25

สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

  • Upload
    saipin

  • View
    520

  • Download
    3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62
Page 2: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ล ำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย

ภายหลังสงครามอิรัก-อิหร่านซึ่งกินเวลาถึง 8 ปี ส่งผลให้อิรักบอบช ้ามากจากภาระบูรณะประเทศ อิรักต้องเป็นหนี ต่างประเทศจ้านวนประมาณ 80,000 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ท้าให้ฐานะเศรษฐกิจของอิรักทรุดหนัก อิรักมีสินค้าออกหลักคือน ้ามัน ซึ่งมีปริมาณร้อยละ 99 ของมูลค่าสินค้าออกทั งหมด อิรักจึงพยายามผลักดันให้องค์การโอเปกก้าหนดโควตาการผลิตน ้ามันและก้าหนดราคาน ้ามันเสียใหม่ให้อิรักมีรายได้เพิ่มขึ น

ธงชำติประเทศอิรัก

ธงชำติประเทศอิหร่ำน

Page 3: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

เนื่องจาก8 ปีที่อิรักท้าสงคราม คูเวตได้ขยายพรมแดนล่วงล ้าเข้ามาทางใต้ของอิรัก4 กิโลเมตร เพื่อตั งค่ายทหารและตั งสถานีขุดเจาะน ้ามันเป็นการขโมยน ้ามันของอิรัก ยิ่งไปกว่านั น อิรักท้าสงครามกับอิหร่านในนามชาติอาหรับและเพื่อความมั่นคงของชาติอาหรับทั งมวล จึงสมควรที่คูเวตต้องช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการท้าสงคราม ข้อเรียกร้องที่รุนแรงของอิรัก คือให้คูเวตคืนดินแดนที่รุกล ้าเข้ามา คือ เขต Rumailah oilfield ซึ่งมีน ้ามันอุดมสมบูรณ์และขอเช่าเกาะบูมิยัน กับเกาะวาร์บาห์ ในอ่าวเปอร์เซีย เพื่อให้อิรักขายน ้ามันผ่านอ่าวเปอร์เซียโดยตรง โดยมิต้องขายน ้ามันทางท่อส่งน ้ามันผ่านซาอุดิอารเบียและตุรกีเช่นเดิม

ล ำดับเหตุกำรณ์ก่อนเกิดสงครำมเปอร์เซีย

Rumailah oilfielงำนขุดน ำมันของคูเวต

Page 4: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย หรือบางทีเรียก

สั น ๆ ว่า สงครำมอ่ำว (Gulf War)

เป็นความขัดแย้งระหว่างประเทศอิรัก และกองก้าลังผสมจาก 34 ชาติใต้อาณัติ ของสหประชาชาติหรือ UN น้าโดยประเทศ

สหรัฐอเมริกา

สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย

Page 5: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

จุดเริ่มต้นของสงครามอยู่ที่การบุกรุกประเทศคูเวตของกองทัพอิรักในวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 ซึ่งท้าให้สหประชาชาติคว่้าบาตรทางเศรษฐกิจกับอิรักในทันที หลังจากการเจรจาด้านการทูตหลายครั ง สหประชาชาติจึงมีมติให้ใช้ปฏิบัติการทางทหารเพื่อขับไล่กองทัพอิรักออกจากประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1991

จุดเริ่มต้นของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย

บริเวณอ่ำวเปอร์เซียและพรมแดน

ประเทศคูเวตกับประเทศอิรัก

Page 6: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

เหตุกำรณ์ในสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย ภายใต้การน้าของประธานาธิบดีซัดดัม

ฮุสเซ็น ซึ่งทหารมากกว่า 1 ล้านคน มีประสบการณ์ร่วมท้าสงครามกับอิหร่านมาแล้ว และยังมีอาวุธที่ทันสมัยทั งเครื่องบิน จรวด อาวุธเคมี และก้าลังเริ่มต้นพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ขึ นอีก ส้าหรับคูเวตเป็นประเทศเล็กๆตั งอยู่ระหว่างอิรักกับซาอุดีอาระเบียในอดีตคูเวตเป็นจังหวัดหนึ่งของอาณาจักรออตโตมันแต่ด้วยเหตุที่เป็นแหล่งน ้ามันอย่างมหาศาลท้าให้ถูกตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของสหราชอาณาจักร ตั งแต่ ค.ศ.1914 และได้รับเอกราชเมื่อปี ค.ศ.1961 จึงเข้ายึดคูเวตได้อย่างง่ายดาย เป็นเวลากว่า 6 เดือน

ประธำนำธิบดี ซัดดัม ฮุสเซ็น

Page 7: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

สำเหตุที่อิรักเข้ำยึดคูเวต

สาเหตุที่อิรักเข้ายึดคูเวตนั นมีสาเหตุหลายประการได้แก่

1. แรงกดดันจากหนี สงครามอิรัก-อิหร่าน อิรักจึงต้องการคุมแหล่งน ้ามันของโลกคือ คูเวต เพื่อเพิ่มอ้านาจต่อรองในการผลิตน ้ามันและการก้าหนดราคาน ้ามัน

แหล่งผลิตน ำมันในคูเวต

Page 8: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

2.อิรักและคูเวตมีกรณีพิพาทดินแดน Rumailah Oilfield แหล่งน ้ามันที่ส้าคัญมาเป็นเวลานานและหาข้อยุติไม่ได้

อิรักจึงถือโอกาสยึดครองคูเวตด้วยเหตุผล ด้านเศรษฐกิจและยุทธศาสตร์

สำเหตุท่ีอิรักเข้ำยึดคูเวต

Page 9: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

สำเหตุท่ีอิรักเข้ำยึดคูเวต

3.อิรักไม่มีทางออกทะเลหรือทางอ่าวเปอร์เซีย เพราะมีเกาะบูมิยันและเกาะวาห์บาห์ของคูเวตขวางทางอยู่ อิรักจึงมิอาจขายน ้ามันโดยตรงแก่เรือผู้ซื อได้ ทั งอิรักยังตกลงกับอิหร่านเรื่องการใช้เมืองท่าบัสราผ่านร่องน ้าซัตต์-อัล-อาหรับ ไม่ได้ แผนที่ประเทศอิรัก

Page 10: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1991หลังจากปฏิบัติการทั งทางอากาศและภาคพื นดินช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ชัยชนะเป็นของกองก้าลังผสม และวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 1991 ตั งแต่วันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 อันเป็นวันที่อิรักบุกเข้ายึดคูเวตเป็นต้นมาคณะมนตรีความมั่นคงได้ประกาศให้ทุกชาติคว่้าบาตรรัฐบาลอิรัก และด้าเนินการเคลื่อนไหวทางการฑูตเพื่อหลีกเลี่ยงสงคราม ก้าหนดให้วันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1991 เป็นเส้นตายที่อิรักจะปฏิบัติตามมติ ของคณะมนตรีความมั่นคงอิรักไม่ยอมท้าตามมติดังกล่าว ในวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1991 กองก้าลังนานาชาติจึงเริ่มโจมตีทางอากาศและตามติดด้วยการรบภาคพื นดิน ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ปฏิบัติการอันเป็นที่รู้จักกันในนาม "พายุทะเลทราย" (Desert Storm) ครั งนี มีกองทัพจากประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกา

กำรโจมตีจำกสหประชำชำต ิ

ประธำนำธิบดีจอร์จ บุช

Page 11: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ประเทศต่างๆเข้าร่วมรบโดยการอนุมัติของคณะมนตรีความมั่นคง และอยู่ภายใต้การบัญชาการของสหรัฐอเมริกาวันที่ 27กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศหยุดยิงและประกาศความเป็นอิสรภาพของคูเวต อิรักถอนทหารออกจากคูเวต คณะผู้สังเกตการณ์ สหประชาชาติกรณีอิรัก-คูเวต เริ่มปฏิบัติงานตั งแต่เมษายน ค.ศ.1991มีหน้าที่อ้านวยความสะดวกให้กับเจ้าหน้าที่นานาชาติเข้าควบคุมบริเวณแนวเส้นหยุดยิงและตรวจสอบก้าลังอาวุธที่อิรักมีไว้ในครอบครอง

แผนที่กำรโจมตีของสหประชำชำต ิ

กำรโจมตีจำกสหประชำชำต ิ

Page 12: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ในปี ค.ศ. 2002 ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุชแห่งสหรัฐอเมริกา ด้าเนินการที่จะก้าจัดอาวุธอานุภาพท้าลายล้างสูง อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ นิวเคลียร์ของอิรัก โดยผ่านมติสภา มอบอ้านาจให้ประธานาธิบดี บุช สั่งโจมตีอิรักทันที่ที่จ้าเป็น โดยใช้วิธีการทางการฑูตก่อน หากไม่ได้ผลจึงใช้วิธีการทางทหาร สหรัฐกล่าวหาว่าประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุสเซ็น ทุ่มเงินที่ได้จากการลักลอบขายน ้ามัน ซื อชิ นส่วน อาวุธ อันเป็นการละเมิดมาตรการ “ แซงก์ชั่น” การคว่้าบาตรของสหประชาชาติ

เครื่องบินทิ งระเบิดของสหรัฐ

กำรโจมตีจำกสหประชำชำต ิ

ก ำลังรบพิเศษของสหรัฐ

Page 13: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

การโจมตีอิรักของสหรัฐอเมริกา ก่อให้เกิดการบาดเจ็บล้มตายต่อประชาชนอิรักอิรักยิงเครื่องบินตรวจการณ์ของสหรัฐและอังกฤษ 750 ครั ง เหนือน่านฟ้า “No-Fly Zone” เขตห้ามบิน สหรัฐอเมริกาอ้างว่ามีหลักฐานเชื่อได้ว่าอิรัก ผลิตแก๊สมัสตาร์ด และแก๊สท้าลายประสาทสะสมไว้ กักตุนเชื อโรคแอนแทร็กช์ และสารชีวภาพอันตรายอื่นๆในปริมาณมหาศาล โดยอิรักต้องยอมให้คณะตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติเข้าไปพิสูจน์ในทุกที่ที่ต้องการ

ถ้าไม่ยอมท้าตาม คณะมนตรีความมั่นคงสหประชาชาติจึงจะออกมติให้สหรัฐเข้าแทรกแซงทางทหารได้

กำรโจมตีจำกสหประชำชำต ิ

Page 14: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ในที่สุดสหรัฐโจมตีอิรักโดยให้เหตุผลว่าเป็นการป้องกันตัว ผลการปลดปล่อยอิรักให้เป็นอิสระ(Operation Iraqi Freedom) ของพันธมิตรตะวันตกน้าโดยสหรัฐอเมริกา (20 มีนาคม – 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2003) มีการค้นหา จับกุมผู้น้า อิรักคนส้าคัญๆ และประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุส เซน ในวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 2003 พร้อมทั งคนใกล้ชิด 11คน

กำรโจมตีจำกสหประชำชำต ิ

Page 15: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

แม้ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซนจะหมดอ้านาจบริหารประเทศ แต่กลุ่มคนที่เคยเป็นศัตรู ก็ไม่พอใจที่สหรัฐยังคงก้าลังของตนและพันธมิตร และด้าเนินการในการจัดการปกครองอิรัก เขาเห็นว่าสหรัฐก้าลังเปิดโอกาสให้ชาวอิรักที่ไปพ้านัก ท้างานในต่างประเทศ

ในขณะที่หนีภัยจากซัดดัม ฮุสเซน ได้กลับมาเป็นผู้บริหารประเทศแทน แลผู้ที่ถือนิกายซุนนีมองว่าตนก้าลังจะสูญเสียสถานะภาพ พวกนิกานชีอาห์ บางกลุ่มไม่พอใจชาวตะวันตก เพราะต้องการจัดระเบียบ

อิรักเอง และต้องการสร้างรัฐอิสลาม จึงมีมุกตาดา อัลศอดร์ ก่อตั งกองทัพมะฮ์ดี (Mahdi Army) ขึ นต่อสู้

กับสหรัฐ และมีการจัดตั งรัฐบาลชั่วคราวของชาวอิรักเพื่อจัดตั งรัฐบาลทั่วไปเป็นครั งแรกในเดือน มกราคม ค.ศ. 2005 หลังจากสมัย ซัดดัม ฮุสเซน

กำรสิ นสุดของสงครำมอ่ำวเปอร์เซีย

Page 16: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก

ปฏิกริยาของประเทศต่างๆ ที่มีต่อการยึดครองคูเวตของอิรักแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ

1. สหประชาชาติ ชาติอภิมหาอ้านาจ รวมถึงกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก เห็นตรงกันที่ต้องรักษาดุลอ้านาจในตะวันออกลาง คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีมติเป็นเอกฉันท์ประณามการรุกรานและเรียกร้องให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวตโดยไม่มีเงื่อนไข มติของคณะมนตรีความมั่นคงอันดับต่อมา คือ การประกาศคว่้าบาตรทางเศรษฐกิจแก่อิรักและคูเวต ยกเว้นอุปกรณ์ทางการแพทย์และอาหาร เพื่อเหตุผลด้านมนุษยธรรม แต่อิรักก็ไม่ได้ปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ

Page 17: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

2.กลุ่มประเทศอาหรับด้วยกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ 2.1อิยิปต์ ซีเรีย ซาอุดิอารเบีย เรียกร้องให้อิรักถอนทหารออก

จากคูเวต สนับสนุนการเข้ามาของกองก้าลังพันธมิตรและถือว่าตนปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติ

ปฏิกริยำของประเทศต่ำงๆในระหว่ำงสงครำมต่ออิรัก

Page 18: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

2.2 จอร์แดน เยเมน ตูนีเซีย แอลจีเรีย และองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ กลุ่มนี เรียกร้องให้ชาติอาหรับเจรจาหาทางแก้ปัญหากันเอง โดยไม่ต้องให้เป็นภาระขององค์การระดับโลก นอกจากนี ยังมองว่าการปฏิบัติตามมติของสหประชาชาติเท่ากับเป็นการรังแกชาวอาหรับด้วยกันเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อสหรัฐอเมริกาด้าเนินการต่างๆ เพื่อเรียกร้องนานาชาติกดดันให้อิรักถอนทหารออกจากคูเวต ภาพของประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน กลายเป็นวีรบุรุษชาวอาหรับที่กล้าท้าทายโลกตะวันตก สาเหตุที่สหรัฐอเมริกามีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงนั น เพราะอิรักท้าลายผลประโยชน์ของสหรัฐอเมริกาในตะวันออกกลาง และแสนยานุภาพของอิรักอาจเป็นอันตรายต่ออิสราเอลพันธมิตรที่ดีของสหรัฐอเมริกาในอนาคตอีก

Page 19: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ผลของสงครำม แม้สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติตั งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 1991

แล้วก็ตาม มาตรการคว่้าบาตรของสหประชาชาติได้บีบคั นเศรษฐกิจของอิรักมากขึ นกว่าเดิม ประชาชนอดอยากขาดแคลนอาหารและยารักษาโรคจนมีสภาพร่างกายที่ทรุดโทรมและต้องเผชิญกับภาวะเงินเฟ้ออย่างรุนแรง ในเดือน พฤศจิกายน 1991นั น สหประชาชาติได้จัดตั งคณะกรรมการพิเศษตรวจสอบอาวุธของอิรัก (unscom)

เข้าไปตรวจสอบแหล่งผลิตและที่ซ่อนอาวุธเคมี อาวุธนิวเคลียร์ และอาวุธชีวภาพของอิรัก เพื่อให้อิรัก

ท้าลายล้างอาวุธเหล่านี หลังจากนั นสหประชาชาติ จะยกเลิกมาตรการคว่้าบาตรต่ออิรัก

คณะตรวจสอบอำวุธ

Page 20: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสหประชาชาติกับอิรักได้เกิดขึ นเป็นระยะๆ จนถึงปัจจุบัน อิรัก

จะขัดขวางการท้างานของอันสคอม (เจ้าหน้าที่ตรวจสอบอาวุธ)อยู่เสมอๆ นอกจากนี ในเดือนสิงหาคม 1992 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้จัดตั งเขตห้ามบินทางตอนใต้ของอิรักและขยายมายังตอนเหนือเพิ่มขึ นในเดือนกันยายน 1996 ภายหลังสหรัฐอเมริกาได้โจมตีทางตอนใต้องอิรักอีก เพื่อเป็นการตอบโต้อิรักปราบปรามชนกลุ่มน้อยชาวเคิร์ดอย่างรุนแรง

ผลของสงครำม

Page 21: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

เมื่อ ค.ศ.1997 อิรักได้ขับไล่ชาวอเมริกันออกจากทีมงานอันสคอมโดยกล่าวหาว่า ชาวอเมริกาคนหนึ่ง

เป็นสายลับ ซึ่งสหรัฐอเมริกาปฏิบัติค้ากล่าวหานี การเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและอันสคอม กับอิรักได้ตึงเครียดมาตามล้าดับ ค.ศ.1998 เมื่ออิรัก

ขัดขวางเจ้าหน้าที่อันสคอม ไม่ให้เข้าไปตรวจสอบอาวุธบริเวณท้าเนียบประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน

นายโคฟี อันนาม เลขาธิการสหประชาชาติเดินทางไปเจรจากับประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เพื่อยุติการเผชิญหน้าระหว่างอิรักกับสหรัฐอเมริกา อิรักจึงยินยอมให้อันสคอมตรวจสอบอาวุธบริเวณท้าเนียประธานาธิบด ี

ผลของสงครำม

อันสคอม

Page 22: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

16 ธันวาคม 1998 เจ้าหน้าที่ของอันสคอมต้องเดินทางออกจากอิรักเพราะเกรงจะได้รับอันตรายจากอิรัก และเช้าตรู่ของวันรุ่นขึ น ประธานาธิบดี บิล คลินตัน ได้ส่งก้าลังทหารไปยังอ่าวเปอร์เซียร่วมกับกองก้าลังทหารอังกฤษเพื่อยิงถล่มอิรักภายใต้ปฏิบัติการชื่อ "ปฏิบัติการจิ งจอกทะเลทราย" เป็นเวลา 4 วัน จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส รวมทั งบรรดาชาติอาหรับอื่นๆ ต่างประณามการกระท้าของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ พร้อมทั งเรียกร้องให้ยุติการโจมตีอิรัก ส่วนสมาชิกนาโต ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ต่างสนับสนุนมาตรการแข็งกร้าวของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ

ผลของสงครำม

หน่วยปฏิบัติกำรจิ งจอกทะเลทรำย

Page 23: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

ปัญหาอิรักคือปัญหาที่ท้าทายบทบาทของ

สหประชาชาติ ในเวลาเดียวกันก็เป็นปัญหาภาพลักษณ์ของสหรัฐอเมริกาที่ชี น้าและด้าเนินการโดยพลการในนามสหประชาชาติ ถือเป็นการละเมิดกฏบัตรสหประชาชาติและหลักการของประชาคมโลก นายโคฟี อันนาม กล่าวแสดงความรู้สึกของเขาว่า "วันนี เป็นวันที่น่าเศร้าของยูเอ็นและชาวโลก

ผมได้ท้าทุกสิ่งเท่าที่มีอ้านาจหน้าที่สร้างความสงบตามปณิธานของยูเอ็น เพื่อระวังการใช้ก้าลัง สิ่งนี ไม่ใช่ของง่าย เป็นกระบวนการเจ็บปวดไม่มีที่สิ นสุด"

นำยโคฟ ีอันนำม

ผลของสงครำม

Page 24: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

บรรณานกุรม http://en.wikipedia.org/wiki/Gulf_War http://th.wikipedia.org/wiki/Gulf_War http:// th.wikipedia.org/wiki/สงครำมอ่ำวเปอร์เซีย http:// www.kullawat.net/current4/ http:// www.becnews.com/data/war1 http:// www.historychannel.com http:// www.maryvit.ac.th/viboon/soc/his/his16 http://www.kullawat.net/current4/#sect3 http://www.rand.org/research_areas/national_security/ http://web.umr.edu/~rogersda/military_service/op_desert_storm.htm

Page 25: สงครามเปอร์เซีย เลขที่ 12 14 ม.62

จัดท้าโดย

นางสาว จิราพร ฟูธรรม เลขที่ 12

นางสาว ณัฐธิดา นิมิตรดี เลขที่ 14

ชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2