5

Click here to load reader

โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553 แผนกวิชามลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Citation preview

Page 1: โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

1

โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-333 คติชนมลายู (Malay Folklore) 2 (2-0-4) หนวยกิต

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ------------------------------------

ผูสอน อ. ซาวาวี ปะดาอามีน

หองพัก 50330 โทร. (7)3026 E-mail: [email protected]

ลกัษณะรายวชิา วิชาเลือกเอก-โทแนวมลายูศกึษา

หลักสูตรศลิปศาสตรบัณฑติ (ภาษามลายูและมลายูศกึษา) คําอธิบายรายวชิา

เปรยีบเทียบคติชนวิทยาของชาวมลาย ู

วตัถุประสงคการสอน 1. เพ่ือใหนักศกึษาเขาใจและอธิบายความหมาย บทบาท ความสําคัญ ประวัต ิ ความเปนมาของคติชนวทิยาและขอบขายของวิชาคติชนมลายูได 2. เพ่ือใหนักศกึษาสามารถจาํแนกประเภทของคติชน และอธิบายคติชนมลายูแตละ ประเภทได 3. เพ่ือใหนักศกึษาสามารถเก็บรวบรวมขอมูลคติชนมลายูจากภาคสนามได 4. เพ่ือใหนักศกึษาสามารถวิเคราะหและเปรียบเทียบคติชนมลายูได 5. เพ่ือใหนักศกึษาเขาใจและมีทัศนคติท่ีดีตอสังคมอื่นท่ีมีความแตกตางกับตนเอง

กระบวนการเรียนการสอน

1. บรรยายเนื้อหา 2. แบงกลุมศึกษา คนควา ลงภาคสนาม และเสนอรายงาน

Page 2: โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

2

3. อภิปราย แลกเปลีย่นความคิดเห็นกับนักศึกษา เน้ือหาวิชาและกิจกรรมการสอน สัปดาหท่ี เนื้อหาวิชา กจิกรรมการเรยีนการสอน

1 อภิปรายสังเขปรายวิชาและขอตกลงตางๆ - ขอบเขตของรายวิชา - จุดประสงคหลักของการศกึษาวิชานี ้- ความหมายของคติชนวิทยาและคติชนมลาย ู

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ทําแบบทดสอบกอนเรียน - มอบหมายงาน (นักศึกษาไปคนหาขอมูลเกีย่วกับคติชนวิทยาจากหองสมุดและอินเทอรเน็ต)

2 - 3 บทบาท ความสําคัญ และประวัติความเปนมาของคติชนวิทยา

- บรรยาย / ซักถาม - ดูวดีีโอตวัอยางคติชนมลาย ู

4 - 5 - ประเภทของขอมูลทางคติชนวิทยา (มุขปาฐะ อมุขปาฐะและแบบผสม) - ความสัมพันธระหวางคติชนมลายูกับศาสตร แขนงอื่น

- บรรยาย / ซักถาม - แบงกลุมตามวิชาเอก อภิปรายกลุม “ความสัมพันธของวิชานี้กับวชิาเอกของนักศึกษา”

6 - 7 - วธิีการเก็บรวบรวมขอมลูทางคติชนวิทยา

- การวิเคราะหเปรยีบเทียบคติชนมลาย ู

- บรรยาย / อภิปราย - แบงกลุม เตรยีมหัวขอ รายงาน และลงภาคสนาม

8 - 10 ขอมูลคติชนมลายูประเภทมขุปาฐะ(ใชถอยคํา)

- นิทานพืน้บาน - ตํานาน - เพลงพื้นบาน - บทกลอมเด็ก - ภาษิตสํานวน - ปริศนาคําทาย

- ดูวดีีโอเกีย่วกับเพลงพื้นบาน / เลานิทาน - บรรยาย / ซักถาม - ส่ือ power point - กิจกรรมกลุม “เปรียบเทียบคติชนมลายูประเภทใชถอยคําที่ปรากฏในสังคมมลายู” - เลนเกม “อะไรเอย”

Page 3: โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

3

- ภาษาถิ่น - มอบหมายงาน

11 การละเลนพ้ืนบานของชาวมลาย ู

- บรรยาย / ซักถาม - ส่ือ power point - อภิปรายเปรยีบเทียบการละเลนในทองถิ่นของนักศึกษา

12 - 13 รายงานหนาชัน้ การเก็บรวบรวมขอมลูคตชินมลายูประเภทตางๆตามประเด็นที่นักศึกษาสนใจศึกษา

- นําเสนอหนาชั้นเรยีน - อภิปราย

14 - 15 - ศิลปหัตถกรรมพื้นบาน สถาปตยกรรมพืน้บาน ความเชื่อ และประเพณีของชาวมลาย ู- คติชนมลายส่ืูอสันติภาพ - สรุป

- บรรยาย - ส่ือ power point - ซักถาม / อภปิราย - ชมวีดโีอ - สงตัวเลมรายงานฉบับสมบูรณ

เอกสารประกอบการสอน กิ่งแกว อัตถากร. ๒๕๑๙. คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. (เอกสารการนเิทศ

การศึกษา ฉบับท่ี 184 หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดคร)ู. กัญญรัตน เวชชศาสตร. 2541. ศรธีนญชยัในอุษาคเนย. กรุงเทพฯ: สํานักกองทุนสนบัสนุนการ

วิจัย. กุหลาบ มัลลกิะมาศ. 2509. คติชาวบาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชวนการพิมพ ขนิษฐา จิตชินะกลุ.2545. คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: โอเดยีนสโตร. บุปผา บุญทิพย. 2531. คติชาวบาน. พิมพครั้งท่ี 8. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ประพนธ เรืองณรงค. 2540. บุหงาปตตาน:ี คติชนไทยมุสลิมชายแดนภาคใต. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพมตชิน. ประพนธ เรืองณรงค. 2549. นิทานพื้นบานชายแดนภาคใต. กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนา

พานิช จํากดั.

Page 4: โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

4

ประพนธ เรืองณรงค. 2550. เลาเรือ่งเมืองใต: ภาษา วรรณกรรม ความเชื่อ. กรุงเทพฯ: สถาพร บุคส

มัลลกิา คณานรุักษ. 2550. คติชนวิทยา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดยีนสโตร. ศิราพร ณ ถลาง. 2548. ทฤษฎีคติชนวิทยา : วธิวีิทยาในการวิเคราะหตาํนาน-นิทานพืน้บาน. กรุงเทพฯ:

คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สัณห ภาวิต. 2540. นิทาน 4 ภาค: ภาคใต. กรุงเทพฯ: สุวรีิยาสาสน. ส. พลายนอย. 2540. ยอดนิทานฟลิปปนส. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพน้ําฝน. อารี ถาวรเศรษฐ. 2546. คติชนวิทยา. กรุงเทพ: ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. Amat Juhari. 1990. Kepercayaan Orang Melayu Berhubungan dengan Pertanian. Kuala

Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Mohd. Koharuddin Mohd. Balwi. 2005. Peradaban Melayu. Johor: Universiti Teknologi

Malaysia. Mohd. Taib Osman. 1998. Bunga Rampai: Aspects of Malay Culture. Kuala Lumpur:

Dewan Bahasa dan Pustaka. การวัดและประเมินผล 1. สอบยอย / รายงาน / งานประจําบท 35%

2. การมาเรยีนและการมีสวนรวมในชั้นเรียน 10% 3. สอบกลางภาค 20%

4. สอบปลายภาค 35% วธิกีารตดัเกรด ตัดเกรดแบบอิงเกณฑ

เกรด เกณฑรอยละ A 80-100

B+ 75-79 B 70-74

C+ 65-69 C 60-64

Page 5: โครงการสอน 431-333 คติชนมลายู เทอม 2 ปี 2553

5

D+ 55-59 D 50-54 E 0-49

หมายเหตุ: คะแนนตามเกณฑนี้อาจเปลี่ยนไดบางเล็กนอยตามดลุพินจิของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน 1. ตองมีเวลาเรียนไมต่ํากวา 80 % จึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค 2. งานที่สงหลังวนักําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะมีการหักคะแนน 20 % 3. ทุจริตในการสอบปรับตก 4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทุกครัง้ที่เขาชั้นเรยีน 5. ปดเสียงโทรศัพทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรยีน 6. ขาดสอบยอย หากไปขอสอบภายหลังจะถกูหักคะแนน 20 %