Government)

4.การพัฒนาภาคธุรกิจ

และอุตสาหกรรม ICT ให้

เติบโตสดใส (Vibrant

Business)ที่มา : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 24

Page 25: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

เป้าหมายของ(ร่าง)แผนแม่บทฯ ฉบับที่ 3

• เยาวชน ประชาชน ชุมชน และท้องถิ่น มีทักษะในการประยุกต์ใช้ ICT ในการศึกษาเรียนรู้เพื่อการ

ดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพอย่างพอเพียงด้วยแนวคิดเชิงนวัตกรรมในระดับประเทศและ

ระดับสากล

• มีโครงสร้างพื้นฐาน ICT ความเร็วสูงที่กระจายอย่างทั่วถึงและคุ้มค่าต่อการลงทุน ประชาชน

สามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกันเสมือนการเข้าถึงบริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานทั่วไปในราคา

ที่เหมาะสมและเป็นธรรม

• บริการอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐไร้ตะเข็บรอยต่อ และเป็นที่พึงพอใจของผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน

• เพิ่มบทบาทและความสําคัญของการใช้ ICT ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพและพัฒนาศักยภาพที่

เกี่ยวข้องกับ ICT ให้กับธุรกิจ อุตสาหกรรม และบริการ ต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศอย่าง

สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

• ยกระดับความพร้อมด้าน ICT โดยรวมของประเทศไทยในการประเมินวัดระดับระหว่างประเทศ

ที่มา: (ร่าง) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 3) ของประเทศไทย พ.ศ. 2557-2563

25

Page 26: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

33

นโยบายการบูรณาการงบประมาณด้าน ICT

Page 27: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

27

EX: -จํานวนหน่วยงานภาครัฐที่มีการใช้

โครงสร้างพื้นฐานกลางมากกว่าร้อยละ 70

ในปี 2560

-โครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรที่สําคัญ

Critical Infrastructure and Key

Resource) มีความสามารถในการฟื้นฟู

(Resiliency) สู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว

เมื่อประสบเหตุภัยคุกคามทางอินเตอร์เน็ต

แนวท

างย่อ

ยแน

วทาง

ย่อย

ตัวชี้วั

ดตัว

ชี้วัด

EX:

-e-Mail กลางภาครัฐ

-G-Cloud

-G-Data Center

-DR Site (Disaster Recovery Site)

EX: -ระดับการพัฒนาการบริการ

อิ เล็ กทริ อนิ กส์ภาครั ฐ (Maturity

Level)เพิ่มสูงขึ้น

-เว็บไซต์ของภาครัฐมีการเปิดเผย

ข้ อ มู ล ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ก า ร

ดํ า เ นิ น ง านขอ ง รั ฐ บ า ลค รบ ทุ ก

กระทรวง

EX:

-มาตรฐานการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน

ข้ อ มู ล / ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ทุ ก

หน่วยงาน / Government API

- IT Enterprise Architecture

EX: หน่วยงานภาครัฐในระดับ

กรมขึ้นไปมีผู้บริหารเทคโนโลยี

สารสนเทศระดับสูง (CIO) ที่มี

ความรู้ความเข้าใจในการนํา

เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนา

งาน

EX:

พัฒนา CIO/CISO/CEO

Page 28: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

28

I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

(IT Infrastructure)

I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

(IT Infrastructure)

1) รายงานสถานะการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ (Government

Information Network:GIN)

แบ่งเปน็ 2 กรณี ได้แก่

- กรณีหน่วยงานมีการใช้ระบบเครือข่าย GIN

- กรณีหน่วยงานไม่มีการใช้ระบบเครือข่าย GIN

2) การใช้งานเครื่องแม่ข่ายบริการคลาวด์ภาครัฐ (Government Cloud

Service: G-Cloud)

แบ่งเปน็ 2 กรณี

-กรณีหน่วยงานมีการใช้งานระบบเครื่องแม่ข่าย G-Cloud

-กรณีหน่วยงานไม่มีการใช้งานระบบเครื่องแม่ข่าย G-Cloud

ตัวชี้วัดตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ของสํานักงาน ก.พ.ร.

II. ระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Government Services)

II. ระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Government Services)

1) ข้อมูลระบบเว็บไซต์ของหน่วยงานและการพัฒนาเว็บไซต์ของหน่วยงาน

2) การพิสูจน์ตัวบุคคลในการเข้าใช้งานระบบบริการ e-Service

ของหน่วยงาน (e-Authentication)

III. ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการ

สื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai)

III. ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการ

สื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai)

แบ่งเปน็ 2 กรณี

-กรณีหน่วยงานมีการใช้งานระบบ MailGoThai

-กรณีหน่วยงานไม่มีการใช้งานระบบ MailGoThai

Page 29: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

29

แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (1/4)แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (1/4)

1.รายงานสถานะการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ (Government Information Network:GIN)

I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Infrastructure)I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Infrastructure)

Page 30: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

30

แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (2/4)แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (2/4)

2. การใช้งานเครื่องแม่ข่ายบริการคลาวด์ภาครัฐ (Government Cloud Service: G-Cloud)

I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Infrastructure)I. โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Infrastructure)

Page 31: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

31

แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (3/4)แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (3/4)

II. ระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Services)II. ระบบเว็บไซต์กลางบริการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Services)

1) ข้อมูลระบบเว็บไซต์ของหน่วยงานและการพัฒนาเว็บไซต์ของ

หน่วยงาน

2) การพิสูจน์ตัวบุคคลในการเข้าใช้งานระบบบริการ

e-Service ของหน่วยงาน (e-Authentication)

Page 32: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

32

III. ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai) III. ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ (MailGoThai)

แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (4/4)แนวทางการประเมินผลและการให้คะแนน (4/4)

Page 33: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

แผนยุทธศาสตร์ด้าน e-Government

ยุทธศาสตร์ที่ 4:

ผลักดันให้เกิดความพร้อม

เพื่อรองรับแนวความคิดใหม่

ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

ยุทธศาสตร์ที่ 1:

ปรับเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐาน ICT

ของภาครัฐไปสู่ระบบรัฐบาล

อิเล็กทรอนิกส์ยุคใหม่

ยุทธศาสตร์ที่ 2:

สร้างกลไกเชื่อมโยงเพื่อนําไป

สู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

ยุทธศาสตร์ที่ 3:

ขับเคลื่อนรัฐบาล

อิเล็กทรอนิกส์อย่างมีส่วนร่วม

ด้วยนวัตกรรมบริการรูปแบบใหม่

Transformation

Collaboration

Connecting

Readiness

33

Page 34: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

34

ยุทธศาสตร์ที่ 1 Transformation

ยุทธศาสตร์ที่ 2 Connecting

ยุทธศาสตร์ที่ 3

Collaboration

ยุทธศาสตร์ที่ 4

Readiness

Page 35: Ega แนวทางการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย 20140917_k.airada

35

www.ega.or.th

EGANews

www.facebook.com/itegov

Thank You