11
การศึกษาเสียงของพื้นที่ประเภทตางๆ ในภาพยนตรของหวอง กา ไว เพื่อออกแบบมิวสิควีดีโอ แนวทดลอง A study on the significance of sound determining spaces in Wong Kar Wai's film to design experimental music video ฐากูร พรหมเจียม 1 และ ผศ . ดร . ชัยยศ อิษฏวรพันธุ 2 ------------------------------- บทคัดยอ ภาพยนตรเลาเรื่องโดยอาศัยภาพและเสียงของตัวละครที่เคลื่อนไหวไปในพื้นที่รูปแบบตางๆ เรื่องเลาในภาพยนตรมีอยุหลากหลายจึงจําเปนตองนําเสนอภาพและเสียงในรูปแบบที่ตางกันดวยเพื่อใหเหมาะสม กับเนื้อหาและรูปแบบของเรื่องเลา ภาพและเสียงของพื้นที่รูปแบบตางๆกันมีสวนผลักดันใหการเลาเรื่อง เปนไปในทิศทางที่ภาพยนตรตองการดังนั้นจึงมีความสําคัญที่เราจะทําความเขาใจศึกษาภาพและเสียงของพื้นทีที่ภาพยนตรใชเปนกลวิธีในการเลาเรื่องแบบตางๆโดยการศึกษาจะเนนไปที่การเสนอภาพและเสียงของพื้นที่เมือง ในภาพยนตรเพราะภาพเมืองเปนฉากของเรื่องเลาที่ผูกํากับในยุคปจจุบันนิยมใชสรางความหมายนอกจากการใช ตัวละคร ภาพยนตรที่กํากับโดยหวองกาไวผูกํากับชาวจีนเปนหนึ่งในงานที่ใชเสียงของพื้นที่เพื่อสื่อความหมาย อื่นๆนอกจากตัวเนื้อเรื่องจึงมีความสําคัญและมีโอกาสประสบผลสําเร็จในการทําความเขาใจบทบาทของเสียง ในสวนของการออกแบบมิวสิควีดีโอแบงออกเปนสองสวน คือ สวนของเสียง และ สวนของภาพ ซึง โครงสรางของ มิวสิควีดีโอจะเปนโครงสรางทางอารมณ และโครงสรางของเสียงที่สัมพันธอยุกับการเลาเรื่อง ของภาพยนตรที่ไดทําการศึกษาผลที่ไดอาจจะไมประสบผลสําเร็จดานความเขาใจแตเปนทางเลือกในการ สื่ออารมณดวย ภาพและเสียง คําสําคัญ : เสียงประเภทตางๆในภาพยนตร , หวองกาไว , อุปลักษณ Abstract visual and audio are extremely important in narrative of film. So understanding between visual and audio can let us put direction of narrative in film properly. The objective of this thesis is to design experimental music video. The idea is to find alternative ways of presenting visual and audio. Wong Kar Wai's films always use sound of space to metaphor the meaning so it's important to study and understanding his film. Music videos seperate in two sections [visual and audio] based on structure of sound that relate with narrative and structure of emotion. The result might not success for understanding but it's different way to express with visual and audio.

Diegetic sound

Embed Size (px)

Citation preview

การศึกษาเสียงของพื้นท่ีประเภทตางๆ ในภาพยนตรของหวอง กา ไว เพื่อออกแบบมิวสิควีดีโอ แนวทดลอง

A study on the significance of sound determining spaces in Wong Kar Wai's film to design experimental music video

ฐากูร พรหมเจยีม1 และ ผศ. ดร. ชัยยศ อิษฏวรพันธุ2

-------------------------------

บทคัดยอ ภาพยนตรเลาเรื่องโดยอาศัยภาพและเสียงของตัวละครที่เคลื่อนไหวไปในพื้นที่รูปแบบตางๆ เรื่องเลาในภาพยนตรมีอยุหลากหลายจึงจําเปนตองนําเสนอภาพและเสียงในรูปแบบที่ตางกันดวยเพื่อใหเหมาะสม กับเนื้อหาและรูปแบบของเรื่องเลา ภาพและเสียงของพ้ืนที่รูปแบบตางๆกันมีสวนผลักดันใหการเลาเรื่อง เปนไปในทิศทางที่ภาพยนตรตองการดังนั้นจึงมีความสําคัญที่เราจะทําความเขาใจศึกษาภาพและเสียงของพื้นที่ ที่ภาพยนตรใชเปนกลวิธีในการเลาเรื่องแบบตางๆโดยการศึกษาจะเนนไปที่การเสนอภาพและเสียงของพื้นที่เมือง ในภาพยนตรเพราะภาพเมืองเปนฉากของเรื่องเลาที่ผูกํากับในยุคปจจุบันนิยมใชสรางความหมายนอกจากการใชตัวละคร ภาพยนตรที่กํากับโดยหวองกาไวผูกํากับชาวจีนเปนหนึ่งในงานที่ใชเสียงของพื้นที่เพื่อสื่อความหมาย อื่นๆนอกจากตัวเนื้อเรื่องจึงมีความสําคัญและมีโอกาสประสบผลสําเร็จในการทําความเขาใจบทบาทของเสียง ในสวนของการออกแบบมิวสิควีดีโอแบงออกเปนสองสวน คือ สวนของเสียง และ สวนของภาพ ซึงโครงสรางของ มิวสิควีดีโอจะเปนโครงสรางทางอารมณ และโครงสรางของเสียงที่สัมพันธอยุกับการเลาเรื่อง ของภาพยนตรที่ไดทําการศึกษาผลที่ไดอาจจะไมประสบผลสําเร็จดานความเขาใจแตเปนทางเลือกในการ สื่ออารมณดวย ภาพและเสียง คําสําคัญ : เสียงประเภทตางๆในภาพยนตร, หวองกาไว, อุปลักษณ

Abstract visual and audio are extremely important in narrative of film. So understanding between visual and audio can let us put direction of narrative in film properly. The objective of this thesis is to design experimental music video. The idea is to find alternative ways of presenting visual and audio. Wong Kar Wai's films always use sound of space to metaphor the meaning so it's important to study and understanding his film. Music videos seperate in two sections [visual and audio] based on structure of sound that relate with narrative and structure of emotion. The result might not success for understanding but it's different way to express with visual and audio.

keyword : sound in film, Wong Kar Wai, metaphor -------------------------------------- 1นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 2อาจารยประจําหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต

1.บทนํา ในยุคแรกของภาพยนตรเสียงยังมิไดรวมอยุในนั้น จนกระทั่งประมาณป 1927 จึงไดมีการทดลองพยายามนําเสียงใสเขาไปในภาพยนตรเปนครั้งแรกจากในชวงแรกเสียงในภาพยนตรมิได มีความซับซอน เปนเพียงแคเสียงที่ตรงกับภาพที่เกิดขึ้นในภาพยนตร (synchronous sound) เชน เสียงที่บอกวาชายคนหนึ่งกําลังพูดวาอะไรแตในปจจุบันเสียงในภาพยนตรถูกใชในลักษณะที่ซับซอนมากขึ้น (asynchronous sound) เชน เสียงไซเรนของรถพยาบาล ขณะที่ภาพยนตรกําลังเปนภาพคนถกเถียงกันอยู เสียงประเภทตางๆ ในภาพยนตร จึงมีบทบาทสําคัญในการสื่อความหมายเทียบเทาหรือมากกวาภาพในบางกรณี 2. แนวทางการศึกษา โครงการวิทยานิพนธนี้มีจุดมุงหมายหลักเพื่อหาความสัมพันธของเสียงกับเรื่องเลาของภาพยนตร เปนหลักซึ่งเริ่มจากการหาโครงสรางความสัมพันธ ของเสียงกับเรื่องเลาที่มีความหมายตางๆโดยใชโครงสรางนั้น นํามาออกแบบ เปนมิวสิควีดีโอ ขั้นทดลอง

2.1 เทคนิคในการใชเสียงในภาพยนตร

สวนประกอบของเสียง (Acoustic properties) ความดัง (Loudness) เสียงที่เราไดยินเกิดจากการสั่นสะเทือนของสิ่งตางๆในอากาศ ชวงกวางของคลื่น ของการสั่นสะเทือนสรางความดัง เชน ในภาพยนตรที่เปนภาพของถนนที่วุนวาย ก็จะมีเสียงรบกวนจากการจราจรที่วุนวายเชนกัน แตเมื่อเริ่มมีการพูดกันเสียงรบกวนเหลานั้นก็จะเหมือนนอยลง ความดังยังใชในการบอกระยะของการรับรูดวย คือ ถายิ่งเสียงดังเทาไรก็จะยิ่งรูสึกใกลเทานั้น เชน เสียงบทสนทนาก็จะเปรียบเสมือนฉากหนา และเสียงรบกวนจากการจราจรก็จะเปรียบเสมือนฉากหลัง

ระดับเสียง (Pitch) ความถี่ของการสั่นสะเทือน หรือการรับรุความสูง หรือตํ่าของเสียง คือ ระดับเสียง(Pitch) นั่นเอง หนาที่ที่สําคัญของระดับเสียงในภาพยนตร ก็คือ ทําใหเกิดความแตกตางของเสียงของดนตรี หรือบทพูด จากเสียงอื่นๆ คุณภาพเสียง (Timbre) อาจจะดูมีความสําคัญนอยที่สุด แตมีความสําคัญมากๆ ในการแสดงความรูสึกของเสียง หรืออาจเรียกไดวาสรางเอกลักษณเฉพาะตัวใหกับเสียงแตละเสียง ผูสรางภาพยนตรมักใช Timbre ในการใชเสียงดนตรีที่แตกตางกัน ในฉากที่สําคัญ เชนการใชเสียงของ oleaginous saxophone กับฉากที่เยายวน หรือฉาก erotic มิติของเสียงในภาพยนตร (Dimensions of film sound) จังหวะ (Rhythm) - Music has rhythm เปนสิ่งที่ถูกจําไดมากที่สุด ต้ังแต beat, tempo และ accent ถูกใชเปนสวนประกอบของดนตรี - Speech has rhythm เราสามารถระบุบุคคลหนึ่งไดจากสิ่งที่เรียกวา voice print ซึ่งไมไดแสดงแคความถี่ และชวงกวางของคลื่นที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวเทานั้น แตยัง มีความเร็วและการเนนคํา อีกดวย - Sound effects have rhythm (e.g. rhythmic qualities) เราสามารถสรางความแตกตางระหวางปนกล กับปนพกสั้นใหนังไดโดยใช จังหวะของเสียงปนที่สรางขึ้นมา - Images have rhythm ภาพก็มีจังหวะเชนเดียวกันกับเสียง ดวยหลักการเดียวกันคือ beat, speed, และ accent เชน ภาพ short shot ใหจังหวะที่เร็ว ในขณะที่ ภาพแบบ long shot ใหจังหวะที่ชา เปนตน

ลักษณะเสียงที่ตรงกับความจริง (Fidelity) เสียงที่ตรงกับตนฉบับ เชนถาภาพแสดงถึงหมาที่กําลังเหาอยุ เราควรจะไดยินเสียงหมาที่กําลังเหา แตถาเรากลับไดยินเสียงแมวกําลังรองนั้น อาจบอกไดวา ภาพและเสียง ขาด ลักษณะเสียงที่ตรงกับความจริง (Fidelity) พื้นท่ี (Space) แหลงเสียงมีผลมากที่สุดในการทําความเขาใจในเรื่องพื้นที่ ถาเสียงนั้นเกิดจากตัวละครหรือ วัตถุ ที่อยุใน story space เราเรียกวา the sound diegetic แตถาเสียงนั้น มาจากแหลงเสียงที่อยูนอก story space เราเรียกวา the sound nondiegetic เสียงสามารถสราง perspective ใหกับพื้นที่ได เราเรียกวา the sound perspective เชนเสียงสะทอนเวลาเราตะโกนบนภูเขา เวลา (Time) ผูสรางหนังสามารถใชเสียงแทนเวลาไดหลายวิธี เพราะเวลาที่เกิดเสียงอาจไมไดเกิดขึ้นพรอมกับภาพที่เกิดขึ้น - Story time Story time ประกอบไปดวยเหตุการณทั้งหมดในภาพยนตร - Plot time Plot time ประกอบไปดวยเหตุการณที่กําลังเกิดขึ้นชวงหนึ่งในภาพยนตร Story time and Plot time สามารถใชไดโดย 1. Simultaneous sound

ภาพและเสียงเกิดขึ้นพรอมๆกัน เปนรูปแบบที่ถูกใชมากที่สุด เชน ขณะที่ตัวละครกําลังพูด คําที่เราไดยิน เกิดขึ้นพรอมๆกัน

2. Nonsimultaneous sound - Sound from earlier in story than image Sound flashback เชน เราเห็นตัวละครในปจจุบันแตไดยินเสียงของตัวละครนี้ในฉากที่เกิดขึ้นกอน Image flashback เชน เสียงเกิดขึ้นในปจจุบัน แตภาพที่เห็นเปนภาพในอนาคต - Sound from later in story than image Image flashback เชน ภาพเกิดขึ้นในอดีตแตเสียงเกิดขึ้นในปจจุบัน Sound flashback เชน ภาพเกิดขึ้นปจจุบัน แตเสียงเปนเสียงจากอนาคต ลักษณะความสัมพันธของภาพและเสียงในภาพยนตร (TEMPORAL RELATION OF SOUND IN CINEMA)

ลักษณะความสัมพันธ (Temporal Relation)

Diegetic (Story space)

Nondiegetic (Nonstory space)

Nonsimultaneous เสียงเกิดกอนภาพ

- Sound flashback - Image flashforward

Sound marked as past put over images

Simultaneous เสียงกับภาพเกิดขึ้นพรอมกัน

- External Dialogue, effects, music -Internal thoughts of character

heard

Sound marked as simultaneous with images

Nonsimultaneous เสียงเกิดขึ้นทีหลังภาพ

Sound flashforward Image flashback

Sound marked as later put over images

The human voice : dialogue

บทสนทนา(dialogue)ทําใหตัวละครมีลักษณะเฉพาะตัวมากขึ้นกวาการใชภาพอยางเดียวของผูเลาเรื่อง หรืออาจมีสวนในการสนับสนุนตัวตนของตัวละครในภาพยนตร ใหชัดเจนขึ้น และ บทสนทนายังถูกใชเปนเครื่องมือหลักในการเลาเรื่องของภาพยนตรในปจจุบันรวมกับการใชภาพ Sound effects : synchronous and asynchronous sounds Synchronous sounds คือ เสียงที่เกิดขึ้นตรงกับภาพที่เกิดขึ้นในภาพยนตร เชน ภาพในภาพยนตรกําลังเปนชายคนหนึ่งกําลังเลนเปยโน เสียงเปยโนก็เกิดขึ้นในภาพดวย

Synchronous sounds ถูกใชเพื่อเสนอความสมจริงของภาพยนตร และมสวนในการสรางบรรยากาศของภาพยนตร

asynchronous sounds เสียงที่เกิดขึ้นไมตรงกับภาพที่เกิดขึ้นในภาพยนตร เชน เสียงไซเรนของ

รถพยาบาลในขณะที่ภาพในภาพยนตรกําลังเปนภาพคนกําลังถกเถียงกันอยุ เสียงนี้สื่อความหมายสองระดับคือระดับความหมายตรงหมายถึงสภาวะแวดลอมที่ตัวละครกําลังดําเนินเรื่องอยูเปนเมืองที่มีรถพยาบาลหรือรถตํารวจกําลังปฏิบัติการอยู ในอีกระดับหนึ่งซึ่งเปนระดับความหมายแฝงซึ่งเปนการเปรียบเทียบกับสภาวะจิตของตัวละครวากําลังบาดเจ็บทางจิตใจ Music : background music background music ถูกใชเพื่อสรางอารมณ และจังหวะของภาพยนตร บางทีอาจไมเปนที่สังเกต และบางทีอาจใชในกรณีที่ตองการเปลี่ยนอารมณของภาพยนตร ทําใหผูชมสามารถเขาใจถึงความตอเนื่องกันของเหตุการณ Sound motif

Sound motif คือ เสียง หรือการรวมกันของเสียงที่เกี่ยวของกับ ตัวละคร ฉาก สถานที่ หรือ ไอเดีย ในหนัง Sound motif มีสวนชวยในการขับเคลื่อนธีมหลัก เชน บอกใบเนื้อหาบางอยางที่ตองการเสนอในภาพยนตร เชน เสียง flute ในหนังของ Arthur Miller เรื่อง Death of a Salesman เปน sound motif ที่ตองการเสนอความงดงามของภูมิประเทศชนบท

Sound motif สามารถชวยทําใหเรื่องราวที่มีตัวละครหลายตัว หลายสถานที่ มีความกระชับมากขึ้น และ

ยังทําใหหนังมีความเปนเอกภาพมากขึ้นอีกดวย

2.2 ภาพยนตรของหวองกาไว

ภาพยนตรของหวองกาไวที่ทําการศึกษาเลือกมาสองเรื่องที่ไดัรับรางวัล Days of Being Wild (Best Director, Hong Kong Film Awards 1991) และ Chungking Express (Hong Kong Film Awards 1995)

3. ผลการวิเคราะห

เสียงจากภาพยนตรที่ทําหนาที่มีความสัมพันธกับตัวละครหลักทั้งสี่ตัว คือยกใจ และผูหญิงทั้งสี่คน ใน

ชีวิตเขา คือเสียงของนาฬิกา เสียงของนาฬิกาจะแทรกขึ้นมาเบาๆในขณะที่ ยกใจกําลังอยูในภาพยนตร กับ ผูหญิงทั้งสี่คนในชีวิตเขาเสียงของนาฬิกาอาจทําหนาที่เปนโมทีฟ(motif) หมายถึง การขบคิด การใตรตรอง กับความสัมพันธที่ไมแนนนอนของ ตัวละครแตละตัว หรืออาจเปนการเปรียบเทียบกับความหวั่นไหวของตัวละครหนุมสาวเกี่ยวกับความสัมพันธของฮองกงกับจีนแผนดินใหญ อีกขอสังเกตหนึ่ง คือ เสียงฝนตก ที่จะเกิดขึ้นเฉพาะตอนที่ คนหนุมสาวอยุในฉากเทานั้น ซึ่งตอนที่แม และ ปา ของยกใจอยุในฉากจะไมมีเสียงเหลานี้เกิดขึ้น นอกจากนี้เมื่อเทียบเคียงกับภาพ เห็นไดชัดวาความสัมพันธของตัวละครหนุมสาวจะเกิดขึ้นเมื่อพ้ืนที่เปยกหรือมฝนตกที่ไมใชของคนหนุมสาว จะอยุในพื้นที่แหงไมมีฝนตก

ภาพยนตรเรื่องนี้แบงเปนสองสวนใหญๆคือ เรื่องที่เกิดขึ้นที่ chungking mansion และ ราน midnight

express ซึ่งเปนรานอาหาร ตัวละครหลักสี่ตัว คือ เหอซิ่ว กับผูหญิงผมทอง อยูในสวนของ chungking mansion และ 663 และ เฟย อยูในสวนของ midnight express เสียงที่ทําหนาที่เดนมากคือ เสียง voice over เหมือนกับตัวละครทั้งสี่ กําลังพูดกับตัวเอง (ขณะเดียวกันกับที่เราซึ่งเปนผูชม กําลังไดยินดวย) การที่ตัวละครใดซักตัวหนึ่งพูดกับตัวเอง นั่นอาจหมายถึง ความเหงาอีกระดับ ที่เหงามากจนเราตองพูดกับตัวเอง

หนังเรื่องนี้ มีการใชเสียงเปยก สื่อความถึงความรักที่ไมสมหวัง ระหวางเหอซิ่ว กับแฟนเกา และ 663 กับ แฟนเกา รวมถึง ระหวาง 663 กับ เฟย ในชวงแรกดวยเชนกัน เพลง California dreamin ถูกใชในชวงของ midnight express บอยมาก จบอาจเรียกวาเปน motif ของชวงนี้ สื่อถึงความฝน ของเฟย สามอยางคือ แคลิฟอรเนีย แอรโฮสเตส และ 663

ผลงานออกแบบ

จากผลการวิเคราะห จะนํามาออกแบบมิวสิควีดีโอแนวทดลอง สองเรื่อง โดยแตละเรื่องอารมณของมิวสิควีดีโอจะอิงจากกราฟ อารมณของภาพยนตรทั้งสองเรื่อง (แยกกัน) และ จะนําเสียงจากไดอะแกรม ผลการวิเคราะห มาใช

จาก days of being wild ในชวงแรกนั้นภาพยนตรจะไมรูสึกถึงความเศรา แตหลังจากนั้น ถึง ¾ ของภาพยนตรทั้งหมดจะรูสึกเศรา

จาก chungking express แบงเปนสองตอนใหญๆ ตอนแรก ในชวงแรกของตอนแรก จะเปนการสลับไปมาระหวางความเหงา กับไมเหงา สวนในชวงที่สองนั้น จะมีแคชวงตนและชวงสุดทายเทานั้น ที่รูสึกเหงา 4. บทสรุป จากการวิเคราะหจะเห็นวาเสียงในภาพยนตรของหวองกาไวทําหนาที่อยางนอยสามประการคือ หนึ่งในความหมายของพื้นที่ที่เกิดเรื่องเลา ซึ่งยังทํางานเปนสองระดับคือความหมายตรงกับความหมายแฝง(เสียงฝนตกในเมือง/ฝนตกพื้นที่เปยกกับความสัมพันธหนุมสาว) ซึ่งเห็นไดวาในระดับความหมายแฝงสะทอนอารมณของหนุมสาวตัวละครเอกในเรื่องออกมาดวย ประการที่สอง เสียงในภาพยนตรใหความหมายเชิงวัฒนธรรม เชนเสียงนาฬิกาที่หวองกาไวใชเปนโมทีฟใหความหมายทั้งในแงมุมเกี่ยวกับชีวิตของตัวละครและแงมุมทางวัฒนธรรมของฮองกงกับจีนแผนดินใหญ

เอกสารอางอิง ธิคุณ สุภาสัย. “แนวความคิดยุคหลังสมัยใหมในภาพยนตร : กรณีศึกษางานภาพยนตรของหวองกาไว .” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2550 สุทธากร สันติธวัช, มโนธรรม เทียมเทียบรัตน, ไกรวุฒิ จุลพงศธร, กอง ฤทธิ์ดี และ ณัฐพร แยมแขไข. เดียวดายอยางโรแมนติก โลกของหวองกาไว. พิมพครั้งแรก. กรุงเทพฯ : คนทําหนังสือ, 2547. David Bordwell, Kristin Thompson. Film art : an introduction. Boston : McGraw Hill, 2008. Holman Tomlinson. Sound for Film and Television. Boston : Focal Press, 1997. Dancyger Ken. The technique of film and video editing. Boston : Focal Press, 1993.