เศรษฐศาสตร์การขนสง¸šทที่2... ·...

Preview:

Citation preview

เศรษฐศาสตร์การขนส่ง

อ.พรเกียรติ ภักดีวงศ์เทพ

บทที่ 2การจัดการอุปสงค์และอุปทาน

วัตถุประสงค์

1. อธิบายความหมายและความส าคัญของอุปสงค์และอุปทาน

2. สามารถเข้าใจการจัดการอุปสงค์และอุปทานได้

บทที่ 2การจัดการอุปสงค์และอุปทาน

2.1 การจัดการอุปสงค์

2.2 การจัดการอุปทาน

2.1 การจัดการอุปสงค์

2.1.1 ความมาย2.1.2 กฎของอุปสงค์2.1.3 ปัจจัยที่ก าหนดอุปสงค์2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

2.1.1 ความมาย

อุปสงค์ หมายถึง ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่มีผู้ต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆ กันของสินค้าชนิดนั้นภายในเวลาใดเวลาหนึ่ง

รัตนา สายคณิต และชลลดา จามรกุล

2.1.1 ความมาย

อุปสงค์ หมายถึง จ านวนต่างๆ ของสินค้าหรือบรกิารชนิดนั้นที่ผู้บริโภคต้องการซื้อในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของสินค้าชนิดนั้น หรือ ณ ระดับรายได้ต่างๆของผู้บริโภค หรือ ณ ระดบัราคาสินค้าต่างๆที่เกี่ยวข้อง

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน

2.1.1 ความมาย

ความต้องการสินค้าที่จะเป็นอุปสงค์ได้ มิใช่ความต้องการแบบธรรมดา เช่น ผู้บริโภคอยากได้รถยนต์แต่ไม่มีเงิน ความต้องการดังกล่าวปราศจากอ านาจซื้อ จัดเป็นความต้องการทั่วไป การจะเป็นอุปสงค์ได้จะต้องเป็นความต้องการที่ประกอบดว้ยอ านาจซื้อ และตั้งใจจะซื้อ

ส่วนใหญ่ในการศึกษาอุปสงค์จะให้ความส าคัญกับ อุปสงค์ต่อราคา (อุปสงค์ต่อราคา อปุสงค์ต่อรายได้ อุปสงค์ต่อสินค้า)

2.1.2 กฎของอุปสงค์

กฎของอุปสงค์ เป็นการแสดงปริมาณซื้อซึ่งสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับราคา กล่าวคือ ราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณซื้อสินค้าจะลดลง หากราคาสินค้าลดลง ปริมาณซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น

2.1.2 กฎของอุปสงค์

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)

เส้นอุปสงค์ (D)P1P2

Q1 Q2

2.1.3 ปัจจัยท่ีก าหนดอุปสงค์

หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้นหรือลดลง เช่น รายได้ของผู้ซื้อ ราคาสินค้า รสนิยม การคาดคะเน จ านวนประชากร เป็นต้น

2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์2 การเปลี่ยนแปลงระดับของอุปสงค์

2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Change in Quantity Demand) เป็นการเปลี่ยนแปลงบนเส้นอุปสงค์เส้นเดิม เมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง ท าให้ปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงในทิศตรงกันข้ามไปตามเส้นอุปสงค์เส้นเดิม โดยที่ปัจจัยอื่นๆคงที่

2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)

เส้นอุปสงค์ (D)P1P2

Q1 Q2

2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

การเปลี่ยนแปลงระดับของอุปสงค์ (Change or Shift in Demand) เป็นการเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์ที่เกิดจากปัจจัยอื่นที่ไม่ใช้ราคา เช่น รายได้ รสนิยม การคาดคะเน ประชากร เป็นต้น เมื่อปัจจัยเหล่านี้เปลี่ยนแปลง มีผลท าให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายเป็นเส้นใหม่

2.1.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)

D1P

Q0 Q1

D0

D2

Q2

2.2 การจัดการอุปทาน

2.2.1 ความมาย2.2.2 กฎของอุปทาน2.2.3 ปัจจัยที่ก าหนดอุปทาน2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

2.2.1 ความมาย

อุปทาน หมายถึง ปริมาณขายสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งในช่วงเวลาหนึ่ง ในระดับราคาต่างๆกัน

ประพันธ์ เศวตนันทน์ และ ไพศาล เล็กอุทยั

2.2.1 ความมาย

อุปทาน หมายถึง การที่ผู้ผลิตหรือผูข้ายน าเอาสินค้าหรือบริการนั้นๆ ออกวางขายในท้องตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ ภายในระยะเวลาที่ก าหนดให้

สุจินดา เจียมศรีพงษ ์และ พพิันธ์ ประทุมศิริ

2.2.2 กฎของอุปทาน

กฎของอุปทาน เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคากับปรมิาณขาย กล่าวคือ ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณขายสินค้าจะเพิ่มขึ้น และหากราคาสินค้าลดลง ปริมาณขายสินค้าจะลดลง

2.2.2 กฎของอุปทาน

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)เส้นอุปทาน (S)

P1P2

Q1Q2

2.2.3 ปัจจัยท่ีก าหนดอุปทาน

หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการขายสินค้าเพิ่มขึ้นหรือลดลง เช่น ราคาสินค้า ต้นทุนการผลิต นโยบายรัฐบาลการคาดคะเน เป็นต้น

2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน2 การเปลี่ยนแปลงระดับของอุปทาน

2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Change in Quantity Supply) เป็นการเปลี่ยนแปลงบนเส้นอุปทานเส้นเดิม เมื่อราคาสินค้าสูงขึ้น ท าให้ปริมาณขายเพิ่มขึ้น และเมื่อราคาสินค้าลดลง ปริมาณขายก็ลดลงด้วย โดยทีป่ัจจัยอื่นๆคงที่

2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)เส้นอุปทาน (S)

P1P2

Q1Q2

2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

การเปลี่ยนแปลงระดับของอุปทาน (Change or Shift in Supply) เป็นการเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานที่เกิดจากปัจจัยอื่นที่ไม่ใช้ราคา เช่น ราคาสินค้า ต้นทุนการผลิต นโยบายรัฐบาลการคาดคะเน เป็นต้น เมื่อปัจจัยเหล่านี้เปลี่ยนแปลง มีผลท าให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายเป็นเส้นใหม่

2.2.4 การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน

ปริมาณความตอ้งการ (Q)

ราคา (P)S1

P

Q0 Q1

S0 S2

Q2

อ้างอิง

- Cole, Stuart. (2007). Applied Transport Economics: Policy, Management & Decision Making. London and Sterling: VA.

- แบลงค์, ลีแลนด์ และคณะ. (2549). เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม = Engineering economy. กรุงเทพฯ. ท้อป.

- ประพันธ์ เศวตนันทน์. (2546). หลักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

- วิวัฒน์ อภิสิทธิ์ภิญโญ. (2549). เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม. นครราชสีมา. ไอเดียซอฟท์แวร์เทคโนโลย.ี

- ไพโรจน์ เร้าธนชลกุล. (2552). เศรษฐศาสตร์การขนส่ง.- ราตรี สิทธิพงษ์. (2552).เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น.

Recommended